Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Pneu1

Pneu1

Published by kruthaiban, 2018-05-08 04:09:47

Description: Pneu1

Search

Read the Text Version

แผนจัดการเรียนรทู ี่ 1ความรูเบ้อื งตน ของระบบนิวแมติกส ความหมายของนวิ แมติกส ขอ ดแี ละขอเสยี ของระบบนิวแมตกิ ส พืน้ ฐานทางฟสกิ สของนวิ แมตกิ ส กฎเบ้ืองตน ของลมอดั

แผนจดั การเรียนรู หนว ยที่ 1 สปั ดาหท ี่ 1 วิชา นวิ แมตกิ สและไฮดรอลกิ ส จาํ นวน 4 ช่ัวโมง เรอื่ ง ความรูเบอ้ื งตน ของระบบนวิ แมตกิ สหัวขอเรอ่ื งและงาน 1.1 ความหมายของนวิ แมตกิ ส 1.2 ขอดีและขอ เสียของระบบนิวแมตกิ ส 1.3 พนื้ ฐานทางฟส ิกสข องนิวแมติกส 1.4 กฎเบ้อื งตนของลมอดัสาระสําคญั การพัฒนาทางอตุ สาหกรรม มีการคดิ คนเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชล มอดั เปนตัวสง กาํ ลงั เชน การทําเหมืองแร การเจาะอุโมงค การสรางทางรถไฟ การใชเ ครื่องจักรแทนแรงงานคน ทาํ ใหลมอัดเปน ท่นี ิยมใชกันอยางแพรหลายในโรงงานอุตสาหกรรม โดยววิ ัฒนาการจากการใชร ะบบการทํางานงา ยๆ แบบธรรมดาเปนการทํางานโดยอัตโนมัติเชน เบรกลมของรถไฟ การจบั ยึดช้นิ งาน สายพานลําเลียง แขนกล และอนื่ ๆ ระบบนิวแมติกส เปนระบบที่ใชลมอัดหรืออากาศเปนตนกําลัง จึงมีความสัมพันธกับ แรง ความดันความช้ืน และกฎตางๆ ท่เี ก่ียวกบั อากาศสมรรถนะทพ่ี ึงประสงค - ดานพทุ ธิพิสัย จดุ ประสงคท ั่วไป เพ่อื ใหผเู รยี นความรู ความเขาใจความหมายของระบบนิวแมติกส ประวตั คิ วามเปน มา ขอดีและขอ เสีย พ้นื ฐานทางฟส กิ สของนวิ แมตกิ ส หนว ยงานท่ีใชระบบนวิ แมตกิ ส จุดประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม หลงั จากจบบทเรยี นแลวผูเรียนตอ งมคี วามสามารถ… 1. บอกความหมายของระบบนิวแมตกิ สไ ด 2. บอกถึงขอ ดีและขอเสยี ของระบบนวิ แมตกิ สได 3. อธบิ ายคุณสมบัตขิ องอากาศได 4. อธบิ ายกฎเบ้อื งตนของลมอดั ได

แผนจดั การเรียนรู หนวยที่ 1 สปั ดาหท ่ี 1 วิชา นิวแมติกสและไฮดรอลกิ ส จํานวน 4 ช่วั โมง เรอื่ ง ความรเู บอื้ งตนของระบบนวิ แมติกส- ดา นทกั ษะพสิ ัย 1. คํานวณหา ความดนั , ปริมาตร, ความเร็ว และอณุ หภูมิไดถกู ตอง 2. เปลี่ยนหนว ยพื้นฐานทางฟส กิ สท ใ่ี ชใ นระบบนวิ แมติกสได- ดานจติ พิสยั 1. แตงกายไดถกู ตอ งตามระเบียบวิทยาลัย 2. เขา เรยี นตรงตอเวลาเนอ้ื หาสาระ 1.1 ความหมายของนิวแมตกิ ส 1.1.1 นิวแมติกสค วามดันตาํ่ (low pressure pneumatics ) 1.1.2 นวิ แมติกสค วามดันปกติ (normal pressure pneumatics ) 1.1.3 นวิ แมตกิ สความดนั สงู ( high pressure pneumatics ) 1.2 ขอ ดแี ละขอ เสียของลมอัด 1.3 พน้ื ฐานทางฟส ิกสข องระบบนวิ แมตกิ ส 1.3.1 ความดนั (Pressure) 1.3.2 แรง (Force) 1.3.3 อุณหภมู ิ (Temperature) 1.3.4 ความชื้น (Humidity) 1.4 กฎเบอ้ื งตนของลมอดั 1.4.1 กฎของปาสคาล (Pascal Law) 1.4.2 กฎของบอยล-แมริออต (Boyle-Marritt’s Law)

