Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา พ.ศ.2566

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา พ.ศ.2566

Published by macnattanon32, 2023-06-08 06:32:41

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา พ.ศ.2566 โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง

Search

Read the Text Version

หลักสูตรกลุมสาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศึกษา เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นบึงทบั ช้าง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ สํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต ๑ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

คาํ นาํ หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาฉบับนี้ เปนเอกสารประกอบหลักสูตร สถานศึกษา โรงเรียนบา้ นบึงทบั ชา้ ง พุทธศักราช ๒๕๖๖ จัดทําเพื่อเปนกรอบ และทิศทางในการจัดการเรียนการสอนในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา โดยพิจารณาตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มีองคประกอบ ดังตอไปน้ี - วิสยั ทศั น พนั ธกิจ และเปาประสงค - สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค - สาระและมาตรฐานการเรยี นรู - คณุ ภาพผเู รยี น - ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรูแกนกลาง - โครงสรางหลกั สูตรกลุม สาระการเรยี นรูสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา - คําอธบิ ายรายวิชา - โครงสรางรายวิชา - ส่อื /แหลง เรียนรู - การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู คณะผจู ดั ทําขอขอบคุณผูที่มสี ว นรว มในการพฒั นาและจดั ทําหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษาฉบับนี้ จนสําเร็จลุลวงเปนอยางดี และหวังเปนอยางยิ่งวาจะเกิดประโยชนตอ การจดั การเรียนรใู หกับผเู รยี นตอไป กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา คณะผจู ัดทํา ก

สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา.......................................................................................................................................... ก สารบญั ....................................................................................................................................... ข สาระสาํ คญั ................................................................................................................................. ๑ วสิ ัยทัศน พนั ธกจิ และเปา ประสงค ............................................................................................ ๒ สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค ....................................................... ๒ สาระและมาตรฐานการเรียนรูสขุ ศึกษาและพลศึกษา ................................................................. ๔ คุณภาพผูเรยี น ........................................................................................................................... ๔ ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรูแกนกลาง......................................................................................... ๖ โครงสรา งหลกั สูตรกลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา................................................... ๒๓ คําอธบิ ายรายวิชา....................................................................................................................... ๒๔ โครงสรางรายวชิ า....................................................................................................................... ๓๗ ส่ือ/แหลงเรยี นรู ......................................................................................................................... ๖๐ การวัดและประเมินผลการเรียนรู................................................................................................ ๖๑ อภธิ านศัพท................................................................................................................................ ๗๖ ข

๑ สาระสาํ คญั หลกั สตู รกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนบา้ นบึงทับชา้ ง พุทธศักราช ๒๕๖๖ มุงพัฒนาผูเรียนเพื่อการดํารงสุขภาพ การสรางเสริมสุขภาพและการพัฒนา คุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชนใหยัง่ ยืน มุงเนนใหผูเรียนพัฒนาพฤติกรรมดานความรู เจตคติ คุณธรรม คานิยม และการปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ใหผูเรียนใชกิจกรรมการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกมและกีฬา เปนเครื่องมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สงั คม สติปญ ญารวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา โดยมสี าระท่ีเปนกรอบเนอ้ื หา ดงั นี้ ๑. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ผูเรียนจะไดเรียนรูเรื่องธรรมชาติของ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต ความสัมพันธเชื่อมโยง ในการทํางานของระบบตาง ๆ ของรางกาย รวมถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อใหเจริญเติบโตและมีพัฒนาการ ท่ีสมวยั ๒. ชีวติ และครอบครัว ผเู รยี นจะไดเรยี นรูเร่ืองคุณคา ของตนเองและครอบครวั การปรับตัว ตอการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณความรูสึกทางเพศ การสรางและรักษาสัมพันธภาพ กับผูอนื่ สขุ ปฏบิ ตั ทิ างเพศ และทักษะในการดําเนินชวี ติ ๓. การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผูเรียน ไดเรียนรูเรื่องการเคลื่อนไหวในรูปแบบตาง ๆ การเขารวมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภท บุคคล และประเภททีมอยางหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ และ ขอตกลงในการเขา รว มกจิ กรรมทางกาย และกฬี า และความมนี า้ํ ใจนกั กฬี า ๔. การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค ผูเรียนจะไดเ รยี นรูเ ก่ียวกับหลัก และวิธีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑและบริการสุขภาพ การสรางเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ และการปองกนั โรคทง้ั โรคติดตอ และโรคไมติดตอ ๕. ความปลอดภัยในชีวิต ผูเรียนจะไดเรียนรูเรื่องการปองกันตนเองจากพฤติกรรม เสี่ยงตาง ๆ ทั้งความเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใชยาและสารเสพติด รวมถงึ แนวทางในการสรางเสริมความปลอดภัยในชวี ติ

๒ วิสยั ทศั น พันธกิจ และเปาประสงค วิสยั ทศั น มุงเนนใหผูเรียนพัฒนาในดานสุขภาพ สมรรถภาพและศักยภาพดานกีฬา รักการออก กําลังกาย มเี จตคตทิ ี่ดี ปลอดภัยจากยาเสพตดิ พันธกิจ ๑. จัดกระบวนการเรียนรูใหผูเรียนพัฒนาพฤติกรรมดานความรู เจตคติ คุณธรรม คานิยม และการปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกับสุขภาพ ๒. จัดกจิ กรรมใหผ เู รียนฝกปฏิบัติกจิ กรรมทางกาย การออกกาํ ลังกายเพือ่ สขุ ภาพและกีฬา ๓. ปลูกฝงใหผ เู รยี นมจี ิตสาํ นึกรูจักหลีกเล่ียงยาเสพติดและสิ่งมอมเมา ๔. เพิ่มศักยภาพครูใหมีความรู ความเขาใจ และมุงจัดกิจกรรมที่หลากหลายอยางมี ประสทิ ธภิ าพ ๕. สนับสนุนและสงเสริมใหครูและผูเรียนรวมกิจกรรมและการแขงขันทางดานกีฬาตาม ความถนัดและความสนใจทง้ั ภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน เปา ประสงค ๑. ผูเรียนสุขภาวะที่สมบูรณปลอดจากยาเสพติด และมีสมรรถภาพทางกายเปนไปตาม มาตรฐาน ๒. ผูเรยี นไดพ ัฒนาศักยภาพของตนเองดานกีฬาตามความถนัดและความสนใจ ๓. บคุ ลากรมคี วามสามารถในการจดั การเรียนรูที่หลากหลาย พฒั นาผูเรยี นในดานสุขภาพ และกฬี าอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนด ซง่ึ จะชว ยใหผเู รียนเกิดสมรรถนะ สาํ คญั และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค ดงั นี้ สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมใน การใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ขอ มลู ขา วสารและประสบการณอันจะเปน ประโยชนตอการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา ตอรองเพื่อขจัดและลดปญ หาความขัดแยง ตาง ๆ การเลือกรบั หรือไมร ับขอมลู ขา วสารดว ยหลักเหตุผล

๓ และความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอ ตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสราง องคความรูหรอื สารสนเทศเพ่อื การตัดสินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมา ใชในการปองกนั และแกไ ขปญ หา และมีการตัดสนิ ใจท่ีมีประสทิ ธิภาพโดยคํานงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ข้ึน ตอตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอม ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไป ใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการ อยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความ ขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การมีเหตุผล กตัญูกตเวที การปรับตัวใหทนั กับการเปลี่ยนแปลงของ สงั คมและสภาพแวดลอม และการรจู ักหลีกเลยี่ งพฤติกรรมไมพึงประสงคท่ีสง ผลกระทบตอตนเองและ ผูอ่ืน การรกั และภูมิใจในความเปน ไทยและรกั ษทอ งถนิ่ ๕. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดาน ตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทาํ งาน การแกป ญหาอยางสรา งสรรค ถกู ตอง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมได อยา งมีความสุข ในฐานะเปน พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน กษัตริย ๒. ซอ่ื สตั ยส ุจริต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเรียนรู ๕. อยอู ยา งพอเพียง ๖. มุงมน่ั ในการทาํ งาน ๗. รักความเปนไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ

๔ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู สาระที่ ๑ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย มาตรฐาน พ ๑.๑ เขาใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย สาระที่ ๒ การอาชีพ มาตรฐาน พ ๒.๑ เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการ ดาํ เนนิ ชีวิต สาระท่ี ๓ การเคลือ่ นไหว การออกกาํ ลงั กาย การเลน เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขาใจ มที ักษะในการเคล่อื นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน เกม และกฬี า มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจํา อยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา สาระท่ี ๔ การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปอ งกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปอ งกนั โรคและการสรา งเสริมสมรรถภาพเพือ่ สขุ ภาพ สาระท่ี ๕ การสรางเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการปอ งกันโรค มาตรฐาน พ ๕.๑ ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชย าสารเสพติด และความรุนแรง คุณภาพผเู รยี น จบช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๑. มีความรู และเขาใจในเรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ปจจัยที่มีผลตอ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการ วธิ ีการสรา งสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุมเพอ่ื น ๒. มสี ขุ นิสัยท่ดี ีในเร่อื งการกิน การพกั ผอนนอนหลับ การรกั ษาความสะอาดอวัยวะทุกสวน ของรา งกาย การเลนและการออกกําลังกาย ๓. ปอ งกันตนเองจากพฤติกรรมท่ีอาจนําไปสูการใชส ารเสพติด การลว งละเมิดทางเพศและ รูจ ักปฏเิ สธในเร่ืองทีไ่ มเ หมาะสม

๕ ๔. ควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองไดตามพัฒนาการในแตละชวงอายุ มีทักษะ การเคลื่อนไหวข้ันพื้นฐานและมีสว นรวมในกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกาย เพอื่ สขุ ภาพ และเกม ไดอยา งสนกุ สนานและปลอดภัย ๕. มีทักษะในการเลือกบริโภคอาหาร ของเลน ของใช ที่มีผลดีตอสุขภาพ หลีกเลี่ยงและ ปอ งกันตนเองจากอุบตั ิเหตไุ ด ๖. ปฏิบตั ติ นไดอยา งถูกตองเหมาะสมเม่ือมปี ญ หาทางอารมณ และปญหาสุขภาพ ๗. ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ ขอตกลง คําแนะนํา และขั้นตอนตาง ๆ และใหความรวมมือ กบั ผูอ นื่ ดว ยความเตม็ ใจจนงานประสบความสาํ เร็จ ๘. ปฏิบัตติ ามสิทธิของตนเองและเคารพสทิ ธิของผูอื่นในการเลนเปน กลุม จบชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ ๑. เขาใจความสัมพันธเชื่อมโยงในการทํางานของระบบตา ง ๆ ของรางกาย และรูจักดูแล อวัยวะทีส่ ําคัญของระบบน้ัน ๆ ๒. เขาใจธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม แรงขับทางเพศ ของชายหญงิ เม่อื ยางเขา สวู ยั แรกรนุ และวยั รุน สามารถปรับตัวและจัดการไดอ ยางเหมาะสม ๓. เขาใจและเห็นคณุ คา ของการมชี ีวติ และครอบครัวที่อบอนุ และเปน สุข ๔. ภมู ใิ จและเห็นคุณคา ในเพศของตน ปฏิบัตสิ ุขอนามยั ทางเพศไดถกู ตอ งเหมาะสม ๕. ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ ความรนุ แรง สารเสพตดิ และการลวงละเมิดทางเพศ ๖. มีทักษะการเคลอ่ื นไหวพ้ืนฐานและการควบคมุ ตนเองในการเคล่ือนไหวแบบผสมผสาน ๗. รูหลักการเคลื่อนไหวและสามารถเลือกเขารวมกิจกรรมทางกาย เกม การละเลน พื้นเมือง กีฬาไทย กีฬาสากลไดอยางปลอดภัยและสนุกสนาน มีนํ้าใจนักกีฬา โดยปฏิบัติตามกฎ กตกิ า สิทธิ และหนา ทขี่ องตนเอง จนงานสาํ เร็จลุลวง ๘. วางแผนและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทางกาย กจิ กรรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพ ไดต ามความเหมาะสมและความตองการเปน ประจํา ๙. จดั การกับอารมณ ความเครียด และปญหาสุขภาพไดอ ยา งเหมาะสม ๑๐. มีทักษะในการแสวงหาความรู ขอมูลขาวสารเพ่อื ใชส รางเสริมสขุ ภาพ

