Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ.2566

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ.2566

Published by macnattanon32, 2023-06-08 06:28:17

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ.2566 โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง

Search

Read the Text Version

77 คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑-๒ รหสั วิชา ว ๑๕๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง/ปี ศึกษา วิเคราะห์โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ ส่ิงไมม่ ีชีวิต ห่วงโซอ่ าหารและระบุบทบาทหนา้ ที่ของสิ่งมีชีวติ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมที่มกี ารถ่ายทอด สถานะของ สสาร การละลายของสาร การเปลยี่ นแปลงของสารเมอ่ื เกิดการเปล่ยี นแปลงทางเคมี การเปลีย่ นแปลงที่ ผนั กลบั ได้ และการเปลี่ยนแปลงทผี่ ันกลบั ไมไ่ ด้ การหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกนั การใช้ เครอ่ื งชั่งสปรงิ ในการ วดั แรง แรงเสียดทาน การไดย้ ินเสียงผา่ นตัวกลาง การเกดิ เสยี งสูง เสียงตำ่ ระดับเสยี ง การเกดิ เสียงดัง เสียงค่อย การหลกี เลีย่ งและลดมลพิษทางเสียง ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาวระบุตำแหนง่ และเส้นทางการข้ึน และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ น้ำในแต่ละแหล่ง ปริมาณน้ำที่มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ การใช้น้ำอย่าง ประหยัดและการอนรุ กั ษน์ ำ้ วฏั จักรน้ำ การเกิดเมฆ หมอก น้ำคา้ ง และนำ้ คา้ งแขง็ กระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ และ ลกู เห็บ การหาเหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การออกแบบ และเขียนโปรแกรม การใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา ขอ้ มูล ตดิ ต่อสื่อสาร การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสงั เกต การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้น ขอ้ มูลและการอภปิ ราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็น คุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยม ที่เหมาะสม และบรู ณาการกับศาสตร์พระราชา ตัวชีว้ ัด ว ๑.๑ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒,ป. ๕/๓,ป. ๕/๔ ว ๑.๓ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒ ว ๒.๑ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒,ป. ๕/๓,ป. ๕/๔ ว ๒.๒ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒,ป. ๕/๓,ป. ๕/๔,ป. ๕/๕ ว ๒.๓ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒,ป. ๕/๓,ป. ๕/๔,ป. ๕/๕ ว ๓.๑ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒ ว ๓.๒ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒,ป. ๕/๓,ป. ๕/๔,ป. ๕/๕ ว ๔.๒ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒,ป. ๕/๓,ป. ๕/๔,ป. ๕/๕ รวม ๓๒ ตัวชี้วัด

78 โครงสรา้ งรายวชิ า รายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.๕ ภาคเรยี นที่ ๑-๒ จำนวน ๓ หนว่ ยกติ ลำดบั ท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั สาระสำคญั / เวลา นำ้ หนกั ๑ สิง่ มชี ีวติ กับการดำรงชวี ติ ว ๑.๑ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒, ความคิดรวบยอด (ช่วั โมง) 10 ป. ๕/๓,ป. ๕/๔ ๒ การถา่ ยทอดลักษณะทาง - สิง่ มีชวี ติ ๑๖ 10 พันธกุ รรม ว ๑.๓ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒ - การดำรงชวี ติ 10 - การปรบั ตัวของสงิ่ มีชวี ิต ๑๒ 10 ๓ สารกับการเปล่ียนสะถา ว ๒.๑ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒, - สิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชวี ิต ๑๔ นะ ป. ๕/๓,ป. ๕/๔ - สิ่งมชี ีวติ กบั สิ่งไมม่ ชี วี ิต - เขียนหว่ งโซอ่ าหาร ๑๒ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ ว ๒.๒ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒, - ผผู้ ลติ ผู้บ่รโิ ภค ป. ๕/๓,ป. ๕/๔,ป. ๕/๕ - สิ่งแวดลอ้ ม - การดำรงชวี ิตของสิ่งมชี ีวติ - การดแู ลรกั ษาส่ิงแวดล้อม - ลักษณะทางพนั ธุกรรม - การถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ ลกู ของพืช สตั ว์ และมนุษย์ - ลักษณะท่คี ลา้ ยคลึงกัน ของตนเองกับพอ่ แม่ - สถานะของสสาร - การละลายของสารในน้ำ - การเปลี่ยนแปลงของสาร - การเปล่ียนแปลงทางเคมี - การเปลีย่ นแปลงที่ผันกลบั และผนั กลบั ไม่ได้ - แรงลัพธ์ - แรงทก่ี ระทำกับวัตถุ - แรงท่กี ระทำต่อวตั ถุท่ีอยู่ ในแนวเดียวกนั - แรงลพั ธท์ กี่ ระทำกบั วัตถุ - เครือ่ งชง่ั สปรงิ - การวดั แรงทีก่ ระทำต่อวัตถุ - แรงเสยี ดทาน - แผนภาพแสดงแรงเสยี ด ทานและแรง ทอี่ ยู่ในแนว เดียวกัน

79 ลำดับที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั สาระสำคญั / เวลา นำ้ หนกั ๕ เสียงกับสมบตั ขิ องเสยี ง ว ๒.๓ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒, ความคดิ รวบยอด (ชัว่ โมง) และการได้ยนิ ป. ๕/๓,ป. ๕/๔,ป. ๕/๕ ๖ - เสยี ง ๖6 วัตถทุ ้องฟาและแผนท่ดี าว ว ๓.๑ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒ - การไดย้ ินเสยี งผา่ น ตัวกลาง ๔6 - การเกิดเสียงสูง เสยี งตำ่ - การเกิดเสียงดงั เสียงคอ่ ย - เคร่อื งมือวัดระดบั เสียง - ระดับเสียง - ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ - แผนท่ีดาวระบตุ ำแหน่ง - การขน้ึ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์บนท้องฟา้ ๗ น้ำกับชีวติ และวฏั จักรของ ว ๓.๒ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒, - ปรมิ าณน้ำในแตล่ ะแหล่ง ๑๖ 8 นำ้ ป. ๕/๓,ป. ๕/๔,ป. ๕/๕ - ปริมาณนำ้ ท่มี นษุ ย์ 38 10 สามารถนำมาใช้ประโยชน์ 2 30 120 100 - คณุ ค่าของน้ำ - การประหยัดและการ อนุรกั ษ์น้ำ - วัฏจกั รน้ำ - กระบวนการเกิดเมฆ หมอก นำ้ คา้ ง และน้ำค้าง แขง็ - กระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ และลูกเห็บ ๘ วิทยาการคำนวณ ว ๔.๒ ป. ๕/๑,ป. ๕/๒, - เหตผุ ลเชิงตรรกะในการ เขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย ป. ๕/๓,ป. ๕/๔,ป. ๕/๕ แกป้ ัญหา - การทำงาน การคาดการณ์ ผลลพั ธ์ - ออกแบบ - เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย - ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและ แกไ้ ข - อินเทอรเ์ น็ต - คน้ หาขอ้ มูล ติดตอ่ สอ่ื สาร และทำงานร่วมกัน สอบปลายปีการศึกษา รวมทั้งส้นิ ตลอดปี หมายเหตุ อตั ราส่วนคะแนนระหว่างเรียนกบั การสอบปลายภาค ๗๐/๓๐

การวิเคราะหเ์ พือ่ จดั ทำคำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเ ตวั ชี้วดั สาระสำคญั ว ๑.๒ ป. ๖/๑ - สารอาหาร - มคี วาม ๑. ระบุสารอาหารและบอก - ประโยชน์ของสารอาหาร ประโยชน ประโยชนข์ องสารอาหารแต่ละ - สารอาหารแต่ละประเภท ประเภทจากอาหารทตี่ นเอง - มีความ รบั ประทาน - การเลือกรับประทานอาหาร อาหารให ว ๑.๒ ป. ๖/๒ - สดั สว่ นท่เี หมาะสมกับเพศและวัย เหมาะสม ๒. บอกแนวทางในการเลือก - ความปลอดภัยตอ่ สุขภาพ ปลอดภัย รับประทานอาหารใหไ้ ด้สารอาหาร ครบถ้วน ในสดั สว่ นที่เหมาะสมกับ - ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของสารอาหาร - รถู้ งึ คว - อาหารทม่ี สี ารอาหารครบถว้ น การรับป เพศและวัย รวมท้งั ความปลอดภัยตอ่ สขุ ภาพ - ระบบย่อยอาหาร - มคี วาม ว ๑.๒ ป. ๖/๓ - หนา้ ท่ีของอวัยวะ หนา้ ทีข่ อ ๓. ตระหนักถงึ ความสำคัญของ - การดูดซมึ สารอาหาร กับการด สารอาหาร โดยการเลอื กรับประทาน อาหารทีม่ สี ารอาหารครบถว้ นใน - การดแู ลรกั ษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ - มคี วาม สดั สว่ นทีเ่ หมาะสมกบั เพศและวยั ทำงานเปน็ ปกติ ดูแลรักษ รวมทงั้ ปลอดภยั ต่อสขุ ภาพ ใหท้ ำงาน ว ๑.๒ ป. ๖/๔ ๔. สร้างแบบจำลองระบบยอ่ ย อาหาร และบรรยายหนา้ ทขี่ อง อวยั วะในระบบย่อยอาหาร รวมทงั้ อธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึม สารอาหาร ว ๑.๒ ป. ๖/๕ ๕. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของระบบ ย่อยอาหาร โดยการบอกแนวทางใน การดแู ลรักษาอวัยวะในระบบยอ่ ย อาหารให้ทำงานเปน็ ปกติ

เรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ 80 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ท้องถ่ิน ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ / บูรณาการศาสตร์พระราชา มรู้เรือ่ งสารอาหารและ - มกี ารสงั เกต - ใฝเ่ รียนรู้ น์ของสารอาหารแตล่ ะประเภท - มกี ารสืบค้นข้อมูล - มุง่ มนั่ ในการทำงาน - มกี ารตคี วามหมายข้อมลู - ความเพียร มรเู้ รอื่ งการเลอื กรับประทาน - มที ักษะการจดั ทำขอ้ มูล - การศึกษาข้อมลู ให้เปน็ ระบบ หไ้ ด้สารอาหารครบถ้วน - มีการเปรยี บเทยี บ - ระเบิดจากภายใน มกบั เพศและวยั รวมทั้งความ - มกี ารสื่อความหมาย - ทำตามลำดบั ข้ันตอน ยตอ่ สุขภาพ - มีการลงความคิดเห็น - พ่ึงตนเอง - มกี ารพยากรณ์ - หาความร้จู ากการใช้ชีวติ ประจำวนั - มีการจำแนก - ทำใหง้ ่าย - การมสี ่วนรว่ ม วามสำคญั ของสารอาหาร และ - แก้ปัญหาจากจุดเล็กๆ ประทานให้ครบตามสัดส่วน - ทำงานแบบองคร์ วม มรเู้ รอ่ื งระบบยอ่ ยอาหาร และ องอวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร ดดู ซมึ มรู้เร่อื งระบบยอ่ ยอาหารการ ษาอวัยวะในระบบย่อยอาหาร นเป็นปกติ

ตัวชวี้ ดั สาระสำคญั ว ๒.๑ ป. ๖/๑ - การแยกสารผสม - มีความ ๑. อธบิ ายและเปรียบเทียบการแยก - ระบุวิธแี กป้ ัญหาในชีวติ ประจำวนั สารผสม โดยการหยิบออก การร่อน - มีความ การใชแ้ มเ่ หล็กดึงดดู การรนิ ออก - ผลของแรงไฟฟ้าซ่งึ เกิดจากวัตถทุ ่ผี า่ นการขดั ไฟฟา้ ซ ถู การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ รวมทัง้ ระบุวธิ ี แกป้ ญั หาในชีวิตประจำวันเกยี่ วกบั การแยกสาร ว ๒.๒ ป. ๖/๑ ๑. อธบิ ายการเกิดและผลของแรง ไฟฟา้ ซง่ึ เกดิ จากวัตถุที่ผ่านการขัดถู โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๓ ป. ๖/๑ - วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย - มีความ - ตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย ของแต่ล ๑. ระบุสว่ นประกอบและบรรยาย - การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม อย่างงา่ ย หนา้ ที่ของแต่ละส่วนประกอบของ วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ยจากหลักฐานเชงิ - ประโยชนก์ ารต่อเซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรม - มคี วาม ประจักษ์ ตอ่ วงจรไ ว ๒.๓ ป. ๖/๒ ๒. เขยี นแผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟา้ - มีความ อยา่ งง่าย วิธกี าร แ ว ๒.๓ ป. ๖/๓ แบบอนุก ๓. ออกแบบการทดลองและทดลอง ดว้ ยวิธที ี่เหมาะสมในการอธิบาย วธิ ีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รม ว ๒.๓ ป. ๖/๔

81 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ทอ้ งถิน่ ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ / บรู ณาการศาสตร์พระราชา มรู้เรื่องการแยกสารผสม - มกี ารสงั เกต - ใฝ่เรยี นรู้ - มกี ารสืบค้นขอ้ มลู - มุ่งมั่นในการทำงาน - มีการตคี วามหมายขอ้ มูล - การศึกษาข้อมลู ใหเ้ ป็นระบบ - ระเบดิ จากภายใน - มที กั ษะการจดั ทำข้อมลู - ทำตามลำดบั ขั้นตอน - มกี ารทดลอง - หาความรจู้ ากการใช้ชีวติ ประจำวัน - มกี ารเปรยี บเทียบ - ทำใหง้ ่าย มรเู้ รื่องการเกิดและผลของแรง - มีการสงั เกต - ใฝเ่ รียนรู้ ซง่ึ เกดิ จากวัตถทุ ่ีผา่ นการขัดถู - มีการตคี วามหมายข้อมูล - ระเบิดจากภายใน - มที ักษะการจดั ทำข้อมลู - ทำตามลำดบั ขนั้ ตอน - มกี ารทดลอง - หาความรูจ้ ากการใชช้ วี ติ ประจำวัน มรเู้ รื่องสว่ นประกอบและหนา้ ท่ี - มกี ารสงั เกต - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ มัน่ ในการทำงาน ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า - มกี ารสืบคน้ ข้อมูล - ความเพียร - การศึกษาขอ้ มลู ใหเ้ ป็นระบบ ย - มกี ารตคี วามหมายขอ้ มูล - ระเบิดจากภายใน - ทำตามลำดบั ขนั้ ตอน - มีทักษะการจัดทำข้อมลู - พง่ึ ตนเอง - หาความรจู้ ากการใชช้ ีวติ ประจำวัน - มกี ารทดลอง - ทำใหง้ ่าย - ทำงานแบบองค์รวม มรู้เรอื่ งการเขียนแผนภาพและ - มกี ารเปรยี บเทียบ ไฟฟา้ อย่างง่าย - มกี ารสื่อความหมาย - มกี ารลงความคิดเห็น มร้เู รื่องการออกแบบการทดลอง - มกี ารพยากรณ์ และผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้า - มีการจำแนก กรม

ตวั ชี้วัด สาระสำคญั ๔. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องความรู้ - การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั - มีความ ของการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม อนกุ รม โดยบอกประโยชน์และการ - การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบ ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน ขนาน - มีความ ว ๒.๓ ป. ๖/๕ ต่อหลอด ๕. ออกแบบการทดลองและทดลอง - ประโยชน์ของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รม ขนาน ดว้ ยวธิ ที ่ีเหมาะสมในการอธบิ ายการ และแบบขนาน ต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบ - ข้อจำกดั และการประยกุ ตใ์ ช้ ใน - มคี วาม ขนาน ชีวติ ประจำวนั อนุกรมแ ว ๒.๓ ป. ๖/๖ - รวู้ ธิ กี าร - การเกิดเงามืดเงามวั ๖. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของความรู้ - มคี วาม ของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม - รังสีของแสง และแบบขนาน โดยบอกประโยชน์ - มคี วาม ข้อจำกัด และการประยกุ ตใ์ ช้ ใน ของแสงแ ชีวิตประจำวนั ว ๒.๓ ป. ๖/๗ ๗. อธิบายการเกดิ เงามืดเงามวั จาก หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ว ๒.๓ ป. ๖/๘ ๘. เขยี นแผนภาพรงั สีของแสงแสดง การเกิดเงามดื เงามัว ว ๓.๑ ป. ๖/๑ - ปรากฏการณส์ รุ ิยปุ ราคา และจนั ทรุปราคา - มคี วาม ๑. สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธิบายการเกดิ เกดิ ปราก และเปรยี บเทยี บปรากฏการณ์ - พฒั นาการของเทคโนโลยอี วกาศ จันทรปุ ร - ประโยชน์ในชวี ิตประจำวัน สรุ ิยุปราคา และจันทรปุ ราคา - มีความ ว ๓.๑ ป. ๖/๒ เทคโนโล ๒. อธิบายพฒั นาการของเทคโนโลยี อวกาศ และยกตัวอยา่ งการนำ

สาระการเรียนร้แู กนกลาง/ท้องถิ่น 82 ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ มรเู้ รอ่ื งการต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ / บูรณาการศาสตร์พระราชา - มกี ารสังเกต - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งมัน่ ในการทำงาน มรู้เรอ่ื งออกแบบการทดลองการ - มีการสบื ค้นข้อมลู - ความเพยี ร - การศึกษาข้อมลู ใหเ้ ป็นระบบ ดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบ - มกี ารตีความหมายข้อมลู - ระเบดิ จากภายใน - ทำตามลำดบั ข้ันตอน - มีทักษะการจดั ทำขอ้ มลู - พึง่ ตนเอง - มกี ารทดลอง - หาความรจู้ ากการใชช้ วี ติ ประจำวัน - ทำใหง้ ่าย - มกี ารเปรยี บเทยี บ - การมสี ว่ นร่วม - แก้ปัญหาจากจุดเลก็ ๆ มรู้เรอ่ื งการตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบ - มีการสอ่ื ความหมาย - ทำงานแบบองคร์ วม และแบบขนาน - มีการลงความคดิ เหน็ รประยกุ ตใ์ ช้ ในชวี ติ ประจำวัน - มกี ารพยากรณ์ - มีการจำแนก มรเู้ รื่องการเกดิ เงามดื เงามัว มรู้เรอ่ื งการเขยี นแผนภาพรังสี แสดงการเกิดเงามดื เงามวั มรู้เรอ่ื งการสรา้ งแบบจำลองการ - มีการสังเกต - ใฝ่เรยี นรู้ - มุ่งมน่ั ในการทำงาน กฏการณส์ รุ ยิ ุปราคา และ - มกี ารสบื คน้ ขอ้ มลู - การศกึ ษาข้อมลู ให้เปน็ ระบบ ราคา - มกี ารตีความหมายข้อมลู - ระเบดิ จากภายใน - ทำตามลำดบั ขัน้ ตอน - มีทกั ษะการจัดทำขอ้ มลู - หาความร้จู ากการใช้ชวี ิตประจำวัน มรู้เร่ือง พัฒนาการของ - มกี ารทดลอง ลยีอวกาศ และการนำ - มกี ารเปรียบเทยี บ

ตัวชวี้ ดั สาระสำคญั เทคโนโลยอี วกาศมาใชป้ ระโยชนใ์ น - กระบวนการเกิดหนิ เทคโนโล ชีวติ ประจำวัน จากข้อมลู ท่รี วบรวม - วัฏจกั รหนิ ชวี ิตประ ได้ - การใช้ประโยชนข์ องหนิ และแร่ใน - มคี วาม ว ๓.๒ ป. ๖/๑ ชีวิตประจำวัน ๑. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ หนิ - มีความ - การเกดิ ซากดกึ ดำบรรพ์ และแร่ใน อคั นี หนิ ตะกอน และหินแปร และ - คาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดีต อธบิ ายวฏั จักรหนิ จากแบบจำลอง - มีความ ว ๓.๒ ป. ๖/๒ - การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสมุ การเกดิ ซ ๒. บรรยายและยกตัวอยา่ งการใช้ - ผลทีม่ ตี อ่ ส่ิงมีชีวติ และส่ิงแวดลอ้ ม - มีความ ประโยชน์ของหนิ และแรใ่ น สภาพแว ชีวิตประจำวันจากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ - การเกิดฤดูของประเทศไทย บรรพ์ ว ๓.๒ ป. ๖/๓ - มคี วาม ๓. สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธิบายการเกดิ - ผลกระทบของน้ำทว่ ม การกดั เซาะชายฝั่ง และมรส ซากดึกดำบรรพ์และคาดคะเน ดินถล่ม แผ่นดนิ ไหว สภาพแวดล้อมในอดตี ของซากดกึ ดำ สึนามิ - มีความ ไทย บรรพ์ ว ๓.๒ ป. ๖/๔ - มีความ ๔. เปรยี บเทียบการเกิดลมบก ลม ของนำ้ ท ทะเล และมรสมุ รวมทงั้ อธบิ ายผลที่ ถล่ม แผน่ มีต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม จาก แบบจำลอง ว ๓.๒ ป. ๖/๕ ๕. อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิด ฤดขู องประเทศไทย จากข้อมลู ท่ี รวบรวมได้ ว ๓.๒ ป. ๖/๖ ๖.บรรยายลกั ษณะและผลกระทบ ของนำ้ ทว่ ม การกดั เซาะชายฝง่ั ดิน ถลม่ แผน่ ดนิ ไหว สึนามิ