แผนจัดการเรียนรู หนวยที่ 1 สปั ดาหท ี่ 1 วิชา นิวแมติกสและไฮดรอลกิ ส จํานวน 4 ช่วั โมง เรือ่ ง ความรูเ บอ้ื งตนของระบบนวิ แมติกสกจิ กรรมการเรียนการสอน ลําดับข้ัน กิจกรรมผูสอน กิจกรรมของผูเ รียน1. ขน้ั นาํ เขา สูบทเรียน - ใชว ิธกี ารเลาประสบการณเกี่ยวกบั - ถาม-ตอบ ขอสงสยั เกย่ี วนิวแมตกิ สท ี่ เรื่องนิวแมติกสท ี่ใชใ นชีวติ ประจําวนั ใชใ นชีวิตประจําวัน - ใชคําถาม-ตอบกบั ผเู รียน - ผเู รยี นตัง้ ขอ สงสยั ในเน้ือหาเกีย่ วกบั - ใหค วามสําคญั ของเนือ้ หาเก่ยี วกบั ระบบนวิ แมติกส ระบบนิวแมติกส2. ขนั้ ใหเ น้ือหา - ใชก ารบรรยาย ประกอบการถามตอบ - ถาม-ตอบ ขอ สงสยั เก่ยี วกบั เนือ้ หาท่ี เรยี นในหนวยน้ี - ใชการบรรยายประกอบการสาธิต - ผเู รียนจดบันทกึ เนื้อหา และศกึ ษา - ฉายวดี ทิ ศั น ใหผ เู รยี นศึกษาเนอ้ื หาใน เน้ือหาพรอมกบั ครูผสู อน วดี ทิ ัศนเ ร่อื ง “การใชน วิ แมติกสใน - ศกึ ษาเนอ้ื หาดวยตนเองในวีดิทัศน โรงงานอตุ สาหกรรม”3. ขน้ั พยายาม - ใหผเู รียนทาํ แบบทดสอบหลังเรยี น - ผเู รยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน - ใหผ ูเรียนตงั้ ขอ สงสัยหรอื คําถาม - ผูเรยี นคดิ คําถามหรอื ตงั้ ขอ สงสัยใน เกย่ี วกบั เน้ือหาท่ีเรียน เน้ือหาทเ่ี รยี น4. ขน้ั สรปุ ผล - ประเมนิ ผลการทาํ แบบทดสอบหลงั - ผูเรยี นรว มกนั เฉลยแบบทดสอบหลัง เรยี นและเฉลยแบบทดสอบ เรยี น - ถกปญหาใหเ หตุผลสําหรบั - ตรวจสอบวาตนเองทาํ แบบทดสอบผิด แบบทดสอบขอ ทีผ่ เู รียนทําผิด ขอ ไหนบาง - สรปุ เนอ้ื หาทเี่ รียนในหนวยนี้ - รวมกนั สรุปเนื้อหาในหนวยน้ี

แผนจัดการเรียนรู หนวยท่ี 1 สัปดาหท ี่ 1 วชิ า นวิ แมติกสและไฮดรอลกิ ส จาํ นวน 4 ชัว่ โมง เร่ือง ความรเู บอ้ื งตน ของระบบนิวแมตกิ สงานท่มี อบหมายหรอื กจิ กรรมกอนเรยี น - แนะนาํ เนื้อหาวชิ า, ความสาํ คัญ, การนําไปใชง านของวชิ านี้ - ทําแบบทดสอบกอ นเรียนขณะเรยี น - บรรยายเน้อื หา - ถามตอบขอ ปญ หาหลังเรียน - ทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี น - ใหนักศึกษาทบทวนเนื้อหาทเ่ี รยี นหลงั เรยี นจบในหนว ยนี้ - ใหน ักศึกษาศึกษาเนอ้ื หาทีจ่ ะเรียนในหนวยตอไป - ใหนกั ศึกษาสง ประวัตแิ บบยอของตนเองทางอินเตอรเนต

