ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓| ก คำนำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 ฉบบั นี้ โรงเรียนบา้ นบึงทบั ช้าง ได้จัดทำขึ้น ตามกฎกระทรวง ว่าด้วย การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ที่ระบุ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแตล่ ะระดับและประเภทการศึกษา ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มี การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินการเพ่ือพัฒนา สถานศึกษาให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ให้แกห่ น่วยงาน ตน้ สงั กดั หรือหน่วยงานทก่ี ำกบั ดูแลสถานศกึ ษาเปน็ ประจำทกุ ปี เอกสารรายงานประจำปีของสถานศึกษาฉบับนี้ ประกอบส่วนสำคัญ คือ บทสรุปของ ผู้บริหาร สถานศึกษา ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ส่วนที่ ๓ สรุปผล การประเมินและแนวทางการพฒั นา และส่วนที่ ๔ ภาคผนวก โรงเรียนบา้ นบงึ ทบั ช้าง ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา ทมี่ ีสว่ นร่วมในการจัดทำการเขียนรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ฉบบั นี้ และหวงั วา่ เอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา ในปีถัดไป และ เป็นฐานขอ้ มลู ในการกำหนดนโยบายการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา และเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ตลอดจนเพอ่ื ประโยชน์ในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก จากสำนักงาน รับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป โรงเรยี นบ้านบึงทบั ช้าง พฤษภาคม ๒๕๖4
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓| ข สารบัญ เรือ่ ง . หนา้ คำนำ ก สารบญั ข บทสรุปผู้บรหิ าร ค ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลพ้นื ฐาน 1 ๑.๑ ขอ้ มูลท่วั ไป 1 ๑.๒ ขอ้ มูลครูและบคุ ลากร 4 ๑.๓ ขอ้ มลู นักเรียน 5 ๑.๔ ผลการประเมนิ พฒั นาการตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย 6 ๑.๕ ผลการประเมินตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 7 ๑.๖ ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (RT) ๑1 ๑.๗ ผลการการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (NT) ๑5 ๑.๘. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) 19 ๑.9 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั ๒1 ๑.๑0 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ๒2 สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 23 ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ๒3 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 32 สว่ นที่ ๓ สรปุ ผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา ๔๒ สว่ นที่ ๔ ภาคผนวก ๔4 คณะผ้จู ัดทำ 69
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓| ค บทสรุปผู้บริหาร ข้อมลู พ้ืนฐาน ชื่อโรงเรยี น โรงเรียนบา้ นบึงทบั ช้าง ตง้ั อยทู่ ่หี มู่ ๗ ตำบลจอหอ อำเภอเมอื งนครราชสมี า จังหวัดนครราชสีมา ชอ่ื ผูบ้ รหิ ารโรงเรียน นางกนกธร ภวู ิศวิชามัย เบอรโ์ ทรศพั ท์ ๐๖๒๕๔๙๕๖๑๖ จำนวนครู ๑๔ คน จำแนกเป็น ขา้ ราชการครู 9 คน อตั ราจ้าง 3 คน เจ้าหน้าทอ่ี ืน่ ๆ ๒ คน จำนวนนกั เรยี น รวม ๑36 คน จำแนกเปน็ ระดบั ปฐมวัย ๔0 คน ระดบั ประถมศกึ ษา 96 คน ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย มีนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๑ - ๓ รวม ๔0 คน ครูผู้สอน ๒ คน จัดทำรายงานการประเมินคุณภาพของตนเอง ( SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖3 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ดีเลิศ มผี ลการดำเนนิ งาน ดังต่อไปน้ี เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ เด็กระดับ ปฐมวัย ๔0 คน มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์จำนวน ๔0 คน มีน้ำหนักส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน - คน กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน เพื่อความพร้อมสมบูรณ์ตามวัย เป็นโครงการที่ส่งเสริมพัฒนาการด้าน ร่างกาย ส่งผลให้เด็ก ร้อยละ ๑๐๐ สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ คุณภาพเด็กด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้จัด กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กๆได้สนุกสนาน มีความสุขในการเรียนรู้ จากโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐาน ผู้เรียนระดับปฐมวัย กิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย ส่งผลให้นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านบึงทับช้าง รอ้ ยละ ๑๐๐ มีพัฒนาการทางดา้ นอารมณจ์ ิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้เหมาะสมตามวยั คุณภาพเด็กด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียน บ้านบึงทับช้าง ทุกคนช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง รู้จักการประหยัด พอเพียง มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรียน มีมารยาททางวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การทักทาย จากโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย กิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย กิจกรรมอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย ส่งผลให้นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ร้อยละ ๑๐๐ มีพัฒนาการ ดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม คุณภาพเด็กด้านสติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ นักเรียนระดับปฐมวยั โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ทุกคนสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจ หรือสงสัยและพยายามค้นหาคำตอบ อ่านนิทานและเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย มี ความสามารถ ในการคิดรวบยอด การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจเร่ืองง่ายๆได้ จากโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพ้ืนฐาน ผ้เู รยี นระดบั ปฐมวยั กิจกรรมเรยี นรสู้ ่โู ลกกว้าง กิจกรรมบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ส่งผลให้นักเรยี นระดบั ปฐมวยั โรงเรยี น บา้ นบึงทับชา้ ง ชัน้ อนบุ าลปีที่ 3 เข้ารบั การประเมนิ จำนวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 มีพฒั นาการดา้ นสติปัญญา ส่อื สารได้มีทกั ษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหา ความรู้ได้อย่างเหมาะสม ด้านกระบวนการจัดการบริหารและการจัดการหลักสูตรโรงเรียนบ้านบึงทับช้าง มีหลักสูตรปฐมวัย ที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพรอ้ ม เน้นการเรยี นรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัตดิ ้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น จากการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กิจกรรมบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่กู ารเรยี นการสอน สง่ ผลให้โรงเรยี นบ้านบึงทบั ชา้ ง มีหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยพทุ ธศักราช ๒๕๖3
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | ค ด้านการจัดครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียนโรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้มีการจัดครูที่เหมาะสมกับ การจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ คือมีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวัย และมีครูที่ผ่านการอบรมทางด้าน การดูแลเด็กปฐมวัย ส่งผลให้โรงเรียนมีครูเพียงพอต่อชน้ั เรียนใน ระดบั หนงึ่ ด้านส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ไดม้ กี ารพฒั นาคณุ ภาพครดู า้ นการศกึ ษาปฐมวัยอย่างตอ่ เนอื่ ง ซ่งึ สง่ ผลให้ครดู า้ นการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และ การประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง จากโครงการพัฒนาบุคลากร กิจกรรม PLC กิจกรรม การประชมุ สมั มนา และกจิ กรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ส่งผลให้ครมู ีความชำนาญการดา้ นการจัดประสบการณ์ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียง โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน ส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายทีไ่ ด้จาก ธรรมชาติหรอื สื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้ มีสื่อเทคโนโลยี ใช้ในการสืบเสาะ หาความรู้ จากโครงการสง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษาเปน็ สงั คมแหง่ การเรียนรู้ กิจกรรมปรบั ปรุง สภาพแวดล้อมพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ส่งผลให้โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง มีการจัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพื่อการ เรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียง การให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดปร ะสบการณ์ โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก ให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์ เพ่ือสนบั สนุนการจัดประสบการณ์เพอ่ื พัฒนาครูอยา่ งเพียงพอและทั่วถงึ จากโครงการสง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษาเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ กิจกรรมจัดหาสื่อการเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง มีการ ให้บริการสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู้ พอ่ื สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ มรี ะบบบริหารคณุ ภาพท่ีเปดิ โอกาสให้ผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วม โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด ได้ มีการจัดทำ แผนการจดั ประสบการณ์ที่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย มกี ารประเมินผลตรวจสอบคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผล การประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อม ทั้งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้หน่วยงานตน้ สังกัดอย่างตอ่ เน่ือง จากโครงการส่งเสริมระบบประกัน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียน บ้านบงึ ทบั ชา้ ง มรี ะบบบริหารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ ผู้เก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม ด้านการจัดการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ มีจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ ทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ จัดประสบการณ์การเรยี นรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุก ๆ ด้านให้เหมาะสมกับวยั ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการ เพือ่ ให้ รา่ งกายทกุ ส่วนท้ังกล้ามเนอ้ื มัดใหญ่มดั เลก็ ให้ทำงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ดา้ นอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณค์ วามรสู้ ึกไดอ้ ย่างเหมาะสม รจู้ ักยับยงั้ ชงั่ ใจ รู้จักการรอคอย กลา้ แสดงออก ชว่ ยเหลือแบง่ ปนั มคี วามรบั ผิดชอบ ด้านสังคม เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ มีวินัยในตนเอง เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ มสี ัมมาคารวะต่อผใู้ หญ่ ด้านสติปัญญา มีการพัฒนาปัญญาภายในของผู้เรียน โดยใช้กิจกรรมจิตศึกษา ความคิดร่วมยอด รู้จัก การแก้ปัญหา สื่อสารและมีทักษะความคิดพื้นฐานแสวงหา ความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย จากโครงการส่งเสริม ศกั ยภาพทักษะพน้ื ฐานผู้เรยี นระดบั ปฐมวยั สง่ ผลให้โรงเรยี นบ้านบึงทับช้าง ไดม้ ีการจดั ประสบการณ์ทสี่ ง่ เสริมให้เด็ก มีพัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | ค การสร้างโอกาสให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่านการเ ล่น โดยลงมือ ปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพื่อก่อให้เกิดความมีน้ำใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรูไ้ ด้อย่างมีความสุข จากโครงการส่งเสรมิ ศักยภาพทักษะ พื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง ส่งผลให้โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้มีการจัด ประสบการณ์ที่สร้างโอกาสให้เด็ก ไดป้ ระสบการณ์ตรง เล่น และปฏบิ ตั ิอย่างมีความสขุ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอื้อเผื่อเผื่อแผ่ต่อกันและกัน ซึ่งเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้ผู้เรียน รักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เด็กนักเรียน นอกจากนี้โรงเรียน มีห้องเรียนที่มีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่ง ห้องเรียนให้สดใส และมีสื่อการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน จากโครงการ ส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย ส่งผลให้โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้มีการจัดบรรยากาศ ท่เี ออื้ ต่อการเรยี นรใู้ ช้สอื่ และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวัย ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพฒั นาเดก็ โรงเรยี นหนองอ้อวทิ ยาคม มีกระบวนการ การประเมนิ พัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ ผู้ปกครองมีส่วนร่วม เพื่อได้นำผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ในชั้นเรียน จากโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย และกิจกรรมแข่งขันทักษะทางวิชาการ ส่งผลให้ โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้มีการประเมินพัฒนาการเด็ก ตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน โรงเรียนบ้านบ้านบงึ ทับชา้ ง จดั การเรยี นการสอนระดับประถมศกึ ษา มนี ักเรยี นระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถึงชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ จำนวน ๙6 คน ครูผู้สอน 10 คน จดั ทำรายงานการประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖3 เสนอต่อหน่วยงานตน้ สังกัด และหน่วยงานอืน่ ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดบั ดีเลศิ มีผลการดำเนนิ งานดงั ต่อไปน้ี โรงเรียนกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจำนวน ๒ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและ ๒) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียน มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้าน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างและหลากหลาย ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนสถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ได้ กำหนดเป็นเปา้ หมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน ๓ ปีย้อนหลังเป็นเปา้ หมายคุณภาพนักเรียนใหพ้ ัฒนาสูงข้ึน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ส่งเสริมผู้เรียน ใหพ้ ฒั นาเตม็ ศกั ยภาพ จัดแหล่งเรียนรู้ภายในใหเ้ หมาะสม มีสอื่ ดา้ นเทคโนโลยที ่ีทันสมัย จดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นมี