๖ ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระที่ ๑ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๑ ๑. อธิบายลักษณะและหนา ทข่ี องอวัยวะ  ลกั ษณะและหนาทขี่ องอวัยวะภายนอกท่ีมี การเจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวยั ภายนอก - ตา หู คอ จมกู ผม มอื เทา เล็บ ๒. อธิบายวธิ ีดูแลรกั ษาอวัยวะภายนอก ผิวหนงั ฯลฯ - อวยั วะในชอ งปาก (ปาก ลิ้น ฟน เหงอื ก) ป. ๒ ๑. อธิบายลักษณะและหนา ที่ของอวยั วะ  การดแู ลรกั ษาอวัยวะภายนอก ภายใน - ตา หู คอ จมกู ปาก ล้ิน ฟน ผม มอื ๒. อธบิ ายวิธีดูแลรกั ษาอวยั วะภายใน เทา เลบ็ ผิวหนัง ฯลฯ - อวยั วะในชองปาก (ปาก ลิน้ ฟน เหงอื ก) ๓. อธบิ ายธรรมชาตขิ องชีวิตมนษุ ย  ลกั ษณะ และหนาท่ีของอวัยวะภายในท่มี ี ป.๓ ๑. อธบิ ายลกั ษณะและการเจริญเตบิ โต การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการไปตามวัย (สมอง หัวใจ ตับ ไต ปอด กระเพาะ ของรา งกายมนุษย อาหาร ลาํ ไส ฯลฯ)  การดูแลรกั ษาอวัยวะภายใน ๒. เปรียบเทยี บการเจริญเติบโตของ - การระมดั ระวงั การกระแทก ตนเองกับเกณฑม าตรฐาน - การออกกาํ ลงั กาย - การกินอาหาร  ธรรมชาติของชวี ติ มนษุ ยต ้ังแตเกดิ จนตาย  ลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของรา งกายมนุษย ที่มคี วามแตกตางกนั ในแตล ะบคุ คล - ลักษณะรปู รา ง - นํา้ หนกั - สว นสูง  เกณฑมาตรฐานการเจรญิ เติบโต ของเด็กไทย

๗ ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ๓. ระบุปจจัยท่ีมีผลตอ การเจริญเตบิ โต  ปจจัยท่ีมีผลตอ การเจริญเติบโต - อาหาร - การออกกําลังกาย - การพักผอน ป. ๔ ๑. อธบิ ายการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ  การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของ ของรา งกายและจิตใจตามวัย รา งกายและจิตใจ ตามวัย (ในชวงอายุ ๙-๑๒ ป) ๒. อธบิ ายความสาํ คญั ของกลามเนือ้  ความสาํ คัญของกลามเนอ้ื กระดกู และขอ กระดูกและขอ ท่มี ีผลตอ สุขภาพ ท่ีมีผลตอ สขุ ภาพ การเจรญิ เติบโตและ การเจริญเติบโตและพฒั นาการ พฒั นาการ ๓. อธิบายวิธีดูแลกลามเนอื้ กระดูก  วิธดี ูแลรกั ษากลามเนื้อ กระดกู และขอให และขอ ใหท ํางานอยางมีประสทิ ธิภาพ ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ป. ๕ ๑. อธบิ ายความสําคัญของระบบยอ ย  ความสําคัญของระบบยอ ยอาหารและ อาหาร และระบบขับถา ยที่มีผลตอ สุขภาพ ระบบขบั ถายที่มผี ลตอสขุ ภาพ การ การเจริญเตบิ โต และพฒั นาการ เจริญเติบโต และพัฒนาการ ๒. อธิบายวิธีดูแลระบบยอ ยอาหารและ  วิธดี แู ลรักษาระบบยอยอาหาร และ ระบบขับถา ยใหท าํ งานตามปกติ ระบบขบั ถายใหทํางานตามปกติ ป.๖ ๑. อธบิ ายความสาํ คัญของระบบสืบพันธุ  ความสําคญั ของระบบสบื พันธุ ระบบไหลเวยี นโลหติ และระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหติ และระบบหายใจทมี่ ีผล ทมี่ ผี ลตอสขุ ภาพ การเจริญเติบโตและ ตอสุขภาพ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ พฒั นาการ ๒. อธิบายวิธีการดแู ลรักษาระบบสืบพันธุ  วธิ ีดแู ลรักษาระบบสบื พนั ธุ ระบบไหลเวยี นโลหิต และระบบหายใจให ระบบไหลเวยี นโลหติ และระบบหายใจ ทาํ งานตามปกติ ใหท ํางานตามปกติ

๘ สาระท่ี ๒ ชีวติ และครอบครวั มาตรฐาน พ ๒.๑ เขาใจและเหน็ คุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาํ เนนิ ชีวติ ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ป. ๑ ๑. ระบสุ มาชิกในครอบครวั และความรัก  สมาชิกในครอบครัว  ความรกั ความผูกพนั ของสมาชกิ ความผกู พนั ของสมาชกิ ที่มตี อ กัน ในครอบครัว  สง่ิ ทช่ี ื่นชอบและความภาคภูมใิ จ ๒. บอกส่ิงทีช่ ื่นชอบ และภาคภมู ใิ จ ในตนเอง (จดุ เดน จุดดอ ยของตนเอง) ในตนเอง  ลักษณะความแตกตางของเพศชาย ๓. บอกลักษณะความแตกตางระหวาง เพศหญงิ เพศชาย และเพศหญิง - รา งกาย - อารมณ ป. ๒ ๑. ระบบุ ทบาทหนา ท่ขี องตนเอง และ - ลกั ษณะนิสยั สมาชิกในครอบครวั  บทบาทหนา ทีข่ องสมาชิกในครอบครัว - ตนเอง ๒. บอกความสาํ คัญของเพ่ือน - พอ แม - พี่นอ ง ๓. ระบพุ ฤตกิ รรมท่ีเหมาะสมกับเพศ - ญาติ  ความสาํ คัญของเพอ่ื น (เชน พูดคยุ ๔. อธิบายความภาคภูมใิ จในความเปน ปรึกษา เลน ฯลฯ) เพศหญิง หรือเพศชาย  พฤตกิ รรมที่เหมาะสมกับเพศ ป. ๓ ๑. อธบิ ายความสําคญั และความ - ความเปน สุภาพบรุ ษุ แตกตา งของครอบครวั ทีม่ ตี อตนเอง - ความเปน สภุ าพสตรี  ความภาคภูมิใจในเพศหญิง หรือเพศชาย  ความสําคัญของครอบครัว ความแตกตาง ของแตละครอบครัว - เศรษฐกจิ - สังคม

๙ ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - การศึกษา ๒. อธิบายวธิ ีสรา งสัมพันธภาพใน  วิธกี ารสรา งสัมพนั ธภาพในครอบครัวและ ครอบครัวและกลุม เพื่อน กลมุ เพ่ือน ๓. บอกวิธีหลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมที่นําไปสู  พฤติกรรมทนี่ ําไปสูการลวงละเมิดทางเพศ การลวงละเมิดทางเพศ (การแตงกาย การเทยี่ วกลางคนื การคบเพอ่ื น การเสพสารเสพติด ฯลฯ)  วธิ หี ลกี เล่ียงพฤติกรรมทน่ี ําไปสูก ารลวง ละเมิดทางเพศ (ทักษะปฏเิ สธและอ่ืน ๆ ) ป. ๔ ๑. อธบิ ายคุณลักษณะของความเปน  คณุ ลักษณะของความเปนเพื่อนและ เพื่อนและสมาชิกที่ดขี องครอบครวั สมาชกิ ทีด่ ขี องครอบครัว ๒. แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ  พฤติกรรมทีเ่ หมาะสมกับเพศของตนตาม ของตนตามวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมไทย ๓. ยกตัวอยา งวธิ ีการปฏิเสธการกระทํา  วิธกี ารปฏิเสธการกระทาํ ท่ีเปน อนั ตราย ทเ่ี ปนอันตรายและไมเหมาะสมในเรือ่ งเพศ และไมเ หมาะสมในเรื่องเพศ ป. ๕ ๑. อธิบายการเปล่ียนแปลงทางเพศ  การเปลีย่ นแปลงทางเพศ การดูแลตนเอง และปฏิบตั ิตนไดเหมาะสม  การวางตัวทเ่ี หมาะสมกับเพศตาม วัฒนธรรมไทย ๒. อธิบายความสาํ คญั ของการมี  ลกั ษณะของครอบครัวทีอ่ บอนุ ครอบครัวที่อบอุน ตามวัฒนธรรมไทย ตามวฒั นธรรมไทย (ครอบครัวขยาย การนบั ถือญาต)ิ ๓. ระบพุ ฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค และไมพงึ  พฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงคแ ละไมพงึ ประสงค ประสงคในการแกไขปญหาความขัดแยง ใน ในการแกไขปญหาความขัดแยงในครอบครวั ครอบครวั และกลุม เพ่ือน

๑๐ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป. ๖ ๑. อธบิ ายความสําคัญของการสรางและ  ความสาํ คัญของการสรา งและรักษา รักษาสัมพันธภาพกบั ผูอ่นื สัมพันธภาพกบั ผูอ่นื  ปจจัยทช่ี วยใหการทํางานกลมุ ประสบ ๒. วิเคราะหพฤติกรรมเส่ียงท่ีอาจนาํ ไปสู ความสําเร็จ การมีเพศสมั พันธ การติดเช้ือเอดส - ความสามารถสว นบุคคล และการตั้งครรภกอนวยั อนั ควร - บทบาทหนาทข่ี องสมาชกิ ในกลุม - การยอมรับความคดิ เห็น และ ความแตกตางระหวางบุคคล - ความรบั ผดิ ชอบ  พฤตกิ รรมเสยี่ งทน่ี าํ ไปสูการมีเพศสัมพนั ธ การตดิ เช้ือเอดส และการตัง้ ครรภ กอนวยั อันควร สาระที่ ๓ การเคล่ือนไหว การออกกาํ ลงั กาย การเลน เกม กฬี าไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขาใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน เกม และกีฬา ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๑ ๑. เคลื่อนไหวรางกายขณะอยูกบั ท่ี  ธรรมชาตขิ องการเคล่อื นไหวรางกาย เคลือ่ นทีแ่ ละใชอ ุปกรณป ระกอบ ในชีวติ ประจาํ วัน - แบบอยูกับท่ี เชน น่งั ยืน กมเงย เอยี งซา ย-ขวา เคลื่อนไหวขอมอื ขอเทา แขน ขา - แบบเคลอื่ นท่ี เชน เดนิ วงิ่ กระโดด กลิง้ ตวั - แบบใชอ ุปกรณประกอบ เชน จบั โยน เตะ เคาะ ๒. เลน เกมเบ็ดเตล็ดและเขารวมกิจกรรม  กจิ กรรมทางกายท่ีใชใ นการเคล่อื นไหว ทางกายทใ่ี ชการเคล่ือนไหวตามธรรมชาติ ตามธรรมชาติ - การเลน เกมเบ็ดเตลด็

๑๑ ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ป. ๒ ๑. ควบคุมการเคลอื่ นไหวรางกาย  ลักษณะและวิธีการของการเคลอื่ นไหว ขณะอยูกับท่ี เคลอ่ื นท่ี และใชอ ุปกรณ รา งกาย แบบอยูกับท่ี เชน กระโดด บิดตัว ประกอบ ดงึ ผลัก แบบเคลื่อนที่ เชน กระโดดเขยง กา วชิดกาว วง่ิ ตามทศิ ทางท่ีกําหนด และ แบบใชอปุ กรณป ระกอบ เชน คีบ ขวาง ตี ๒. เลมเกมเบ็ดเตล็ดและเขา รวมกิจกรรม  การเลน เกมเบด็ เตล็ด และเขา รว ม ทางกายทีว่ ิธีเลน อาศยั การเคลือ่ นไหว กิจกรรมทางกายทว่ี ธิ ีเลน อาศัยการเคลื่อนไหว เบ้ืองตนทั้งแบบอยกู ับท่ี เคลื่อนที่และ เบื้องตน ทั้งแบบอยูกับที่ เคลอ่ื นท่ี และใช ใชอ ุปกรณป ระกอบ อุปกรณประกอบ ป. ๓ ๑. ควบคมุ การเคลื่อนไหวรางกาย  การเคลอ่ื นไหวรา งกายแบบอยกู ับที่ ขณะอยูก ับท่ี เคล่ือนทแ่ี ละใชอุปกรณ เชน ยอยดื เขยง พบั ตวั เคล่ือนไหวลําตัว ประกอบอยา งมที ิศทาง การเคล่ือนไหวแบบเคลื่อนที่ เชน เดนิ ตอเทา เดินถอย-หลงั กระโจน และแบบใชอุปกรณ ประกอบโดยมกี ารบังคบั ทิศทาง เชน ดดี ขวา ง โยน และรับ  วิธีการควบคุมการเคลื่อนไหวรา งกาย แบบตาง ๆ อยางมที ิศทาง ๒. เคลอ่ื นไหวรางกายที่ใชท ักษะการ  กิจกรรมทางกายท่ีใชท กั ษะการเคลอ่ื นไหว เคลื่อนไหวแบบบงั คับทิศทางในการเลน แบบบังคบั ทิศทาง ในการเลน เกมเบด็ เตลด็ เกมเบ็ดเตลด็ ป. ๔ ๑. ควบคมุ ตนเองเม่ือใชทักษะ  การเคลือ่ นไหวรางกายแบบผสมผสาน การเคลื่อนไหวในลกั ษณะผสมผสาน ทั้งแบบอยกู ับท่ี เชน กระโดดหมนุ ตัว ไดทง้ั แบบอยูกับที่ เคล่ือนท่ี และใช กระโดด-เหยียดตวั แบบเคลอื่ นที่ เชน อุปกรณประกอบ ซกิ แซ็ก วง่ิ เปลยี่ นทศิ ทาง ควบมา และ แบบใชอุปกรณป ระกอบ เชน บอล เชือก ๒. ฝก กายบริหารทา มือเปลา  กายบริหารทามือเปลาประกอบจังหวะ ประกอบจังหวะ ๓. เลน เกมเลยี นแบบและกจิ กรรม  เกมเลียนแบบและกจิ กรรมแบบผลดั แบบผลดั

๑๒ ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ๔. เลนกฬี าพื้นฐานไดอยางนอย ๑ ชนดิ  กฬี าพืน้ ฐาน เชน แชรบอล แฮนดบอล หว งขามตาขาย ป. ๕ ๑. จดั รูปแบบการเคลอื่ นไหว  การจัดรูปแบบการเคล่อื นไหวรางกาย แบบผสมผสาน และควบคุมตนเองเมื่อใช แบบผสมผสาน และการปฏิบัตกิ ิจกรรมทางกาย ทกั ษะการเคล่ือนไหวตามแบบที่กําหนด ท้ังแบบอยกู บั ท่ี เคล่อื นท่ี และใชอ ปุ กรณ ประกอบตามแบบท่ีกาํ หนด เชน การฝก กาย ๒. เลมเกมนําไปสูก ีฬาทเี่ ลือกและ บรหิ าร ยดื หยนุ ขน้ั พืน้ ฐาน เปน ตน กจิ กรรมการเคลือ่ นไหวแบบผลัด  เกมนาํ ไปสูก ฬี าและกิจกรรมแบบผลัดท่ีมี ๓. ควบคมุ การเคลื่อนไหวในเรอ่ื งการรับ การตี เขยี่ รบั – สง สง่ิ ของ ขวา ง และวงิ่ แรง การใชแ รงและความสมดุล  การเคลื่อนไหวในเร่ืองการรบั แรง การใชแ รง ๔. แสดงทักษะกลไกในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และความสมดุล ทางกายและเลน กฬี า  ทกั ษะกลไกท่สี ง ผลตอ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ๕. เลน กีฬาไทย และกีฬาสากลประเภท ทางกายและเลน กฬี า บคุ คลและประเภททีมไดอยา งละ ๑ ชนดิ  การเลน กีฬาไทย เชน ตะกรอวง ว่งิ ชักธง และกีฬาสากล เชน กรีฑาประเภทลู แบดมินตนั เปตอง ฟตุ บอล เทเบลิ เทนนสิ วา ยนาํ้ ๖. อธบิ ายหลกั การ และเขารวมกจิ กรรม  หลักการและกิจกรรมนนั ทนาการ นันทนาการ อยางนอย ๑ กจิ กรรม ป. ๖ ๑. แสดงทกั ษะการเคล่ือนไหวรวมกับ  การเคล่ือนไหวรว มกับผูอ ื่นแบบผลดั ใน ผูอ่นื ในลกั ษณะแบบผลัดและ ลักษณะผสมผสาน ในการรวมกจิ กรรมทางกาย แบบผสมผสานไดต ามลาํ ดับ ทงั้ แบบอยู เชน กจิ กรรมแบบผลดั กายบริหารประกอบ กบั ที่ เคลื่อนที่ และใชอปุ กรณประกอบ เพลง ยดื หยนุ ขนั้ พื้นฐานที่ใชท า ตอ เน่ือง และการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง และการตอตวั ทางา ย ๆ ๒. จาํ แนกหลักการเคล่อื นไหวในเรื่องการ  การเคลอื่ นไหวในเรื่องการรบั แรง การใชแ รง รับแรง การใชแรง และความสมดลุ ในการ และความสมดลุ กบั การพฒั นาทักษะการเคล่อื นไหว เคล่ือนไหวรา งกายในการเลน เกม เลน ในการเลนเกมและกฬี า กฬี า และนาํ ผลมาปรับปรุง เพ่ิมพนู วิธี ปฏิบัตขิ องตนและผูอน่ื

๑๓ ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ๓. เลน กีฬาไทย กีฬาสากลประเภท  การเลน กีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบคุ คล บคุ คลและประเภททีมไดอยา งละ ๑ ชนิด และประเภททีม เชน กรีฑาประเภทลู และ ลานเปตอง วา ยนํา้ เทเบลิ เทนนิส วอลเลยบ อล ฟตุ บอล ตะกรอ วง ๔. ใชท ักษะกลไก เพื่อปรบั ปรงุ เพ่ิมพูน  การใชข อ มลู ดา นทกั ษะกลไกเพ่อื ปรับปรุง ความสามารถของตนและผูอ่ืนในการเลน และเพิ่มพูนความสามารถในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม กีฬา ทางกาย และเลนกีฬา ๕. รวมกิจกรรมนนั ทนาการอยา งนอย ๑  การนําความรแู ละหลกั การของกิจกรรม กิจกรรม แลว นาํ ความรูและหลักการที่ได นันทนาการไปใชเปน ฐานการศกึ ษาหาความรู ไปใชเปน ฐานการศกึ ษาหาความรู เรอื่ งอนื่ ๆ สาระที่ ๓ การเคล่อื นไหว การออกกาํ ลงั กาย การเลนเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกาํ ลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบตั ิเปน ประจํา อยางสม่ําเสมอ มวี นิ ยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี า้ํ ใจนักกฬี า มจี ิตวิญญาณ ในการแขงขัน และช่นื ชม ในสนุ ทรยี ภาพของการกฬี า ช้นั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๑ ๑. ออกกาํ ลังกาย และเลนเกม  การออกกาํ ลังกาย และการเลน เกม เบด็ เตล็ด ตามคําแนะนําอยางสนกุ สนาน  กฎ กตกิ า ขอตกลงในการเลนเกม ๒. ปฏบิ ตั ิตนตามกฎ กตกิ า ขอตกลง เบ็ดเตลด็ ในการเลนเกมตามคาํ แนะนํา  การออกกาํ ลงั กาย และเลน เกมเบ็ดเตล็ด ป.๒ ๑. ออกกาํ ลงั กาย และเลน เกม  ประโยชนข องการออกกําลงั กายและการ ไดด วยตนเองอยา งสนุกสนาน เลนเกม  กฎ กติกา ขอตกลงในการเลน เกมเปน กลุม ๒. ปฏิบตั ติ ามกฎ กตกิ าและขอ ตกลง ในการเลนเกมเปน กลุม