83 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/ท้องถิน่ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ / บรู ณาการศาสตร์พระราชา ลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ใน ะจำวนั - มีการสื่อความหมาย - ทำใหง้ ่าย - มกี ารลงความคิดเห็น - แก้ปัญหาจากจุดเลก็ ๆ มรู้เรื่องกระบวนการเกดิ หนิ - มกี ารสังเกต - ใฝ่เรยี นรู้ - การศกึ ษาข้อมลู ให้เป็นระบบ มรู้เรือ่ งการใช้ประโยชนข์ องหนิ - มกี ารสบื ค้นขอ้ มูล - ระเบิดจากภายใน นชวี ิตประจำวัน - มีการตคี วามหมายข้อมลู - ทำตามลำดับข้ันตอน - มที กั ษะการจดั ทำขอ้ มลู - หาความรู้จากการใช้ชวี ติ ประจำวนั - มกี ารเปรยี บเทียบ - ทำใหง้ ่าย - มกี ารสอื่ ความหมาย - แกป้ ญั หาจากจุดเลก็ ๆ - มีการลงความคดิ เห็น - ใฝ่เรียนรู้ มรู้เรอ่ื งการสร้างแบบจำลอง - มกี ารสงั เกต - มงุ่ ม่ันในการทำงาน ซากดึกดำบรรพ์ - มกี ารสบื คน้ ขอ้ มลู - ความเพียร มรู้เรื่องการคาดคะเน - มกี ารตคี วามหมายขอ้ มูล - การศึกษาขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ ระบบ วดล้อมในอดีตของซากดกึ ดำ - ระเบิดจากภายใน - มที กั ษะการจัดทำขอ้ มลู - ทำตามลำดบั ข้ันตอน มรู้เรื่องการเกิดลมบก ลมทะเล - มกี ารเปรยี บเทียบ - พงึ่ ตนเอง สุม และผลทเี กิดขนึ้ - มกี ารสอ่ื ความหมาย - หาความรจู้ ากการใชช้ วี ติ ประจำวัน - มีการลงความคดิ เห็น - ทำให้ง่าย - มกี ารพยากรณ์ - ทำงานแบบองค์รวม - มกี ารจำแนก มรเู้ รื่องการเกดิ ฤดูของประเทศ มรู้เร่ือง ลักษณะและผลกระทบ ทว่ ม การกัดเซาะชายฝั่ง ดิน นดินไหว สนึ ามิ

ตัวชี้วดั สาระสำคญั ว ๓.๒ ป. ๖/๗ - ภัยธรรมชาติและธรณพี ิบัติภัย - มีความ ๗. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของภยั - การเฝ้าระวังและปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั ธรรมชาต ธรรมชาตแิ ละธรณพี ิบัติภัย โดย - ร้ถู งึ แน นำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวังและ - ปรากฏการณ์เรอื นกระจก ปฏบิ ตั ิตน ปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั จากภยั - ผลต่อส่ิงมีชวี ิต ธรรมชาติและธรณพี ิบัตภิ ยั ทอ่ี าจเกดิ - มคี วาม ในท้องถน่ิ - ผลกระทบ การเกดิ ป ว ๓.๒ ป. ๖/๘ - การปฏบิ ัตติ นเพอ่ื ลดกจิ กรรมทกี่ ่อให้เกดิ แกส๊ ผลของป ๘. สร้างแบบจำลองท่อี ธิบายการเกิด เรอื นกระจก สงิ่ มีชีวิต ปรากฏการณเ์ รือนกระจก และผล - เหตุผลเชงิ ตรรกะ - มคี วาม ของปรากฏการณ์เรอื นกระจกตอ่ - ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา ปรากฏก สิ่งมชี วี ิต - รูถ้ ึงทาง ว ๓.๒ ป. ๖/๙ - ออกแบบ ทีก่ ่อใหเ้ ก ๙. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของ - เขยี นโปรแกรมอยา่ ง ปรากฏการณ์เรอื นกระจก โดย - ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมและแก้ไข - มีความ นำเสนอแนวทางการปฏบิ ัติตนเพ่อื ในการแก ลดกจิ กรรมทกี่ ่อใหเ้ กดิ แก๊สเรือน - การค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ กระจก - มคี วาม โปรแกรม ว ๔.๒ ป. ๖/๑ - มีความ ๑. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธบิ าย ของโปรแ และออกแบบวิธีการแกป้ ัญหาทพ่ี บ ในชีวติ ประจำวนั ว ๔.๒ ป. ๖/๒ ๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรม อย่างง่าย เพือ่ แกป้ ัญหาใน ชีวติ ประจำวนั ตรวจหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรมและแก้ไข ว ๔.๒ ป. ๖/๓

84 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ท้องถ่ิน ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ / บรู ณาการศาสตร์พระราชา มรู้เรอ่ื งผลกระทบของภัย - มกี ารสงั เกต - ใฝ่เรยี นรู้ ตแิ ละธรณีพบิ ัตภิ ัย - มกี ารสืบคน้ ขอ้ มูล - มุ่งมน่ั ในการทำงาน นวทางในการเฝา้ ระวงั และ - มกี ารตคี วามหมายขอ้ มลู - ความเพยี ร นให้ปลอดภยั - มีทักษะการจดั ทำขอ้ มูล - การศึกษาข้อมลู ให้เป็นระบบ - มกี ารเปรียบเทียบ - ระเบดิ จากภายใน มรู้เรอ่ื งสรา้ งแบบจำลอง - มีการพยากรณ์ - ทำตามลำดับขน้ั ตอน ปรากฏการณ์เรือนกระจก และ - มีการจำแนก - พึง่ ตนเอง ปรากฏการณเ์ รือนกระจกต่อ - มกี ารส่ือความหมาย - หาความรจู้ ากการใช้ชวี ิตประจำวัน ต - มกี ารลงความคิดเหน็ - ทำใหง้ า่ ย - ทำงานแบบองค์รวม มรู้เรอื่ งผลกระทบของ การณ์เรือนกระจก งการปฏิบัตติ นเพือ่ ลดกิจกรรม กิดแก๊สเรือนกระจก มรเู้ รอ่ื งการใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ - มีการสงั เกต - ใฝ่เรียนรู้ กป้ ญั หาทพ่ี บในชวี ิตประจำวัน - มีการสืบคน้ ข้อมูล - ม่งุ มนั่ ในการทำงาน - มีการตีความหมายข้อมูล - ความเพยี ร มรู้เร่อื งการออกแบบและเขยี น - มที กั ษะการจัดทำข้อมูล - การศกึ ษาขอ้ มลู ใหเ้ ป็นระบบ มอยา่ งง่าย - มีการทดลอง - ระเบิดจากภายใน มรู้เรื่องการตรวจหาขอ้ ผิดพลาด - มีการสื่อความหมาย - ทำตามลำดับขน้ั ตอน แกรมและแก้ไข - มีการลงความคดิ เห็น - พึง่ ตนเอง - มกี ารจำแนก - หาความรจู้ ากการใชช้ วี ติ ประจำวนั - ทำใหง้ ่าย - การมีส่วนรว่ ม

ตวั ชวี้ ัด สาระสำคญั ๓. ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในการคน้ หาข้อมูล - การทำงานรว่ มกนั อย่างปลอดภัย - มีความ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - เขา้ ใจสิทธแิ ละหนา้ ที่ของตน เคารพในสทิ ธิ การคน้ ห ว ๔.๒ ป. ๖/๔ ของผู้อื่น ๔. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทำงาน - มคี วาม รว่ มกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสทิ ธิ ทำงานร่ว และหน้าทีข่ องตน เคารพในสิทธิของ - รถู้ งึ สทิ ผอู้ นื่ แจ้งผเู้ กยี่ วขอ้ งเม่ือพบขอ้ มูล เคารพใน หรือบคุ คลท่ีไม่เหมาะสม

85 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/ท้องถน่ิ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ / บูรณาการศาสตรพ์ ระราชา มรูเ้ รื่องการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตใน - แก้ปญั หาจากจุดเลก็ ๆ หาขอ้ มูลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ - ทำงานแบบองคร์ วม มรูเ้ รื่องใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ วมกันอยา่ งปลอดภยั ทธิและหนา้ ที่ของตน และ นสทิ ธขิ องผู้อ่นื

86 คำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑-๒ รหสั วิชา ว ๑๖๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง/ปี ศึกษา วิเคราะห์ สารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหาร การเลือกรับประทานอาหารให้ได้ สารอาหารครบถ้วน ระบบย่อยอาหาร หน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร การดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อย อาหาร การแยกสารผสม การเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซงึ่ เกิดจากวัตถุท่ีผ่านการขัดถู วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย การต่อ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม การประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน การเกดิ เงามืดเงามัว รังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว ปรากฏการณ์สุริยุปราคา และจันทรุปราคา พัฒนาการของ เทคโนโลยีอวกาศ การนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน การเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ ประโยชนข์ องหนิ และแรใ่ น การเกิดซากดกึ ดำบรรพ์ การเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสุม การเกดิ ฤดขู องประเทศไทย ผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย การปฏิบัติ ตนใหป้ ลอดภยั จากภยั ธรรมชาติและธรณพี บิ ตั ภิ ยั การเกดิ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก และผลของปรากฏการณเ์ รือน กระจกทาง การปฏิบัติตนเพื่อลดกิจกรรมที่ก่อให้เกดิ แก๊สเรือนกระจก การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปญั หาที่ พบในชีวิตประจำวัน ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำงานร่วมกันอยา่ งปลอดภัย เหมาะสม โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมลู และการอภปิ ราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิง่ ที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็น คุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยม ที่ เหมาะสม และบูรณาการกบั ศาสตรพ์ ระราชา ตัวชี้วัด ว ๑.๒ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒,ป. ๖/๓,ป. ๖/๔,ป. ๖/๕ ว ๒.๑ ป. ๖/๑ ว ๒.๒ ป. ๖/๑ ว ๒.๓ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒,ป. ๖/๓,ป. ๖/๔,ป. ๖/๕,ป. ๖/๖,ป. ๖/๗,ป. ๖/๘ ว ๓.๑ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒ ว ๓.๒ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒,ป. ๖/๓,ป. ๖/๔,ป. ๖/๕,ป. ๖/๖,ป. ๖/๗,ป. ๖/๘,ป. ๖/๙ ว ๔.๒ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒,ป. ๖/๓,ป. ๖/๔ รวม ๓๐ ตวั ช้ีวดั