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | ค สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี มีความกล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข เน้นทักษะการทำงาน ร่วมกัน ทำให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียน กำหนดในแต่ระดับชั้น จากการประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ผลการอ่านออกเขียนได้ ด้านการอ่าน อยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 81.92 ด้านการเขียน อยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 80.22 นักเรียน มีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถในการสืบค้นความรู้ ได้ทั้งด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ จากการเรยี นรู้โดย โครงการหรือกจิ กรรมพัฒนาการอ่านเขียนภาษาไทย นักเรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่า ของความเป็นไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมประเพณีไทยรวมท้งั ภมู ิปัญญาไทยเข้าร่วมกิจกรรมท่ีโรงเรียนจัด คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐ นกั เรียนมคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากำหนด รอ้ ยละ ๑๐๐ มีผลการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี นในระดบั ดีขึน้ ไปทีส่ ถานศึกษากำหนด ร้อยละ 77.08 กำหนดมาตรฐานด้านคุณภาพผเู้ รียนตาม ทว่ี า่ “การจัดการศึกษาตอ้ งเปน็ ไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรู้ และ คุณธรรม จรยิ ธรรม และวฒั นธรรมในการดำรงชีวติ สามารถอย่รู ่วมกับผู้อืน่ ได้อย่างมีความสุข ยอมรับการอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างระหว่างบุคคลในดา้ น เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข เขา้ ใจผูอ้ ืน่ ไม่มีความขดั แย้ง กบั ผอู้ ื่น ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของสถานศึกษา ในโรงเรียนบ้านบ้านบึงทับช้างการดำเนินการ วิเคราะห์สภาพปัญหาตามบริบทของสถานศึกษา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจ อย่างชัดเจน ในดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผูเ้ รียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกบั การดำเนินชีวิตจริง จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา ปฏิทินการปฏบิ ัติงาน ปีการศึกษา ๒๕๖๒3 ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ส่งผลต่อผู้เรียน จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุ ณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่อื สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการเรียนรู้ท่เี หมาะสมกบั สภาพและบริบทของโรงเรยี น โดยประเมิน ภาพความสำเร็จคือ โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่โรงเรียนกำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของโรงเรียน ความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น สนองตามความมุ่งของหลักสูตร ตามนโยบายของตน้ สังกัดและ กระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนำแผนไปปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและรว่ มกันรับผิดชอบตอ่ การจดั การศึกษามีการบริหารจัดการเกี่ยวกบั งานวชิ าการ พัฒนาหลักสูตร กิจกรรม เสรมิ หลักสูตรที่เนน้ คณุ ภาพผู้เรียนรอบดา้ น เชือ่ มโยงวถิ ชี ีวติ จรงิ และครอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการจัดการ เรียนการสอนของกลุ่มทเ่ี รียนแบบควบรวมและกลมุ่ เรียนรว่ มด้วย มีการส่งเสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาครูและบุคลากรตรง ตามความต้องการและจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนจัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจดั การเรียนรู้ ของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ มีความปลอดภัยจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน จัดหา พัฒนาและบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดให้มีหอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรูอ้ ยา่ งเหมาะสม ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/โครงการ/ กิจกรรม อย่างหลากหลาย มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning) โดยใช้การจัดการเรียน โดยปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) ใหผ้ ู้เรยี นผ่าน กระบวนการคิด ปฏิบัตจิ ริง เพอื่ นำไปสู่
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | ค การเรยี นร้ทู ่ลี กึ ซง้ึ และคงทน ตามมาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นกั เรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียน เป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีแผนการจัดกา รเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการ ชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้และ เรียนรู้ร่วมกนั อยา่ งมีความสขุ ครูร่วมแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละนำข้อมูลมารว่ มพัฒนาปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้และสอน ตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหนว่ ย กำหนดคุณลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ี่สอดคล้องกับหนว่ ยการเรียนรู้ สนับสนนุ ให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ดว้ ยตนเอง จัดการเรยี นการสอนที่เน้นทักษะการคดิ เชน่ จัดการเรียนรดู้ ว้ ยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าท่ีให้นักเรียนจัดป้าย นิเทศและบรรยากาศตามสถานท่ีต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใชส้ ่อื การเรียนการสอน นวัตกรรม และเทคโนโลยี ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ มีการประเมินคุณภาพและประสทิ ธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ ครูทุกคนทำงานวิจยั ในชน้ั เรียน ปกี ารศึกษาละ ๑ เร่อื ง โดยมีประเดน็ ภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน เปน็ สำคญั ดังนี้ ครูจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ให้นักเรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้ มีแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมสำหรับนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ได้แสดงความคิดเห็น ได้แสดงออก เป็นผู้สามารถสรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้ ครูใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งนำภูมิปัญญาท้องถ่นิ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ นักเรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย ครู มีการบริหารจัดการ ชั้นเรียนเชิงบวก เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู ครูกับเด็ก เด็กกับเด็ก เด็กรักการเรียนรู้ และสามารถ อยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ครูร่วมกันออกแบบการวัดผลประเมินผลเพื่อตรวจสอบ และประเมินผู้เรียน อย่างมีขั้นตอน ใช้เครื่องมือ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม พร้อมทั้งนำผลไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ครผู ู้สอนรว่ มกันแลกเปลย่ี นความรแู้ ละประสบการณ์ (PLC) เปน็ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี และนำไปปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนรู้
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 1 สว่ นที่ ๑ ขอ้ มลู พืน้ ฐานของสถานศกึ ษา ๑.๑ ขอ้ มูลท่ัวไป โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๗ ตำบลจอหอ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โทรศัพท์ ๐-๔๔๓๗- ๑๔๙๔ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ระดั บอนุบาลปีที่ ๑ ถึงระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ ผู้บริหารสถานศึกษา ชื่อ นางกนกธร ภูวิศวิชามัย ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนน้ี ตั้งแต่ วนั ท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จนถึงปจั จบุ นั เปน็ เวลา ๗ ปี ๑ เดือน ประวัติโรงเรียนโดยย่อ โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง เป็นโรงเรียนขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต ๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๑๘ โดยการบริจาคที่ดิน ๕ ไร่ จากผ้มู ีจติ ศรัทธา จำนวน ๔ ราย คือ ๑. นางอ่อน วาดโคกสงู ๒. นางกองสนิ วาดโคกสูง ๓. นายบัว – นางสขุ พินจอหอ ๔. นายเพชร – นางสายทอง สงสนั เทยี ะ และได้รับความอนุเคราะห์จากกองบินยุธการ ที่ ๓๘๘ กองทัพอากาศสหรัฐบริจาควัสดุก่อสร้าง ชาวบ้ าน กรรมการโรงเรียน คณะครูและชมุ นมุ นกั ศกึ ษาชาวโคราช รว่ มกันสรา้ งอาคารเรยี นแบบ ป.๑ ฉ.ใต้ถนุ สงู ๓ ห้องเรียน เปดิ ทำการสอนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๔ มีครู ๒ คน ปีการศึกษา ๒๕๒๑ เปดิ ทำการสอนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ปกี ารศึกษา ๒๕๒๒ เปดิ สอนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๓๘ เปิดการสอน ๒ ระดับ คือ ระดับปฐมวัย ชั้นอนุบาล ๑ – ๒ และระดับประถมศึกษาช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖ รวม ๘ ชนั้ เรียน จนถึงปัจจบุ ัน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๖ เข้าส่กู ารเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการจัดการศกึ ษาใหม่ตามพระราชบญั ญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เปดิ ใหบ้ ริการจดั การศึกษาแก่นักเรียนระดับก่อนประถมศกึ ษาชน้ั อนบุ าล ๑ – ๒ และการศึกษา ภาคบงั คบั ระดบั ชว่ งชัน้ ที่ ๑ และ ๒ และเร่มิ นำนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการรวมชว่ งชนั้ มาใช้ในการแกป้ ญั หาครไู ม่ครบช้ัน ปีการศึกษา ๒๕๔๙ พัฒนานวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการรวมช่วงช้ัน ผสานกับการใช้เทคโนโลยีการจัดการศึกษาทางกลไกลผ่านดาวเทียม มาใช้ในการแก้ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพ การบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก และไดร้ ับรางวลั “นวัตกรรมดีเดน่ ระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษา” ปีการศึกษา ๒๕๕๑ พัฒนานวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการรวมช่วงชั้น ผสานกับการใช้เทคโนโลยีการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมมาเป็น “นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียน การสอนแบบบูรณาการผสานกับการใช้เทคโนโลยี และการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม” มาใช้ใน การเพ่ิมประสิทธภิ าพและคุณภาพการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ และไดร้ บั การแต่งต้งั ให้เปน็ โรงเรยี นขนาดเล็ก ต้นแบบของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต ๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ได้รับเงนิ บรจิ าคเพอ่ื จัดทำห้องนำ้ จำนวน ๑๐ ห้อง เป็นเงนิ จำนวน ๒๑๐,๐๐๐ บาท
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 2 ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ ไดร้ ับรางวลั เสมา ป.ป.ส. ระดบั ดีเด่น ของกระทรวงศึกษาธิการ - ได้รบั รางวลั คะแนนรวมเฉลี่ย O-NET สูงกวา่ ระดับประเทศ - ไดร้ ับจัดสรรสรา้ งหอ้ งนำ้ ๔ ท่นี ่ังของ สพฐ. เปน็ เงนิ จำนวน ๒๘๙,๒๔๙ บาท ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ไดร้ ับคัดเลือกเปน็ สถานศึกษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้และ การบริหารจัดการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของกระทรวงศกึ ษาธิการ - ไดร้ ับรางวัลคะแนนรวมเฉลยี่ O-NET สงู กว่าระดับประเทศ ๒ ปีตอ่ เน่ือง - ไดร้ บั รางวลั เสมา ป.ป.ส. ระดับดเี ด่น ระดับเงนิ ของกระทรวงศึกษาธิการ - ปรบั ปรงุ อาคารอเนกประสงค์ จากงบซอ่ มแซม ของเขตพื้นท่ี ๓๐๐,๐๐๐ บาท และงบบริจาค ๒๐๐,๐๐๐ บาท ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ไดร้ ับรางวลั เสมา ป.ป.ส. ระดบั ดเี ด่น ระดบั ทอง ของกระทรวงศึกษาธิการ - ไดร้ บั รางวัลคะแนนรวมเฉลยี่ O-NET สงู กว่าระดับประเทศ ๓ ปตี ่อเนอ่ื ง - ได้รบั รางวลั วิธีปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ของสพป.นครราชสีมา เขต ๑ - ได้รบั รางวัลการจดั กจิ กรรมค่านิยมหลักคนไทย ๑๒ ประการ ระดบั ยอดเย่ยี ม ของสพป.นครราชสีมา เขต ๑ - ต่อเตมิ หอ้ งอนบุ าล ๒ห้อง เปน็ เงนิ จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท - ปรบั ปรุงหอ้ งครวั เป็นเงินจำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท - ปพู ้นื กระเบื้องห้องครวั ห้องอนุบาล เปน็ เงนิ จำนวน ๗๐,๐๐๐ บาท ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ - ไดร้ ับรางวัลคะแนนรวมเฉลี่ย O-NET สงู กว่าระดับประเทศ ๔ ปีตอ่ เนื่อง - ปรบั ปรงุ หอ้ งพัสดุ หอ้ งสหกรณโ์ รงเรียน เป็นเงนิ จำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท ปีการศึกษา ๒๕๖๑ - โรงเรียนไดร้ บั รางวัลโรงเรียนท่ีมีคะแนนรวมเฉลยี่ O-NET สงู กวา่ ระดับประเทศ ๕ ปีต่อเนอ่ื ง - ไดร้ ับรางวลั โรงเรยี นดีไมม่ ีอบายมขุ ของสำนกั งานการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน - สร้างอาคารเรียนอย่สู บาย ๔ หอ้ งเรียน โดยการบรจิ าค จาก - บริษัทโชคววิ ฒั น์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด เป็นเงนิ ๒,๗๕๐,๐๐๐ บาท - บริษัทออฟฟิเชียล อีควิปเม้นท์ แมนนูแฟคเจอริ่ง จำกัด เป็นเงิน ๒๕๐,๐๐๐ บาท ( ชุดโต๊ะ เกา้ อ้ี กระดานดำในห้องเรยี น ๔ ห้อง) - โรงเรยี นบ้านบึงทบั ช้างจดั ระดมทนุ เพอื่ การศึกษาสมทบการสรา้ งอาคาร ๒๐๐,๐๐๐ บาท (รวมเป็นเงินท้ังสิน้ ๓,๒๐๐,๐๐๐ บาท) - โรงเรียนบ้านบึงทบั ชา้ งได้รบั จดั สรรงบประมาณ ต่อเตมิ ปรับปรงุ อาคารอย่สู บายด้านหน้า ราคา 364,300 บาท - ไดร้ บั รางวลั สถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ประเภทผลงานดเี ด่น ระดบั เพชร ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ - ได้รบั รางวลั โรงเรียนทมี่ ีคะแนนรวมเฉล่ีย O-NET สูงกว่าระดบั ประเทศ 6 ปตี ่อเน่ือง - ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณการก่อสรา้ งอาคารเรียน สปช. 105/29 ปรบั ปรุง อาคารเรียน 2 ชน้ั 5 หอ้ งเรยี น (ใตถ้ นุ โล่ง) เปน็ จำนวนเงนิ 5,546,000 บาท ปีการศึกษา 2563 - ได้รบั การตัดเลอื กเป็นโรงเรยี นต้นแบบนักเรยี นไทยสุขภาพดี รุ่นท่ี 6 ระดับประเทศ ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 3 - รางวลั เกยี รติคณุ ดา้ นการสง่ เสรมิ กจิ กรรมทางกาย เพอื่ เด็กไทย สงู สมสว่ น แข็งแรง IQ EQ ดี ประจำปี 2564 - ได้รับจดั สรรงบประมาณก่อสรา้ งบา้ นพักครู 205/26 เปน็ จำนวนเงนิ 751,000 บาท ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม ๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ ชุมชนนอกเขตเมือง มีประชากรประมาณ ๒,๑๕๐ คน จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๔ คน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา นับถือ ศาสนาพุทธ อาชีพหลักของชุมชน คือ รับจ้าง และเกษตรกรรม รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ๓๐,๐๐๐ – ๓๖,๐๐๐ บาท บรเิ วณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรยี น ได้แก่ วัดบงึ ทบั ชา้ งและแหลง่ เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง ประเพณี/ ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่ินทเี่ ป็นท่ีรู้จักโดยทว่ั ไป คอื ประเพณีเล้ียงผีตาปู่ ๒) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียนตั้งอยู่ในหมู่บ้านบึงทับช้าง หมู่ที่ ๗ ใกล้วัดบ้านบึงทับช้าง ได้รับ การสง่ เสริมสนับสนนุ จากชมุ ชน ผู้นำชุมชน และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ วสิ ยั ทศั น์ (VISION ) โรงเรียนบ้านบงึ ทับช้างเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรู้ นกั เรยี นมีสุขภาพดี มคี ณุ ธรรมและคุณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน โดยครมู ืออาชพี และชุมชนมีสว่ นรว่ ม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกจิ ( MISSION ) ๑. สง่ เสริมศกั ยภาพผู้เรยี นใหม้ ที ักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ ๓. พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษารองรับกลมุ่ ศกั ยภาพผู้เรียนศตวรรษท่ี ๒๑ ๔. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การใหม้ ีคณุ ภาพเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล ๕. สรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมอื ภาคประชาชนสนับสนุน สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ส่งเสริมผู้เรยี นใหม้ สี ุขภาพจิตและสขุ ภาพกายท่ดี ี บรโิ ภคอาหารที่ปลอดภัย ฟันสวย ยิม้ ใส ใสใ่ จ ส่งิ แวดล้อมและดำเนินชวี ติ อย่างมคี วามสุข เป้าประสงค(์ GOALS / COPERATE OBJECTIVE ) ๑. ผ้เู รียนมที ักษะด้านการเรยี นรู้ นวตั กรรมและเทคโนโลยี มีทักษะชีวติ และอาชีพ สามารถปรบั ตัวต่อ การเปลยี่ นแปลงของสงั คมโลก แหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ๒. ครมู ศี กั ยภาพและจรรยาบรรณทางวชิ าชพี ครูมที กั ษะในการจัดการเรียนรูต้ ามกระบวนการ Active Leaning และวัดประเมินผลตามสภาพจริง ๓. โรงเรยี นมีหลกั สตู รและมีระบบสือ่ เทคโนโลยแี ละมีแหลง่ เรยี นรู้ แหลง่ ฝกึ ประสบการณ์ การเขา้ ถึงองค์ ความรรู้ องรบั การพัฒนากลุ่มศักยภาพของผูเ้ รยี น ๔. โรงเรยี นมีการพฒั นาระบบการบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ ตามแนวทางของ TQA ๕. โรงเรยี นมภี าคเี ครือข่ายความรว่ มมอื ของสถาบันการศกึ ษา องค์กร ชุมชน สถานประกอบการ ๖. ผเู้ รียนมีสุขภาพจิตและสุขภาพกายทีด่ ี บรโิ ภคอาหารท่ีปลอดภัย ฟันสวย ยิม้ ใส ใส่ใจส่ิงแวดล้อม ปรัชญาโรงเรยี น วินยั ดี มีวชิ า กฬี าเด่น เนน้ คณุ ธรรม
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 4 คำขวัญโรงเรียน รู้หนา้ ท่ี มวี นิ ยั ต้ังใจศกึ ษา สปี ระจำโรงเรียน สเี ขียว – สเี หลือง เอกลักษณ์ โรงเรยี นส่งเสรมิ ทักษะชีวิต ยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพียง อัตลักษณ์ สามคั คี ใฝ่เรียนรู้ อย่อู ยา่ งพอเพียง ๑.๒ ข้อมูลครแู ละบุคลากรของสถานศึกษา 1) จำนวนบุคลากร ผูบ้ รหิ าร ครผู ู้สอน ธุรการ/บุคลากรอ่ืน ครูอัตราจา้ ง นกั การภารโรง บุคลากร ๑9 ๑ 3๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ๒) วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ ของบุคลากร คณุ วุฒิ ตำ่ กวา่ ระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมท้ังหมด ทางการศกึ ษา ปรญิ ญา ๑5 ๑3 ๑ - จำนวน (คน) ๑ 86.67 6.67 - รอ้ ยละ 6.67 ปริญญาโท 6% ตา่ กวา่ ระดับปริญญา 6% ปริญญาตรี 88% ต่ากว่าระดับปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 5 ๓) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน สาขาวิชา จำนวน(คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน ในแตล่ ะสาขาวิชา(ช.ม./สัปดาห์) ปฐมวัย ๒ การประถมศกึ ษา (สอนภาษาไทย) ๑ ๒๕ สังคมศึกษา (คณิตศาสตร์) ๑ ๒5 คณติ ศาสตร์ ๑ ๒5 ฟสิ ิกส์ (วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี) ๒ ๒0 สุขศึกษา (สอนภาษาไทย ) ๑ ๒0 ทัศนศลิ ป์ ๑ ๒5 พลศึกษา ๑ 20 ภาษาอังกฤษ ๑ ๒๐ คอมพวิ เตอร์ 1 ๒0 ๑2 20 รวม ๒2 ๑.๓ ข้อมูลนกั เรยี น 1) นักเรยี นปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 จำนวนรวม ๑๓6 คน (ข้อมูล ณ วันท่ี 18 กรกฎาคม 2563) ระดบั ช้ันเรยี น จำนวน จำนวนนักเรียน เฉลีย่ ตอ่ ห้องเรยี น ห้อง อ.๑ ชาย หญงิ รวม อ.๒ ๑ 67 ๑3 ๑3 อ.๓ ๑ 84 ๑2 ๑2 รวม ๑ 96 15 15 ป.๑ ๓ 21 17 40 40 ป.๒ ๑ 89 ๑7 ๑7 ป.๓ ๑ 78 15 15 ป.๔ ๑ 65 11 11 ป.๕ ๑ 20 5 25 25 ป.๖ ๑ 68 14 14 รวม ๑ 59 14 14 ๖ 52 44 96 96 รวมทง้ั หมด ๙ 75 61 136 ๑๕
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 6 เปรยี บเทยี บขอ้ มูลจานวนนกั เรยี นปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ ๑๔๐ ๑๒๐ ๑๐๐ ๘๐ ๖๐ ๔๐ ๒๐ ๐ ปฐมวัย ประถมศกึ ษา รวมท้งั สิ้น ๔๒ ๘๘ 130 ปี 2561 ๔๑ ๙๐ 131 ปี 2562 40 36 136 ปี 2563 ๑.๔ ผลการประเมนิ พฒั นาการตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั 1) ข้อมลู นักเรยี นช้นั อนบุ าลปีที่ ๓ ท่เี ขา้ รบั การประเมิน จำนวน ๑5 คน (ขอ้ มูล ณ 7 เมษายน ๒๕๖4) ผลการประเมินของเด็กตามระดบั คุณภาพ พัฒนาการ ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ด้านร่างกาย จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ ดา้ นสตปิ ัญญา 9 60 4 27 2 13 ด้านสังคม 8 53 5 33 2 13 15 ๑๐๐ ๐ ๐๐ ๐ 12 80 1 7 2 13 จากผลการประเมินพัฒนาการของนักเรียนระดับอนุบาลปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 พบว่า ร้อยละ ของเด็กปฐมวัยทีม่ ผี ลการประเมนิ พัฒนาการทั้งสี่ด้านอยู่ในระดับดีสูงสุด คือ ด้านสติปัญญา ร้อยละ 100 รองลงมา คือ ดา้ นดา้ นสงั คม รอ้ ยละ 80 ด้านร่างกาย ร้อยละ 60 และด้านอารมณแ์ ละจติ ใจ ร้อยละ 53 และ ตามลำดับ
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 7 รอ้ ยละของผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ชัน้ อนบุ าล ๓ ปีการศึกษาปีท่ี ๒๕๖3 100 ดา้ นอารมณแ์ ละ ด้านสติปัญญา ดา้ นสงั คม 90 จติ ใจ 80 53 100 80 70 0 7 60 33 0 13 50 40 13 30 20 10 0 ด้านร่างกาย ดี 60 พอใช้ 27 ปรับปรงุ 13 ๑.๕ ผลการประเมนิ พฒั นาการตามหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ๑) ข้อมลู ร้อยละผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระดับสถานศกึ ษาปีการศึกษา ๒๕๖3 (ข้อมูล ณ 7 เมษายน ๒๕๖4) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ระดบั ช้ัน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รวม วิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย 81.06 74.47 80.40 73.22 68.50 74.31 75.33 คณติ ศาสตร์ 76.74 76.37 71.80 72.76 66.93 70.85 72.58 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 76.99 80.37 79.50 67.88 70.57 75.77 75.18 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 86.71 78.40 82.70 77.82 77.46 81.08 80.70 ประวัตศิ าสตร์ 91.78 74.97 89.50 76.38 73.93 81.31 81.31 สุขศกึ ษา 86.32 82.37 82.50 76.06 75.25 80.38 80.48 ศิลปะ 86.41 83.07 81.8 76.78 78.29 80.85 81.20 การงานอาชพี 90.41 80.80 89.50 79.20 75.50 77.69 82.18 ภาษองั กฤษ 77.79 79.07 79.10 66.00 70.50 65.85 73.05 วิชาเพม่ิ เติม หนา้ ท่ีพลเมอื ง 89.79 81.90 92.70 81.38 79.43 77.21 83.74 วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเติม 75.59 76.87 74.2 75.55 คอมพิวเตอร์ 72.78 74.46 73.62 รวมเฉลยี่ 83.60 78.97 82.15 74.57 73.71 76.53 78.26
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 8 ร้อยละของนกั เรียนท่ีมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรใู้ นระดบั 3 ขึ้นไป ระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 - 6 ปกี ารศึกษา 2563 100 80 60 40 20 0 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รวม 57.03 ภาษาไทย 73.26 49 75.36 49.72 39.14 55.69 44.8 60.91 คณิตศาสตร์ 61.82 49.8 42.18 55.02 28.14 31.85 75.2 75.88 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 57.96 71.27 74.09 29.88 60.82 71.46 79.58 80.9 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 86.71 65.03 82.7 75.12 70.79 70.85 76.12 58.99 ประวัตศิ าสตร์ 91.78 44.17 89.5 76.38 72.14 81.31 84.44 67.42 สุขศึกษา 86.32 82.37 82.5 70.66 75.25 80.38 67.3 ศิลปะ 86.41 83.07 81.8 76.78 76.5 80.85 การงานอาชีพ 90.41 71.57 89.5 79.2 73.71 52.31 ภาษองั กฤษ 77.79 70.63 73.36 33.46 68.71 30 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 89.79 87.9 92.7 81.38 77.64 77.21 วทิ ยาศาสตร์เพิ่มเติม 64.03 63.87 62.36 คอมพวิ เตอร์ 61.92 72.68 จากแผนภูมิผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–6 ปกี ารศึกษา 2563 พบว่า รอ้ ยละของนกั เรยี นที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในระดบั 3 ขึน้ ไป ในภาพรวมทุกระดับช้ัน สงู สดุ คอื กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษาฯ (หน้าทีพ่ ลเมอื ง) ร้อยละ 84.44 รองลงมาคือ กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ร้อยละ 80.90 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ 79.58 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ร้อยละ 76.12 ตามลำดับ ทั้งนี้กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีร้อยละของผลการประเมินในระดับ 3 ขึ้นไปน้อยที่สุด คือ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ รอ้ ยละ 44.80
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 9 2) รอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ีผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงคร์ ะดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึงระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ (ขอ้ มลู ณ 7 เมษายน ๒๕๖4) จำนวน จำนวนนักเรียนทม่ี ีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรียน ระดบั ชน้ั ทั้งหมด ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๑7 จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ 15 ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ 11 13 76.47 4 23.53 0 0 0 0 ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ 25 ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ 14 9 60.00 6 40.00 0 0 0 0 ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ 14 96 11 100 0 0 0 0 0 0 รวม 25 100 0 0 0 0 0 0 13 92.86 0 0 0 0 1 7.14 13 92.86 0 0 0 0 1 7.14 84 87.03 10 10.59 0 0 2 2.38 จากผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา 2563 พบวา่ นักเรยี นระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 6 มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 94 คน คิดเป็นร้อยละ 97.92 ส่วนใหญ่มีผลการประเมินผ่านในระดับดีเยี่ยม ร้อยละ 87.03 รองลงมาคือ ผ่านในระดับดี ร้อยละ 10.59 ตามลำดบั และมผี ลการประเมนิ ไมผ่ ่านจำนวน 2 คน รอ้ ยละ 2.38 3) รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ ีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึง ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖3 (ข้อมลู ณ 7 เมษายน ๒๕๖4) จำนวน ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น นกั เรยี น ระดบั ช้นั ท้ังหมด ดเี ยยี่ ม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๑7 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ 15 ประถมศึกษาปีที่ ๓ 11 13 76.47 1 5.88 3 17.65 0 0 ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ 25 ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ 14 8 53.33 7 46.67 0 0 0 0 ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ 14 96 1 9.09 8 72.73 2 18.18 0 0 รวม 5 20.00 8 32.00 12 48.00 0 0 5 35.71 7 50.00 1 7.14 1 7.14 5 35.71 6 42.86 2 14.29 1 7.14 37 38.39 37 41.69 20 17.54 2 2.38 จากผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ปีการศึกษา 2563 พบว่า นักเรียนระดับช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนในระดับดีขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 74 คน คิดเป็นร้อยละ 77.08 ส่วนใหญ่มีผลการประเมินผ่านในระดับดีเยีย่ ม ร้อยละ 38.39 รองลงมาคือ ผ่านในระดบั ดี รอ้ ยละ 41.69 ตามลำดบั และมผี ลการประเมินไม่ผ่านจำนวน 2 คน ร้อยละ 2.38
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 10 4) ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ๕ ดา้ น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ (ขอ้ มลู ณ 7 เมษายน ๒๕๖4) จำนวน ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 5 ด้าน นักเรยี น ระดบั ชน้ั ท้ังหมด การส่อื สาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้ทักษะ การใช้ ชวี ิต เทคโนโลยี ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ๑7 ผ่าน ไม่ผ่าน ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ 15 ผ่าน ไมผ่ า่ น ผ่าน ไมผ่ า่ น ผา่ น ไม่ผา่ น ผา่ น ไม่ผา่ น 17 0 ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ 11 15 0 ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ 25 17 0 17 0 17 0 17 0 11 0 ประถมศึกษาปที ่ี ๕ 14 25 0 ประถมศึกษาปีท่ี ๖ 14 15 0 15 0 15 0 15 0 13 1 96 13 1 รวม 11 0 11 0 11 0 11 0 94 2 25 0 25 0 25 0 25 0 13 1 13 1 13 1 13 1 13 1 13 1 13 1 13 1 94 2 94 2 94 2 94 2 ร้อยละของผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 5 ด้าน 100 การคิด การแกป้ ญั หา การใช้ทักษะชวี ิต การใชเ้ ทคโนโลยี 97.92 97.92 97.92 97.92 80 2.08 2.08 2.08 2.08 60 40 20 0 การสือ่ สาร ผา่ น 97.92 ไมผ่ ่าน 2.08 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 5 ด้าน ปีการศึกษา 2563 พบวา่ นักเรยี นระดบั ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 - 6 มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนผ่านมากที่สุดใน 5 ด้าน คือ ด้านการสื่อสาร ด้านการคิด ด้านด้านการแกป้ ญั หา ดา้ นการใช้ทกั ษะชีวิต และด้านการใชเ้ ทคโนโลยี เท่ากนั คือร้อยละ 97.92