แผนจดั การเรียนรู หนว ยท่ี 1 สปั ดาหท ่ี 1 วชิ า นวิ แมติกสแ ละไฮดรอลกิ ส จํานวน 4 ช่ัวโมง เรือ่ ง ความรเู บอ้ื งตนของระบบนิวแมติกสส่ือการเรียนการสอนส่ือส่ิงพมิ พ - ธรี ะ ไสโม เอกสารประกอบการสอนนวิ แมตกิ สแลละไฮดรอลกิ ส (ปรบั ปรงุ พ.ศ.2545) - ปราการ ผาตสิ ุนทร นิวแมติกสและไฮดรอลิกส พ.ศ.2538 - ประวติ ร ลิมปะวัฒนะ นวิ แมตกิ ส – ไฮดรอลิกส พ.ศ.2539 - มนตรี โชตมิ วิทยและคณะ ไฮดรอลิกส พ.ศ.2539 - ปานเพชร ชนันทร และขวัญชัย สนั ทิพยส มบูรณ นวิ แมติกสอ ตุ สาหกรรม พ.ศ.2539 - ณรงค ตันชวี ะวงค นิวแมติกสและไฮดรอลิกสเ บือ้ งตน พ.ศ.2542โสตทศั น - เครื่องฉายภาพขามศีรษะ - เครอ่ื งฉายวดิ ีทัศนหุนจําลองหรอื ของจรงิ -

แผนจัดการเรียนรู หนวยที่ 1 สปั ดาหท ่ี 1 วิชา นวิ แมติกสแ ละไฮดรอลกิ ส จํานวน 4 ชัว่ โมง เรื่อง ความรูเ บอื้ งตน ของระบบนวิ แมตกิ สการประเมนิ ผล กอ นเรยี น - ใชแบบประเมินผลกอนเรยี น - โดยการสงั เกต ขณะเรยี น - โดยการสงั เกต - ใชก ารถาม ตอบ หลงั เรียน - ใชแบบประเมินผลหลังเรยี น - ใชแ บบประเมนิ ผลดา นจติ พสิ ยั

แผนจัดการเรียนรู หนวยที่ 1 สัปดาหท ี่ 1วชิ า นิวแมติกสและไฮดรอลกิ ส จาํ นวน 4 ช่วั โมงเรอ่ื ง ความรูเบอื้ งตนของระบบนวิ แมตกิ ส บันทกึ หลงั การสอน เน้อื หาท่ีสอน (สาระสาํ คัญ) …………………………………………………………….……………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการสอน …….……………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญหาอุปสรรค ที่เกิดขึ้นระหวางการเรียน การสอน …….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………แนวทางการแกไขปญ หาของครผู สู อน (แนวทางการทาํ วจิ ัย) …….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนจัดการเรียนรู หนว ยที่ 1 วิชา นิวแมติกสและไฮดรอลกิ ส สัปดาหท ่ี 1 เรือ่ ง ความรเู บื้องตน ของระบบนิวแมติกส จาํ นวน 4 ช่ัวโมง แบบประเมนิ กอนและหลังเรียน เร่ือง ความรเู บอ้ื งตนของระบบนิวแมติกส 7. สวนประกอบของระบบนวิ แมตกิ สเ รยี งลําดบั ตามเรอื่ ง หลักการเบ้อื งตน ของระบบนิวแมตกิ ส ความสําคัญท่ถี ูกตองคือขอใด1. ระบบการทาํ งานท่ีใชล มอัดเปนตัวสง กาํ ลังคือ ก. เครอ่ื งอัดอากาศ-กระบอกสบู -วาลวก. คอมเพรสเซอร ง. ไฮดรอลกิ ส ข. กระบอกสูบ-วาลว-ปมลม-เซอรว สิ ยนู ิตข. นวิ แมติกส จ. เทอรโมไดนามิก ค. เครือ่ งอัดอากาศ-เซอรวติ ยูนติ -วาลว-กระบอกสบูค. อีโคโนมิก ง. ถงั เก็บลม-เคร่อื งอดั อากาศ-เซอรวิตยูนติ -กระบอกสูบ2. เครอ่ื งจักรกลทไ่ี มอาศัยการทํางานของระบบนิวแมตกิ สค ือ จ. เครอื่ งอดั อากาศ-เซอรวติ ยนู ติ -กระบอกสูบ-วาลวก. ปน จ่ัน, รถยก ง. สายพานลําเลยี ง 8. ความดัน 1 ปาสคาล มีคาเทาใดข. เล่อื ย, สวา น จ. แขนกล, เคร่อื งไสไม ก. 1 บาร ง. 10 บาร ข. 10-5 บาร จ. 10 นิวตัน/เมตร2ค. มอเตอร, ลูกสบู3. ขอใดเปน อปุ กรณทํางานในระบบนวิ แมติกส ค. 1 กิโลบารก. ปม ลม 9. ความดันท่สี ภาวะบรรยากาศปกตมิ คี า 1.013 บาร คอืข. วาลวกันกลบั ความดันในขอใดค. กระบอกสูบ ก. ความดันเกจง. ชดุ ควบคมุ คุณภาพลมอัด ข. ความดันบรรยากาศจ. วาลวควบคุมความดัน ค. ความดันสมั บูรณ4. ขอใดไมใ ชข อดีของลมอัด ง. ความดันสุญญากาศก. สะอาด จ. ความดันต่ํากวาสุญญากาศข. สง ถายงา ยค. เก็บรกั ษางายง. มรี ะบบหลอ ลน่ื ดวยตวั เองจ. ใชง านเกนิ กาํ ลังไมเ กดิ อันตราย5. ขอเสียของลมอัด ขอใดกลาวผดิก. มคี วามชื้นข. มเี สียงดงัค. สามารถอัดตวั เองไดง. เปลีย่ นแปลงตามอุณหภูมิจ. ไมสามารถใชงานเกินกาํ ลงั ได6. ระบนวิ แมติกสกับระบบไฮดรอลกิ สมีลักษณะคลา ยกนั ในขอใดก. ความดันใชงานข. ความเรว็ ใชงานค. อุณหภูมิใชง านสูงง. ไมตอ งใชน้าํ มนั หลอล่ืนจ. ระบบอุปกรณส ง กําลังคอื กระบอกสูบ