๑๔ ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป. ๓ ๑. เลือกออกกําลังกาย การละเลน  แนวทางการเลอื กออกกําลังกาย การละเลน พ้ืนเมอื งและเลนเกมทเี่ หมาะสม พื้นเมือง และเลนเกมทีเ่ หมาะสมกับ กบั จดุ เดน จุดดอ ยและขอ จาํ กัดของ จุดเดน จดุ ดอ ย และขอ จาํ กัดของตนเอง แตละบคุ คล  การออกกําลังกาย เกม และการละเลน ๒. ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กตกิ าและขอตกลง พื้นเมือง ของการออกกาํ ลังกาย การเลนเกม  กฎ กตกิ าและขอตกลงในการออกกําลัง การละเลนพนื้ เมืองไดดวยตนเอง กาย การเลน เกม และการละเลน พน้ื เมือง  การออกกาํ ลงั กาย เลนเกม ตาม ป. ๔ ๑. ออกกําลังกาย เลนเกม และกีฬา ความชอบของตนเองและเลนกีฬาพนื้ ฐาน ทีต่ นเองชอบและมคี วามสามารถในการ รว มกับผอู ่นื วิเคราะหผ ลพฒั นาการของตนเองตาม  การวิเคราะหผลพัฒนาการของตนเองใน ตัวอยา งและแบบปฏิบตั ิของผูอ่ืน การออกกาํ ลงั กาย เลน เกมและเลน กีฬา ตามตวั อยา งและแบบปฏิบตั ิของผอู ื่น ๒. ปฏบิ ัติตามกฎ กติกาการเลนกีฬา  คณุ คา ของการออกกําลังกาย เลน เกม พ้ืนฐาน ตามชนดิ กีฬาที่เลน และเลนกีฬา ทม่ี ตี อสขุ ภาพ  การปฏิบัตติ ามกฎ กติกา การเลนกฬี า พ้ืนฐาน ตามชนดิ กีฬาท่เี ลน ป. ๕ ๑. ออกกําลงั กายอยา งมรี ปู แบบ  หลักการและรปู แบบการออกกําลงั กาย เลน เกมทใ่ี ชทักษะการคดิ และตดั สนิ ใจ  การออกกาํ ลังกาย และการเลนเกม เชน เกมเบด็ เตล็ด เกมเลียนแบบ เกมนํา ๒. เลน กฬี าท่ีตนเองชอบอยางสมํ่าเสมอ และการละเลน พน้ื เมอื ง โดยสรา งทางเลือกในวิธีปฏบิ ตั ขิ องตนเอง อยา งหลากหลาย และมีนาํ้ ใจนกั กฬี า  การเลนกฬี าไทย และกีฬาสากลประเภท บคุ คลและทีมทเี่ หมาะสมกบั วัยอยาง สมํา่ เสมอ  การสรางทางเลอื กในวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการเลน กฬี าอยา งหลากหลาย และมีน้าํ ใจนักกีฬา

๑๕ ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ๓. ปฏิบตั ิตามกฎกตกิ า การเลนเกม  กฎ กติกาในการเลน เกม กีฬาไทย กีฬาไทย และกีฬาสากล ตามชนดิ กฬี า และกีฬาสากลตามชนิดกฬี าท่ีเลน ที่เลน  วิธีการรกุ และวธิ ีปอ งกันในการเลน กฬี า ไทยและกีฬาสากลท่เี ลน ๔. ปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธขิ องตนเอง  สิทธิของตนเองและผูอ่นื ในการเลนเกม ไมล ะเมิดสทิ ธิผูอน่ื และยอมรับ และกีฬา ในความแตกตา งระหวางบุคคล  ความแตกตา งระหวา งบคุ คลในการเลน ในการเลนเกม และกีฬาไทย กีฬาสากล เกม และกฬี า ป. ๖ ๑. อธิบายประโยชนและหลักการออก  ประโยชนแ ละหลักการออกกําลงั กาย กาํ ลงั กายเพือ่ สุขภาพ สมรรถภาพทางกาย เพือ่ สขุ ภาพ สมรรถภาพทางกาย และการสรางเสรมิ บุคลกิ ภาพ และการสรา งเสรมิ บุคลิกภาพ ๒. เลนเกมที่ใชท ักษะการวางแผน และ  การเลนเกมท่ีใชท กั ษะการวางแผน สามารถเพิ่มพูนทกั ษะการออกกาํ ลังกาย  การเพมิ่ พนู ทักษะการออกกําลังกายและ และเคลื่อนไหวอยางเปนระบบ การเคลอื่ นไหวอยา งเปน ระบบ ๓. เลน กฬี าทตี่ นเองช่ืนชอบและสามารถ  การเลนกีฬาประเภทบุคคลและประเภท ประเมินทักษะการเลนของตนเปนประจาํ ทมี ท่ีชนื่ ชอบ  การประเมินทักษะการเลนกฬี าของตน ๔. ปฏบิ ัติตามกฎ กตกิ า ตามชนิดกีฬา  กฎ กตกิ าในการเลนกีฬาไทย กีฬาสากล ที่เลน โดยคาํ นึงถึงความปลอดภยั ของ ตามชนิดกีฬาที่เลน ตนเองและผูอ นื่ ๕. จําแนกกลวธิ กี ารรกุ การปอ งกนั  กลวธิ กี ารรุก การปอ งกันในการเลน กีฬา และนาํ ไปใชใ นการเลน กฬี า ๗. เลน เกมและกีฬา ดวยความสามคั คี  การสรา งความสามัคคแี ละความมนี ้าํ ใจ และมีนํ้าใจนักกีฬา นกั กฬี าในการเลนเกมและกีฬา

๑๖ สาระท่ี ๔ การสรา งเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณคาและมที ักษะในการสรา งเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปอ งกนั โรค และการสรา งเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๑ ๑. ปฏิบตั ิตนตามหลกั สุขบัญญัตแิ หงชาติ  การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั สุขบญั ญตั ิแหงชาติ ตามคาํ แนะนํา ๒. บอกอาการเจ็บปว ยทีเ่ กิดข้นึ กบั ตนเอง  ลกั ษณะอาการเจบ็ ปวยที่เกดิ ข้นึ กับตนเอง - ปวดศีรษะ - ตวั รอ น - มนี าํ้ มกู - ปวดทอง - ผน่ื คัน (หนงั ศีรษะ ผวิ หนัง) - ฟกช้ํา ฯลฯ ๓. ปฏบิ ตั ติ นตามคาํ แนะนําเม่ือมีอาการ  วธิ ปี ฏบิ ตั ิตนเมอื่ มอี าการเจ็บปว ยที่เกิด เจ็บปว ย ขึ้นกบั ตนเอง ป. ๒ ๑. บอกลักษณะของการมีสขุ ภาพดี  ลกั ษณะของการมสี ุขภาพดี - รา งกายแข็งแรง - จติ ใจ รา เริง แจม ใส - มีความสุข - มคี วามปลอดภัย ๒. เลือกกินอาหารทีม่ ปี ระโยชน  อาหารทีม่ ีประโยชนและไมม ีประโยชน ๓. ระบุของใชและของเลน ท่มี ีผลเสยี  ของใชแ ละของเลนท่มี ผี ลเสยี ตอสุขภาพ ตอ สขุ ภาพ ๔. อธิบายอาการและวิธปี องกัน  อาการและวธิ ปี องกันการเจ็บปวย การเจบ็ ปวย การบาดเจบ็ ท่ีอาจเกดิ ข้นึ - ตาแดง ทอ งเสีย ฯลฯ  อาการและวิธีปองกนั การบาดเจ็บ - ถกู ของมีคม แมลงสตั วก ัดตอ ย หกลม ฯลฯ

๑๗ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ๕. ปฏิบตั ิตามคําแนะนําเมื่อมีอาการ  วิธีปฏิบัติตนเมอ่ื เจ็บปว ยและบาดเจบ็ เจ็บปวยและบาดเจ็บ  การตดิ ตอ และวิธกี ารปอ งกันการ ป. ๓ ๑. อธบิ ายการติดตอและวิธกี ารปอ งกัน แพรกระจายของโรค การแพรกระจายของโรค  อาหารหลกั ๕ หมู ๒. จาํ แนกอาหารหลัก ๕ หมู  การเลือกกินอาหารท่เี หมาะสม ๓. เลอื กกนิ อาหารท่หี ลากหลาย - ความหลากหลายของชนดิ อาหาร ครบ ๕ หมู ในสดั สวนที่เหมาะสม ในแตละหมู ๔. แสดงการแปรงฟน ใหสะอาด - สัดสวนและปรมิ าณของอาหาร (ตามธง อยางถูกวิธี ๕. สรางเสริมสมรรถภาพทางกายได โภชนาการ) ตามคําแนะนํา  การแปรงฟนใหส ะอาดอยางถกู วธิ ี (ครอบคลุมบริเวณขอบเหงือกและคอฟน) ป. ๔ ๑. อธบิ ายความสัมพนั ธระหวาง  การสรางเสรมิ สมรรถภาพทางกายเพื่อ สิ่งแวดลอ มกับสุขภาพ สขุ ภาพ - วธิ กี ารทดสอบสมรรถภาพทางกาย - วิธกี ารสรางเสริมสมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ โดยการออกกําลังกาย การพักผอ น และ กจิ กรรมนันทนาการ  ความสมั พนั ธระหวา งส่งิ แวดลอมกบั สุขภาพ  การจดั ส่ิงแวดลอมท่ีถกู สุขลกั ษณะและ เอ้อื ตอสขุ ภาพ

๑๘ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๒. อธิบายสภาวะอารมณ ความรสู กึ ท่ีมี  สภาวะอารมณและความรูสกึ เชน โกรธ ผลตอสขุ ภาพ หงุดหงิด เครยี ด เกลียด เสียใจ เศราใจ วติ ก กังวล กลวั กา วรา ว อิจฉา ริษยา เบ่อื หนาย ๓. วเิ คราะหข อ มลู บนฉลากอาหารและ ทอ แท ดีใจ ชอบใจ รัก ชืน่ ชม สนุก สขุ สบาย ผลิตภณั ฑสุขภาพ เพ่ือการเลือกบรโิ ภค  ผลที่มีตอ สขุ ภาพ ๔. ทดสอบและปรบั ปรงุ สมรรถภาพ ทางกาย ตามผลการตรวจสอบ ทางบวก : สดชืน่ ยม้ิ แยม แจม ใส สมรรถภาพทางกาย รา เรงิ ฯลฯ ป. ๕ ๑. แสดงพฤตกิ รรมทเ่ี ห็นความสาํ คญั ของ การปฏิบัตติ นตามสขุ บญั ญตั แิ หงชาติ ทางลบ : ปวดศีรษะ ปวดทอง เบอ่ื อาหาร ๒. คน หาขอ มลู ขา วสารเพ่ือใชส รางเสริม ออ นเพลีย ฯลฯ สุขภาพ  การวิเคราะหขอมลู บนฉลากอาหารและ ๓. วิเคราะหสอื่ โฆษณาในการตัดสินใจ ผลติ ภัณฑสขุ ภาพ เลือกซื้ออาหาร และผลติ ภัณฑสขุ ภาพ  การทดสอบสมรรถภาพทางกาย อยา งมีเหตุผล  การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผล ๔. ปฏบิ ตั ิตนในการปองกนั โรคทีพ่ บบอย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ในชวี ิตประจําวนั  ความสาํ คญั ของการปฏิบัติตนตามสุข บัญญัตแิ หง ชาติ  แหลงและวธิ ีคน หาขอมูลขาวสารทาง สุขภาพ  การใชข อมลู ขา วสารในการสรา งเสรมิ สขุ ภาพ  การตดั สินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภณั ฑ สขุ ภาพ (อาหาร เคร่ืองสาํ อาง ผลิตภัณฑ ดูแลสุขภาพในชองปาก ฯลฯ)  การปฏิบตั ติ นในการปองกันโรคที่พบบอย ในชวี ิตประจําวนั - ไขหวดั - ไขเ ลือดออก - โรคผิวหนงั - ฟน ผแุ ละโรคปรทิ ันต

๑๙ ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ๕. ทดสอบและปรับปรงุ สมรรถภาพทาง  การทดสอบสมรรถภาพทางกาย กายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทาง  การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผล กาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย  ความสําคญั ของส่ิงแวดลอมที่มผี ลตอ ป. ๖ ๑. แสดงพฤตกิ รรมในการปองกนั และ สุขภาพ แกไขปญ หาสงิ่ แวดลอมที่มผี ลตอ สุขภาพ  ปญ หาของสงิ่ แวดลอมท่ีมีผลตอสุขภาพ  การปองกนั และแกไ ขปญ หาส่งิ แวดลอ มที่ ๒. วเิ คราะหผลกระทบที่เกิดจาก มผี ลตอสุขภาพ การระบาดของโรค และเสนอแนวทาง  โรคติดตอสาํ คัญที่ระบาดในปจจบุ ัน การปองกันโรคตดิ ตอสาํ คัญที่พบใน  ผลกระทบท่ีเกดิ จากการระบาดของโรค ประเทศไทย  การปองกนั การระบาดของโรค ๓. แสดงพฤติกรรมท่บี ง บอกถึง ความรับผิดชอบตอสขุ ภาพของสวนรวม  พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถึงความรับผิดชอบ ๔. สรา งเสริมและปรบั ปรงุ สมรรถภาพ ตอสุขภาพของสว นรวม ทางกายเพ่ือสุขภาพอยางตอเนอ่ื ง  วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย  การสรา งเสริมและปรบั ปรุงสมรรถภาพ ทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทาง กาย

๒๐ สาระที่ ๕ ความปลอดภยั ในชีวิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ปอ งกนั และหลีกเลีย่ งปจ จัยเส่ยี ง พฤติกรรมเสยี่ งตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชย า สารเสพตดิ และความรุนแรง ชนั้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป. ๑ ๑. ระบุส่งิ ที่ทําใหเกิดอนั ตรายที่บาน  ส่ิงทีท่ าํ ใหเกดิ อนั ตรายภายในบานและ โรงเรยี น และการปองกนั โรงเรยี น  การปองกันอันตรายภายในบา นและ โรงเรยี น ๒. บอกสาเหตุและการปอ งกันอันตรายที่  อนั ตรายจากการเลน เกดิ จากการเลน - สาเหตุทท่ี าํ ใหเกดิ อนั ตรายจากการเลน - การปองกันอนั ตรายจากการเลน ๓. แสดงคําพูดหรอื ทาทางขอความ  การขอความชว ยเหลอื เมอ่ื เกดิ เหตรุ าย ชว ยเหลอื จากผอู น่ื เม่ือเกดิ เหตรุ ายท่บี าน ทบ่ี านและโรงเรยี น และโรงเรยี น - บคุ คลท่ีควรขอความชว ยเหลอื - คําพูดและทา ทางการขอความชวยเหลือ ป. ๒ ๑. ปฏิบัตติ นในการปองกนั อุบตั เิ หตุ  อุบตั ิเหตทุ างนํ้า และทางบก ท่ีอาจเกดิ ขนึ้ ทางนํา้ และทางบก - สาเหตขุ องอุบตั ิเหตทุ างนาํ้ และทางบก - วิธีการปอ งกันอบุ ตั ิเหตุทางน้ําและทางบก ๒. บอกชอื่ ยาสามญั ประจําบาน และใช  ยาสามญั ประจาํ บา น ยาตามคําแนะนํา - ช่อื ยาสามญั ประจาํ บา น - การใชยาตามความจําเปน และลกั ษณะ อาการ ๓. ระบโุ ทษของสารเสพติด สารอันตราย  สารเสพติดและสารอันตรายใกลตวั ใกลตวั และวิธีการปองกนั - โทษของสารเสพติด และสารอันตรายใกลต ัว - วิธีปองกนั ๔. ปฏิบตั ติ นตามสัญลักษณแ ละปายเตือน  สญั ลักษณและปายเตือนของสิง่ ของหรือ ของสง่ิ ของหรือสถานท่ีทีเ่ ปน อันตราย สถานทีท่ เี่ ปน อนั ตราย - ความหมายของสญั ลักษณและปา ยเตือน

๒๑ ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ๕. อธิบายสาเหตุ อนั ตราย วธิ ีปองกัน  อคั คีภยั อคั คภี ยั และแสดงการหนไี ฟ - สาเหตขุ องการเกิดอคั คีภยั - อันตรายซ่ึงไดรับจากการเกิดอคั คีภยั - การปองกนั อัคคภี ัย และการหนีไฟ ป. ๓ ๑. ปฏิบตั ิตนเพ่อื ความปลอดภยั  วิธีปฏบิ ัติตนเพื่อความปลอดภัยจาก จากอบุ ตั เิ หตุในบา น โรงเรยี น อบุ ตั เิ หตุในบาน โรงเรียนและการเดินทาง และการเดนิ ทาง ๒. แสดงวธิ ขี อความชวยเหลอื จากบุคคล  การขอความชวยเหลอื จากบุคคลและ และแหลงตา ง ๆ เม่ือเกิดเหตุรา ย แหลงตาง ๆ เม่อื เกดิ เหตรุ ายหรืออุบัตเิ หตุ หรอื อบุ ัตเิ หตุ ๓. แสดงวธิ ีปฐมพยาบาล เมือ่ บาดเจ็บ  การบาดเจบ็ จากการเลน จากการเลน - ลักษณะของการบาดเจบ็ - วิธปี ฐมพยาบาล (บาดเจบ็ หามเลือด) ป. ๔ ๑. อธิบายความสาํ คญั ของการใชย า  ความสําคัญของการใชย า และใชยาอยางถูกวธิ ี  หลกั การใชย า ๒. แสดงวิธปี ฐมพยาบาลเมื่อไดรับ  วิธปี ฐมพยาบาล อันตรายจากการใชย าผิด สารเคมี แมลง - การใชย าผดิ สตั วก ดั ตอย และการบาดเจ็บจากการ - สารเคมี เลนกีฬา - แมลงสตั วกัดตอ ย - การบาดเจบ็ จากการเลนกีฬา ๓. วเิ คราะหผลเสียของการสูบบุหรี่ และ  ผลเสียของการสูบบหุ รี่ การด่มื สรุ า และ การด่มื สุรา ทม่ี ีตอสุขภาพและการปองกัน การปอ งกนั ป. ๕ ๑. วเิ คราะหป จ จัยท่ีมอี ิทธิพลตอ การใช  ปจจยั ทีม่ อี ทิ ธิพลตอการใชส ารเสพติด สารเสพติด (สรุ า บุหรี่ ยาบา สารระเหย ฯลฯ) - ครอบครัว สังคม เพ่ือน - คานิยม ความเชื่อ - ปญหาสุขภาพ - สือ่ ฯลฯ

๒๒ ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ๒. วเิ คราะหผลกระทบของการใชย า และ  ผลกระทบของการใชยา และสารเสพตดิ ที่ สารเสพติด ทมี่ ีผลตอรา งกาย จติ ใจ มีตอรา งกาย จติ ใจ อารมณ สังคม และ อารมณ สังคม และสตปิ ญ ญา สติปญญา ๓. ปฏิบัติตนเพือ่ ความปลอดภยั จากการ  การปฏบิ ัติตนเพ่ือความปลอดภยั จาก ใชยาและหลกี เลี่ยงสารเสพติด การใชยา  การหลกี เลี่ยงสารเสพตดิ ๔. วเิ คราะหอิทธพิ ลของส่ือที่มตี อ  อทิ ธพิ ลของสอื่ ทมี่ ตี อพฤติกรรม สุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ (อินเทอรเ น็ต เกม ฯลฯ) ๕. ปฏิบัติตนเพอ่ื ปอ งกนั อนั ตรายจากการ  การปฏิบตั ิเพ่ือปองกนั อนั ตรายจาก เลนกีฬา การเลนกีฬา ป. ๖ ๑. วิเคราะหผ ลกระทบจากความรนุ แรง  ภัยธรรมชาติ ของภัยธรรมชาตทิ ี่มีตอรา งกาย จิตใจ - ลักษณะของภัยธรรมชาติ และสงั คม - ผลกระทบจากความรุนแรงของภยั ธรรมชาติทมี่ ตี อรา งกาย จติ ใจ และสงั คม ๒. ระบุวธิ ีปฏบิ ัติตน เพอ่ื ความปลอดภยั  การปฏิบัตติ นเพื่อความปลอดภัยจากภยั จากธรรมชาติ ธรรมชาติ ๓. วเิ คราะหส าเหตุของการตดิ สารเสพติด และ  สาเหตขุ องการติดสารเสพตดิ ชกั ชวนใหผ อู ื่นหลกี เลยี่ งสารเสพตดิ  ทักษะการส่อื สารใหผ ูอ่ืนหลีกเล่ียงสารเสพติด

๒๓ โครงสรา งหลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๑-๖ รายวิชาพ้ืนฐาน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๒ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๔๐ ชว่ั โมง ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ๔๐ ชวั่ โมง ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๕ ๔๐ ช่ัวโมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๔๐ ชว่ั โมง ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห พ ๑๒๑๐๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๓ พ ๑๓๑๐๑ ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๔ พ ๑๔๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๕ พ ๑๕๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ พ ๑๖๑๐๑

๒๔ คาํ อธบิ ายรายวชิ า กลมุ สาระการเรยี นรูสขุ ศึกษาและพลศึกษา

๒๕ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๑ กลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง คําอธิบายรายวิชา รูเขาใจธรรมชาติการเจริญเติบโต การพัฒนาการของมนุษย อธิบายหนาที่ของอวัยวะ ภายนอก ดแู ลรกั ษา เห็นคุณคาความรกั ความผูกพนั ชนื่ ชอบภมู ิใจในตนเอง ทัง้ สมาชกิ ในครอบครัว รู เขาใจความแตกตางระหวางเพศหญิง-ชาย มีทักษะในการดําเนินชีวิต การเคลื่อนไหวทางกาย สอดคลองกับอุปกรณประกอบกิจกรรม การเลนเกมกีฬา มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจ จิต วิญญาณ เสริมสรางสุขภาพ สมรรถภาพ มีความสามารถปฏิบัติตามสุขบัญญัติ ปฏิบัติตนตาม คําแนะนํา การเจ็บปวยของตนเอง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมปจจัยเสี่ยง ตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด ความรุนแรง การพูด ทาทาง ขอความชวยเหลือ การเกิดเหตุรายที่จะเกิดขึ้นทั้งที่บานท่ี โรงเรยี น รูเขา ใจดานพฒั นาการของมนุษย สมั พันธภาพ ทักษะสวนบคุ คล พฤตกิ รรมทางเพศ สุขภาพ ทางเพศ สังคมและวัฒนธรรม รูเขาใจเห็นคุณคาของการเลนเกมกิจกรรมกีฬาพื้นบาน นันทนาการ การทอ งเทยี่ ว อาหารพนื้ บา น ปฏบิ ตั ิตนเก่ียวกับการเจ็บปว ยและโรคภยั ในชีวิตประจําวนั โดยใชการเรียนรูเชิงรุกผานทักษะ/กระบวนการสืบเสาะ การสํารวจตรวจสอบ กระบวนการ กลุม กระบวนการปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ การคิด การตัดสินใจ การแกปญหา รวมทั้งมีการฝก ทักษะ ปฏบิ ัติ สรางองคค วามรูจากสถานการณใกลต วั และเชอื่ มโยงความรู ทักษะ เจตคตแิ ละคานิยม ทีเ่ กิดข้นึ จากการเรยี นรูไ ปประยกุ ตใชในการแกป ญหาในสถานการณใหม เพื่อใหมีความเขาใจและเจตคติที่ดีตอการรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเองและ ครอบครัว เห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดําเนินชีวิต รักการออกกําลัง กาย การเลนเกม กีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจเปน นักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน ชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา และการสรางเสริมสุขภาพ และการดํารงสุขภาพอยางยั่งยืน สามารถนําความรู ทักษะ และประสบการณไปประยุกตใชกับ ชีวิตประจาํ วนั ไดอ ยา งถกู ตองเหมาะสม

๒๖ มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด พ ๑.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ พ ๒.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓ พ ๓.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ พ ๓.๒ ป๑/๑ , ป๑/๒ พ ๔.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓ พ ๕.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓ รวม ๖ มาตรฐาน ๑๕ ตวั ช้ีวัด

๒๗ พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๒ คาํ อธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๒ กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา เวลา ๔๐ ชั่วโมง คําอธิบายรายวชิ า เขาใจธรรมชาติการเจริญเติบโต เห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการ ดําเนินชีวิต การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลมเกมกีฬาไทยสากล มีนํ้าใจนักกีฬา มีจิต วิญญาณ การสรางสุขภาพ สมรรถภาพ การปองกันโรค หลีกเลี่ยงสารเสพติด การใชยา การเกิด อุบัติเหตุ ความรุนแรง มีความปลอดภัยในชีวิต ดูแลรักษาอวัยวะภายใน รูหนาที่บทบาทของตนเอง สมาชิกในครอบครัว เพื่อน เขาใจความแตกตางเพศหญงิ เพศชาย มีความภูมิใจในเพศตนทั้งหญิงชาย การเลนเกม กีฬา การเคลื่อนไหวรางกายอาศัยอุปกรณไดดวยตนเอง กลุมอยางสนุกสนาน ตามกฎ กติกา มีวินัยในการเลือกอาหารที่มีประโยชน การมีสุขภาพดี การดูแลการเกิดอุบัติเหตุ การเจ็บปวย บาดเจ็บ การใชยา เลี่ยงสารเสพติด ความรุนแรง ปฏิบัติตนตามสัญลักษณ พฤติกรรมเสี่ยงไดอยาง ปลอดภัย รูเขาใจหนาที่ การดูแล เสริมคุณคาตนเอง สังคม ครอบครัว เพื่อน การมีพฤติกรรม กอใหเกิดความมีสุขภาพกาย การอยูรวมกัน การเสริมสรางสุขภาพดี การดูแล เกิดการเจ็บปวย อุบัติเหตุเบื้องตน มีคานิยมมีคุณธรรม ในการดําเนินชีวิต สอดคลองกับธรรมชาติ ชวยใหมีความ ปลอดภยั ในชีวติ รูเขาใจดานพฒั นาการของมนษุ ย สมั พันธภาพ ทักษะสว นบุคคล พฤติกรรมทางเพศ สุขภาพทางเพศ สังคมและวัฒนธรรม รูเขาใจเห็นคุณคาของการเลนเกมกิจกรรมกีฬาพื้นบาน นันทนาการ มกี ฎระเบยี บกติกา มคี วามรู ความเขา ใจการทองเทย่ี ว อาหารพ้ืนบาน ปฏิบตั ติ นเกีย่ วกับ การเจ็บปวยโรคในหมูบ า น รูจกั ชือ่ และอาการของโรค โดยใชการเรียนรูเชิงรุกผานทักษะ/กระบวนการสืบเสาะ การสํารวจตรวจสอบ กระบวนการ กลุม กระบวนการปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ การคิด การตัดสินใจ การแกปญหา รวมทั้งมีการฝก ทักษะ ปฏิบัติ สรา งองคค วามรูจ ากสถานการณใกลตวั และเช่อื มโยงความรู ทักษะ เจตคติและคานิยม ทีเ่ กดิ ข้ึนจากการเรยี นรูไ ปประยกุ ตใ ชในการแกปญหาในสถานการณใหม เพื่อใหมีความเขาใจและเจตคติที่ดีตอการรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเองและ ครอบครัว เห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดําเนินชีวิต รักการออกกําลัง กาย การเลนเกม กีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจเปน นักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน ชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา และการสรางเสริมสุขภาพ และการดํารงสุขภาพอยางยั่งยืน สามารถนําความรู ทักษะ และประสบการณไปประยุกตใชกับ ชวี ติ ประจําวันไดอยางถกู ตองเหมาะสม

๒๘ มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด พ ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓ พ ๒.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔ พ ๓.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ พ ๓.๒ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ พ ๔.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕ พ ๕.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕ รวม ๖ มาตรฐาน ๒๑ ตัวช้ีวัด

๒๙ พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๓ คาํ อธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ กลมุ สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๔๐ ชว่ั โมง คําอธบิ ายรายวชิ า เขาใจลักษณะการเจริญเติบโต ความแตกตาง สัมพันธ ภาพในครอบครัว กลุมเพื่อน สราง สัมพันธภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมนําไปสา การลวงละเมิดทางเพศ มีการควบคุมการเคลื่อนไหวของ รา งกาย ทาํ อยกู ับท่ี และรอบทศิ ทาง การใชอุปกรณใ นการออกกําลงั กาย การเลน เกม กีฬา ปฏิบัติตน อยางสมํ่าเสมอ มีวินัย มีความถนัด รูจักจุดเดนจุดดอยของตนเอง รูเขาใจการละเลนกีฬาพื้นเมือง อธิบายการปองกันการแพรกระจายของโรค การเลอื กอาหารตามสดั สวนรูวิธีปองกนั โรค เขาใจวิธีการ แปรงฟนไดอยางถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิต ทั้งการขอความชวยเหลือจากบุคคล เมื่อเกิดเหตุราย อบุ ตั เิ หตุ ท้ังการใชยา เวน สารเสพติด ลดความรุนแรง ท้ังทบ่ี า นและท่ีโรงเรียน รูเขา ใจดานพัฒนาการ ของมนุษย สัมพันธภาพ ทักษะสวนบุคคล พฤติกรรมทางเพศ สุขภาพทางเพศ สังคมและวัฒนธรรม ปฏิบัติตนในการรูเขาใจอธิบาย การเปลี่ยนแปลงของมนุษย ความแตกตางทั้งรางกาย อารมณให เหมาะสมกับวัย การตัดสินใจ แกปญหางาย ๆ จากใกลตัว บาน โรงเรียน มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรม จิตสาํ นึก ความรบั ผิดชอบตอตนเอง และผูอ่นื รเู ขาใจวิธกี ารกิจกรรมการเลน กฬี าพ้ืนบา น นนั ทนาการ การทองเที่ยว อาหารพื้นบาน รูวิธีรักษาการเจ็บปวยของโรคในตําบล ปฏิบัติตามกฎระเบียบ กติกา ของการเลน เกมนําไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั โดยใชการเรียนรูเชิงรุกผานทักษะ/กระบวนการสืบเสาะ การสํารวจตรวจสอบ กระบวนการ กลุม กระบวนการปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ การคิด การตัดสินใจ การแกปญหา รวมทั้งมีการฝก ทักษะ ปฏบิ ัติ สรางองคค วามรูจากสถานการณใ กลต วั และเช่ือมโยงความรู ทกั ษะ เจตคตแิ ละคา นิยม ทีเ่ กิดข้ึนจากการเรยี นรไู ปประยกุ ตใชในการแกปญหาในสถานการณใหม เพื่อใหมีความเขาใจและเจตคติที่ดีตอการรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเองและ ครอบครัว เห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดําเนินชีวิต รักการออกกําลัง กาย การเลนเกม กีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจเปน นักกีฬา มีจิตวิญญาณ ในการแขงขัน ชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา และการสรางเสริมสุขภาพ และการดํารงสุขภาพอยางยั่งยืน สามารถนําความรู ทักษะ และประสบการณไปประยุกตใชกับ ชวี ติ ประจําวันไดอยางถกู ตองเหมาะสม

๓๐ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด พ ๑.๑ ป. ๓/๑, ป.๓/๒, ป. ๓/๓ พ ๒.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓ พ ๓.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ พ ๓.๒ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ พ ๔.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓, ป. ๓/๔, ป. ๓/๕ พ ๕.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓ รวม ๖ มาตรฐาน ๑๘ ตวั ชี้วัด

๓๑ พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ ๔ คาํ อธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๔ กลุมสาระการเรียนรสู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา เวลา ๔๐ ชว่ั โมง คาํ อธบิ ายรายวชิ า รูเขาใจหนาที่ของอวัยวะตางๆ เห็นความสําคัญของการทํางานของอวัยวะ สามารถปองกัน ดูแลอวัยวะการเจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจอารมณ สังคม และสติปญญา รู วิธีการแกไขปญหาและการปองกันปญหาที่เกิดขึ้น เขาในบทบาทหนาที่ของตนเองตอครอบครัว เห็น คุณคาและความสําคัญของเพศชาย เพศหญิง สามารถควบคุมตนเองและขณะปฏิบัติการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การกีฬา เลมเกม มีสวนรวมในกิจกรรมกีฬากับชุมชน ปฏิบัติตามกฎกติกา รูและ เขาใจการมีสุขภาพที่ดี การปองกันโรค การเลือกบริโภคอาหาร อารมณและความเครียด รูจักการใช เวลาวางใหเปนประโยชน รูและเขาใจในเรื่องการเสริมสรางสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ การ ปองกันหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยงที่เกดิ จากอุบัติเหตุ สิ่งเสพติด การปฐมพยาบาล จัดหมวดหมูอวัยวะของ รางกาย ปฏิบัติกจิ กรรมการเลนเกมกฬี าพื้นบาน ฝกทดสอบกิจกรรมยืดหยุนพ้ืนฐาน หลีกเลี่ยงปจจัย เส่ียงตอ สขุ ภาพ อุบัตภิ ยั รเู ขา ใจ ดา นพฒั นาการของมนษุ ย สัมพันธภาพ ทักษะสวนบุคคล พฤติกรรม ทางเพศ สุขภาพทางเพศ สังคมและวัฒนธรรม รูปฏิบัติตนการเลนเกมกีฬาพื้นบาน การทําอาหาร พื้นบาน รูวิธีรักษาและปฏิบัติตนเมื่อเจ็บปวยตามคําแนะนํา เลือกแหลงบริการสุขภาพและบริโภค อาหารท่เี หมาะสม โดยใชการเรียนรูเชิงรุกผานทักษะ/กระบวนการสืบเสาะ การสํารวจตรวจสอบ กระบวนการ กลุม กระบวนการปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ การคิด การตัดสินใจ การแกปญหา รวมทั้งมีการฝก ทักษะ ปฏิบตั ิ สรางองคค วามรจู ากสถานการณใ กลต ัว และเชอื่ มโยงความรู ทกั ษะ เจตคติและคานิยม ทเี่ กิดขึน้ จากการเรียนรูไปประยุกตใ ชใ นการแกปญ หาในสถานการณใหม เพื่อใหมีความเขาใจและเจตคติที่ดีตอการรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเองและ ครอบครัว เห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดําเนินชีวิต รักการออกกําลัง กาย การเลนเกม กีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจเปน นกั กฬี า มจี ติ วิญญาณในการแขง ขนั ช่นื ชมในสุนทรียภาพของการกีฬา และการสรา งเสริมสุขภาพและ การดํารงสุขภาพอยางยั่งยืน สามารถนําความรู ทักษะ และประสบการณไปประยุกตใชกับ ชีวติ ประจําวันไดอ ยางถูกตอ งเหมาะสม

๓๒ มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด พ ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ พ ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ พ ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ป.๔/๓, ป.๔/๔ พ ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ พ ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ พ ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ รวม ๖ มาตรฐาน ๑๙ ตัวชีว้ ัด