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 11 5) ผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ (ขอ้ มลู ณ 7 เมษายน ๒๕๖4) จำนวน ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน นกั เรียน ระดบั ช้ัน ท้งั หมด ผ่าน ร้อยละ ไม่ผา่ น ร้อยละ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๑7 17 100 0 0 ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ 15 100 0 0 ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ 15 11 100 0 0 ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ 11 25 100 0 0 ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ 13 92.86 1 7.14 ประถมศึกษาปีที่ ๖ 25 13 92.86 1 7.14 94 97.92 2 2.08 รวม 14 14 96 ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ปีการศกึ ษา 2563 พบวา่ นกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 6 มีผลการประเมนิ กจิ กรรมผเู้ รียนผ่านจำนวน 94 คน คิดเปน็ ร้อยละ 97.92 และไม่ผ่าน จำนวน 2 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 2.08 ๑.๖ ผลการอา่ นของผู้เรยี น (Reading Test : RT) ๑) ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (RT) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ที่ ความสามารถ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ รวม ๒ สมรรถนะ การอ่านออกเสยี ง การอา่ นรเู้ รอ่ื ง 1 ระดับโรงเรยี น 81.37 73.75 77.56 2 ระดับเขตพน้ื ที่ 78.12 72.67 75.41 3 ระดับประเทศ 74.14 71.86 73.02 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผ้เู รียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 82 การอา่ นรู้เร่ือง รวม 2 สมรรถนะ 80 73.75 77.56 78 76 72.67 75.41 74 72 71.86 73.02 70 68 66 การอา่ นออกเสียง ระดบั โรงเรยี น 81.37 ระดับเขตพน้ื ที่ 78.12 ระดับประเทศ 74.14
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 12 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน ด้านการอา่ นออกเสียง เทา่ กบั รอ้ ยละ 81.37 ดา้ นการอ่านร้เู รือ่ งเท่ากับร้อยละ 73.75 รวมท้ังสองสมรรถนะเท่ากับ ร้อยละ 77.56 ซ่ึงสูงกวา่ ในระดบั เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาและสูงกว่าระดบั ประเทศ ๒) คะแนนเฉลยี่ ร้อยละของจำนวนนักเรยี นทมี่ ีผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖3 จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ ความสามารถ จำนวนนักเรียน จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ การอ่านออกเสยี ง 12 2 0 2 การอ่านรูเ้ รอื่ ง รวม 2 ดา้ น 9 5 11 12 1 2 1 ร้อยละผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (RT) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 จาแนกตามระดับคณุ ภาพ 80 60 40 20 0 ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง 75 12.5 0 12.5 การอา่ นออกเสยี ง การอ่านรเู้ ร่อื ง 56.25 31.25 6.25 6.25 รวม 2 สมรรถนะ 75 6.25 12.5 6.25 ๓) ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รียน (RT) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖3 ๓.๑ เปรียบเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน (RT) ขัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ และ ร้อยละของผลตา่ งระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖3 ท่ี ระดบั คะแนนเฉล่ียร้อยละ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ รวม 2 สมรรถนะ การอ่านออกเสียง การอ่านรเู้ รื่อง 1 ระดับโรงเรยี น 2561 2562 2563 2561 2562 2563 2 ระดับเขตพ้นื ท่ี 72.33 68.28 81.37 2561 2562 2563 77.91 73.92 77.56 3 ระดับประเทศ 69.01 74.26 78.12 83.50 79.57 73.75 70.89 75.29 75.41 66.13 67.49 74.14 72.78 76.32 72.67 68.69 70.66 73.02 71.24 72.81 71.86
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 13 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 เปรยี บเทยี บปีการศกึ ษา 2561 - 2563 100 การอ่านออกเสียง การอ่านรเู้ ร่อื ง รวม 2 สมรรถนะ 80 72.33 83.5 77.91 60 40 68.28 79.57 73.92 20 0 81.37 73.75 77.56 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2561 - 2563 พบว่า คะแนนเฉล่ยี ร้อยละของผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 รวม 2 สมรรถนะ ปีการศึกษา 2563 มีพัฒนาการสูงขึ้นถึงร้อยละ 2.48 และ สูงกว่าปีการศึกษา 2562 แต่ต่ำกว่าปีการศึกษา 2561 เมื่อเปรียบเทียบรายสมรรถนะ พบว่า สมรรถนะด้านการ อา่ นออกเสียง ปีการศกึ ษา 2563 มพี ฒั นาการสูงขน้ึ กวา่ ปีการศึกษา 2562 ถึงร้อยละ 13.09 ๓.๒) เปรยี บเทยี บผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (RT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ และ ร้อยละของผลตา่ งระหวา่ งปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 – ๒๕๖3 จำแนกตามร้อยละของระดับคณุ ภาพ ท่ี ระดับ รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี น ปี 2562 รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี น ปี 2563 ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1 การอา่ นออกเสยี ง 35.71 45.85 21.42 0 75.00 12.50 0 12.50 2 การอา่ นรเู้ รอ่ื ง 64.28 35.71 0 0 56.25 31.25 6.25 6.25 35.71 57.14 7.14 0 75.00 6.25 12.50 6.25 รวม 2 สมรรถนะ
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 14 รอ้ ยละของผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผูเ้ รยี น (Reading Test : RT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2562 – 2563 ด้านการอ่านออกเสยี ง จำแนกตามระดบั คุณภาพ ร้อยละของผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รียน (Reading Test : RT) ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 – 2563 ตามระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก 0 20 40 60 80 ร้อยละของจานวนนักเรียน ปี 2563 รอ้ ยละของจานวนนักเรียน ปี 2562 ร้อยละของผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รียน (Reading Test : RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2562 – 2563 ด้านการอา่ นรเู้ รื่อง จำแนกตามระดับคณุ ภาพ ร้อยละของผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รียน (Reading Test : RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 – 2563 ตามระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง 40 50 60 70 พอใช้ รอ้ ยละของจานวนนักเรยี น ปี 2562 ดี ดมี าก 0 10 20 30 ร้อยละของจานวนนักเรียน ปี 2563
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 15 ๑.๗ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (National Test NT) ๑) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ท่ี ระดับ รอ้ ยละของผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ รวมเฉลีย่ 2 ดา้ น 1 ระดับโรงเรียน 40.68 28.09 34.38 2 ระดับเขตพืน้ ท่ี 52.87 50.83 51.85 47.46 40.47 43.97 3 ระดบั ประเทศ ร้อยละของผลการประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รียนระดบั ชาติ (National Test NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2563 60 ดา้ นภาษาไทย ดา้ นคณติ ศาสตร์ รวมเฉลยี่ ทง้ั 2 ดา้ น 50 40.68 28.09 34.38 40 30 52.87 50.83 51.85 20 10 47.46 40.47 43.97 0 ระดบั โรงเรียน ระดับเขตพน้ื ท่ี ระดบั ประเทศ ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 พบวา่ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ความสามารถด้านภาษาไทย เทา่ กบั ร้อยละ 40.68 ความสามารถด้านคณิตศาตสร์เทา่ กับร้อยละ 28.09 รวมความสามารถท้งั สองด้านเท่ากับ รอ้ ยละ 34.38 ซ่ึงตำ่ กว่าในระดับเขตพืน้ ท่ีการศึกษา และระดบั ประเทศ
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 16 ๒. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ประจำปีการศึกษา๒๕๖๑ – ๒๕๖3 ๑) เปรยี บเทียบภาพรวมผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) และร้อยละของผลตา่ งระหว่างปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖3 ลำดบั ที่ ระดบั ผลการประเมินเปรียบเทยี บปีการศกึ ษา 2561-2563 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 1 ดา้ นภาษาไทย 44.52 31.35 40.68 2 ดา้ นคณิตศาสตร์ 45.47 25.20 28.09 3 รวมทัง้ 2 ด้าน 44.92 28.27 34.38 ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เปรียบเทยี บปกี ารศึกษา 2561-2563 50 ด้านภาษาไทย ด้านคณติ ศาสตร์ รวมเฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน 40 44.52 45.47 44.92 30 20 31.35 25.2 28.27 10 0 40.68 28.09 34.38 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2561 – 2563 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 มพี ฒั นาการสงู ขึ้นทง้ั สองด้านดงั น้ี ดา้ นภาษาไทย ปีการศึกษา 2563 มีพฒั นาการเพมิ่ ข้ึนจากปีการศกึ ษา 2562 ถึง ร้อยละ 9.33 ด้านคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 มีพัฒนาการเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ถึงร้อยละ 2.89 เมอ่ื ดภู าพรวมแลว้ ท้ังสองดา้ นมพี ฒั นาการสูงข้นึ จากปที ีผ่ า่ นมาถงึ รอ้ ยละ 6.11
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 17 2) เปรยี บเทยี บภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๖2 – ๒๕๖3 จำแนกตามรอ้ ยละของระดบั คุณภาพ ท่ี ความสามารถ ร้อยละของจำนวนนกั เรยี น ปี 2562 รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียน ปี 2563 ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ 1 ด้านภาษาไทย 0 0 45.00 55.00 0 9.09 36.36 54.54 2 ด้านคณติ ศาสตร์ 0 10.00 45.00 45.00 9.09 18.18 54.54 18.18 รวมทง้ั 2 ดา้ น 0 0 55.00 45.00 9.09 0 63.63 27.27 ผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ 70 ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 60 0 9.09 36.36 54.54 50 40 9.09 18.18 54.54 18.18 30 20 9.09 0 63.63 27.27 10 0 ดา้ นภาษาไทย ด้านคณติ ศาสตร์ รวมทั้ง 2 ด้าน ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 - 2563 จำแนกตามระดับ คุณภาพ พบว่า ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนทั้งสองด้านอยู่ในระดับดี ขึ้นไป ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 9.09) สูงกว่าปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 0) และมีร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มี ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนทั้งสองด้านในระดับปรับปรุง ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 27.27) น้อยกว่า ปกี ารศึกษา 2562 (ร้อยละ 45.00)
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 18 รอ้ ยละของผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2562 -2563 ความสามารถด้านภาษาไทย จำแนกตามระดบั คุณภาพ ร้อยละของผลการประเมินความสามารถด้านภาษาไทย (NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563 ตามระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 0 10 20 30 40 50 60 ร้อยละของจานวนนักเรียน ปี 2563 รอ้ ยละของจานวนนกั เรียน ปี 2562 ร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 -2563 ความสามารถด้านคณติ ศาสตร์ จำแนกตามระดับคุณภาพ ร้อยละของผลการประเมนิ ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563 ตามระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก 0 10 20 30 40 50 60 ร้อยละของจานวนนักเรยี น ปี 2563 รอ้ ยละของจานวนนกั เรียน ปี 2562
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 19 ๑.๘ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖3 ท่ี ระดบั คะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ คะแนนรวม ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เฉล่ีย 1 ระดบั ประเทศ 2 ระดบั สงั กดั สพฐ. 56.20 43.55 29.99 38.78 42.13 3 ระดบั เขตพน้ื ที่ 54.96 38.87 28.59 37.64 40.02 4 ระดับโรงเรยี น 43.59 47.95 50.20 34.29 41.91 41.83 62.08 46.25 22.50 36.50 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 พบวา่ คะแนนเฉลย่ี ร้อยละของผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับประเทศ จำนวน 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ร้อยละ 62.08 มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดับประเทศ จำนวน 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 46.25 และมีคะแนนเฉลี่ยรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ร้อยละ 41.83 ซึง่ สูงกวา่ ผลการประเมินระดับสังกัด สพฐ. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) 70 ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คะแนนรวม 60 เฉลย่ี 50 43.55 29.99 38.78 42.13 40 38.87 28.59 37.64 30 50.2 34.29 41.91 40.02 20 46.25 22.5 36.5 10 43.59 0 ภาษาไทย 41.83 ระดบั ประเทศ 56.2 ระดับสงั กดั สพฐ. 54.96 ระดับเขตพื้นที่ 47.95 ระดับโรงเรียน 62.08
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 20 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 เปรยี บเทยี บปีการศกึ ษา 2561 - 2563 ท่ี ระดับ คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ คะแนนรวม ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉลี่ย 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 49.96 39.64 38.57 38.93 41.78 3 ปีการศกึ ษา 2563 52.45 29.06 36.06 31.88 37.36 62.08 46.25 22.50 36.50 41.83 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เปรียบเทียบ ปีการศึกษา 2562 - 2563 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ยรวมเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ถึงร้อยละ 3.33 เมื่อพิจารณารายกลุ่มสาระ พบว่ามีจำนวน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีพัฒนาการเพิ่มขึ้น คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.19 กลุ่มสารการเรียนรู้ภาษาไทย เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.63 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 4.62 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) เปรยี บเทียบปกี ารศึกษา 2561 -2563 70 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนรวม 60 เฉล่ีย 50 39.64 38.57 38.93 41.78 40 29.06 36.06 31.88 30 46.25 22.5 36.5 37.36 20 10 41.83 0 ภาษาไทย ปี 2561 49.96 ปี 2562 52.45 ปี 2563 62.08