87 โครงสร้างรายวชิ า รายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.๖ ภาคเรยี นที่ ๑-๒ จำนวน ๓ หนว่ ยกิต ลำดบั ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั สาระสำคญั / เวลา น้ำหนกั ๑ อาหารกับร่างกาย ว ๑.๒ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒,ป. ความคดิ รวบยอด (ชั่วโมง) ๖/๓,ป. ๖/๔,ป. ๖/๕ ๒ สารในชีวิตประจำวนั - สารอาหาร ๒๐ 15 ๓ ไฟฟา้ ว ๒.๑ ป. ๖/๑ - ประโยชนข์ องสารอาหาร ว ๒.๒ ป. ๖/๑ - สารอาหารแต่ละประเภท ๕5 - การเลอื กรับประทาน ๕5 อาหาร - สัดสว่ นทีเ่ หมาะสมกบั เพศ และวัย - ความปลอดภยั ต่อสขุ ภาพ - ตระหนักถึงความสำคญั ของสารอาหาร - อาหารทีม่ สี ารอาหาร ครบถว้ น - ระบบย่อยอาหาร - หน้าทข่ี องอวัยวะ - การดดู ซมึ สารอาหาร - การดูแลรกั ษาอวัยวะใน ระบบย่อยอาหารให้ทำงาน เป็นปกติ - การแยกสารผสม - ระบุวธิ ีแกป้ ญั หาใน ชวี ิตประจำวนั - ผลของแรงไฟฟ้าซง่ึ เกิด จากวัตถุทผ่ี า่ นการขัดถู ๔ วงจรไฟฟ้าและการเกิดเงา ว ๒.๓ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒, - วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ๒๐ 15 ป. ๖/๓,ป. ๖/๔, ป.๖/๕, - ตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย ป. ๖/๖, ป. ๖/๗, ป. ๖/๘ - การตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบ อนกุ รม - ประโยชน์การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรม - การประยุกต์ใชใ้ น ชวี ติ ประจำวัน - การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบ อนกุ รมและแบบขนาน

88 ลำดบั ท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั สาระสำคญั / เวลา นำ้ หนัก ความคิดรวบยอด (ชัว่ โมง) ๕ สุริยปุ ราคา จนั ทรุปราคา ว ๓.๑ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒ 4 และเทคโนโลยีอวกาศ - ประโยชนข์ องการตอ่ ๑๐ 15 ว ๓.๒ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒, หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและ ๒๐ ๖ หนิ กับวฏั จกั รหนิ ป. ๖/๓, ป. ๖/๔, ป.๖/๕, แบบขนาน ลมและการเกดิ ลมใน ป.๖/๖, ป. ๖/๗, ประเทศไทย ป ๖/๘, ป. ๖/๙ - ขอ้ จำกดั และการ ภยั ทางธรรมชาติ ประยกุ ต์ใช้ ใน ชวี ิตประจำวัน - การเกดิ เงามืดเงามัว - รังสขี องแสง - ปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคา และจันทรุปราคา - พัฒนาการของเทคโนโลยี อวกาศ - ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวัน - กระบวนการเกดิ หนิ - วัฏจกั รหนิ - การใช้ประโยชนข์ องหนิ และแร่ในชวี ิตประจำวนั - การเกิดซากดึกดำบรรพ์ - คาดคะเนสภาพแวดล้อม ในอดีต - การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม - ผลท่ีมตี อ่ ส่ิงมชี ีวิตและ ส่งิ แวดลอ้ ม -การเกดิ ฤดูของประเทศไทย - ผลกระทบของน้ำทว่ ม การ กัดเซาะชายฝ่งั ดินถลม่ แผ่นดินไหว สนึ ามิ - ภัยธรรมชาตแิ ละธรณีพบิ ตั ิ ภยั - การเฝ้าระวงั และปฏิบตั ิตน ใหป้ ลอดภยั - ปรากฏการณ์เรือนกระจก - ผลต่อสง่ิ มชี วี ติ - ผลกระทบ - การปฏิบัตติ นเพื่อลด กจิ กรรมทกี่ อ่ ให้เกิดแกส๊ เรอื นกระจก

89 ลำดับท่ี ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด สาระสำคญั / เวลา น้ำหนกั ความคดิ รวบยอด (ชว่ั โมง) ๗ วิทยาการคำนวณ ว ๔.๒ ป. ๖/๑,ป. ๖/๒, เขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย ป. ๖/๓,ป. ๖/๔ - เหตุผลเชงิ ตรรกะ 38 10 เทคโนโลยีสารสนเทศ - ออกแบบวิธีการแก้ปญั หา - ออกแบบ - เขยี นโปรแกรมอยา่ ง - ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของ โปรแกรมและแก้ไข - การคน้ หาขอ้ มลู อยา่ งมี ประสิทธิภาพ - การทำงานรว่ มกันอยา่ ง ปลอดภยั - เขา้ ใจสิทธแิ ละหนา้ ที่ของ ตน เคารพในสทิ ธิของผู้อ่นื สอบปลายปีการศึกษา 2 30 รวมทั้งสิ้นตลอดปี 120 100 หมายเหตุ อัตราส่วนคะแนนระหว่างเรยี นกบั การสอบปลายภาค ๗๐/๓๐

90 สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดทำสื่อและจัดใหมีแหลงเรียนรูตามหลักการ และ นโยบายของการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ดงั นีส้ อื่ การเรยี นรูเปนเครอ่ื งมอื สงเสริมสนบั สนุนการจดั การกระบวนการ เรียนรู ใหผูเรียนเขาถึงความรูทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได อยางมี ประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรูมีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยี และเครือขายการ เรียนรูตาง ๆ ที่มีในทองถิน่ การเลือกใชสือ่ ควรเลอื กใหมีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรูท่ี หลากหลายของผูเรียนการจัดหาสื่อการเรียนรู ผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุง เลือกใชอยางมคี ุณภาพจากสือ่ ตาง ๆ ที่มอี ยรู อบตัวเพ่อื นำมาใชประกอบในการจัดการเรยี นรูท่ีสามารถสงเสริมและ สื่อสารใหผูเรียนเกิดการเรียนรู โดยสถานศึกษาควรจัดใหมีอยางพอเพียง เพื่อพัฒนาใหผูเรียน เกิดการเรียนรู อยางแทจริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หนวยงานที่เกี่ยวของและผูมีหนาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควร ดำเนินการดงั นี้ ๑. จัดใหมีแหลงการเรียนรู ศูนยสื่อการเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู และเครือขายการเรียนรูทีม่ ี ประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาคนควาและการแลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนรู ระหวางสถานศึกษา ทองถน่ิ ชมุ ชน สงั คมโลก ๒. จดั ทำและจดั หาสือ่ การเรียนรูสำหรับการศกึ ษาคนควาของผูเรียน เสริมความรูใหผูสอนรวมทงั้ จดั หาสิ่ง ที่มีอยูในทองถ่ินมาประยกุ ตใชเปนสอ่ื การเรียนรู ๓. เลอื กและใชสอื่ การเรียนรูท่มี ีคณุ ภาพ มคี วามเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลองกับวิธีการเรียนรู ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรู และความแตกตางระหวางบคุ คลของผูเรยี น ๔. ประเมนิ คุณภาพของสอ่ื การเรยี นรูทเี่ ลอื กใชอยางเปนระบบ ๕. ศึกษาคนควา วจิ ัย เพือ่ พัฒนาส่อื การเรยี นรูใหสอดคลองกบั กระบวนการเรยี นรูของผูเรียน ๖. จัดใหมีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใชสื่อการเรียนรู เปนระยะ ๆ และสม่ำเสมอ ในการจัดทำ การเลือกใช และการประเมินคุณภาพสื่อการเรยี นรูที่ใชในสถานศึกษาควรคำนึงถึงหลักการ สำคญั ของสอื่ การเรียนรู เชน ความสอดคลองกบั หลักสตู ร วัตถปุ ระสงคการเรยี นรูการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู การจดั ประสบการณใหผูเรียน เนอ้ื หามคี วามถกู ตองและทนั สมัย ไมกระทบความม่ันคงของชาติ ไมขดั ตอศีลธรรม มีการใชภาษาทถี่ ูกตอง รปู แบบการนาํ เสนอท่เี ขาใจงายและนาสนใจ

91 เกณฑ์การจบการศึกษา การเรยี นรู้ที่ผู้เรยี นมีความสำคัญที่สดุ ความสำคัญ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็น กระบวนการเกบ็ รวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรแู้ ละพฒั นาการด้านต่าง ๆ ของผเู้ รยี นตามมาตรฐานการ เรียนรู้ /ตัวชี้วัด ของหลกั สตู ร นำผลไปปรบั ปรุงพัฒนาการจดั การเรียนรู้และใช้เป็นข้อมูลสำหรับการตัดสินผลการ เรียน โดยมีองค์ประกอบของการวัดผลและประเมินการเรียนรู้ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดจุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และมาตรฐานการ เรียนรู้ไว้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก กำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ที่ กำหนดในสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ มีความสามารถด้านการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน มีคุณลักษณะที่พงึ ประสงคแ์ ละเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน แนวทางการวัดและประเมนิ ผล การวัดและประเมินผลรายกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้สอนวัดและประเมินผล การเรียนรู้ผูเ้ รยี นตามตวั ช้ีวดั ในรายวิชาพ้ืนฐาน ตามทก่ี ำหนดไว้ในหนว่ ยการเรยี นรู้ ใชว้ ธิ กี ารวดั และประเมินผลที่ หลากหลายจากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่ง เพื่อให้ได้ผลการประเมินที่สะท้อนความรู้ความสามารถที่แท้จริงของ ผู้เรียนโดยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอนโดยสังเกต พัฒนาการและความประพฤติของผ้เู รียน สงั เกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การประเมนิ ตามสภาพจริง เช่นการประเมินการปฏิบัตงิ าน การประเมนิ จากโครงงาน การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน เปน็ ตน้ ควบคู่กับการ ใช้การทดสอบแบบต่าง ๆ อย่างสมดุลและครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านเจตคติ โดยให้ ความสำคัญกับการประเมินผลระหว่างเรียนมากกว่าการประเมิน ปลายปี/ปลายภาค และใช้เป็นข้อมูลเพื่อการ ประเมินการเลื่อนช้ันและการจบการศกึ ษา และเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพผู้สอนต้องตรวจสอบความรู้ความสามารถที่แสดง พัฒนาการของผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง และผู้เรียนต้องรับผิดชอบและตรวจสอบความก้าวหน้าของ ตนเองอย่างสมำ่ เสมอเช่นกัน หน่วยการเรียนรู้เป็นสว่ นท่ีผู้สอนและผู้เรยี นใชต้ รวจสอบย้อนกลบั ว่าผูเ้ รียน เกิด การเรียนรู้หรอื ยัง การประเมินในระดับช้ันเรียนต้องอาศัยทั้งผลการประเมินย่อยเพื่อพัฒนา และการประเมินผล รวมเพื่อสรปุ ผลการเรยี นร้เู มอ่ื จบหน่วยการเรียนรู้และจบรายวชิ า วิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ ให้บรรลุผลตามเป้าหมายของการเรยี นรู้ที่วางไว้ควรมีแนวทาง ดงั ต่อไปน้ี ๑. ต้องวัดทั้งความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม รวมท้ังโอกาสในการเรยี นของผู้เรียน ๒. วิธกี ารวัดผลและประเมนิ ผล ตอ้ งสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ ทีก่ ำหนดไว้

92 ๓. ต้องเกบ็ ข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการวัดผลและประเมินผลตามความเป็นจรงิ และต้องประเมนิ ผลภายใตข้ ้อมูลที่มี อยู่ ๔. ผลการวัดและประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องผู้เรยี นตอ้ งนำไปสูก่ ารแปลผลและลงข้อสรุปทีส่ มเหตุสมผล ๕. การวดั ผลตอ้ งเท่ียงตรงและเปน็ ธรรม ท้งั ด้านของวิธกี ารวดั โอกาสของการประเมิน วตั ถุประสงค์ของการวัดในรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. เพื่อวนิ จิ ฉัยความรู้ ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มของผู้เรียน และ 2. เพือ่ ส่งเสรมิ ผู้เรยี นใหพ้ ัฒนาความรคู้ วามสามารถและทกั ษะไดเ้ ต็มศกั ยภาพ 3. เพือ่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลป้อนกลบั ใหแ้ กต่ ัวผเู้ รียนเองว่าบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ มากน้อยเพียงใด 4. เพอ่ื ใช้เปน็ ขอ้ มูลสรุปผลการเรียนรู้และเปรยี บเทยี บถงึ ระดบั พฒั นาการของการเรียนรู้ การวดั ผลประเมินผลตามสภาพจริง กจิ กรรมการเรียนรูข้ องผู้เรียนมีหลากหลาย เชน่ กิจกรรมในห้องเรียน กจิ กรรมการปฏิบัติ กิจกรรมการ สำรวจ กิจกรรมการตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาคน้ คว้า กิจกรรมศึกษาปัญหาพิเศษหรือโครงงาน ฯลฯ อย่างไรก็ตามในการทำกิจกรรมต้องคำนึงว่าผู้เรียนแต่ละคนมีศักยภาพที่แตกต่างกัน ผู้เรียน แต่ละคนจึงอาจ ทำงานชิ้นเดียวกันได้เสร็จในเวลาที่แตกต่างกัน และผลของงานที่ได้อาจแตกต่างกันด้วย เมื่อผู้เรียนทำกิจกรรม เหล่านี้เสร็จแล้วกจ็ ะต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่าง ๆ เจตคติ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่ผู้เรียนได้ทำเหลา่ นีต้ ้องใช้วธิ ี ประเมินที่มี ความแตกต่างกัน เพื่อช่วยให้สามารถ ประเมินความรู้ ความสามารถและความรู้สึกนกึ คดิ ท่ีแท้จรงิ ของผู้เรียนได้ การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริงจะ มีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อมีการประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวิธี ในสถานการณ์ต่าง ๆกันสอดคลอ้ งกับชีวติ จริง และตอ้ งประเมินอยา่ งตอ่ เนอื่ งเพื่อจะได้ขอ้ มลู ทมี่ ากพอทีจ่ ะสะทอ้ นของผเู้ รียนได้ ลกั ษณะสำคัญของการวัดและประเมนิ ผลจากสภาพจริง 1. การวัดประเมินผลตามสภาพจริง มีลักษณะที่สำคัญคือใช้วิธีการประเมินกระบวนการคิดที่ซับซ้อน ความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพผู้เรียนในด้านของผู้ผลิตและกระบวนการที่ได้ผลผลิตมากกว่าที่จะ ประเมนิ วา่ ผเู้ รยี นจดจำความรู้อะไรบา้ ง 2. เป็นการประเมินความสามารถของผู้เรียนเพื่อวินิจฉัยผู้เรียนในส่วนที่ควรส่งเสริมและส่วนที่แก้ไข ปรับปรุงเพอื่ ให้ผ้เู รยี นได้พฒั นาอย่างเตม็ ศักยภาพตามความสามารถ ความสนใจและความตอ้ งการของแต่ละบคุ คล 3. เป็นการประเมนิ ทจี่ ะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มสี ่วนรว่ มประเมนิ ผลงานของตนเองและของเพื่อนรว่ มห้อง เพ่ือส่งเสริมให้ผูเ้ รียนรู้จักตนเอง เชื่อมนั่ ในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองได้ 4. ข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรียนการสอน และการวางแผนการสอน ของผสู้ อนวา่ สามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจและความตอ้ งการของผู้เรียนแต่ละบุคคลไดห้ รือไม่ 5. ประเมนิ ความสามารถของผู้เรียนในการถ่ายโอนการเรยี นไปสชู่ ีวิตจรงิ ได้ 6. ประเมินด้านต่าง ๆ ด้วยวธิ ีทีห่ ลากหลายในสถานการณต์ า่ ง ๆอย่างตอ่ เนอ่ื ง

93 วิธกี ารและแหลง่ ข้อมลู ที่ใช้ เพื่อให้การวัดและประเมินผลสะท้อนความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนผลการประเมิน อาจได้มาจาก แหล่งข้อมูลและวิธีการต่าง ๆ ดังตอ่ ไปนี้ ๑.การประเมินผลกลุ่ม ( Group Assessment ) ความสามารถที่จะทำงานในฐานะสมาชิก ที่มี ประสิทธภิ าพของกลุ่มถอื เปน็ ทกั ษะสำคญั ในการจัดการเรยี นรู้ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลาง การทำกิจกรรมต้องเน้น ย้ำการทำงานเป็นกลุ่มที่มีการจัดการด้านความพร้อมที่มีคุณภาพและมีการประเมินผลที่ละเอียดรอบคอบ การ ทำงานกลุ่มของผ้เู รยี นจะมคี ุณภาพสูงสดุ รวมทั้งมีความสนุกสนาน เพลิดเพลินเม่อื มีการปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1.๑) จัดบรรยากาศให้เหมาะสม ชว่ ยให้ผู้เรียนทราบและเข้าใจว่าการทำงานกลุ่มจะให้ผลดี แก่ผู้เรียน อยา่ งไร ผลงานกลุ่มจะประเมนิ ดว้ ยวธิ ใี ด 1.๒) จัดให้ผู้เรียนทราบว่า งานของกลุ่มจะประเมนิ เมื่อใดลว่ งหน้าเพ่ือผู้เรียนจะได้ไมก่ ดดันและ วิตก กงั วลว่าผสู้ อนจะประเมินเม่อื ใด 1.๓) การกำหนดคะแนนไม่ควรมากเกินไป เพราะหลกั การตอ้ งการจะพฒั นาการทำงานรว่ มกัน 1.๔) แจ้งเกณฑ์การประเมินใหผ้ ู้เรียนได้ทราบ และบอกเกณฑ์บางส่วนให้ พร้อมทั้งให้ผู้เรียนเพิ่มเติม เกณฑ์ของตนเองได้ จึงค่อยตดั สินใจว่าแต่ละเกณฑ์จะใหค้ ะแนนอย่างไร 1.๕) จัดเวลาให้ผู้เรียนได้มีการสำรวจว่าคุ้มค่าแก่การเรียนรู้หรือไม่ เป็นการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ ผลสำเร็จของตนเอง มเี วลาแยกแยะวา่ ยงั มจี ุดใดทส่ี ามารถทำได้ดยี งิ่ ขึ้นอกี 1.๖) ผสู้ อนตอ้ งม่นั ใจและกระจ่างชดั เจนวา่ ส่งิ ท่ปี ระเมินผล คือ ผลผลติ จากงานของกลมุ่ หรือประเมิน กระบวนการทำงาน กระบวนการและผลผลิตเปน็ คนละเรื่องกัน และจำเป็นต้องมีแนวทางการประเมนิ ที่แตกต่าง กัน ในการทำกิจกรรมกลุ่ม บางกิจกรรมใช้การประเมินผลผลิต แต่บางกิจกรรมอาจใช้เพื่อ การประเมินผล กระบวนการปฏิบัตเิ ทา่ นั้น 1.๗) ต้องระวังอันตรายจากการประเมนิ งานกลุ่มเป็นรายบุคคล เพราะจะนำไปสู่ความรสู้ กึ เจ็บช้ำน้ำใจ และการโต้แย้งอย่างรุนแรงได้ ต้องมีการแจง้ เกณฑล์ ่วงหน้า มีการอภิปราย มีข้อตกลงตัง้ แต่แรกเริ่มลงมือปฏบิ ัติ กิจกรรม การประเมนิ ผลบุคคลควรจะทำตอ่ เมอ่ื ผู้เรียนทง้ั กลมุ่ ไดร้ ับการพัฒนาความมนั่ ใจและความเชอ่ื ถอื 1.๘) พิจารณาการจัดกลมุ่ จะใหผ้ ้เู รยี นจดั กลุ่มเองหรือไม่หรอื จะใช้การสุ่มจัดผู้เรยี นเข้ากลมุ่ เพื่อความ เหมาะสมในการคละ ความสามารถของผูเ้ รียนในกลุ่ม หรอื ผู้สอนจดั ผเู้ รียนให้สมดุลเพื่อคละประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถและทกั ษะของผู้เรียน วธิ นี ้มี ีประโยชนเ์ พอ่ื จัดกลมุ่ การเรียนรู้แบบรว่ มมอื อย่างมีคุณภาพแต่ต้องการ ทกั ษะการประสานงานทีส่ ูงมาก ๒. การประเมนิ ตนเอง ( Self Assessment ) ในการเสนอผลงาน ผู้สอนควรฝกึ ให้ผู้เรยี นมีการประเมิน ตนเองทง้ั ด้านความคิด และด้านความร้สู กึ โดยใหผ้ ูเ้ รียนไดพ้ ูดถงึ งานของตนเอง มขี ัน้ ตอนกระบวนการทำอย่างไร มจี ุดบกพรอ่ ง จดุ ดตี รงไหน ผู้เรยี นไดค้ วามรูอ้ ะไรบา้ งและผ้เู รียนมคี วามรู้สกึ อยา่ งไรต่องานที่ทำ ขณะเดียวกันกเ็ ปิด โอกาสใหเ้ พ่อื นไดม้ กี ารวิพากษ์วจิ ารณง์ านของผู้เรยี นอันจะนำไปสู่ความภาคภูมใิ จ ๓. การเขียนรายงาน ( Self - Report) เป็นการให้ผู้เรียนเขียนรายงานเกี่ยวกับพฤติกรรมของตนเอง เหมอื นการสมั ภาษณ์เพียงแตไ่ มม่ คี นคอยต้งั คำถามเท่านนั้ เอง