๓๓ พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๕ คําอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๕ กลมุ สาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศกึ ษา เวลา ๔๐ ช่วั โมง คาํ อธิบายรายวชิ า รูเขาใจในการทํางานของอวัยวะตาง ๆ สุขอนามัยทางเพศ การเปลี่ยนแปลงทางดาน รา งกาย จติ ใจ อารมณ สตปิ ญ ญา รแู ละเขา ใจเห็นคุณคาของชีวติ ครอบครวั มที กั ษะในการดาํ เนินชีวิต หลักการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย เกมกีฬาไทยและกีฬาสากล รูและเขาใจกลวิธีการรุกและการ ปองกันการสงเสริมสุขภาพของตน การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยจากปจจัยเสี่ยง ตอ สขุ ภาพตา งๆ ศกึ ษาคนควา การทํางานของระบบอวยั วะสุขภาพทางเพศ การเปลย่ี นแปลงทางดาน รางกาย จิตใจ อารมณ สติปญญา หลกั ของการเคล่ือนไหว การกีฬา การมีสขุ ภาพดี การบรโิ ภคอาหาร เพื่อสุขภาพ การปฏิบัติควบคุมจนเองในการเคลื่อนไหว การเขารวมกิจกรรมทางกาย การเลนเกม ออกกําลังกาย การเการพกฎ กติกา ความมีนํ้าใจเปนนักกีฬา การอภิปรายและการรายงานผลการ ปฏิบัติกิจกรรมวัดประเมินผลโดยการสังเกตพฤติกรรมทดสอบความรู ทดสอบการเลนกีฬา รูเขาใจ ดานพัฒนาการของมนุษย สัมพันธภาพ ทักษะสวนบุคคล พฤติกรรมทางเพศ สุขภาพทางเพศ สังคม และวัฒนธรรม เขาใจกฎ กติกา กีฬาพื้นบาน เห็นประโยชนของการเลนเกม รูอนุรักษการทําอาหาร พืน้ บานปอ งกนั การเจบ็ ปวย เลือกแหลงบรกิ ารสขุ ภาพ เลอื กกิจกรรมทัศนศึกษาการพกั ผอ น โดยใชการเรียนรูเชิงรุกผานทักษะ/กระบวนการสืบเสาะ การสํารวจตรวจสอบ กระบวนการ กลุม กระบวนการปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ การคิด การตัดสินใจ การแกปญหา รวมทั้งมีการฝก ทกั ษะ ปฏบิ ตั ิ สรางองคความรูจ ากสถานการณใกลต วั และเชอื่ มโยงความรู ทกั ษะ เจตคตแิ ละคา นิยม ทเี่ กิดข้ึนจากการเรียนรูไ ปประยุกตใ ชในการแกปญ หาในสถานการณใหม เพื่อใหมีความเขาใจและเจตคติที่ดีตอการรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเองและ ครอบครัว เห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดําเนินชีวิต รักการออกกําลัง กาย การเลนเกม กีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจเปน นักกีฬา มีจิตวิญญาณ ในการแขงขัน ชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา และการสรางเสริมสุขภาพ และการดํารงสุขภาพอยางยั่งยืน สามารถนําความรู ทักษะ และประสบการณไปประยุกตใชกับ ชวี ติ ประจาํ วันไดอ ยางถูกตอ งเหมาะสม

๓๔ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด พ ๑.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒ พ ๒.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓ พ ๓.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕, ป. ๕/๖ พ ๓.๒ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔ พ ๔.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ พ ๕.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕ รวม ๖ มาตรฐาน ๒๕ ตวั ช้ีวัด

๓๕ พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ ๖ คําอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศกึ ษา เวลา ๔๐ ช่วั โมง คําอธิบายรายวิชา รูเขาใจในการทํางานของอวัยวะตางๆ ของรางกาย สุขอนามัยทางเพศ การพัฒนาการ ของ วัยแรกรุน การเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สติปญญา และจิตวิญญาณในวัยแรกรุน ชีวิตครอบครัว หลักการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย เกมกีฬาไทย กีฬาสากล กลวิธีการรุก การ ปองกัน และเสริมสรา งสุขภาพทดี่ ี สมรรถภาพ การปองกนั การเกิดโรค การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนเมื่อ เกิดอุบัติเหตุศึกษาคนควาการทํางานของระบบอวัยวะ การเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สติปญญา จิตวิญญาณในวัยแรกรุนหลักของการเคลื่อนไหว ความมีสุขภาพดี ปฏิบัติการ เคลื่อนไหว ความมีสุขภาพดี การปฏิบัติการเคลื่อนไหวอยูกับที่ เคลื่อนที่ การบังคับสิ่งของ การเขา รวมเลนกิจกรรมทางกาย เกมกีฬา การเการพกฎกติกา ทายืดหยุนพื้นฐาน ปฏิบัติทาทดสอบ สมรรถภาพทางกาย อภิปรายรายงานผล การฝกปฏิบัติกิจกรรมสังเกตพฤติการณและความสนใจใน การฝก ปฏิบัติกิจกรรม ทดสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับระบบการทํางานของอวัยวะ การ พัฒนาการของวัยรุน การเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมวัยรุน ชีวิตครอบครัว สังเกตการเคลื่อนไหวการออกกําลังกายการเลนกีฬา รูเขาใจดานพัฒนาการของมนุษย สัมพันธภาพ ทักษะสวนบุคคล พฤติกรรมทางเพศ สุขภาพทางเพศ สังคมและวัฒนธรรม เขาใจการเลนเกมกีฬา พื้นบาน กฎกติกา รูประโยชนของการเลน ปฏิบัติตนในการอนุรักษอาหารพื้นบาน วิธีการทํา ปฏิบัติ ตนปองกันการเจบ็ ปว ย การรกั ษา การแนะนาํ การปองกันโรค เลือกแหลง บริการสุขภาพในทองถิ่นได อยา งเหมาะสม เลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในการบรโิ ภคอาหาร โดยใชการเรียนรูเชิงรุกผานทักษะ/กระบวนการสืบเสาะ การสํารวจตรวจสอบ กระบวนการกลุม กระบวนการปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ การคิด การตัดสินใจ การแกปญหา รวมทั้งมีการฝกทักษะ ปฏิบัติ สรางองคความรูจากสถานการณใกลตัว และเชื่อมโยงความรู ทักษะ เจตคตแิ ละคา นิยม ทเ่ี กิดขึน้ จากการเรียนรไู ปประยุกตใ ชใ นการแกป ญหาในสถานการณใหม เพื่อใหมีความเขาใจและเจตคติที่ดีตอการรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเองและ ครอบครัว เห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดําเนินชีวิต รักการออกกําลัง กาย การเลนเกม กีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจเปน นกั กฬี า มีจิตวิญญาณในการแขงขนั ช่นื ชมในสนุ ทรยี ภาพของการกฬี า และการสรางเสริมสุขภาพและ การดํารงสุขภาพอยางยั่งยืน สามารถนําความรู ทักษะ และประสบการณไปประยุกตใชกับ ชวี ติ ประจาํ วนั ไดอยา งถกู ตอ งเหมาะสม

๓๖ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด พ ๑.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒ พ ๒.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒ พ ๓.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป.๖/๔, ป. ๖/๕ พ ๓.๒ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔, ป. ๖/๕, ป. ๖/๖ พ ๔.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป.๖/๔ พ ๕.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓ รวม ๖ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชี้วดั

๓๗ โครงสรางรายวชิ า กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา

๓๘ พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๑ โครงสรางรายวชิ าพื้นฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ กลุม สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ช่ัวโมง หนว ย ชือ่ หนวย มาตรฐานการ สาระสาํ คญั เวลา นํ้าหนัก ท่ี เรียนรู/ ตวั ชว้ี ัด (ชม.) คะแนน ๑ รา งกายของเรา พ.๑.๑ ป.๑/๑  อวยั วะภายนอกทกุ สวน ๓ ๑๐ ป.๑/๒ ตางมหี นา ทีส่ าํ คญั และเปน ประโยชนต อ รางกาย ดังนั้นเรา ควรดแู ลรกั ษาอวัยวะภายนอก ใหท าํ งานไดตามปกติ มีการ เจริญเติบโตและพฒั นาการ ไปตามวัย  อวัยวะในชองปากเปน อวัยวะ ท่ีมีความสําคัญตอการพูดและ การรบั ประทานอาหาร ดังนัน้ เรา จงึ ควรดูแลรกั ษาความสะอาด อยา งถูกวิธี ๒ ครอบครวั พ.๒.๑ ป.๑/๑  การแสดงความรัก และความ ๓ ๑๐ ของเรา ป.๑/๒ ผูกพัน ตอกันของสมาชิก ป.๑/๓ ในครอบครวั สง ผลใหส มาชกิ ทุกคนอยรู ว มกันอยา งมีความสขุ  ทุกคนมีสง่ิ ทชี่ ื่นชอบและ ภาคภูมิใจในตนเอง หากยอมรับ และเขาใจในตนเองจะทาํ ใหชีวติ เรามคี วามสขุ  การยอมรบั และเขา ใจลกั ษณะ ความแตกตา งระหวา งเพศชาย และเพศหญิง ทางดา นรางกาย อารมณ และลกั ษณะนิสัย

๓๙ หนว ย ช่อื หนวย มาตรฐานการ สาระสําคญั เวลา น้ําหนัก ท่ี เรยี นรู/ตัวชวี้ ดั (ชม.) คะแนน จะชว ยใหประพฤตปิ ฏบิ ัตติ น อยูในสงั คมไดอยา งมคี วามสขุ ๓ สุขภาพของเรา พ.๔.๑ ป.๑/๑  การปฏิบัติตนตามหลกั สุข ๓ ๑๐ ป.๑/๒ บญั ญัตแิ หง ชาติเปน ประจาํ ทําให ป.๑/๓ มสี ขุ ภาพรา งกายแขง็ แรง  การบอกอาการเจ็บปวยของ ตนเองไดถ ูกตอ ง และปฏิบตั ติ าม คําแนะนําเม่ือมีอาการเจบ็ ปว ย มีผลตอการดูแลสุขภาพของ ตนเองในเบ้ืองตน ๔ ชวี ติ ที่ปลอดภยั พ.๕.๑ ป.๑/๑  อบุ ัติเหตเุ ปนอันตรายทีเ่ กดิ ขึ้น ๓ ๑๐ ป.๑/๒ ไดท ง้ั ในบา นและในโรงเรียน ป.๑/๓ จงึ ควรศึกษาสาเหตุ วิธปี องกัน และวธิ ีการ ขอความชว ยเหลอื เมื่อเกิดอุบัติเหตุ  การเรยี นรูเก่ยี วกับสาเหตุและ วิธี ปองกันอันตรายจากการเลน ทาํ ใหเ รารจู ักเลนอยา งระมดั ระวงั ๕ กจิ กรรมหรรษา พ.๓.๑ ป.๑/๑  การปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหว ๗ ๔๐ ป.๑/๒ รางกายขณะอยูกับที่ พ.๓.๒ ป.๑/๑ แบบเคล่ือนท่ี แบบเคล่ือนไหว ป.๑/๒ รางกายประกอบอปุ กรณ เปนการฝก ปฏิบัติ การควบคุม รา งกายเพอื่ สรา งเสรมิ สุขภาพ รา งกายใหแ ขง็ แรง เกิดความ คลองแคลว และมีทักษะ ความสัมพันธของระบบประสาท

๔๐ หนว ย ช่ือหนวย มาตรฐานการ สาระสําคัญ เวลา นํา้ หนัก ที่ เรียนร/ู ตัวช้ีวดั (ชม.) คะแนน กับกลา มเน้ือ สามารถควบคุม รางกายไดดี  การออกกาํ ลังกายในการเลน เกมเบด็ เตลด็ การละเลนพ้นื เมอื ง ตามคาํ แนะนาํ ตองปฏิบัติให ถูกตอง ตามกฎ กตกิ า และ ขอตกลงในการเลน ระหวา งป ๑๙ ๘๐ ปลายป ๑ ๒๐ รวม ๔๐ ๑๐๐

๔๑ พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ ๒ โครงสรางรายวชิ าพนื้ ฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๒ กลมุ สาระการเรยี นรูสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง หนวย ชื่อหนวย มาตรฐานการ สาระสําคัญ เวลา น้าํ หนัก ที่ เรียนร/ู ตวั ชว้ี ัด (ชม.) คะแนน ๑ รา งกายของเรา พ.๑.๑ ป.๒/๑  อวยั วะภายในมีความสาํ คัญตอ ๓ ๑๖ ป.๒/๒ ระบบการทาํ งานของรา งกาย ป.๒/๓ ดังน้นั เราจึงควรดูแลรักษาอวัยวะ ภายในอยา งถูกวิธี เพอ่ื ใหอ วยั วะ ทํางานไดอยางเปน ปกติ และ มีการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ ไปตามวัย ใหร า งกายสมบรู ณ แข็งแรง และรจู ักดาํ เนินชีวติ อยางมีความสุข ๒ ครอบครัว พ.๒.๑ ป.๒/๑  ครอบครวั จะเกดิ ความอบอุน ๔ ๑๖ และคนรอบขาง ป.๒/๒ หากสมาชกิ ในครอบครัวเขาใจ ป.๒/๓ บทบาทหนา ท่ี และปฏิบัตติ น ป.๒/๔ ตามหนาทีข่ องตนอยางเหมาะสม  เพ่อื นเปน บุคคลท่ีมี ความสําคัญตอเรา การให ความสําคญั และปฏบิ ัตติ นตอ เพ่อื นท่ดี ีจะทําใหอยูร วมกบั เพ่ือน อยางมีความสุข  เพศชายและเพศหญิงมีความ แตกตา งกนั ดังนน้ั แตละเพศ จึงควรปฏบิ ัตติ นใหเหมาะสม กบั เพศ และมีความภมู ใิ จในเพศ ของตนเอง

๔๒ หนว ย ชอื่ หนวย มาตรฐานการ สาระสาํ คญั เวลา นํ้าหนัก ที่ เรียนร/ู ตัวช้ีวัด (ชม.) คะแนน ๓ สุขภาพและ พ.๔.๑ ป.๒/๑  การมสี ขุ ภาพรางกายท่ีแข็งแรง ๔ ๑๖ ความปลอดภยั ป.๒/๒ มสี ุขภาพจติ ทีร่ าเริงแจมใส และมี ป.๒/๓ ความปลอดภัยในชวี ติ จะสงผลให ป.๒/๔ เราเปนคนที่มสี ุขภาพดี ป.๒/๕  อาหารมคี วามสาํ คญั ตอ รา งกาย การเลือกรับประทาน อาหารท่มี ีประโยชนจะสง ผลให รางกายแขง็ แรงและสมบูรณ  ของใชและของเลน ภายในบาน บางชนิดอาจทาํ ใหเ กดิ อันตราย และสง ผลเสียตอ สุขภาพได ผูใช จงึ ควรเลือกใชและเพ่ิมความ ระมดั ระวังในการเลน เพอ่ื ใหเ กดิ ความปลอดภยั มากที่สดุ  เม่อื มีอาการเจ็บปวย และบาดเจ็บ ตา ง ๆ เกิดข้ึน ควรปฏบิ ัตติ นอยา งถูกวิธี จะชวย ลดความรนุ แรงของอาการปว ย ของโรคและการบาดเจบ็ ได ๔ อุบตั ิเหตุ พ.๕.๑ ป.๒/๑  อุบัติเหตุทางน้าํ และทางบก ๔ ๑๖ และการปองกนั ป.๒/๒ เกิดจากสาเหตุหลายอยา ง จึง ป.๒/๓ ตอ งมีวิธีการปองกันอยางถกู ตอง ป.๒/๔  สัญลกั ษณและปา ยเตือน มีไว ป.๒/๕ สาํ หรบั แจงใหทราบถึงอันตราย และวิธกี ารปฏบิ ัติทเี่ หมาะสม ทกุ คนพงึ ปฏิบัตใิ หถูกตองเพอ่ื ความปลอดภยั ในชีวิต

๔๓ หนว ย ชอื่ หนวย มาตรฐานการ สาระสําคญั เวลา นํา้ หนัก ท่ี เรียนร/ู ตวั ชี้วัด (ชม.) คะแนน  อคั คีภยั เปนภยั ที่เกิดจากไฟ ๔ ๑๖ ซ่ึงเปน สาเหตสุ าํ คญั ทีท่ ําให สญู เสียชีวิตและทรัพยสนิ ดังน้ัน จงึ ควรศกึ ษาวิธกี ารปอ งกัน และการหนีไฟทีถ่ ูกตอง  ยาที่ใชในชวี ิตประจาํ วันมี หลายประเภท ซึง่ มที ั้งคณุ และ โทษ ดังน้ันเราจึงตองรจู กั ใชยา อยา งถูกวิธีและลกั ษณะอาการ ของโรค จะชวยใหเกดิ ความปลอดภยั และรักษาโรคได  สารเสพตดิ และสารเคมบี าง ชนดิ เปน อนั ตรายตอรา งกาย จงึ ควรหลกี เลีย่ งสารเสพติดและ รจู กั วิธีใชสารเคมใี หถูกตอง ๕ กิจกรรม พ.๓.๑ ป.๒/๑  การอบอนุ รางกายเปน การ แสนสนกุ ป.๒/๒ เตรยี มความพรอมของรางกาย พ.๓.๒ ป.๒/๑ กอนออกกาํ ลังกาย เพื่อให ป.๒/๒ รางกายเกิดความพรอ มและ มคี วามปลอดภยั  การเคลือ่ นไหวณรางกาย แบบอยูกับที่ แบบเคลื่อนท่ี แบบใชอุปกรณประกอบ เปนทกั ษะพน้ื ฐานของการออก กําลงั กายและการเลน กฬี าอ่ืน ๆ ชวยในการสรา งเสริมสขุ ภาพ รา งกายใหแข็งแรงและ

๔๔ หนวย ช่ือหนวย มาตรฐานการ สาระสําคญั เวลา นาํ้ หนัก ท่ี เรียนรู/ตวั ชี้วัด (ชม.) คะแนน มปี ระสทิ ธิภาพในการควบคุม รา งกายไดดี  การเลน เกมเบ็ดเตล็ด เปนการ ออกกาํ ลงั กาย เพื่อใหเกดิ ความ สนุกสนานและความสามคั คี ในหมูคณะ ซึ่งการเลน เกม ตองปฏิบตั ิตามกฎ กติกา และขอตกลงในการเลน เกม ระหวา งป ๑๙ ๘๐ ปลายป ๑ ๒๐ รวม ๒๐ ๑๐๐

๔๕ พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๓ โครงสรางรายวิชาพ้นื ฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๓ กลุมสาระการเรยี นรูส ุขศกึ ษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ช่ัวโมง หนว ย ช่ือหนวย มาตรฐานการ สาระสําคญั เวลา นาํ้ หนกั ท่ี เรียนรู/ตัวชีว้ ัด (ชม.) คะแนน ๒ ๑๒ ๑ การเจริญเตบิ โต พ.๑.๑ ป.๓/๑  การเจริญเติบโตของรา งกาย ๒ ๑๒ ตามวยั ป.๓/๒ แตล ะคนมคี วามแตกตางกนั ป.๓/๓ ซงึ่ สามารถเปรียบเทียบนํ้าหนัก และสว นสงู ของตนเองกับเกณฑ มาตรฐาน เพื่อจะไดป รบั ปรงุ ตนเองใหมีความเจริญเติบโต อยา งสมวยั  อาหาร การออกกําลังกาย และการพักผอน เปน ปจ จยั สําคญั ที่มีผลตอการเจรญิ เติบโต ของรางกาย ๒ ครอบครัว พ.๒.๑ ป.๓/๑  ความแตกตา งกนั ของ และเพ่ือน ป.๓/๒ แตละครอบครัวยอ มมีผลตอ ป.๓/๓ การดําเนินชีวติ ของสมาชกิ ใน ครอบครวั การสรา งสัมพันธภาพ กบั ครอบครัวและเพ่ือน ทาํ ใหเ ขาใจตนเองและผูอ่ืน และสามารถอยูรว มกนั อยา งมี ความสขุ  การถกู ลวงละเมิดทางเพศ เปน ความ รุนแรงทางเพศที่ สามารถหลกี เล่ยี งได หากมี พฤติกรรมการปองกันทีถ่ ูกตอง และเหมาะสม

๔๖ หนว ย ชอื่ หนวย มาตรฐานการ สาระสําคญั เวลา นา้ํ หนัก ท่ี เรยี นรู/ ตัวช้วี ดั (ชม.) คะแนน  เพศชายและเพศหญิงมีความ ๔ ๑๔ ๓ การดูแลสุขภาพ พ.๔.๑ ป.๓/๑ แตกตา งกนั ดังนั้นแตล ะเพศ ป.๓/๒ จึงควรปฏิบตั ิตนใหเ หมาะสม ๓ ๑๒ ๔ ความปลอดภยั ป.๓/๓ กับเพศ และมีความภมู ใิ จในเพศ จากอบุ ัตเิ หตุ ป.๓/๔ ของตนเอง  การติดตอและการแพร พ.๕.๑ ป.๓/๑ กระจายของโรค สามารถปอ งกนั ป.๓/๒ ไดหากปฏิบตั ดิ วยวิธที ่ถี ูกตอ ง ป.๓/๓ และเหมาะสม  ในแตล ะวนั ควรรับประทาน อาหารใหครบ 5 หมู ใหมีความ หลากหลายและมสี ัดสว นปริมาณ ของอาหารทเี่ หมาะสม จะทาํ ให เรามีสขุ ภาพท่ีดแี ละเติบโตได สมวยั  ฟนเปน อวัยวะท่ีใชบดเคยี้ ว อาหาร การแปรงฟน ทถี่ กู วิธีจะ ชวยทาํ ใหฟ น แข็งแรงและมี สขุ ภาพชองปากที่ดี  การปฏิบัติตนตามหลกั การ จะชว ยใหปลอดภยั จากอบุ ตั เิ หตุ ในบา น โรงเรยี น และ การเดนิ ทาง รวมท้ังสามารถขอ ความชวยเหลอื จากบุคคลและ แหลง ตา ง ๆ เม่อื เกิดเหตรุ าย หรอื อุบัติเหตุ  การปฐมพยาบาลเบ้อื งตนเพือ่ ชว ยเหลอื ผไู ดร บั บาดเจ็บจาก