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 21 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั ปีการศึกษา ๒๕๖3 มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ระดบั แปลผล คุณภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเด็ก ดี ๑.๑ มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนิสัยทีด่ ีและดูแลความปลอดภยั ๓ ดีเลิศ ของตนเองได้ ๔ ดี ๑.๒ มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ๓ ดี ๑.๓ มีพัฒนาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาซิกท่ีดขี องสงั คม ๓ ดี ๑.๔ มพี ฒั นาการด้านสติปัญญา สอื่ สารได้ มีทกั ษะการคดิ พ้ืนฐานและ ๓ แสวงหาความรู้ได้ ๔ ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๔ ดีเลิศ ๓ ดี ๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้งั ๔ ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของทอ้ งถ่ิน ๔ ดีเลศิ ๒.๒ จัดครูใหเ้ พยี งพอกับช้ันเรยี น ๔ ดีเลศิ ๒.๓ ส่งเสริมให้ครูมคี วามเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ ๔ ดีเลศิ ๒.๕ ใหบ้ รกิ ารสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือการเรยี นรูเ้ พ่อื สนับสนนุ ดีเลิศ การจดั ประสบการณ์ ๔ ดีเลิศ ๒.๖ มรี ะบบบริหารคณุ ภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วม ๔ ดี ๔ ดี มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคญั ๔ ดเี ลศิ ๔ ๓.๑ จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ ดีเลิศ ๔ ๓.๒ สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบตั ิอย่างมคี วามสุข ดเี ลิศ ๓.๓ จดั บรรยากาศท่ีเอ้อื ตอ่ การเรียนรูใ้ ช้สอ่ื และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วัย ๔ ๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็ก ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 22 ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ปีการศกึ ษา ๒๕๖3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยู่ใน ระดับ ดเี ลศิ คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน บรรลุ เปา้ หมาย มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ระดบั ดีเลิศ ระดบั ดีเลิศ ระดับดีเลิศ ระดบั ดีเลิศ ✓ มาตรฐานท่ี ๑ ดา้ นคุณภาพผู้เรียน รอ้ ยละ ๗๕ ร้อยละ ๘๓.๘๘ ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ้ รียน ✓ ๑ มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณ รอ้ ยละ ๗๕ รอ้ ยละ ๘๐.๖๕ ✓ ๒ ความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ✓ รอ้ ยละ ๘๕ ร้อยละ ๘๕.๗๑ ✓ และแก้ปญั หา รอ้ ยละ ๙๓.๔๑ ✓ ๓ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม รอ้ ยละ ๘๕ รอ้ ยละ ๗๕.๗๙ ✓ ๔ มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ร้อยละ ๗๕ ร้อยละ ๘๘.๑๗ ✓ ๕ มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา รอ้ ยละ ๘๕ ✓ ๖ มคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ีตอ่ งานอาชพี ระดับดีเลศิ ระดับดเี ลศิ ✓ ๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผ้เู รยี น ร้อยละ ๘๕ ร้อยละ ๑๐๐ ✓ ๑ มคี ุณลักษณะและค่านิยมทดี่ ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด ร้อยละ ๘๕ รอ้ ยละ ๑๐๐ ✓ ๒ ความภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย ร้อยละ ๘๕ รอ้ ยละ ๑๐๐ ✓ ๓ การยอมรับท่ีจะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ ๘๕ ร้อยละ ๑๐๐ ✓ ๔ สขุ ภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจิตสงั คม ระดับดเี ลิศ ✓ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ระดบั ดีเลศิ ระดบั ดีเลิศ ระดับดีเลศิ ระดับดีเลศิ ✓ ๑ มเี ป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกิจท่ีสถานศกึ ษากำหนดซดั เจน ระดบั ดีเลิศ ๒ มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ✓ ๓ ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสตู ร ระดับดีเลิศ ระดับดีเลศิ ✓ สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ระดับดีเลศิ ระดบั ดีเลิศ ๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี ✓ ๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและลังคมทเี่ ออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ย่างมี ระดบั ดีเลศิ ระดับดีเลศิ ✓ คณุ ภาพ ระดบั ดีเลิศ ระดับดีเลิศ ๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การ ✓ ระดับดีเลศิ ระดบั ดีเลิศ เรียนรู้ ✓ ระดบั ดีเลิศ ระดบั ดีเลศิ ✓ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ✓ ระดับดีเลิศ ระดับดี ๑ จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ระดับดีเลศิ ระดับดีเลศิ ✓ ระดบั ดีเลิศ ระดบั ดีเลิศ ชวี ิตได้ ✓ ๒ ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทีเ่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ระดบั ดีเลิศ ระดับดี ๓ มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเซงิ บวก ๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รยี น ระดบั ดีเลิศ ระดับดีเลศิ ๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพอื่ พัฒนา และปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 23 ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวยั มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก ดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคญั ดีเลิศ ดีเลิศ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ผลการประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพเดก็ ๑. ระดับคุณภาพ ดี ๒. วธิ ีการพฒั นา/ผลท่ีเกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมิน ตนเอง 2.1 วิธีการพัฒนา/ผลทเี่ กดิ จากการพัฒนา โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ มีการช่ัง น้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ ๒ ครั้ง มีกิจกรรมออกกำลังกายหน้าเสาธงก่อนเข้าเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย มีการจัดบอร์ดให้ความรู้แก่เด็กเกี่ยวกับโรคติดต่อ ในชมุ ชน โรคตดิ ต่อจากการอยู่รว่ มกนั อบุ ตั ิเหตทุ ่ีเกิดขน้ึ ได้ในชีวิตประจำวนั มกี ารรณรงค์ตอ่ ต้านยาเสพติด มีการจัด กิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการดา้ นร่างกายให้กับเดก็ และได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลตลาด ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬา ตามความสามารถ สนับสนนุ ให้เข้าร่วมการแขง่ ขันกีฬาในระดับอำเภอ มีการจดั กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง เพ่ือส่งเสริม ให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาททีด่ ี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวตั รประจำวัน สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเอง และมมี ารยาทในการรับประทานอาหาร รจู้ ักดูแลรักษาความสะอาด ทง้ั ภายในและนอกห้องเรียน โดยการจัดกจิ กรรม แบ่งเขตพนื้ ท่รี ับผิดชอบ รจู้ ักชว่ ยเหลือ แบ่งปันเพือ่ นในห้องเรยี น ทำงานรว่ มกับเพื่อนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการ จดั ประสบการณ์ การเรยี นรู้ รูจ้ กั เกบ็ ของเลน่ สิ่งของเครือ่ งใช้ ของตน และของส่วนรวม ปลกู ฝังให้ผ้เู รียนรู้จกั ประเพณี วัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวันสำคัญ ทางชาติ กจิ กรรมวนั สำคญั ทางพระพุทธศาสนา เช่นพอ่ วันแม่ วนั ไหว้ครู วนั เขา้ พรรษา สง่ เสรมิ พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน มีความอดทน มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ยิ้มแย้มแจ่มใส มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้ผู้เรียนได้วาดภาพ ระบายสี เพื่อสร้าง
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 24 จินตนาการและมีอารมณ์ผ่องใส ให้เด็กได้ทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ทั้งในและนอก ห้องเรียน โดยครูได้ดำเนินการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ มีการจดั กิจกรรมร้อง เลน่ เตน้ อ่าน ให้เด็กได้แสดงออกตามศักยภาพของตน โรงเรยี นได้สง่ เสรมิ ให้เด็กมีพัฒนาการ ดา้ นสติปญั ญา ส่ือสารได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ โดยการเขา้ ร่วมโครงการบ้านนกั วิทยาศาสตร์ น้อยแห่งประเทศไทย โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ ทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา มีการจัดกิจกรรมโครงงานเพื่อการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้เด็กมีความสนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว กล้าซักถามเพื่อค้นหาคำตอบ มีการจัดกิจกรรมหนูรักภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะทางภาษา มีนิสัยรักการ อ่าน ส่งเสริมให้เด็กอ่านนิทานและเล่านทิ านที่ตนเองอ่านให้ครูและเพื่อนฟัง มีการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วม กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับต่างๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ ส่งเสริมให้เด็กได้เสนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน เพอ่ื ใหเ้ ด็กไดป้ ฏิสมั พนั ธ์กบั บคุ คลภายนอก เรยี นรนู้ อกสถานท่ี แกป้ ัญหาในสถานการณจ์ รงิ 2.2 ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทส่ี นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - รายงาน สรุป โครงการ/กิจกรรม - เด็กมีพัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ร้อยละ 94.98 - เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ร้อยละ 93.34 สังเกต ได้จากการกล้าพูด กล้าแสดงออก รู้จักเข้าแถว รอคิว ในการรับประทานอาหาร รู้จักหน้าที่รับผิดชอบ ตามที่ได้ รบั มอบหมายทง้ั ในและนอกหอ้ งเรยี น ตามเขตพื้นท่รี บั ผิดชอบ ร่าเรงิ แจม่ ใส - เด็กมีพัฒนาด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ได้ร้อยละ 92.15 สังเกต ได้จากการชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวตั รประจำวนั รู้จักเก็บส่งิ ของเคร่อื งใช้ ทงั้ ของสว่ นตัวและสว่ นรวม รู้จกั ยม้ิ ทักทาย อย่เู ป็นนจิ อยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข - เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ คิดเป็น ร้อยละ 89.96 3. จดุ เดน่ จดุ ทคี่ วรพฒั นา แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดับใหส้ ูงขึ้น จดุ เด่น จุดทีค่ วรพฒั นา เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ -ด้านการมีความคิดรวบยอด การแก้ปัญหาที่เกิด มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวยั สามารถดูแลสุขภาพและ จาก การอา่ น หลกี เล่ยี งต่อสภาวะท่เี สยี่ งตอ่ อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด -การทำกิจกรรมเสริมสติปญั ญาให้เหมาะสมตามวยั มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสำนึก -การพัฒนาปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี เช่น ในการอนุรักษ์และพัฒนาสงิ่ แวดล้อม ทำงานรว่ มกับผู้อื่น การล้างมือก่อนรับประทนอาหาร ล้างมือก่อน ได้อย่างมีความสุข มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ออกจากหอ้ งน้ำ ห้องสว้ ม และการเลอื กรับประทาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญา อาหารทมี่ ีประโยชน์ ใหเ้ ป็นนสิ ัย เรยี นรู้ไดต้ ามกจิ กรรมประจำวันอย่างดี -การยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ -การใช้คำพูดขอบคณุ ขอโทษ -การใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับวัย
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 25 แผนพฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดับให้สูงข้นึ ๑) โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน เพอ่ื ความพรอ้ มสมบรู ณต์ ามวยั ๒) โครงการโรงเรียนสง่ เสรมิ สุขภาพส่งิ แวดล้อมดี ชวี ีมีสุข ๓) โครงการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ๔) กจิ กรรมบ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ๕) โครงการโรงเรียนสจุ ริต ๖) โครงการสถานศึกษาสขี าว ๗) โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมตามแนวทางวถิ พี ทุ ธสู่สถานศกึ ษา ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๑. ระดับคุณภาพ ดีเลศิ ๒. วธิ ีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพฒั นา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ๒.๑ วิธีการพัฒนา/ผลทเี่ กิดจากการพัฒนา การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยได้แก่ การพัฒนา วิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ให้สอดคล้องกบั บริบทของท้องถ่ิน พิจารณาจากวยั ของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก โดยเป็นหลักสูตรทีม่ ุ่งพัฒนาเดก็ ทุกดา้ น ทัง้ ดา้ นร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา เพ่อื ให้ผ้เู รยี นมคี วามสขุ ในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ สำหรับด้านระบบกลไก การเสริมสร้าง ความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาท ในการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความร่วมมือเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้จัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นซึ่งเอื้อประโยชน์ และอำนวยความสะดวก ต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ท ่ีเ อื้อต ่ อ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ อ ย ่ า ง มี ค ุ ณ ภ า พ แ ล ะ จ ั ด ร ะ บ บ เ ท ค โ น โ ล ย ี ส า ร ส น เ ท ศ เ พ ื่อ ส น ั บ ส น ุ น ก า ร บ ร ิ ห า ร จ ั ด ก า ร เพื่อการจัดการเรียนรู้ เช่น จัดให้มีห้องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เด็กได้ศึกษาหาข้อมูลทางโลกออนไลน์ จัดให้มีอุปกรณ์ ของเล่น ของใช้ เครื่องนอน เครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้พอเพียงกับเด็ก โดยจัดให้เหมาะสม สะอาด ปลอดภัย ให้มีมุมหนังสือที่จำเป็นต่อพัฒนาการของเด็กให้เพียงพอและเหมาะสมกับวัย จัดให้มีเครื่องเล่นสนาม เคร่ืองเล่นน้ำ เล่นทราย ท่เี หมาะสมปลอดภยั จดั ใหม้ ีพน้ื ท่ีสำหรบั แปรงฟนั ลา้ งมือ ทำความสะอาดร่างกาย ห้องน้า ห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ที่จำเป็นและเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับ หลักสูตร สถานศึกษาเปน็ รปู แบบการจัดประสบการณ์ทีก่ ่อให้เกิดการเตรยี มความพรอ้ ม เนน้ การเรียนรูผ้ ่านการเลน่ และการลง มือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่นจัดครูที่เหมาะสมกับ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ คอื มีครปู ระจำการท่ีจบการศกึ ษาปฐมวยั และมีครูพ่ีเลี้ยงที่ผ่านการอบรมทางด้านการ ดูแลเด็กปฐมวัย ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องพัฒนาคุณภาพครูด้าน การศึกษา ปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และ ออกแบบหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย มที ักษะในการจดั ประสบการณ์และการประเมนิ พัฒนาการเดก็ เปน็ รายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน ส่งเสริมให้เกิด การเรียนรทู้ ัง้ แบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมมุ ประสบการณแ์ ละสอื่ การเรียนรู้ทห่ี ลากหลายที่ได้จาก ธรรมชาติหรือ
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 26 สื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกดิ การเรียนรู้แบบเรยี นปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้ มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหา ความรู้ มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมิน ไปปรับปรุง พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงาน ต้นสังกัด อยา่ งต่อเนอ่ื ง ๒.๒ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี - หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั - รายงานผลการเข้าร่วมอบรมพฒั นาของครแู ละบุคลากร - แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา - แผนกลยทุ ธ์โรงเรยี นบา้ นบึงทับช้าง - แผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย - รายงานผลการประเมินตนเองประจำปี ๓. จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหส้ ูงข้ึน จดุ เด่นเดน่ จดุ ท่ีควรพัฒนา - มหี ลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ดา้ นสอดคล้อง - จดั ครูใหเ้ พียงพอต่อชั้นเรียน กับบรบิ ทของท้องถน่ิ - ส่งเสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชยี่ วชาญดา้ นการจัด - การจัดสิง่ อำนวยความสะดวกให้บรกิ ารดา้ นสื่อ ประสบการณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนนุ การจัด - จัดสภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพ่ือการเรียนรู้ อยา่ ง ประสบการณ์ ปลอดภยั และพอเพยี ง - ครไู ดร้ บั การพฒั นาดา้ นวิชาชพี - กำหนดแผนการพัฒนาครอู ย่างชดั เจน แผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดับใหส้ ูงขึ้น ๑) โครงการส่งเสรมิ พฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น เพอื่ ความพรอ้ มสมบูรณ์ตาม ๒) โครงการโรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพ สิ่งแวดลอ้ มดี ชวี มี สี ุข ๓) โครงการพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ๔) โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ๕) โครงการโรงเรียนสจุ ริต ๖) โครงการสถานศึกษาสขี าว ๗) โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรมตามแนวทางวถิ ีพุทธส่สู ถานศกึ ษา ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๘) โครงการเปดิ ประตูสู่โลกกวา้ ง ๙) โครงการระดมทรัพยากรเพ่ือพฒั นาการศึกษา ๑๑) โครงการพัฒนาครสู คู่ รมู ืออาชีพ ๑๒) โครงการสง่ เสริมระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 27 ๑๓) โครงการพัฒนาระบบบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน ๑๔) โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาและหลักสูตรทอ้ งถ่นิ มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเปน็ สำคัญ ๑. ระดับคุณภาพ ดีเลิศ ๒. วธิ ีการพัฒนา/ผลท่เี กิดจากการพัฒนา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ๒.๑ วธิ กี ารพฒั นา/ผลท่เี กิดจากการพฒั นา จัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นสุข ภายใต้ คำว่าเก่ง ดี มีสุข ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ แบบเรียนผ่านเล่น เพื่อให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งสามารถยืดหยุ่นได้ ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสตู รปฐมวยั ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการใช้สื่อและเทคโนโลยี ท่เี หมาะสมกบั วยั จัดประสบการณ์การเรียนรูท้ ีค่ รอบคลมุ พัฒนาการในทุก ๆ ดา้ นให้เหมาะสมกับวยั ดงั นี้ ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการ เพื่อใหร้ ่างกายทกุ ส่วนทงั้ กลา้ มเน้อื มัดใหญ่มัดเล็กใหท้ างานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ความรู้สึกได้ อย่างเหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ รู้จกั การรอคอย กลา้ แสดงออก ช่วยเหลอื แบ่งปนั มีความรับผดิ ชอบ ด้านสังคม เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ มีวินัยในตนเองเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ มสี ัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ ด้านสติปัญญามีความคิดรวบยอด รู้จักการแก้ปัญหา สื่อสารและมีทักษะความคิดพื้นฐานแสวงหาความรู้ ได้อย่างเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์โดยตรงจากการเรียนผ่าน การเล่น โดยลงมอื ปฏบิ ัติจริงด้วยตนเองและการเรียนร้รู ายกลุ่ม เพอ่ื ก่อให้เกดิ ความมนี ้ำใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพือ่ สง่ ผลใหเ้ ดก็ เกดิ การเรียนรู้ไดอ้ ย่างมคี วามสุข จัดบรรยากาศในช้ันเรียนที่ส่งเสริมความสนใจ ให้แก่ผู้เรียน ช้ันเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจมีความเอ้ือเผื่อเผื่อแต่ต่อกันและกัน ซึ่งเปน็ แรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นใหผ้ ูเ้ รียนรักการอย่รู ่วมกัน ในชั้นเรียน และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เด็กนักเรียน ห้องเรียนมีบรรยากาศแจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมมุ สง่ เสรมิ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ มกี ารตกแตง่ หอ้ งเรียนให้สดใส และมีสอ่ื การเรยี นรู้ท่ีเอื้อตอ่ การจดั ประสบการณ์ การเรียนการสอน การประเมิน พฒั นาการของเด็กปฐมวัยจากการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ และการจัดกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะห์ ผลพัฒนาการของเดก็ โดยให้ ผูป้ กครองมีส่วนรว่ มเพ่อื ไดน้ ำผลการประเมนิ ไปพัฒนาศักยภาพของเดก็ และพัฒนาการ จดั ประสบการณ์การเรยี นรใู้ นช้ันเรยี นเพื่อพัฒนาครอู ย่างเพียงพอและทั่วถงึ มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวยั มกี ารประเมนิ ผลตรวจสอบคุณภาพภายใน สถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงาน
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 28 ผลการประเมนิ ตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา โดยทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วม พร้อมทงั้ รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๒.๒ ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง - มมุ ประสบการณ์ - แบบบันทึกการพัฒนาการของเดก็ - รายงานผลการประเมินตนเอง - บรรยากาศ หอ้ งเรียนแจม่ ใส มมี มุ ส่งเสรมิ ประสบการณก์ ารเรียนรู้ - การจัดกจิ วัตรประจำวนั ๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดับใหส้ ูงขน้ึ จุดเด่น จุดท่คี วรพฒั นา - เดก็ มพี ฒั นาการการอยา่ งสมดุล - จัดอปุ กรณ์ส่อื การเรยี นการสอนท่หี ลากหลาย - เด็กเรียนรจู้ ากการเล่นและปฏบิ ัติกจิ กรรม - พัฒนาเครอ่ื งเลน่ สนามและระบบสาธารณูปโภค - มีบรรยากาศ สภาพหอ้ งเรยี นเออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ - จัดกิจกรรมส่งเสรมิ เดก็ เรียนรู้การอยรู่ ่วมกัน - ประเมนิ ผลเดก็ ดว้ ยวธิ กี ารหลากหลาย แผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดับใหส้ ูงขนึ้ ๑) โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน เพอ่ื ความพรอ้ มสมบรู ณต์ าม ๒) โครงการโรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพ ส่ิงแวดลอ้ มดี ชีวีมีสขุ ๓) โครงการพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ๔) โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ๕) โครงการโรงเรยี นสุจรติ ๖) โครงการสถานศึกษาสขี าว ๗) โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามแนวทางวิถีพทุ ธส่สู ถานศึกษา ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๘) โครงการเปิดประตสู ู่โลกกว้าง สรุปมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ๑. ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ ๒. วธิ ีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพฒั นา ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่สี นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ๒.๑ วิธกี ารพฒั นา/ผลที่เกิดจากการพฒั นา - ด้านคุณภาพของเด็ก ได้มีการพัฒนาการเด็กทั้ง ๔ ด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และสตปิ ญั ญา - ด้านกระบวนการบริหารและจัดการ จัดให้ครูมีเพียงพอกับชั้นเรียน จัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนรู้ และจดั ใหม้ ีส่อื เทคโนโลยเี พ่อื การเรียนรู้สนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ - การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เป็นสำคัญ จดั ประสบการณท์ ส่ี ่งเสริมให้เด็กมพี ัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ อย่างมีความสุข มีการจัดบรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 29 ๒.๒ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทส่ี นบั สนุนผลการประเมินตนเอง - โครงการต่าง ๆ - กิจกรรมการจัดประสบการณ์ - รูปภาพ - ผลงานเด็ก ๓. จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา แผนพฒั นาคณุ ภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น จดุ เดน่ จุดทีค่ วรพัฒนา - เดก็ มพี ฒั นาการสมดุล - การช่วยเหลอื ตนเองท้ังทบ่ี า้ นและโรงเรยี น - มีโครงการสง่ เสริมพัฒนาการเด่นชัด - ประสานความร่วมมอื กบั ผู้ปกครองใหม้ ีส่วนร่วม - มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่นำสกู่ ารปฏิบตั ิได้ อย่างมี ในการจดั ประสบการณ์เด็ก ประสทิ ธิภาพ แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ให้สงู ข้ึน ๑) โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการทง้ั ๔ ด้าน เพือ่ ความพร้อมสมบรู ณต์ าม ๒) โครงการโรงเรยี นสง่ เสริมสขุ ภาพ สิง่ แวดล้อมดี ชีวมี ีสุข ๓) โครงการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ๔) โครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ๕) โครงการส่งเสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามแนวทางวิถีพทุ ธส่สู ถานศึกษา ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖) โครงการสถานศึกษาสีขาว ๗) โครงการเปิดประตูสู่โลกกวา้ ง ๘) โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิผ์ เู้ รยี นสู่ความเปน็ เลิศ บัญชงี บหนา้ สรปุ ผลการดำเนินงานมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย โรงเรยี นบ้านบึงทบั ช้าง มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพเด็ก โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดด ประเดน็ พิจารณา - ส่งเสรมิ พัฒนาการท้งั ๔ ด้าน เพอื่ -ราเยดง่นานกิจกรรมตามโครงการ ๑. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ยั ที่ดี และดแู ลความปลอดภยั ความพร้อมสมบรู ณ์ตามวัย -บันทึกการดื่มนมแปรงฟัน ของตนเองได้ -กจิ กรรมหนนู ้อยแขง็ แรงสมวยั บนั ทึกนำ้ หนกั ส่วนสงู /ภาวะ ๒. มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ โภชนาการ ๓. มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือ - ส่งเสริมพัฒนาการทัง้ ๔ ด้าน เพ่อื -รายงานกิจกรรมตามโครงการ ตนเอง และเป็นสมาชิกทดี่ ีของสงั คม ความพร้อมสมบูรณต์ ามวัย -รูปภาพการจดั กิจกรรม - ส่งเสรมิ พัฒนาการทง้ั ๔ ด้าน เพื่อ -รายงานกจิ กรรมตามโครงการ ความพร้อมสมบรู ณ์ตามวัย -รูปภาพการจดั กจิ กรรม -กจิ กรรมเด็กดี มวี นิ ยั
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 30 ประเด็นพิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดด -ราเยดง่นานกจิ กรรมตามโครงการ ๔. มีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ส่ือสาร - ส่งเสริมพัฒนาการทง้ั ๔ ด้าน -รปู ภาพการจัดกจิ กรรม ได้ มีทกั ษะการคดิ พื้นฐาน และ เพ่อื ความพรอ้ มสมบรู ณ์ตามวัย แสวงหาความร้ไู ด้ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ประเดน็ พิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดด ๑. มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง -กิจกรรมปรบั ปรงุ หลกั สตู ร -หลเักดส่นูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๔ ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของทอ้ งถ่ิน สถานศกึ ษาปฐมวัย ปี ๒๕๖๐ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ -กิจกรรมบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงสูก่ ารเรยี นการสอน ๒. จดั ครูให้เพียงพอกับชนั้ เรยี น -จดั ครเู ขา้ ชน้ั เรยี น - แผนอัตรากำลงั ๓. ส่งเสรมิ ให้ครูมีความเชย่ี วชาญ ดา้ น โครงการพัฒนาบคุ ลากร - ข้อมลู ครแู ละบุคลากรทาง การศึกษา การจดั ประสบการณ์ -กจิ กรรม PLC --ครำาสย่ังโงรางนเรกียจิ นกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจดั กจิ กรรม -กิจกรรมประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ - เกียรติบัตร -กิจกรรมอบรมคปู องครู - การขยายผลส่เู พื่อนครู ๔. จดั สภาพแวดลอ้ มและส่อื เพือ่ การ -โครงการโรงเรียนสะอาด สิ่งแวดลอ้ ม -หลักฐานการใช้ห้องคอมพวิ เตอร์ เรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ดี ชวี ีมีสุข -ตารางกิจกรรม(ผนวกกิจกรรม -กิจกรรมปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มพฒั นา กลางแจง้ ) แหลง่ เรยี นรู้ -ห้องปฏบิ ตั กิ าร ๕. ใหบ้ รกิ ารสอื่ เทคโนโลยี สารสนเทศ -กิจกรรมส่งเสริมใหส้ ถานศึกษาเป็น - ส่อื ในห้องเรยี น และส่ือการเรยี นรู้เพื่อ สนับสนนุ การจัด สงั คมแห่งการเรียนรู้ - ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ -กจิ กรรมจดั หาสอื่ การเรียนการสอน - หอ้ งสมดุ โรงเรียน ประสบการณ์ - แหลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอก โรงเรียน ๖. มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปิด โอกาส - โครงการส่งเสริมระบบประกัน - รายงานผลการประเมนิ ตนเอง ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝา่ ยมีส่วน รว่ ม คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา - การนิเทศติดตาม - โครงการพฒั นาศกั ยภาพ ของ - บันทกึ การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา เพื่อการมี ส่วนรว่ มในการบรหิ าร จัดการศึกษา
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 31 มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคญั ประเดน็ พจิ ารณา โครงการ/กจิ กรรม หลกั ฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเดน่ ๑. จดั ประสบการณ์ที่สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็ก - โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการ - รายงานกจิ กรรมตามโครงการ มีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม เด็กปฐมวยั - รูปภาพการจดั กจิ กรรม ศกั ยภาพ - กิจกรรมเปิดบา้ นอนุบาล ๒. สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ บั - โครงการสง่ เสริมพัฒนาการ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ ประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติ เด็กปฐมวัย - รปู ภาพการจัดกจิ กรรม อย่าง มคี วามสุข - รายงานกจิ กรรมตามโครงการ ๓. จัดบรรยากาศทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้ - โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการ - รปู ภาพการจัดกจิ กรรม ใช้ สือ่ และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับวัย เด็กปฐมวยั - กจิ กรรมเปิดบ้านอนุบาล ๔. ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพ - โครงการส่งเสรมิ พฒั นาการ - รายงานกจิ กรรมตามโครงการ จริงและนำผลการประเมินพฒั นาการเด็ก เด็กปฐมวัย - รปู ภาพการจัดกิจกรรม ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์ และ - กิจกรรมเปิดบ้านอนุบาล - เกียรติบัตร พฒั นาเดก็ - กิจกรรมแขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการ
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 32 ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี น ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ ดีเลิศ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ ๒. วิธกี ารพฒั นา ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทสี่ นับสนนุ ผลการประเมิน ตนเอง ๒.๑ วธิ ีการพัฒนา โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนโดยดำเนินการตามงาน/โครงการ กิจกรรม ที่หลากหลาย ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ งานหลักสูตร มีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตาม เป้าหมายกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาด้านคุณภาพผู้เรียนจำนวน ๒ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑) ด้านผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน และ ๒) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน มีการใช้ปัญหาเป็นฐานในการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียน การสอนโดยใช้คำถาม ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้ นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษามีความสามารถ ในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และการมีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน เจตคติทด่ี ีต่องานอาชพี สำหรับดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ี สถานศึกษากำหนด มีการพัฒนาปัญญาภายในโดยใช้กิจกรรม จิตศึกษา และมีสุขภาวะทางรา่ งกายและสงั คม ความภูมิใจในท้องถ่ิน และความเป็นไทยการยอมรับ ที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ๒.๒ ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทสี่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง ๑) ขอ้ มลู นกั เรยี นรายบุคคล ๒) ผลการประเมินพัฒนาการผู้เรยี นทง้ั ๔ ดา้ น ๓) แบบประเมนิ พฒั นาการผเู้ รียนทง้ั ๔ ด้าน ๔) ผลการสอบ O-NET, NT ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 ๕) ผลการทดสอบการอา่ นออก- เขยี นได้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ (RT๑) ๖) ผลการประเมนิ คุณลักษณอ์ นั พึงประสงคข์ องผเู้ รียน
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 33 ๗) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียนโรงเรยี นบ้านบึงทับช้าง ๘) กจิ กรรมการส่งเสรมิ ผู้เรยี นมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทีด่ ี ๙) โครงการสถานศกึ ษาสีขาว 10) โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพนักเรียน 11) โครงการส่งเสรมิ ทักษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ 12) กิจกรรม PLC (Professional Learning Community) ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ นอกจากนี้สถานศึกษาได้มีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียนตามนโยบายปฏิรูป การศึกษา ศตวรรษท่ี ๒๑ เพือ่ ใหอ้ ยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ มคี ณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์เน้นการพัฒนาด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยการจัดกิจกรรม PBL การใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อเน้นทักษะในการใช้ชีวิต โครงการโรงเรียนคุณธรรม นักเรียนทุกระดับชั้น เข้าค่ายคุณธรรม กิจกรรมสวดมนต์ เน้นให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมี จิตสาธารณะ มีโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบการแนะแนวดูแลสุขภาวะจิต กิจกรรมการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศึกษา (กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลย)ี มีโครงการส่งเสริมสุขภาพทางกายเพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่มีทุพโภชนาการ และส่งเสริมการออกกำลังกาย นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้ในโลกกว้าง การเข้าไปศึกษากับ ภมู ิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษาจดั ๓. จุดเด่น จดุ ที่ควรพฒั นา แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ให้สงู ขน้ึ จุดเด่น จดุ ที่ควรพัฒนา ๑) สถานศกึ ษามกี ารวเิ คราะหผ์ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ๑) ผลการประเมนิ ระดบั ชาติ และได้กำหนดเปน็ เปา้ หมายทางการเรยี นโดยใช้ข้อมูลฐาน ๓ ปยี ้อนหลงั ๒) การจัดกิจกรรมที่เน้นการคิดวิเคราะห์ ให้ผู้เรียน ได้เขียนแสดงทัศนคติยังไม่บรรลุ ๒) จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเน้นการปฏิบตั ิ เป้าหมายเทา่ ท่คี วร เนน้ ทกั ษะในการอา่ น การเขียน และการคดิ คำนวณ ๓) มหี อ้ งเรียนคุณภาพครบทกุ หอ้ ง ๔) ผเู้ รียนมีสขุ ภาพกาย สุขภาพจิตท่ีดี กล้าแสดงออก 5) ผเู้ รียนมที ักษะในการสอื่ สารเปน็ ภาษาอังกฤษ 6) มีการจัดกจิ กรรมที่เน้นการบูรณาการกบั ทักษะชวี ติ แผนพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั ให้สงู ขึ้น ๓.๑) พัฒนาให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ ทีโ่ รงเรียนกำหนดในแต่ระดบั ชน้ั ๓.๒) พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณา อย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา อยา่ งมเี หตผุ ล ๓.๓) พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการ ทำงานเป็นทีม เชอ่ื มโยงองคค์ วามรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหม่ ๆ ๓.๔) พัฒนาให้นักเรียน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา ตนเอง และสงั คมในดา้ นการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การทำงาน อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 34 ๓.๕) พัฒนาให้นักเรียน มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิม ในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการตา่ ง ๆ ๓.๖) พัฒนาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน ในการจัดการเจตคตทิ ี่ดีพร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับชน้ั ที่สงู ขึน้ มีพฤตกิ รรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ กติกา ๓.๗) พัฒนาให้นักเรียนมีค่านิยมและจิตส ำนึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในท้องถ่ิน เหน็ คณุ คา่ ของความเป็นไทย มสี ่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณไี ทยรวมทัง้ ภมู ิปญั ญาไทย ๓.๘) พัฒนาให้นักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออก อยา่ งเหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๑. ระดบั คุณภาพ ดีเลศิ . ๒. วิธกี ารพัฒนา ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทสี่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ๒.๑ วิธกี ารพัฒนา กระบวนการบรหิ ารและการจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ในโรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ได้มีการดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจนในการดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตร สถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทำแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาครู และบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการ ของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ ของโรงเรียนบา้ นบึงทบั ช้าง โรงเรียนมีเป้าหมายวสิ ัยทัศน์ และพันธกิจท่ีโรงเรียนกำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของโรงเรียน ความต้องการของ ชุมชน มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาโดยนำแผนไป ปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นำข้อมูล มาใช้ในการพัฒนา บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบ ตอ่ การจดั การศึกษา มีการบรหิ ารจัดการเกี่ยวกบั งานวิชาการ รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มเรียนร่วมด้วย มีการส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการ และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อม ทางสงั คมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรยี นท่ีมีคุณภาพ มคี วามปลอดภัย จดั ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน พัฒนาบริการ ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ ครูทกุ คนมีคอมพิวเตอรเ์ พื่อใช้ในการบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรอู้ ย่างเหมาะสม ๒.๒ ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่สี นบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง ๑) ข้อมูลนักเรยี นรายบคุ คล ๒) ผลการประเมนิ พัฒนาการผเู้ รยี นทง้ั ๔ ดา้ น ๓) แบบประเมนิ พฒั นาการผู้เรียนทง้ั ๔ ด้าน ๔) รายงานการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นการสอน ๕) รายงานการนิเทศภายใน ๖) บันทกึ การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 35 ๗) บันทกึ การประชมุ ของโรงเรยี นบา้ นบึงทบั ชา้ ง 8) รายงานกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community) ชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี ๓. แผนการพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ให้สงู ขน้ึ จดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพัฒนา 1) มีการนิเทศ ตดิ ตาม ท่ีชัดเจน ๑) โรงเรยี นมีเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ ท่ีกำหนด ไวช้ ัดเจนสอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรยี นตามความต้องการ ของชมุ ชน วตั ถุประสงค์ของแผนการ จัดการศกึ ษาของชาติ นโยบายของรฐั บาลและต้นสงั กัด ๒) พัฒนางานวชิ าการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ น ตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๓) สง่ เสรมิ สนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความ เช่ยี วชาญตรงตามความต้องการ ๔) ส่งเสรมิ โรงเรยี นใหเ้ ป็นชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ มาใช้ ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรยี น 5) โรงเรียนมอี าคารและสถานที่เพียงพอต่อการจดั การเรียนรู้ แผนพฒั นาคุณภาพเพือ่ ยกระดบั ใหส้ งู ขึน้ ๑) พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาและหลักสตู รทอ้ งถ่ิน ๒) โครงการพัฒนาระบบบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน ๓) โครงการพฒั นาครูสู่ครมู อื อาชีพ ๔) โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางวถิ ีพุทธสสู่ ถานศกึ ษา ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕) โครงการระดมทรัพยากรเพ่อื พัฒนาการศึกษา ๖) โครงการสง่ เสริมระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๗) โครงการส่งเสริมความสัมพันธก์ ับชมุ ชน ๘) โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิผู้เรียนสู่ความเปน็ เลิศ ๙) โครงการเปดิ ประตสู ่โู ลกกวา้ ง ๑๐) โครงการโรงเรยี นสจุ ริต ๑๑) โครงการสถานศึกษาสขี าว ๑2) โครงการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน 13) โครงการส่งเสริมสขุ ภาพผเู้ รียน
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 36 มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ๑. ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ ๒. วธิ กี ารพฒั นา/ผลท่เี กดิ จากการพัฒนา ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทีส่ นบั สนนุ ผลการประเมิน ตนเอง ๒.๑ วธิ ีการพฒั นา/ผลทเี่ กดิ จากการพฒั นา โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตร มีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอน เน้นการปฏิบัติ (Active learning) โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน หรือ (Problem–based Learning : PBL) ให้ผู้เรียน ผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง และคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษาให้นักเรียนมีส่วนร่วม มีการพัฒนาปัญญาภายในของผู้เรียน โดยใช้กิจกรรมจิตศึกษา ครูรู้จักผู้เรียน เป็นรายบุคคล ดำเนินการ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน รวมท้ังร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ จดั กิจกรรมได้จรงิ ครใู ช้สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก เพ่ือใหเ้ ด็กรกั การเรียนรู้และเรียนรู้ ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอน ตามแผน ครูผลติ นวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ กำหนดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ที่สอดคล้องกับหนว่ ยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริง จนสรุปความรู้ ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าที่ ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่างๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียน การสอน นวัตกรรม และเทคโนโลยี ภูมิปญั ญา ท้องถน่ิ มกี าประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของส่ือการสอนที่ใช้ครู ทุกคนทำงานวิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา ละ ๑ เรื่อง ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่ หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรรายวิชา เพิ่มเติม กิจกรรมชุมนุม ให้นักเรียนเลือกตามความถนัด และความสนใจผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง การบันทึกการใช้ส่อื เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้ เอกสารการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผล มาพัฒ นาผู้เรียนมีการบริหารจัดการชั้น เรียน เชิง บวกโดยครู มี วิ จั ย ในชั้น เ รี ย น แ ล ะ น ำ ผ ล ไ ป แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า จ ริ ง ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้โดยจัดกิจกรรม Open house ให้นักเรียนและครูจัดนทิ รรศการแสดงผลงานเพ่อื แลกเปลีย่ นเรียนรปู้ ระจำปีการศกึ ษา ๒.๒ ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมินตนเอง ๑) ขอ้ มูลนักเรยี นรายบคุ คล ๒) ผลการประเมนิ พัฒนาการผเู้ รียนทั้ง ๔ ดา้ น ๓) แบบประเมนิ พัฒนาการผู้เรยี นทง้ั ๔ ด้าน ๔) หลกั สตู รสถานศึกษาฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖3 ๕) รายงานกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community) ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ๖) รายงานวิจยั ในชัน้ เรยี น 7) โครงงานสขุ ภาพ
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 37 ๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคณุ ภาพเพื่อยกระดับให้สงู ขึ้น จุดเดน่ จดุ ท่ีควรพฒั นา ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัด ควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วม กิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการ ในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้และการ คิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียน ที่หลากหลายให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อ นำไปใช้พฒั นาตนเอง เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วม ในการจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ แผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดับให้สูงขึ้น ๑) โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ๒) การยกระดับผลสัมฤทธ์ิการทดสอบระดับชาติ (NT) ๓) การยกระดับผลสัมฤทธก์ิ ารทดสอบระดับชาติ (O-net) ๔) โครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาและหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ ๕) โครงการสถานศึกษาสขี าว ๖) โครงการโรงเรียนวถิ พี ุทธ ๗) โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความเป็นไทย ตามศาสตรพ์ ระราชา ๘) กจิ กรรมลกู เสอื – เนตรนารี ๙) การสง่ เสริมสถานศึกษาพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ๑๐) โครงการสหกรณโ์ รงเรียน ๑๑) โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ๑๒) โครงการพฒั นาครูสู่ครูมืออาชีพ ๑๓) โครงการศาสตร์พระราชาสกู่ ารพฒั นาอย่างยง่ั ยนื ๑๔) โครงการพฒั นาระบบบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน 15) โครงการส่งเสริมทักษะการสอื่ สารภาษาอังกฤษ 16) กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 38 เอกสารหลักฐานผลการดำเนินงานมาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผ้เู รยี น ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี น ประเด็นพจิ ารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น ๑. มคี วามสามารถในการอา่ น - โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ - ผลการประเมินการอ่าน การเขียนการสอ่ื สาร และการคิด เรยี น เพอ่ื พัฒนาสู่ความเปน็ เลิศ การเขยี น คำนวณ - โครงการส่งเสริมการอา่ น - แบบบนั ทกึ การอ่าน - โครงการสง่ เสริมทกั ษะการสอื่ สาร - รายงานกจิ กรรมภาษาไทยวนั ละ ภาษาองั กฤษ คำ - กจิ กรรมภาษาไทยวนั ละคำ - รายงานภาษาองั กฤษวันละคำ - กจิ กรรมภาษาอังกฤษวนั ละคำ - สมุดคิดเลขเร็ว ๒. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ - โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ - แบบฝึกทักษะ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี น ความคิดเห็น และ ทางการเรียน เพ่อื พัฒนาสูค่ วามเปน็ เลิศ - โครงงาน ผลงานนักเรยี น แก้ปญั หา - กจิ กรรมจิตศึกษา - สมุดจิตศึกษา และ PBL ๓. มคี วามสามารถในการสรา้ ง นวตั กรรม - การเรียนโดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน - การเรียนโดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน PBL ผลงานนกั เรยี น,นวตั กรรมของครู/ นกั เรียน ๔. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี กจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้สถานศึกษาเป็น มหี อ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ สารสนเทศและการสื่อสาร สังคมแหง่ การเรียนรู้ ๕. มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตาม -โครงการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา -หลักสูตรสถานศึกษา หลกั สูตรสถานศึกษาผลสัมฤทธิ์ และหลกั สูตรท้องถน่ิ -ผลสมั ฤทธ์ขิ องนักเรยี นชน้ั ป.๑-๖ ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา -กจิ กรรมคา่ ยวิชาการ ๖. มผี ลการทดสอบระดับชาติ - ผลการทดสอบ NT -โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ - ผลการทดสอบ O-Net ๗. มคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติ การทดสอบระดบั ชาติ (NT) - การทดสอบช้ัน ป.๑-๖ ท่ดี ีตอ่ งานอาชพี -โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ การทดสอบระดบั ชาติ (O-net) - รายงานการจดั กจิ กรรมปลกุ ผัก สวนครัว - โครงการสง่ เสรมิ สถานศึกษา - โครงงานสุขภาพ พอเพียงตามแนวพระราชดำริ - โครงการศาสตร์พระราชา สกู่ ารพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 39 ๑.๒ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน ประเดน็ พจิ ารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น ๑. การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดี -โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม - บันทกึ การทำความดขี องนกั เรียน ตามที่สถานศกึ ษากำหนด และความเปน็ ไทย ตามศาสตร์ - ภาพการเขา้ ค่ายคุณธรรม พระราชา - ภาพกถ่ายการทำกจิ กรรมบำเพญ็ -กจิ กรรลูกเสือ – เนตรนารี ประโยชน์ -กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน์ ๒. ความภูมิใจในท้องถนิ่ และ -โครงการโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ - ภาพกจิ กรรมการร่วมในวันสำคัญ ความเป็นไทย -โครงการโรงเรียนสีขาว ตา่ งๆ ๓. การยอมรับท่จี ะอยูร่ ่วมกนั บนความ - โครงการพฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลอื - บันทกึ นกั เรียนรายบุคคล แตกต่างและหลากหลาย นกั เรยี น - รายงานการเย่ยี มบา้ น ๔. สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม - โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - แบบบันทึกนำ้ หนัก/สว่ นสูงของ - กจิ กรรมแข่งขนั กีฬาภายใน นกั เรียน - แบบบนั ทึกนกั เรียนรายบุคคล - โครงการอาหารกลางวนั - ภาพถ่าย - รายงานภาวะทพุ โภชนาการ - รางวัลนกั เรียนไทยสขุ ภาพดี ร่นุ ท่ี 6 ระดับประเทศ - รางวลั โรงเรยี นสง่ เสรมิ กจิ กรรม ทางกาย มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ประเด็นพจิ ารณา โครงการ/กจิ กรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น ๑. มเี ปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละ พันธกิจท่ี โครงการส่งเสริมระบบประกัน คณุ ภาพ - มาตรฐานของโรงเรยี น สถานศึกษากำหนดชัดเจน ภายในสถานศกึ ษา - แผนปฏิบัติการประจำปี - หลกั สูตรสถานศกึ ษา ๒. มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของ โครงการส่งเสริมระบบประกัน คุณภาพ - ขอ้ มลู สารสนเทศของโรงเรียน สถานศึกษา ภายในสถานศึกษา - รายงานผลการประกันคณุ ภาพ - มาตรฐานการศกึ ษาของ ๓. ดำเนินงานพฒั นางานวิชาการท่ีเนน้ โครงการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ส- ถหาลนักศสึกูตษรสาถานศึกษา คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สตู ร - หลกั สตู รรายวชิ าเพมิ่ เตมิ สถานศึกษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย - กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร
๔. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 40 เชยี่ วชาญทางวิชาชพี -โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร/ - บนั ทึกการไปราชการ กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพของครู/ ศกึ ษา - บนั ทกึ การอบรม/ดูงาน ดงู าน - ภาพถา่ ย,วิจัยชนั้ เรยี น - กจิ กรรม PLC (Professional - รายงานการ PLC Learning Community) ชุมชนแห่ง การเรียนรทู้ างวิชาชพี ๕. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและ -กิจกรรมสง่ เสริมให้สถานศกึ ษาเป็น - สนามเดก็ เล่น สังคมท่ีเอ้อื ตอ่ การจัดการเรียนรู้อย่างมี สังคมแหง่ การเรยี นรู้ - มีห้องปฏิบัตกิ ารตา่ งๆ เช่น คุณภาพ -กจิ กรรมพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ ห้องสมุด ห้องปฏบิ ตั ิคอมพิวเตอร์ -โครงการปรบั ปรงุ ภูมทิ ัศน์ สิง่ แวดลอ้ ม - แหล่งเรยี นรู้ในโรงเรยี น - แหลง่ เรียนรู้ในท้องถน่ิ - ห้องเรยี นคณุ ภาพตามมาตรฐาน ๖. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อ โครงการพัฒนาระบบ ICT - หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการ จดั การเรียนรู้ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ประเด็นพิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น ๑. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด - กิจกรรมจติ ศึกษา - ภาพถ่ายกจิ กรรมจติ ศกึ ษา และปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนำไป - การเรียนโดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน PBL - ภาพถา่ ยการเรยี นรโู้ ดยใช้ปญั หา ประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้ เปน็ ฐาน ๒.ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ - ผลงานผู้เรียน แหลง่ เรียนรู้ทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ -กิจกรรมส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็น - แหล่งเรยี นรู้น่าอย่แู ละทันสมยั สังคมแห่งการเรยี นรู้ - หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ -กิจกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อม - แบบบันทึกการใช้ห้องปฏบิ ัติ/สอ่ื พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ - ผลงานผ้เู รียน - การเรียนโดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน PBL ๓. มีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก - กิจกรรมจติ ศกึ ษา - โครงงาน - กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นให้มีทกั ษะใน - วจิ ยั ชน้ั เรยี น การคน้ คว้าและคิดอย่างเป็นระบบ - ผลงานผูเ้ รียน -กจิ กรรมเรียนรู้ด้วยโครงงาน -โครงการพัฒนาบุคลากร ดา้ นการทำ วิจัยในชั้นเรียน
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 41 ประเด็นพจิ ารณา โครงการ/กจิ กรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น ๔. ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่าง . โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ ทางการ - แบบประเมินด้านการเรยี น เป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน เรยี น ๘ กล่มุ สาระ/กิจกรรม - แบบ ป.พ.ตา่ งๆ - ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ๕. มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และให้ - โครงการส่งเสริมระบบประกัน - ขอ้ มูลสารสนเทศ - แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่อื พัฒนาและ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา - แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา - มาตรฐานการศกึ ษา ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสม กบั - กิจกรรมตรวจสอบประเมินคุณภาพ - รายงาน SAR สภาพของสถานศกึ ษา ภายในตามมาตรฐานกรศึกษา - รายงานการประชุมอบรม - กจิ กรรม PLC (Professional - PLC ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ Learning Community) ชุมชน แห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี
ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 42 ส่วนท่ี ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการชว่ ยเหลอื ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์ สงั เคราะห์ เพือ่ สรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (๓ ปี) และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการดำเนินงาน ของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้ง แนวทางการพฒั นาในอนาคตและความต้องการการชว่ ยเหลือได้ดงั นี้ สรุปผล จดุ เด่น ๑. ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น จดุ เดน่ จุดควรพฒั นา ๑. โรงเรียนมีการใช้โครงการ นวัตกรรมการพัฒนา ๑. นักเรียนสว่ นใหญย่ งั ต้องไดร้ ับการ ยกระดับ คุณภาพผเู้ รยี นในการขับเคลื่อนดา้ นคุณภาพผูเ้ รียน ผลสัมฤทธิ์และพัฒนาผลการทดสอบทาง การศึกษา ๒. มีการจัดหลักสูตรเพื่อสนองต่อความต้องการ ระดับชาติ( O-NET, NT ) เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ของนกั เรยี น ในทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ ๓. ผู้บริหารมีความตั้งใจ มีความมุ่งมั่นมีการใช้ 2. ควรมีการสร้างเสริมให้นักเรียนมีทักษะ หลักธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วมและกระจายอำนาจ การประกอบการทีน่ ำไปใช้ได้จริงในการดำเนินชีวิต ในการบริหารจดั การ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดใี นการ และเพอ่ื การมีงานทำในอนาคต ทำงาน 3. โรงเรยี นสนับสนุนแหลง่ เรียนรู้ แหล่งสืบค้น ๔. มีการใช้แผนกลยุทธ์เป็นแนวทางในการ ขอ้ มูลใหม้ ีบรรยากาศเอือ้ ต่อการเรยี นรู้มากขึ้น บรหิ ารงาน 4. โรงเรียนควรจัดให้มีระบบบริหารจัดการ ๕. ครูมีความตง้ั ใจม่งุ มนั่ ในการพฒั นาการสอน ข้อมูล สารสนเทศที่แสดงความเชื่อมโยงสอดคล้อง ๖. มีการร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการจัด กันขององค์กรทั้งภายในและภายนอก กิจกรรมส่งเสริมความสามารถและความถนัด 5. ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วน ของผเู้ รยี น เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความ 7. โรงเรยี นมกี ารจดั กิจกรรมเสรมิ ทักษะสมรรถนะ เขม้ แขง็ มีส่วนรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา ผู้เรียน และทกั ษะการใช้ชีวติ และการขับเคล่อื นคุณภาพการจดั การศึกษา 8. มกี ารสร้างเสรมิ ให้นักเรียนมที ักษะท่ีนำไปใช้ได้ 6. ครูควรใช้เครื่องมือในการวัดผลการพัฒนา จรงิ ในการดำเนนิ ชวี ิต และเพอ่ื การมีงานทำในอนาคต พฤติกรรมการเรียนรู้ตรงตามสภาพจริงอิง ตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดและ การใหข้ ้อมูล ยอ้ นกลับแก่นกั เรียนทนั ทีเพ่ือนักเรียน นำไปใช้ พัฒนาตนเอง
Search