94 จากวิธกี ารประเมนิ ดงั กล่าวสามารถนำมาจัดแสดงวธิ ีการและเคร่ืองมือประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องสาระการ เรียนรูใ้ นดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ และด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มได้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ควรจัดให้ครอบคลุม ทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัดตามที่หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดไว้ ควรมุ่งเน้นการวัด สมรรถภาพโดยรวมของผูเ้ รียนเปน็ หลัก จุดประสงค์หลกั ของการวัดประเมินไม่ใช่อยู่ท่กี ารวัดผลเพื่อตัดสินผลการ เรียนของผู้เรียนเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการวัดและประเมินผลเพื่อนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการ เรียนการสอนเพื่อช่วยพัฒนาให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเต็ม ตามศกั ยภาพ คุณภาพของผเู้ รยี นที่ต้องประเมิน การวัดและประเมินผลของกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้นแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้ทำการวัดและประเมินผลตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ตัวชี้วัดในการวัดและ ประเมินผล ทต่ี ้องนำมาพจิ ารณา ดังน้ี ๑. ดา้ นความรู้ ในการวดั ประเมนิ ผลด้านความรู้ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ 4 สาระ ดังนี้ ๑.๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ ๑.๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ๑.๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑.๔ เทคโนโลยี ๒. ดา้ นทักษะ / กระบวนการ การวัดประเมินผลด้านทกั ษะ / กระบวนการ เป็นการวัดความสามารถของผู้เรยี นครอบคลุมประเด็น ทีต่ อ้ งประเมนิ ดงั นี้ ๒.๑ การแก้ปญั หา ๒.๒ การให้เหตุผล ๒.๓ การสอื่ สาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ ๒.๔ การเชอ่ื มโยง ๒.๕ ความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ๓. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ การวดั ประเมนิ ผลดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ครอบคลมุ ประเดน็ ทตี่ ้องประเมนิ ดงั น้ี ๓.๑ ทำงานอย่างเปน็ ระเบยี บ ๓.๒ มีระเบยี บวนิ ัย ๓.๓ มีความรอบคอบ ๓.๔ มีความรบั ผิดชอบ ๓.๕ มีวจิ ารณญาณ ๓.๖ มคี วามเช่อื มนั่ ในตนเอง

95 ๓.๗ ตระหนักในคุณค่าและมเี จตคตทิ ีด่ ตี อ่ วิชาวิทยาศาสตร์ศาสตร์ องคป์ ระกอบของการจดั การเรยี นการสอน ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ มีพัฒนาการตาม ตัวชี้วัดท่ีกำหนดไว้ ซึง่ ตอ้ งอาศยั การวัดและประเมินผลท่ีสอดคลอ้ งกับตัวชวี้ ัดที่กำหนดไว้ องค์ประกอบของการ สอนทั้งสามส่วนมคี วามสัมพันธ์กบั ดังภาพ ตัวชีว้ ัดการ เรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียน การวดั ละประเมนิ ผล การสอน การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ สามารถกำหนดวิธีการและเครื่องมือสำหรับวัดและ ประเมินผลภายใต้กรอบของตัวชี้วัด วิธีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ที่สำคัญได้แก่ การสอบ การ สังเกต การสัมภาษณ์ และการประเมินชิ้นงาน สำหรับเครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบทดสอบ แบบสังเกต และ แบบประเมินคุณภาพ ตามลำดับ การสรา้ งเคร่ืองมอื และเกณฑ์การประเมินทำไดโ้ ดยวิเคราะหต์ ัวช้วี ดั เกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ทนี่ ำเสนอนี้เพื่อเปน็ แนวทางที่ครูผู้สอนใช้เปน็ กรอบในการประเมินคุณภาพของผู้เรียน ในด้านตา่ ง ๆ ดังน้ี ๑. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลการเรียนรโู้ ดยการสอบ สำหรับแบบทดสอบที่เป็นปรนัยเลือกตอบ สามารถกำหนดเกณฑ์ในการให้คะแนนอย่างกว้าง ๆ คือ ตอบถกู ได้ ๑ คะแนน ตอบผดิ ได้ ๐ คะแนน สำหรับแบบทดสอบที่เป็นอัตนัย หรือแบบความเรียนสามารถกำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์ในการให้ คะแนนมากกว่าสองระดับ เช่น อาจกำหนดคะแนนเต็มเป็น ๔ คะแนน แล้วพิจารณากำหนดเกณฑ์การให้ คะแนนลดหลนั่ ลงมา สำหรบั นักเรียนทแี่ สดงผลการเรียนยงั ไมถ่ งึ เกณฑก์ ำหนด

96 เกณฑ์การให้คะแนนผลการทำข้อสอบแบบอัตนัยที่พิจารณาจากการแสดงวิธีการหาคำตอบ และ ความถูกตอ้ งของคำตอบ คะแนน / ความหมาย ผลการทำขอ้ สอบท่ปี รากฏให้เหน็ ๔ ดมี าก ๓ ดี อธิบายได้ชดั เจน สมบรู ณ์ คำตอบถูกตอ้ ง ครบถว้ น ๒ พอใช้ อธบิ ายยังไมช่ ัดเจนดีนกั แต่อยใู่ นแนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง คำตอบถกู ต้องครบถ้วน อธบิ ายยังไม่ชดั เจน หรอื ไมอ่ ธบิ ายคำตอบใหถ้ ูกต้องครบถ้วน หรือ อธบิ ายได้ ๑ ควรแกไ้ ข ชดั เจน สมบรู ณ์ แต่คำตอบไมถ่ กู ต้อง ขาดการตรวจสอบ อธิบายยังไมช่ ัดเจนดนี กั แต่อยูใ่ นแนวทางท่ถี กู ต้อง คำตอบไม่ถกู ต้อง หรือไม่ ๐ ต้องปรับปรงุ อธิบาย และคำตอบทไ่ี ดไ้ ม่ถูกต้องแต่อยู่ในแนวทางทถ่ี กู ต้อง ทำได้ไม่ถงึ เกณฑ์ นอกจากการพิจารณาจากการอธิบายในการตอบและความถูกต้องของคำตอบแล้ว เกณฑ์ในการให้ คะแนนแบบทดสอบอัตนยั อาจพจิ ารณาจากดา้ นอื่น ๆ อกี กไ็ ด้ สำหรบั เกณฑ์ในการใหค้ ะแนนของการสังเกต การ สัมภาษณ์ และการประเมินชิ้นงานสามารถสร้างเกณฑ์ในทำนองเดียวกับเกณฑ์การให้คะแนน ด้านทักษะ / กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรก์ ไ็ ด้ ๒. เกณฑ์การให้คะแนนด้านทักษะ / กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบแยกองค์ประกอบ 2.1 ทักษะกระบวนการ การแก้ปัญหา คะแนน / ความหมาย ความสามารถในการแกป้ ญั หาทป่ี รากฏใหเ้ ห็น ๔ ดมี าก ใช้วธิ ีดำเนนิ การหรือข้ันตอนทางวิทยาศาสตร์แกป้ ัญหาได้สำเรจ็ อย่างมี ๓ ดี ประสิทธิภาพ อธบิ ายถงึ เหตุผลในการใชว้ ิธีการดังกลา่ วได้เข้าใจชดั เจน ๒ พอใช้ ใช้วิธดี ำเนนิ การหรอื ขน้ั ตอนทางวิทยาศาสตร์แก้ปัญหาได้สำเรจ็ แต่ อธิบายและเหตุผลในการใชว้ ิธกี ารดงั กล่าวได้ยงั ไมเ่ พยี งพอ ๑ ต้องปรับปรงุ ใชว้ ธิ ดี ำเนินการหรือขน้ั ตอนทางวิทยาศาสตร์แกป้ ัญหาได้สำเร็จเพยี ง ๐ ไม่พยายาม บางสว่ น อธบิ ายและเหตุผลในการใช้วธิ กี ารดังกล่าวเพียงได้บางสว่ น มีร่องรอยการดำเนนิ การแกป้ ัญหาบางส่วน เริ่มคดิ วา่ ทำไมจงึ ตอ้ งใช้ วธิ กี ารนั้นแลว้ หยดุ อธบิ ายต่อไม่ได้ แกป้ ัญหาไม่สำเร็จ ทำได้ไมถ่ ึงเกณฑ์ข้างต้นหรอื ไม่มีร่องรอยการดำเนนิ การแก้ปญั หา

97 2.2 ทกั ษะกระบวนการ การให้เหตุผล คะแนน / ความหมาย ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลที่ปรากฏให้เห็น ๔ ดีมาก มกี ารอ้างองิ เสนอแนวคดิ ประกอบการตดั สนิ ใจอย่างสมเหตสุ มผล ๓ ดี มกี ารอ้างอิงถูกตอ้ งบางสว่ น และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ ๒ พอใช้ เสนอแนวคดิ ไมส่ มเหตุผลในการประกอบการตัดสินใจ ๑ ตอ้ งปรับปรงุ มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ ๐ ไม่พยายาม ไม่มแี นวคดิ ประกอบการตดั สนิ ใจ 2.3 ทกั ษะกระบวนการ การเช่ือมโยง คะแนน / ความหมาย ความสามารถในการเชอ่ื มโยงทปี่ รากฏใหเ้ หน็ ๔ ดมี าก นำความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ในการเชอ่ื มโยงกับสาระ ๓ ดี วิทยาศาสตร์/ สาระอน่ื / ในชวี ิตประจำวัน เพื่อช่วยในการแกป้ ญั หา หรือ ประยกุ ต์ใช้ไดอ้ ย่างสอดคลอ้ งและเหมาะสม ๒ พอใช้ ๑ ต้องปรบั ปรุง นำความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ในการเชอื่ มโยงกบั สาระ ๐ ไมพ่ ยายาม วิทยาศาสตร/์ สาระอน่ื / ในชวี ติ ประจำวัน เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา หรอื ประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้บางส่วน นำความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการเชอ่ื มโยงกบั สาระ วิทยาศาสตรไ์ ด้บางสว่ น นำความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงยงั ไมเ่ หมาะสม ไมเ่ ชื่อมโยงกบั สาระอืน่ ใด ๆ 2.4 ทกั ษะกระบวนการ ความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ คะแนน / ความหมาย ความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ทป่ี รากฏให้เห็น ๔ ดีมาก มแี นวคิด / วิธกี ารแปลกใหม่ท่ีสามารถนำไปปฏิบัติไดถ้ กู ตอ้ งสมบูรณ์ ๓ ดี มแี นวคดิ / วธิ กี ารแปลกใหม่ทีส่ ามารถนำไปปฏิบัติไดถ้ กู ต้องแต่นำไปปฏิบตั แิ ลว้ ไม่ ถูกต้องสมบูรณ์ ๒ พอใช้ มีแนวคิด / วธิ กี ารไม่แปลกใหม่แตน่ ำไปปฏบิ ัติไดถ้ ูกต้องสมบรู ณ์ ๑ ตอ้ งปรบั ปรงุ มีแนวคิด / วิธีการไม่แปลกใหมแ่ ละนำไปปฏบิ ตั ิแล้วยงั ไม่สมบูรณ์ ๐ ไมพ่ ยายาม ไมม่ ีผลงาน

98 ๓. เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์แบบแยกองค์ประกอบ 3.1 คุณลักษณะ มคี วามรบั ผิดชอบ คะแนน / ความหมาย คณุ ลักษณะท่ปี รากฏให้เหน็ ๓ ดมี าก - สง่ งานก่อนหรอื ตรงตามกำหนดเวลานดั หมาย - รับผิดชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมายและปฏิบัตเิ องจนเป็นนิสยั เป็นระบบ แกผ่ ูอ้ ่นื และแนะนำชักชวนให้ผอู้ นื่ ปฏิบตั ิ ๒ ดี - ส่งงานช้ากว่ากำหนด แตไ่ ดม้ ีการติดต่อชี้แจงครูผ้สู อน มเี หตุผลทร่ี ับฟงั ได้ - รบั ผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ปฏบิ ตั ิเองจนเป็นนิสยั ๑ พอใช้ - สง่ งานชา้ กวา่ กำหนด - ปฏบิ ัติงานโดยต้องอาศยั การชแ้ี นะ แนะนำ ตักเตอื นหรือใหก้ ำลงั ใจ 3.2 คุณลักษณะ มรี ะเบียบวินัย คะแนน / ความหมาย คุณลกั ษณะทป่ี รากฏให้เห็น ๓ ดมี าก - สมุดงาน ชิ้นงาน สะอาดเรียบรอ้ ย - ปฏิบตั ิตนอยใู่ นขอ้ ตกลงทีก่ ำหนดใหร้ ่วมกันทุกคร้งั ๒ ดี - สมุดงาน ชิ้นงาน สว่ นใหญส่ ะอาดเรียบร้อย - ปฏิบัติตนอยใู่ นข้อตกลงทีก่ ำหนดให้ร่วมกันเป็นสว่ นใหญ่ ๑ พอใช้ - สมุดงาน ชิ้นงาน ไมค่ ่อยสะอาดเรยี บรอ้ ย - ปฏิบัติตนอย่ใู นข้อตกลงทกี่ ำหนดใหร้ ว่ มกันเปน็ บางครง้ั ตอ้ งอาศัยการ แนะนำ 3.3 คณุ ลกั ษณะ ทำงานเป็นระบบรอบคอบ คะแนน / ความหมาย คุณลกั ษณะทปี่ รากฏให้เห็น ๓ ดมี าก - มกี ารวางแผนการดำเนินงานเป็นระบบ - การทำงานมีครบทกุ ขัน้ ตอน ตดั ข้ันตอนทไ่ี มส่ ำคัญออก - จดั เรียงลำดับความสำคัญกอ่ น – หลัง ถูกต้องครบถว้ น ๒ ดี - มกี ารวางแผนการดำเนินงาน - การทำงานไม่ครบทกุ ขัน้ ตอน และผิดพลาดบ้าง - จัดเรยี งลำดบั ความสำคัญก่อน – หลัง ไดเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ ๑ พอใช้ - ไมม่ กี ารวางแผนการดำเนินงาน - การทำงานไมม่ ีขัน้ ตอน มคี วามผิดพลาดตอ้ งแก้ไข - ไมจ่ ัดเรยี งลำดับความสำคญั ๔. เกณฑก์ ารประเมนิ ชน้ิ งานแบบองคร์ วม

99 คะแนน / ความหมาย คุณภาพของชนิ้ งานทป่ี รากฏใหเ้ หน็ ๔ ดีมาก - สรา้ งชน้ิ งานและนำเสนอรปู แบบวธิ กี ารสร้างชิ้นงานได้อย่างถกู ต้องแม่นยำ ๓ ดี - แสดงขนั้ ตอนหรอื ใหเ้ หตผุ ล สนับสนนุ การสรา้ งชิน้ งานไดค้ รบถ้วนสมบรู ณ์ ๒ พอใช้ - มองเห็นความเช่อื มโยงหรอื การขยายผลไปสู่หลักการของปัญหาไดอ้ ย่างสมบูรณ์ ๑ ต้องปรับปรุง - มีองคป์ ระกอบของชน้ิ งานครบถว้ น ๓ รายการ(รูปแบบรายงาน ความถูกตอ้ ง ชัดเจนในการเขียนหรอื พมิ พ์ การจดั รูปเล่ม - สร้างช้ินงานและนำเสนอรปู แบบวธิ ีการสร้างชน้ิ งานถกู ตอ้ ง - แสดงขั้นตอนหรอื ใหเ้ หตุผล สนบั สนนุ การหาคำตอบไดบ้ างสว่ น - เชื่อมโยงไปส่หู ลกั การของปญั หาไดบ้ างสว่ น - มอี งคป์ ระกอบของชน้ิ งานไมน่ อ้ ยกว่า ๒ รายการ - สร้างชิน้ งานและนำเสนอรปู แบบวิธกี ารสร้างชิน้ งานมขี ้อผิดพลาดบางสว่ น - แสดงขนั้ ตอนหรือใหเ้ หตผุ ล สนบั สนุนการหาคำตอบเล็กน้อย - แสดงการเชอ่ื มโยงหลักการการแก้ปัญหาได้เล็กน้อย - มอี งค์ประกอบของชิ้นงานไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ รายการ - ไมม่ ชี ิน้ งาน 5. เกณฑ์การให้คะแนนด้านคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคแ์ บบองคร์ วม คะแนน / ความหมาย คุณลักษณะทีป่ รากฏให้เหน็ ๓ ดมี าก สามารถปฏิบตั ิได้ดว้ ยตนเองหรือเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ในการปฏบิ ตั งิ านทาง คณิตศาสตร์อยา่ งมรี ะบบ มรี ะเบยี บวนิ ัย มคี วามรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง ๒ ดี สามารถปฏิบัตติ นตามคำแนะนำหรือชแี้ นะในการปฏิบตั งิ านทางคณิตศาสตร์อยา่ ง มีระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ มวี จิ ารณญาณ มีความเช่อื ม่นั ในตนเอง ๑ พอใช้ ไมส่ ามารถปฏบิ ัติตนตามคำแนะนำหรอื ชแี้ นะด้วยตนเอง แตต่ อ้ งมกี ารกำกับและ ตดิ ตามอยเู่ สมอในการปฏิบตั งิ านทางคณิตศาสตรอ์ ย่างมีระบบ มีระเบยี บวินัย มคี วามรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความเช่ือม่ันในตนเอง แนวปฏิบัติในการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรูข้ องผู้เรยี นตอ้ งอยู่บนหลักการพืน้ ฐานสองประการคอื การประเมินเพือ่ พัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสำเร็จน้ัน นักเรียนจะตอ้ งได้รับการพัฒนาและประเมนิ ตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน ระดับช้ันเรยี น ระดบั สถานศกึ ษา การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพนักเรยี นโดยใช้

100 ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของ นักเรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้นักเรียนเกิด การพัฒนาและเรียนรู้ อย่างเต็มตาม ศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๒ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา มี รายละเอียด ดงั น้ี ๑. การประเมนิ ระดับชัน้ เรยี น เป็นการวดั และประเมินผลทอี่ ย่ใู นกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ครู ผู้สอน ดำเนินการเปน็ ปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การ ซักถาม การสงั เกต การตรวจการบ้าน การประเมนิ โครงงาน การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การ ใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยครู ผสู้ อนเป็นผูป้ ระเมินเองหรอื เปิดโอกาสให้นักเรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมนิ เพ่ือน ผ้ปู กครองร่วมประเมนิ ในกรณีท่ีไมผ่ ่านตวั ชว้ี ดั ใหม้ ี การสอนซ่อมเสรมิ การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า นักเรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อันเปน็ ผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื ไม่ และมากนอ้ ยเพียงใด มสี ิ่งทจ่ี ะต้องไดร้ บั การพัฒนา ปรบั ปรงุ และส่งเสรมิ ในดา้ นใด นอกจากน้ียังเป็นขอ้ มูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรงุ การเรยี นการสอนของตนดว้ ย ท้ังนี้โดย สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชี้วัด ๒. การประเมินระดบั สถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพ่อื ตัดสนิ ผล การเรียนของ ผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน นอกจากนีเ้ พอื่ ให้ไดข้ ้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา วา่ ส่งผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนใน สถานศึกษาเปรียบเทียบกบั เกณฑร์ ะดบั ชาติ ผลการประเมินระดบั สถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการ ปรบั ปรุงนโยบาย หลกั สตู ร โครงการ หรือวธิ ีการจัดการเรยี นการสอน ตลอดจนเพือ่ การจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ผูป้ กครอง และชุมชน ขอ้ มลู การประเมินในระดบั ต่าง ๆ ข้างตน้ เป็นประโยชนใ์ นการตรวจสอบทบทวนพฒั นาคุณภาพนักเรียน ที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบน พ้ืนฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มนักเรยี นท่ัวไป กลุ่ม นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและ พฤติกรรม กลุ่มนักเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มนักเรียนท่ีมีปญั หาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกาย และสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ ทันทว่ งที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสำเร็จในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร สถานศึกษา เพ่ือให้บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายถือปฏิบัติรว่ มกนั

101 เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน ๑. การตดั สิน การให้ระดบั และการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตัดสินผลการเรยี น ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นน้นั ผู้สอนตอ้ งคำนงึ ถงึ การพัฒนานักเรียนแต่ละคนเปน็ หลกั และต้องเก็บข้อมลู ของนกั เรียนทกุ ด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้ังสอนซอ่ มเสริมผู้เรยี นใหพ้ ัฒนาจนเต็มตาม ศกั ยภาพ ระดับประถมศึกษา (๑) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทง้ั หมด (๒) ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตัวชี้วัด และผา่ นเกณฑ์ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของจำนวนตวั ชี้วดั (๓) ผู้เรียนต้องได้รับการตดั สินผลการเรียนทุกรายวิชา ไม่น้อยกว่าระดับ “ ๑ ” จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์ ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด (๔) นักเรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับ “ ผ่าน ” ขึ้นไป มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ“ ผ่าน ” ขึ้นไป และมีผลการประเมิน กจิ กรรมพฒั นานักเรียน ในระดับ “ ผ่าน ” ๑.๒ การให้ระดับผลการเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของ นักเรียน เปน็ ระบบตวั เลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดบั ดงั น้ี ระดบั ผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนนร้อยละ ๔ ผลการเรียนดีเย่ียม ๘๐ - ๑๐๐ ๓.๕ ผลการเรียนดมี าก ๗๕ - ๗๙ ๓ ผลการเรยี นดี ๗๐ - ๗๔ ๒.๕ ผลการเรียนค่อนขา้ งดี ๖๕ - ๖๙ ๒ ผลการเรยี นนา่ พอใจ ๖๐ - ๖๔ ๑.๕ ผลการเรียนพอใช้ ๕๕ - ๕๙ ๑ ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่ำ ๕๐ - ๕๔ ๐ ผลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ ๐ - ๔๙ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการประเมนิ เป็น ดีเยย่ี ม ดี ผ่าน และไม่ผา่ น การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกจิ กรรม การปฏิบัตกิ จิ กรรมและ ผลงานของผ้เู รียน ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนด และใหผ้ ลการเข้ารว่ มกิจกรรมเปน็ ผ่าน และไม่ผ่าน

102 ๑.๓ การรายงานผลการเรยี น การรายงานผลการเรียนเปน็ การสือ่ สารให้ผปู้ กครองและนักเรยี นทราบความก้าวหนา้ ในการเรยี นรขู้ อง นักเรียน ต้องสรปุ ผลการประเมนิ และจดั ทำเอกสารรายงานใหผ้ ู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรืออยา่ งนอ้ ยภาค เรยี นละ ๑ คร้งั การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน็ ระดบั คุณภาพการปฏิบัตขิ องนกั เรยี นทส่ี ะทอ้ นมาตรฐานการ เรียนรูก้ ล่มุ สาระการเรียนรู้ ๒. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา หลักสูตรสถานศึกษา กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการศึกษาเป็น ๒ ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา และระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น เกณฑก์ ารจบระดับประถมศึกษา (๑) นกั เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่มิ เตมิ ตามโครงสรา้ งเวลาเรยี น ทก่ี ำหนด (๒) นักเรียนตอ้ งมผี ลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐาน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามที่กำหนด (๓) นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่ กำหนด (๔) นกั เรยี นมีผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามทก่ี ำหนด (๕) นกั เรยี นเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนและมีผลการประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามที่กำหนด

103 เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๕๑). หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพร้าว. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (๒๕๖๑ ). ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖0) ตามหลกั สตู รแกนกลางสถานศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. สำนกั นายกรัฐมนตรี, สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ (๒๕๔๒). พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์องคก์ ารรับส่งสินค้าและพสั ดุ ภณั ฑ์ (ร.ส.พ.). สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๖ ก.). สรุปผลการประชุมวเิ คราะห์หลักสูตร การศึกษาขน้ั พื้นฐาน. ๒๗-๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๖ เร่อื ง การนำมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ ตวั ชีว้ ดั กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑ ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไปสู่การปฏิบัติ ๑๔-๑๖ มีนาคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรมจอมเทยี นปาล์มบีช พัทยา จังหวดั ชลบรุ .ี สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๖ ข.). สรุปความเหน็ จากการประชมุ เสวนา หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๕ จดุ . พฤศจิกายน ๒๕๔๖ (เอกสารอัดสำเนา). สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๘ ก). รายงานการวิจัย การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม ทัศนะของผ้สู อน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การรบั ส่งสนิ คา้ และพสั ดภุ ัณฑ์

104 ภาคผนวก

105 อภิธานศพั ท์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process) เปน็ กระบวนการในการศึกษาหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ ประกอบด้วยข้นั ตอนหลัก คอื การต้ังคำถาม หรือกำหนดปัญหา การสร้างสมมติฐานหรือการคาดการณ์คำตอบ การออกแบบวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การ วิเคราะหแ์ ละแปลความหมายขอ้ มูล การลงขอ้ สรุป และการสอ่ื สาร การแกป้ ญั หา (Problem Solving) เป็นการหาคำตอบของปัญหาท่ียงั ไม่รูว้ ธิ ีการมาก่อน ท้งั ปัญหาทีเ่ กย่ี วข้องกับเน้ือหาวิทยาศาสตร์โดยตรง และปญั หาในชีวติ ประจำวนั โดยใช้เทคนิค วิธกี าร หรอื กลยทุ ธต์ ่าง ๆ การวิเคราะห์ (Analyzing) เป็นระดับของผลการเรียนรู้ทผ่ี เู้ รียนสามารถแยกแยะขอ้ มลู หรือข้อสนเทศ เพ่ือเช่อื มโยงความสมั พันธ์ การสังเกต (Observation) และ เป็นวธิ ีการหาข้อมูลโดยตรง โดยใช้ประสาทสมั ผัสท้ังห้า ไดแ้ ก่ การดู การดม การฟงั การชิม การสัมผัส การสบื คน้ ขอ้ มลู ( Search) เป็นการหาข้อมูลหรือข้อสนเทศท่ีมผี ูร้ วบรวมไวแ้ ล้วจากแหลง่ ตา่ ง ๆ เชน่ ห้องสมุด เครอื ขา่ ย อนิ เทอร์เนต็ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เป็นต้น การสบื เสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์( Scientific Inquiry) การ เป็นการหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรอื วธิ ีการอนื่ ๆ เชน่ สำรวจ การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท การทดลอง การสร้างแบบจำลอง การสบื ค้นข้อมูล การสำรวจ( Exploration) เป็นการหาขอ้ มูลเกยี่ วกบั สง่ิ ตา่ ง ๆ โดยใชว้ ธิ กี ารและเทคนิคตา่ ง ๆ เชน่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การเกบ็ ตัวอยา่ ง เพือ่ นำมาวิเคราะห์ จำแนก หรอื หาความสัมพนั ธ์ การสำรวจตรวจสอบ (Scientific Investigation) เป็นวิธีการหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยผ่านการรวบรวมข้อมูล ใช้ความคิดที่มีเหตุผลในการ ตั้งสมมติฐาน อธิบายและแปลความหมายข้อมูล การสำรวจตรวจสอบทำได้หลายวธิ ี เช่น การสังเกต การสำรวจ การทดลอง เปน็ ต้น

106 ความเข้าใจ (Understanding) เป็นระดับของผลการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถอธิบาย เปรียบเทียบ แยกประเภท ยกตัวอย่าง เขียน แผนภาพ เลอื ก ระบุ เลอื กใช้เกีย่ วกบั เร่อื งตา่ ง ๆ จิตวิทยาศาสตร์ (Scientific mind/Scientific attitudes) เป็นคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคล ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาหาความรู้ โดยใช้กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ จติ วทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ยคณุ ลักษณะต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ความสนใจใฝร่ ู้ ความมุ่งม่นั อดทน รอบคอบ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ประหยัด การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ ่ืน ความมี เหตผุ ล การทำงานรว่ มกับผอู้ นื่ ได้อย่างสรา้ งสรรค์ เจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ (Attitudes Toward Sciences) เป็นความรู้สึกของบุคคลต่อวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยผ่านกิจกรรมท่ี หลากหลาย ความรสู้ ึกดังกล่าว เช่น ความสนใจ ความชอบ การเหน็ ความสำคัญและคณุ คา่