แผนจดั การเรียนรู หนว ยที่ 1 วิชา นวิ แมตกิ สและไฮดรอลกิ ส สปั ดาหท ี่ 1 เรือ่ ง ความรูเ บอ้ื งตนของระบบนวิ แมตกิ ส จาํ นวน 4 ช่ัวโมง10. ความดันทอี่ านคา ตง้ั แตความดันศูนยส ัมบูรณจนถงึ ความดัน 14. การกลั่นตวั เปนหยดนาํ้ เกิดขึ้นไดอ ยางไร ก. ไอนํ้าในอากาศเย็นตัวลงเกจคอื ความดันอะไร ข. ความชื้นทําใหอากาศท่ีอ่ิมตัวเยน็ ลง ค. อากาศอิ่มตัวจากไอน้ําและถูกทําใหเ ย็นก. ความดันเกจ ง. ความช้ืนทาํ ใหอากาศจบั ตวั กันเปนหยดน้ํา จ. อากาศความดนั สงู ลดลงเปน ความดันสัมบูรณข. ความดันบรรยากาศ 15. ปรมิ าตรของอากาศจะเปลี่ยนแปลงเนื่องจากขอใดค. ความดันต่ํากวา สุญญากาศ ก. ความดันเพมิ่ อุณหภูมเิ พม่ิ ข. อณุ หภมู ิเพม่ิ ความดันลดง. ความดันสมั บรู ณ ค. อุณหภูมลิ ด ปริมาตรลด ง. ความดันเพมิ่ ปริมาตรเพมิ่จ. ความดันสญุ ญากาศ 16. กฎทวี่ า “ปรมิ าตรของกาชจะแปรผันตามอุณหภูมิ” คอื ขอ11. ปริมาณไอนํ้าที่มีอากาศในขณะน้นั มหี นวยเปน กรมั / ใด ก. กฎของกา ชลกู บาศกเ มตรเรยี กวา ข. กฎของความดัน ค. กฎของเกย-ลสู แซกก. ความช้ืน ง. กฎของปาสคาล จ. กฎของบอยล-แมรอิ อตข. ความชื้นสมั พัทธค. ความช้ืนสมั บูรณง. ความช้ืนสุญญากาศจ. ปริมาณอ่ิมตวั ของไอน้ํา12. จํานวนไอนา้ํ ที่อากาศสามารถรับไวไดจ นถึงจุดอม่ิ ตวั มหี นวยเปนกรัม/ลูกบาศกเ มตรเรียกวา อะไรก. ความช้ืนข. ความช้ืนสมั พัทธค. ความช้ืนสมั บรู ณง. ปริมาณอมิ่ ตัวของไอน้ํา13. ทคี่ วามดัน P1 = 6 บาร, ปริมาตร 2 ลูกบาศกเมตร ถา เพิม่ปริมาตรเปน 10 ลูกบาศกเ มตร P2 จะมคี า เทาใดก. 12 บาร ง. 30 บารข. 1.2 บาร จ. 33 บารค. 3.33 บาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook