Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบสรุปการดำเนินงาน-Model-Teacher-อุดม 10

แบบสรุปการดำเนินงาน-Model-Teacher-อุดม 10

Published by banlakor school, 2022-08-15 06:15:22

Description: แบบสรุปการดำเนินงาน-Model-Teacher-อุดม 10

Search

Read the Text Version

แบบสรปุ การดำเนนิ งาน Model Teacher โครงการ พฒั นาโรงเรียนบา้ นละกอเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ชือ่ – สกลุ นายอุดม ลีลาน้อย ตำแหน่ง ครู โรงเรยี น บา้ นละกอ สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 2 หน้าทป่ี ฏบิ ตั กิ ารสอนท่ีไดร้ ับมอบหมาย สอนกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รายละเอยี ดการดำเนนิ งานตามกจิ กรรม Lesson Study (PLAN DO SEE) ปฏทิ ินการดำเนนิ งาน ที่ วัน วันท่ี คาบ เวลา กจิ กรรม 1 จันทร์ ๑ พ.ย. 64 1 ๑๖.๐0 – 1๗.00 น. จัดตง้ั ทมี ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ 2 จนั ทร์ ๘ พ.ย. 64 1 ๑๖.๓0 – ๑๗.๓0 น. ประชุมคน้ หาปญั หา หาสาเหตุ และแนวทางการแก้ปญั หาของ นักเรียน 3 จันทร์ ๒๒ พ.ย. 64 1 ๑๖.๓0 – ๑๘.๓0 น. รว่ มออกแบบกจิ กรรมการเรียนรวู้ งรอบที่ 1 4 อังคาร ๓๐ พ.ย. 64 1 ๑๖.๓๐ – ๑๗.๓0 น. ร่วมออกแบบและสะทอ้ นส่ือ/การวัดผลและการประเมนิ ผล/ แบบฝกึ /ใบงาน วงรอบท่ี 1 5 องั คาร ๑๘ ม.ค. 6๕ 1 ๑๐.20 – 1๑.10 น. การปฏบิ ตั กิ ารจดั กจิ กรรมเปดิ ช้นั เรียน วงรอบที่ 1 6 องั คาร ๑๘ ม.ค. 6๕ 1 1๓.30 – 1๔.30 น. ร่วมสะทอ้ นคิดหลังเปิดชน้ั เรยี นวงรอบท่ี 1 2 จันทร์ ๒๔ ม.ค. 6๕ 1 1๕.๐0 – 1๖.๐0 น. รว่ มออกแบบกิจกรรมการเรยี นร้วู งรอบที่ 2 3 จันทร์ ๓๑ ม.ค. 6๕ 1 ๑๓.๐0 – 1๔.๐0 น. ร่วมออกแบบและสะทอ้ นสอ่ื /การวัดผลและการประเมินผล/ แบบฝกึ /ใบงาน วงรอบท่ี 2 4 จันทร์ ๓๑ ม.ค. 6๕ 1 ๑๐.๒0 – ๑๑.๑0 น. การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเปดิ ช้นั เรียนวงรอบที่ 2 5 จนั ทร์ ๓๑ ม.ค. 6๕ 1 ๑๓.๐0 – ๑๔.๐0 น. ร่วมสะทอ้ นคดิ หลงั เปิดช้นั เรยี นวงรอบท่ี 2 ๖ ศกุ ร์ ๔ ก.พ. 6๕ 1 1๕.๐0 – 1๖.๐0 น. รว่ มออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูว้ งรอบท่ี ๓ ๗ จันทร์ ๑๔ ก.พ. 6๕ 1 ๑๓.๐0 – 1๔.๐0 น. รว่ มออกแบบและสะทอ้ นส่ือ/การวดั ผลและการประเมินผล/ แบบฝึก/ใบงาน วงรอบท่ี ๓ ๘ จนั ทร์ ๑๘ เม.ย. 6๕ 1 ๑๐.๒0 – ๑๑.๑0 น. การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเปดิ ช้นั เรยี นวงรอบท่ี ๓ ๙ จนั ทร์ ๑๘ เม.ย.. 6๕ 1 ๑๑.๓๐ – ๑๒.๓0 น. ร่วมสะทอ้ นคิดหลังเปดิ ชน้ั เรยี นวงรอบท่ี ๓

แผนการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ ง การอา่ น ช่ือรายวชิ า ภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๑ เวลา ๕๐ นาที กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วนั ทสี่ อน 2๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 การอ่านจับใจความสำคัญ ครูผู้สอน นายอุดม ลีลานอ้ ย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ; ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้ และความคดิ ไปใช้ตดั สินใจแกปัญหาและสรา้ งวสิ ัยทศั นใ์ น การดำเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ัยรกั การอ่าน ตวั ชี้วดั ตวั ช้วี ดั ท่ี ๒ จับใจความสำคัญจากเร่อื งท่ีอ่าน ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๓ ระบเุ หตผุ ล และข้อเทจ็ จรงิ กับขอ้ คิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่าน จดุ ประสงค์การเรียนรสู้ ูต่ ัวช้ีวัด ๑. นักเรียนอธบิ ายหลกั การอ่านจับใจความสำคัญได(้ K) ๒. นักเรียนสามารถอานจบั ใจความสําคญั จากเรื่องท่อี ่านได้ (P) ๓. นกั เรียนมคี วามมีความกระตือรือร้นและทำงานร่วมกับผอู้ น่ื ได้ดี (A) สาระสำคัญ/เนือ้ หา การอา่ นจบั ใจความสำคัญเปน็ ทักษะการอ่านที่ควรฝกึ ฝน ซึ่งเปน็ การอ่านจับใจความหลักวา่ เรอื่ งราวท่ีอา่ นนนั้ วา่ ด้วยเร่อื งอะไร เปน็ อยา่ งไร มีความสำคัญตรงใหน หมายความวา่ อย่างไร มอี ะไรเกยี่ วข้องบา้ ง และมักใชก้ บั การอ่านเพื่อ การศกึ ษาหาความรู้โดยทวั่ ไป การอา่ นจบั ใจความสำคญั จะช่วยใหผ้ อู้ า่ นเข้าใจเรื่องราวได้อย่างรวดเร็วและเป็นพื้นฐาน สำคัญในการอ่านท่ีดี สาระการเรียนรู้ -หลักการอา่ นจับใจความสำคัญ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร - ทักษะการอ่าน - ทกั ษะการเขยี น - ทักษะการฟงั การดู และการพูด ๒. ความสามารถในการคิด - การจำแนก - การวิเคราะห์ - การสรปุ ความรู้

๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ตัวช้วี ดั ท่ี ๔.๑ ตงั้ ใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัดที่ ๔.๒ แสวงหาความร้จู ากแหล่งเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการเลอื กใช้ สอ่ื อยา่ งเหมาะสม บันทกึ ความรู้ วิเคราะห์ สรปุ เปน็ องค์ความรู้ สามารถนำไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวันได้ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน ตวั ชว้ี ดั ที่ ๖.๑ ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าทก่ี ารงาน ตัวชี้วดั ที่ ๖.๒ ทำงานดว้ ยความเพียรพยายามและอดทนเพ่ือให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย รักความเปน็ ไทย ตัวชี้วัดท่ี ๗.๒ เหน็ คุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม ชนิ้ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) ๑. ใบกจิ กรรมท่ี ๑ จับใจความสำคัญจากเร่ืองท่ีอา่ น การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 การเรยี นรู้ตง้ั คำถาม (Learning to Question) ( 5 นาท)ี ๑. นักเรียนฟงั ครเู ลา่ นทิ าน เร่ือง ลูกแกะหลงฝูงกบั หมาป่า ครูถามนกั เรยี นวา่ นทิ านเร่ืองนก้ี ลา่ วถึงเรื่องอะไร (คำตอบที่คาดหวัง : “เม่ือพบลาภหรือมีโอกาสไดแ้ สดง ความสามารถ หากมัวหลงระเริงมัวแตเ่ หน็ แกค่ วามสนุกสนานลาภและโอกาสน้ันก็จะหลดุ ลอยไปอยา่ งน่า เสียดาย”) ข้ันท่ี 2 การเรียนรแู้ สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search) (1๕ นาท)ี -นักเรียน ๑ คน ออกมาหน้าชั้นเรยี นแล้วเล่านทิ านอสี ปจากเรอ่ื งท่ีครเู ล่า โดยใหเ้ พ่ือนนักเรียนในช้ัน สงั เกตการณ์ลำดับเรอ่ื งและการเล่าว่ามีเนอ้ื เรอ่ื งครบถว้ น หรือมเี นอ้ื เรอื่ งท่ชี ดเจนหรือไม่หากยังมีข้อบกพร่องใหน้ กั เรียน อาสาสมคั ร ๑ คน ออกมาเล่าหนา้ ชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนเปรียบเทยี บและเหน็ ข้อแตกต่างของการเล่านิทานของเพื่อน ทง้ั สองคน -นักเรียนศกึ ษาใบความรเู้ รอื่ งการอ่านจับใจความสำคัญ ขน้ั ที่ 3 การเรยี นรเู้ พ่อื สรา้ งองคค์ วามรู้ (Learning to Construct) (1๐ นาท)ี -นักเรยี นจบั คู่ -นกั เรียนทำใบกิจกรรมโดยอา่ นบทความเร่ือง ผูกขวญั แล้วขีดเส้นใตข้ ้อความที่เปน็ ใจความสำคัญ

-นักเรียนบนั ทึกใจความสำคัญจากเรอ่ื งทอ่ี ่านลงในสมุด ข้ันท่ี 4 การเรยี นรูเ้ พอ่ื การสื่อสาร (Learning to Communicate) (1๐ นาที) -ตัวแทนนักเรียนนำเสนอใบกิจกรรมการอา่ นจบั ใจความสำคัญเร่ือง ผูกขวญั ขั้นที่ 5 การเรียนรู้เพอ่ื ตอบแทนสงั คม (Learning to Service) (๕ นาท)ี -นกั เรียนและครูร่วมกนั สรปุ เรื่องการอ่านจับใจความสำคญั -นักเรียนบอกประโยชนท์ ่ีได้จากการเรียนเร่ืองการอา่ นจบั ใจความสำคญั -นกั เรยี นนำความรทู้ ่ีไดจ้ ากการอ่านจับใจความสำคัญไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน สอื่ การเรยี นรู้ ๑. ใบความรเู้ ร่ือง การอ่านจบั ใจความสำคญั ๒. ใบกจิ กรรม การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๑. วิธีการวัดและประเมนิ ผล ๑) สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ ๓) ตรวจผลงานของนกั เรียน ๒. เครอ่ื งมือ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมิน ๑) การประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตงั้ แต่ ๒ รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน ๑ รายการ ถอื วา่ ไมผ่ ่าน ๒) การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรับปรงุ

ข้อเสนอแนะของวิชาการ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงชอ่ื __________________ฝ่ายวชิ าการ (นางสาวจริ าพร ปัญญารตั นานนท)์ _____/_____/_____ ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นของ นายอดุ ม ลลี านอ้ ย แลว้ มีความคิดเห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรียนที่  ดีมาก  ดี  พอใช้ 2. การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนสาระภาษาไทย มาจัดกจิ กรรมโดย  เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ และจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสมดีมาก  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั และจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมดี  ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 3. เปน็ แผนการจดั การเรียนท่ี  นำไปใช้ได้จรงิ  ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้ ลงช่อื ว่าที่ ร.ต. __________________ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา (สญั ญา เขียวปาน) _____/_____/_____



แบบประเมินการการปฏิบัติกิจกรรม(วงรอบที่ ๑) รายการประเมนิ คะแนน ผลการ ท่ี ช่ือ -สกลุ ความ ทำงาน การให้ความ การรบั ฟัง เต็ม ประเมนิ สนใจและ ทนั เวลาที่ ร่วมมือและ ความ (๑๒ เฉลย่ี ไม่ ผา่ น ผ่าน ตั้งใจเรียน กำหนด ช่วยเหลอื คิดเห็น คะแนน) (๓ (๓ เพือ่ น (๓ คะแนน) คะแนน) (๓ คะแนน) คะแนน) ๑ เด็กชายศุภกิตต์ ชอบสงู เนิน 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒ เดก็ ชายศภุ กานต์ ชอบสงู เนิน 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๓ เดก็ ชายพีระพฒั น์ นสิ สัยหม่ัน 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๔ เดก็ ชายศกลพัฒน์ นาลา 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๕ เด็กชายอดิศร ทศิ กระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๖ เด็กชายวฒุ นิ นั ท์ ทศิ กระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๗ เดก็ ชายวงศกร ชอบบนกลาง 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๘ เดก็ ชายฐิติพัศ ท่อกระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๙ เดก็ ชายธนธรณ์ ทิศกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๐ เด็กชายจกั รกริช ชาญเจรญิ 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๑ เด็กชายพชั รพล ทศิ กระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๑๒ เด็กชายภาคภมู ิ ไตรแป้นมะดัน 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๑๓ เด็กชายธนรัตน์ จิตคง 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๔ เด็กชายรัฐนนท์ เนียดกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๕ เดก็ ชายสุรเสกข์ มาลาทอง 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๖ เด็กชายเมธี ธงกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๗ เด็กชายนฐั กร ทวนกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๘ เด็กชายธนพนธ์ ทะยอมใหม่ 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๑๙ เด็กชายนธิ ิ ทนิ กระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๒๐ เดก็ หญงิ มีรชา อัยยะ 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๑ เด็กหญงิ ดลภา ภมู ิน 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๒ เด็กหญงิ พรธิชา ทนิ กระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๓ เด็กหญงิ ไอศวรรย์ ภดู วงจติ ร 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๔ เดก็ หญงิ จฑุ รามาศ โฆรัษเฐยี ร 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๕ เดก็ หญงิ ณัฐนชิ า ทิศกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๖ เด็กหญงิ เบญญาภา สมบูรณ์ 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๗ เด็กหญิงณชิ านันท์ นากระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๘ เด็กหญงิ วาสนา กลุ ประเสรฐิ 3 3 3 3 ๑๒ 3 /

แบบประเมินการการปฏิบัติกิจกรรม รายการประเมนิ ๓ ระดบั คุณภาพ ๑ ๑. ความสนใจและ มีความกระตือรอื รน้ ในการ ขาดความกระตือรือรน้ ใน ตั้งใจเรียน เรียน ไม่รีรอตงั้ ใจเรยี น ๒ การเรยี น ไม่สนใจอา่ น ไม่ ตงั้ ใจฝึกอ่าน รบี ตอบ กล้าซกั ถามไมต่ อบคำถาม ๒. ทำงานทนั เวลาที่ คำถาม ซักถามเมื่อสงสัย มีความกระตือรอื รน้ ในการ กำหนด เรียน ตง้ั ใจเรยี น ไมค่ อ่ ย ส่งงานไม่ตรงเวลาท่กี ำหนด ๓. การให้ความ ส่งงานทนั เวลาทก่ี ำหนด ตั้งใจฝึกอ่านไม่ค่อยกลา้ หลัง ๑๐ นาที รว่ มมอื และ ซักถาม รีรอในการตอบ ให้ความรว่ มมือในการเรยี น ช่วยเหลือเพอ่ื น ให้ความรว่ มมือในการ คำถาม เมอื่ ถูกตกั เตอื น และ เรยี นและชว่ ยเหลือเพ่ือน สว่ นมากจะทำงานลำพังคน ๔.การรบั ฟังความ ทงั้ ในและนอกกลุ่มอย่าง ส่งงานไมต่ รงเวลาทีก่ ำหนด เดียว คดิ เห็น เต็มความสามารถ 5-๑๐ นาที ตลอดเวลา ไม่ยอมรบั ความคิดเห็นของ รับฟงั และยอมรบั ความ ใหค้ วามร่วมมือและ เพ่ือน ไม่พอใจเมอื่ ความ คดิ เหน็ ของคนสว่ นใหญ่ให้ ชว่ ยเหลือเพ่อื นเฉพาะใน คิดเหน็ ของตนไม่เปน็ ท่ี ความร่วมมือและปฏิบตั ิ กล่มุ ตนเอง หรอื คนท่ีชอบใจ ยอมรับ ตามเสยี งส่วนใหญ่ เทา่ นนั้ และไมต่ ่อเนื่อง ตอ้ ง คอยตักเตือนบ้าง รบั ฟงั และยอมรับความ คดิ เห็นของคนสว่ นใหญ่แต่ บางคร้งั ท่ีไม่พอใจก็ แสดงออกโดยการไมป่ ฏิบัติ ตาม สรปุ ระดับคุณภาพ ระดบั ๓ ๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถึง ดี ระดับ ๒ ๗ – ๙ คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดบั ๑ ๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง การผ่านเกณฑ์ : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ขั้นตำ่ ต้องผ่านระดับ ๒ ขนึ้ ไป

ใบความรู้ เร่ือง การอา่ นจบั ใจความสำคญั การอ่านจับใจความสำคญั คอื การค้นหาสาระสำคญั ขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็น ของเร่อื ง หรอื ของหนงั สอื ท่อี ่าน ใจความสำคญั ของเร่ือง คือ ขอ้ ความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอ่นื ๆในยอ่ หนา้ น้ันหรือเนื้อเร่ือง ทั้งหมด ข้อความตอนหนึง่ หรือเรือ่ งหนึ่งจะมใี จความสำคัญที่สดุ เพียงหนงึ่ เดยี ว ซึ่งใจความสำคัญกค็ ือสิ่ง ทเ่ี ปน็ สาระสำคญั ของเร่อื ง ๑. ข้อควรปฏิบตั ิในการอา่ นจับใจความสำคัญ ๑) อา่ นผา่ นๆโดยตลอด เพอื่ ให้รู้ว่าเรอื่ งทีอ่ ่านเปน็ เรือ่ งเกย่ี วกบั อะไร มีใคร ทำอะไร ที่ ไหน อยา่ งไร เม่ือไร ๒. เมอื่ อา่ นจบแล้ว ให้จำแนกข้อเท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรือ่ งท่ีอา่ น ๓. อา่ นใหล้ ะเอียดอีกครง้ั หน่ึงเพือ่ ทำความเข้าใจเรอื่ งทอี่ า่ น ๔. ให้เขยี นเรยี บเรียงใจความสำคัญของเร่อื งท่อี ่านดว้ ยสำนวนภาษาของตนเอง ๕. อ่านทบทวนเพ่ือตรวจสอบความถูกตอ้ งอีกคร้งั ๒. ตวั อยา่ ง การอ่านจบั ใจความสำคัญ เร่อื ง ค้างคาว คา้ งคาวเป็นสตั ว์ทอ่ี อกหากินในเวลากลางคืน มนั สามารถบินผาดโผนฉวัดเฉวยี นไปมาโดยไมต่ อ้ งพ่ึง สายตา มันอาศยั เสียงสะท้อนกลบั ของตัวมันเอง โดยคา้ งคาวจะส่งสญั ญาณพิเศษ ซึง่ ส่ันและรวดเร็ว เมื่อ สัญญาณไปกระทบส่ิงกดี ขวางดา้ นหน้าก็จะสะท้อนกลบั เขา้ มาทำใหร้ ้วู า่ มอี ะไรอยู่ดา้ นหน้า มันก็จะบินหลบ เลย่ี งไป แมแ้ ตส่ ายโทรศัพทท์ ร่ี ะโยงระยางเป็นเส้นเลก็ ๆ คล่นื เสียงกจ็ ะไปกระทบแล้วสะทอ้ นกลับเข้าหขู องมนั ได้ ไมม่ สี ัตว์ชนดิ ไหนท่จี ะสามารถรับคลน่ื สะทอ้ นกลับได้ใน ระยะใกล้ แตค่ า้ งคาวทำไดแ้ ละบินวกกลับไดท้ ันที

ใจความสำคัญของเรื่อง ค้างคาว ค้างคาวจะออกหากนิ ในตอนกลางคืน โดยไมต่ อ้ งอาศัยสายตา แต่จะอาศยั เสยี งสะทอ้ นกลบั ของ ตวั มันเอง ทำให้หลบหลกี ส่งิ กดี ขวางได้ ใบกิจกรรม คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนอา่ นบทความเร่อื ง ผูกขวัญ แลว้ ขีดเสน้ ใต้ขอ้ ความที่เป็นใจความสำคญั บทความเรือ่ ง ผูกขวัญ การรับขวัญหรอื ผูกขวัญทยี่ ังพอมีผู้ปฏบิ ัติกนั อยู่บา้ งน้ัน คิดวา่ เป็นกิจกรรมแบบฉบบั ท่ีน่าสนใจ และนา่ นยิ มควรแกก่ ารปรับปรุงมาใช้ใหมใ่ ห้กวา้ งขวางเหมาะสมกับกาลสมยั เพราะเป็นกิจกรรมทีใ่ ห้ คณุ ค่าแกช่ ีวติ เสรมิ สุขภาพจิตอยา่ งดยี ่ิง โดยเฉพาะเสรมิ สขุ ภาพจิตและเสริมพัฒนาการของเด็กๆ ผูใ้ หญ่ให้ ความรัก ความอบอุ่น แกล่ ูกหลานนบั แตเ่ กิดจนสน้ิ วยั เรยี นอันเปน็ พ้ืนฐานสำคญั ของชวี ิต โอกาสท่เี ด็กจะมปี ญั หาสุขภาพจิตจะน้อยการเมือ่ โตข้นึ การผูกขวัญทารกเมื่อแรกเกดิ จะจดเวลาตก ฟาก วัน เดือน ปีเกดิ ของทารกไว้ คำว่า ขวญั ตามพจนานุกรมไทยฉบับราชบณั ฑิตยสถาน หมายถงึ สงิ่ หน่ึงทไ่ี มม่ ตี วั ตน (Unmatter) แต่ประจำวันอย่ใู นตัวคนทุกคน ถ้าขวญั อยู่กับตัวจะมีความสขุ ไม่ เป็นทุกข์ ไม่เจบ็ ไข้ ผู้ใหญร่ ับขวญั หรือทำขวัญใหเ้ ด็กเมื่อใดบา้ ง เมอื่ แรกเกดิ ได้ ๓ วัน เมอื่ เกิดได้ครบ เดอื น เมอ่ื โกนจดุ จะเห็นไดว้ า่ ผใู้ หญ่ให้ความสำคญั แก่เดก็ มาก โดยพอ่ ประกาศตนยอมรับต่อหน้า ผคู้ น ณ ทน่ี ัน้ ว่า เขารับทารกเปน็ ลูกตอ้ งรบั ผดิ ชอบเลยี้ งดู เมอื่ ทารกมีชีวติ ได้ ๓ วัน พอ่ แม่ทำขวัญ อกี ครัง้ เรยี กวา่ รับขวัญวัน ซึง่ มีพิธีซบั ซอ้ นขนึ้ ดว้ ยการบอกเจ้าหนา้ ท่ีจดั เคร่ืองบูชาและเครอ่ื งสงั เวย ผกู ข้อมือด้วยสายสิญจน์ และเม่อื ทารกอายุ ๑ เดอื น จะทำขวญั เดือน โดยโกนผมไฟและไวจ้ ุก แกะ หรือโกะ๊ ญาตมิ ิตรจะมาแสดงความยินดี มพี ิธีพทุ ธเม่อื เจริญวยั ขึน้ จะซุกซนตามประสาเด็ก เดก็ อาจ พบสง่ิ ใดทีต่ กใจกลัวเกดิ อาการขวญั หนีหรือขวัญหายผู้ใหญ่กจ็ ะปลอบขวัญหรอื ขวญั เป็นคราวๆ ไป หรือเปน็ ไข้หนักเม่อื หายไข้แลว้ เกรงไข้จะกลับจงึ ทำพิธผี กู ขวัญประกันไว้ ส่วนในพิธโี กนจกุ ซึ่งเปน็ พธิ ี ใหญท่ ัง้ พทุ ธและพราหมณเ์ ด็กจะได้รับการผกู ขวัญอีกดว้ ย อนั เป็นการรบั ขวัญคร้ังสดุ ทา้ ยในช่วงวยั เด็ก กอ่ นจะเข้าสู่วยั รุ่น และวยั ผใู้ หญต่ ่อไป การรบั ขวัญในโอกาสตา่ งๆ ต้ังแตแ่ รกเกิดจนตลอดชว่ งวัยเดก็ เห็นว่า น่าจะเป็นการเสริม พัฒนาการและเสริมสุขภาพจิตของเดก็ เปน็ อย่างดี แสดงใหเ้ ห็นความเข้าใจชวี ิตจติ ใจเด็ก เราไม่หวงั ใหผ้ ูใ้ หญใ่ นปัจจบุ ันรบั ขวัญเด็กดงั ตวั อยา่ งที่ยกมาน้ที กุ ประการ เพียงใหป้ ระยุกต์ภูมปิ ัญญาผู้ใหญ่ สมัยก่อนตามสมควรเท่านั้น (จิตวิทยา กองสุขภาพจิต กรมการแพทย)์

ภาพกิจกรรมวงรอบท่ี 1

แผนการจดั การเรยี นรู้ เรือ่ ง การอา่ น ช่ือรายวชิ า ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ รหสั วชิ า ท๒๑๑๐๑ เวลา ๕๐ นาที กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วันท่สี อน ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 การอา่ นจับใจความสำคญั ครผู สู้ อน นายอุดม ลลี านอ้ ย มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ; ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้ และความคิดไปใช้ตดั สนิ ใจแก้ปัญหาและสรา้ งวสิ ยั ทศั นใ์ น การดำเนนิ ชวี ิต และมีนิสัยรกั การอา่ น ตวั ชี้วดั ตัวชีว้ ดั ที่ ๒ จับใจความสำคญั จากเร่อื งที่อ่าน ตัวช้ีวดั ท่ี ๓ ระบเุ หตผุ ล และข้อเทจ็ จรงิ กับข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่าน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้สู ตู่ ัวช้ีวัด ๑. นักเรยี นอธบิ ายหลกั การอ่านจับใจความสำคญั ได(้ K) ๒. นกั เรียนสามารถอานจับใจความสําคญั จากเรือ่ งที่อ่านได้ (P) ๓. นักเรียนมีความรับผดิ ชอบและทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื ไดด้ ี (A) สาระสำคญั /เนื้อหา การอ่านจบั ใจความสำคัญเปน็ ทกั ษะการอ่านท่ีควรฝกึ ฝน ซ่ึงเป็นการอ่านจบั ใจความหลักวา่ เร่อื งราวทอี่ ่านนั้น ว่า ด้วยเรื่องอะไร เปน็ อยา่ งไร มีความสำคัญตรงใหน หมายความวา่ อย่างไร มีอะไรเก่ยี วข้องบ้าง และมักใช้กบั การอ่าน เพอื่ การศึกษาหาความรู้โดยท่ัวไป การอ่านจบั ใจความสำคัญจะช่วยให้ผอู้ า่ นเข้าใจเรื่องราวไดอ้ ย่างรวดเร็วและเป็น พ้ืนฐานสำคัญในการอ่านทด่ี ี สาระการเรียนรู้ -หลักการอา่ นจับใจความสำคัญ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร - ทักษะการอ่าน - ทกั ษะการเขียน - ทักษะการฟงั การดู และการพูด ๒. ความสามารถในการคดิ - การจำแนก - การวิเคราะห์ - การสรปุ ความรู้

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดท่ี ๔.๑ ตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ัดท่ี ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้ สอื่ อย่างเหมาะสม บนั ทกึ ความรู้ วิเคราะห์ สรปุ เปน็ องค์ความรู้ สามารถนำไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวันได้ มุง่ มัน่ ในการทำงาน ตัวชว้ี ัดที่ ๖.๑ ต้ังใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบัตหิ นา้ ทกี่ ารงาน ตวั ช้ีวัดท่ี ๖.๒ ทำงานดว้ ยความเพยี รพยายามและอดทนเพ่ือใหง้ านสำเรจ็ ตามเป้าหมาย รักความเปน็ ไทย ตัวชีว้ ดั ท่ี ๗.๒ เหน็ คุณค่าและใช้ภาษาไทยในการส่ือสารได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม ช้นิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) ๒. ใบกจิ กรรมที่ ๑ จบั ใจความสำคญั จากเร่ืองที่อา่ น การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ 1 การเรยี นรู้ตัง้ คำถาม (Learning to Question) ( 5 นาท)ี ๓. อาสาสมัคร ๕ คน ออกมาเล่นเกมส่งสาร เม่ือสง่ สารครบทุกคนแล้ว ให้คนสุดท้ายเล่าเร่ืองท่ีไดฟ้ ัง ๔. ครูเปิด power point ที่เป็นข้อความจากเกมส่งสาร ๕. ครูถามนักเรียนวา่ เพ่ือนเล่าได้ครบถว้ นตามข้อมลู จริงหรือไม่ เพราะอะไร (คำตอบที่คาดหวัง : “เล่าไดไ้ ม่ ครบถว้ น เพราะข้อรายละเอยี ดมากเกนิ ไป”) ๖. สว่ นที่เพอื่ นเลา่ ให้ฟงั คือส่วนใด (คำตอบ “ใจความสำคัญ หรอื สาระสำคัญของเรือ่ ง ข้ันท่ี 2 การเรยี นรู้แสวงหาสารสนเทศ (Learning to Search) (1๕ นาที) ๑. นกั เรียนดูใบความรเู้ รอ่ื งการอ่านจบั ใจความสำคญั ๒. ครูฉาย power point หลกั การอ่านจับใจความสำคญั พร้อมอธิบายไปพร้อมกับดใู บความรูเ้ ร่ืองการอา่ น จับใจความสำคญั ขั้นท่ี 3 การเรยี นรู้เพอื่ สรา้ งองคค์ วามรู้ (Learning to Construct) (1๐ นาท)ี -นักเรียนจบั คู่ -นกั เรยี นทำใบกจิ กรรมโดยอา่ นบทความเรื่องที่กำหนดให้ แล้วขดี เสน้ ใตข้ ้อความทเ่ี ป็นใจความสำคัญ -นักเรยี นบนั ทึกใจความสำคญั จากเรื่องท่ีอา่ นลงในสมดุ ขั้นที่ 4 การเรียนรู้เพื่อการสื่อสาร (Learning to Communicate) (1๐ นาที)

๑. ตวั แทนนักเรยี นนำเสนอใบกจิ กรรมการอ่านจับใจความสำคัญจากเรื่องท่ีไดร้ ับมอบหมาย ๒. เฉลยคำตอบจากใบกจิ กรรม ขัน้ ท่ี 5 การเรียนรเู้ พ่อื ตอบแทนสงั คม (Learning to Service) (๕ นาท)ี -นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ เร่ืองการอ่านจบั ใจความสำคญั -นกั เรยี นบอกประโยชนท์ ่ไี ดจ้ ากการเรยี นเร่ืองการอา่ นจบั ใจความสำคัญ -นกั เรยี นนำความรทู้ ี่ได้จากการอา่ นจับใจความสำคัญไปใช้ในชีวติ ประจำวัน สื่อการเรยี นรู้ ๑. ใบความร้เู รือ่ ง การอ่านจับใจความสำคัญ ๒. ใบกจิ กรรม การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๑. วธิ กี ารวัดและประเมินผล ๑) สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒) สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ ๓) ตรวจผลงานของนักเรียน ๒. เครือ่ งมือ ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑก์ ารประเมนิ ๑) การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ ๒ รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผา่ น ๑ รายการ ถอื วา่ ไมผ่ า่ น ๒) การประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรบั ปรุง

ขอ้ เสนอแนะของวชิ าการ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงชอื่ __________________ฝา่ ยวิชาการ (นางสาวจิราพร ปัญญารัตนานนท)์ _____/_____/_____ ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรียนของ นายอุดม ลลี านอ้ ย แล้ว มีความคดิ เหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรียนที่  ดมี าก  ดี  พอใช้ 2. การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนสาระภาษาไทย มาจัดกิจกรรมโดย  เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั และจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมดีมาก  เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั และจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมดี  ยังไมเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ 3. เปน็ แผนการจดั การเรียนที่  นำไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้ ลงช่ือ ว่าที่ ร.ต. __________________ผู้บริหารสถานศกึ ษา (สญั ญา เขียวปาน) _____/_____/_____



แบบประเมนิ การการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม(วงรอบท่ี ๒) รายการประเมิน คะแนน ผลการ เตม็ ประเมิน ท่ี ช่ือ -สกุล ความสนใจ ทำงาน การใหค้ วาม การรับฟัง (๑๒ เฉลี่ย ผา่ น ไม่ และตั้งใจ ทนั เวลาที่ รว่ มมอื และ ความคิดเห็น คะแนน) ผ่าน กำหนด เรยี น ช่วยเหลือ (๓ คะแนน) (๓ คะแนน) (๓ คะแนน) เพอ่ื น (๓ คะแนน) ๑ เด็กชายศุภกิตต์ ชอบสูงเนิน 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒ เด็กชายศภุ กานต์ ชอบสูงเนิน 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๓ เด็กชายพีระพัฒน์ นสิ สยั หม่ัน 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๔ เดก็ ชายศกลพฒั น์ นาลา 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๕ เด็กชายอดิศร ทิศกระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๖ เด็กชายวุฒนิ ันท์ ทิศกระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๗ เด็กชายวงศกร ชอบบนกลาง 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๘ เดก็ ชายฐิตพิ ศั ท่อกระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๙ เดก็ ชายธนธรณ์ ทศิ กระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๐ เดก็ ชายจักรกรชิ ชาญเจริญ 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๑ เดก็ ชายพชั รพล ทศิ กระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๑๒ เด็กชายภาคภูมิ ไตรแป้นมะดัน 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๑๓ เด็กชายธนรตั น์ จติ คง 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๔ เดก็ ชายรฐั นนท์ เนยี ดกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๕ เดก็ ชายสรุ เสกข์ มาลาทอง 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๖ เด็กชายเมธี ธงกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๗ เด็กชายนัฐกร ทวนกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๑๘ เดก็ ชายธนพนธ์ ทะยอมใหม่ 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๑๙ เด็กชายนิธิ ทินกระโทก 3 ๒ 3 3 ๑๑ ๒.๗๕ / ๒๐ เด็กหญงิ มีรชา อยั ยะ 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๑ เด็กหญิงดลภา ภูมนิ 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๒ เด็กหญงิ พรธิชา ทินกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๓ เดก็ หญงิ ไอศวรรย์ ภดู วงจิตร 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๔ เดก็ หญงิ จุฑรามาศ โฆรษั เฐียร 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๕ เด็กหญิงณฐั นชิ า ทิศกระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๖ เด็กหญงิ เบญญาภา สมบรู ณ์ 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๗ เดก็ หญิงณชิ านนั ท์ นากระโทก 3 3 3 3 ๑๒ 3 / ๒๘ เด็กหญิงวาสนา กุลประเสริฐ 3 3 3 3 ๑๒ 3 /

แบบประเมินการการปฏิบัติกิจกรรม รายการประเมนิ ๓ ระดบั คุณภาพ ๑ ๑. ความสนใจและ มีความกระตือรอื รน้ ในการ ขาดความกระตือรือรน้ ใน ตั้งใจเรียน เรียน ไม่รีรอตงั้ ใจเรยี น ๒ การเรยี น ไม่สนใจอา่ น ไม่ ตงั้ ใจฝึกอ่าน รบี ตอบ กล้าซกั ถามไมต่ อบคำถาม ๒. ทำงานทนั เวลาที่ คำถาม ซักถามเมื่อสงสัย มีความกระตือรอื รน้ ในการ กำหนด เรียน ตง้ั ใจเรยี น ไมค่ อ่ ย ส่งงานไม่ตรงเวลาท่กี ำหนด ๓. การให้ความ ส่งงานทนั เวลาทก่ี ำหนด ตั้งใจฝึกอ่านไม่ค่อยกลา้ หลัง ๑๐ นาที รว่ มมอื และ ซักถาม รีรอในการตอบ ให้ความรว่ มมือในการเรยี น ช่วยเหลือเพอ่ื น ให้ความรว่ มมือในการ คำถาม เมอื่ ถูกตกั เตอื น และ เรยี นและชว่ ยเหลือเพ่ือน สว่ นมากจะทำงานลำพังคน ๔.การรบั ฟังความ ทงั้ ในและนอกกลุ่มอย่าง ส่งงานไมต่ รงเวลาทีก่ ำหนด เดียว คดิ เห็น เต็มความสามารถ 5-๑๐ นาที ตลอดเวลา ไม่ยอมรบั ความคิดเห็นของ รับฟงั และยอมรบั ความ ใหค้ วามร่วมมือและ เพ่ือน ไม่พอใจเมอื่ ความ คดิ เหน็ ของคนสว่ นใหญ่ให้ ชว่ ยเหลือเพ่อื นเฉพาะใน คิดเหน็ ของตนไม่เปน็ ท่ี ความร่วมมือและปฏิบตั ิ กล่มุ ตนเอง หรอื คนท่ีชอบใจ ยอมรับ ตามเสยี งส่วนใหญ่ เทา่ นนั้ และไมต่ ่อเนื่อง ตอ้ ง คอยตักเตือนบ้าง รบั ฟงั และยอมรับความ คดิ เห็นของคนสว่ นใหญ่แต่ บางคร้งั ท่ีไม่พอใจก็ แสดงออกโดยการไมป่ ฏิบัติ ตาม สรปุ ระดับคุณภาพ ระดบั ๓ ๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถึง ดี ระดับ ๒ ๗ – ๙ คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดบั ๑ ๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง การผ่านเกณฑ์ : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ขั้นตำ่ ต้องผ่านระดับ ๒ ขนึ้ ไป

ใบความรู้ เรอื่ ง การอ่านจบั ใจความสำคญั การอ่านจบั ใจความสำคัญ คอื การคน้ หาสาระสำคัญ ขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็น ของเร่ือง หรอื ของหนังสือ ท่อี ่าน ใจความสำคัญของเรื่อง คือ ข้อความท่ีมสี าระครอบคลุมขอ้ ความอนื่ ๆในย่อหน้านัน้ หรอื เน้ือเร่อื ง ทั้งหมด ข้อความตอนหนึ่งหรือเร่ืองหน่ึงจะมใี จความสำคัญที่สุดเพียงหนงึ่ เดียว ซงึ่ ใจความสำคัญกค็ อื ส่งิ ที่เปน็ สาระสำคญั ของเร่อื ง ๑. ข้อควรปฏบิ ัติในการอ่านจบั ใจความสำคัญ ๑) อ่านผ่านๆโดยตลอด เพอื่ ให้ร้วู ่าเรอ่ื งที่อ่านเปน็ เรอื่ งเก่ยี วกับอะไร มีใคร ทำอะไร ที่ ไหน อยา่ งไร เม่ือไร ๒. เมือ่ อา่ นจบแล้ว ใหจ้ ำแนกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เห็นจากเรื่องทอ่ี ่าน ๓. อา่ นใหล้ ะเอยี ดอกี ครง้ั หน่งึ เพอ่ื ทำความเข้าใจเร่อื งทอี่ า่ น ๔. ใหเ้ ขียนเรยี บเรยี งใจความสำคัญของเร่ืองทอี่ ่านดว้ ยสำนวนภาษาของตนเอง ๕. อ่านทบทวนเพื่อตรวจสอบความถกู ตอ้ งอีกครงั้ ๒. หาคำกญุ แจ (Key Words) ของเนอ้ื หาในย่อหน้า คำกญุ แจ คือ คำ กลุ่มคำ หรือประโยคทพ่ี บซ้ำๆ ในยอ่ หน้า หาคำกญุ แจในย่อหนา้ ได้กจ็ ะช่วยให้จับใจความสำคัญไดง้ า่ ยและถูกตอ้ งขึ้น เพราะคำกญุ แจมกั จะเป็นประเดน็ สำคญั ของย่อหน้า ลักษณะของคำกุญแจ - คำท่ีเขยี นเหมอื นและมีความหมายเหมอื นกนั ปรากฏซ้ำๆ ในย่อหน้า - คำทเี่ ขยี นตา่ งกันแต่ความหมายเหมือนกัน สอื่ ความหมายไปในทิศทางเดียวกนั • คำที่เขยี นเหมือนกนั ตัวอย่างที่ ๑ คำทเ่ี ขในสว่ นประกอบต่างๆ ของบายศรนี น้ั มีความหมายแฝงอยู่ กรวยขา้ วหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ ใบ ชัยพฤกษ์หรือใบคูณหมายถงึ ใหม้ ีอายุยืนนาน ดอกดาวเรืองหมายถึงความเจรญิ ร่งุ เรือง การเลือ่ นศถาบรรดาศกั ด์ิ ดอกรกั หมายถึงใหม้ ีความรกั มน่ั คง ไข่ตม้ หมายถงึ ความมีปญั ญาเฉียบแหลม เงนิ หมายถึงความโชคดี ส่วนด้าย มงคลเปน็ ตวั แทนของความผูกพนั ทแ่ี นน่ แฟ้นหรือสายสัมพนั ธ์อนั ดที ี่มีตอ่ กัน • ความหมายเหมอื นกนั สื่อควา

ตัวอยา่ งที่ ๑ ส่งิ ท่ชี าวเรือถอื กนั มากก็คือ “หัวเรอื ” นับถอื กนั วา่ เป็นท่ีแมย่ า่ นางอยู่พวกพ่อคา้ แมค่ ้าที่ใชเ้ ปน็ พาหนะ บรรทกุ ของและอยู่อาศยั ไม่ว่าจะเป็นเรือเล็กหรือใหญ่ มกั ไมย่ อมใหใ้ ครเหยียบหัวเรอื แมจ้ ะขา้ มก็ยังไมย่ อมให้ข้าม เจ้าของเรือบางคนเครง่ มาก จะจดุ ธปู บชู าท้ังเช้าและเย็น ที่หัวเรอื บางลำมแี ผน่ ทองเหลืองหุ้มอยา่ งสวยงาม และมี ซองทองเหลืองเล็กๆ ตดิ ไว้ท่ที วนหัวเรือสำหรับปกั ธปู บางท่กี ็มีพวงมาลยั คลอ้ งหัวเรือ ท่ีเคร่งมากๆ ถึงกับจัด อาหารเซ่นทกุ เช้าก็มี ตวั อย่างที่ ๓ มแี มลงมากกวา่ 50 ชนิด ที่คนไทยรจู้ ักนำมาบริโภค เชน่ ตวั ออ่ นของผง้ึ ซ่งึ รบั ประทานได้สดๆ แมลงดา นานำ มาตำกบั น้ำพรกิ แมลงกนิ นู หรอื แมลงอินนู นำมาประกอบอาหารไดห้ ลายประเภท เช่น คั่ว ทอด นึ่ง แต่ ต้องแกะปีก และขาออกก่อน แมลงกุดจี่หวาย นำมารบั ประทานหรอื ประกอบอาหารได้หลายชนดิ แมลงกระชอน นิยมนำมาปรงุ เปน็ อาหารโดยการทอด ค่ัว นงึ่ หมก แกง ยำ ลาบ แมลงกุดจี่เล็กตัวเมียเม่ือจบั ไดต้ อ้ งนำมาแช่น้ำ เพ่อื ใหถ้ า่ ยสิ่ง สกปรกออกมากอ่ นรับประทานได้เช่นเดยี วกับแมลงกุดจแ่ี ละแมลงกดุ จ่หี วาย แมลงทบั นำมา รบั ประทานได้โดยการ ป้ิง ค่ัว ทอด หรือนึ่ง แมลงเปง้ หรือ นางพญามดแดง นำมาทำอาหารประเภทยำเน่ืองจาก มีรสเปร้ยี ว ไข่มดแดงนำมา ประกอบอาหารไดห้ ลากหลายชนิด ต้งั แต่ ชุบไข่ทอด ยำ หรอื ใส่แกง ฯลฯ แจ (key words) ของเนือ้ หาในย่อ หน้า. อา่ นเรื่องเ๑. อ่านเรื่องเพอ่ื ทาความเข้าใจภาพรวมของเนือ้ หา ความเข้าใจภาพรวมของเนื้ อหาสาระ

ชุดที่ ๑ ๑............... ใบกจิ กรรม ................. ................. การอ่านจบั ใจความสำคัญ ................. ชวี ติ คนเมืองหลวงในปจั จุบนั มีแต่ความเครง่ เครยี ดและเร่งรีบในการ ................. ................ ปฏบิ ัตภิ ารกจิ ตา่ งๆ ในชวี ติ ประจำวนั ทำใหบ้ างครั้งรบั ประทานอาหารไมเ่ ป็นเวลา เลขท่ี หรือไมไ่ ดร้ ับประทานอาหารตรงตามม้อื อาหาร บางคนต้องงดเว้นอาหารบางม้ือไปกม็ ี ................. ปญั หาเหลา่ นท้ี ำให้ร่างกายไมไ่ ดร้ ับพลงั งานและสารอาหารทตี อ้ งการอยา่ งเพยี งพอใน ...... แต่ละวัน อนั มีผลกระทบตอ่ สุขภาพทำให้ภูมคิ มุ้ กันรา่ งกายออ่ นแอ เกดิ ภาวะติดเชือ้ ๒............... โรคได้ง่าย และเกดิ เจบ็ ปว่ ยการรบั ประทานอาหารไมค่ รบทกุ ม้ือนบั วา่ มโี ทษต่อ ................. สขุ ภาพอยา่ งยง่ิ ................. ใจความสำคัญ ................. ................. ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................เ.ล...ข..ท...่ี ... ............................................................................................................................. ...................................................................... ...... รายชื่อสมาชกิ ๑...................................................................................................เลขท่ี....................... ๒...................................................................................................เลขท.่ี ......................

ชุดท่ี ๒ ๑............... ................. ................. ใบกจิ กรรม ................. การอา่ นจบั ใจความสำคัญ ................. ................ อาหารม้ือหลกั ที่ไมค่ วรงดก็คือ อาหารม้ือเชา้ เนอ่ื งจากตอนเช้าเปน็ การเริม่ ต้นทำกจิ กรรมตา่ งๆเลขที่ ในชีวิต อาหารม้อื เชา้ จะทำให้รา่ งกายไดร้ ับพลังงานและสารอาหารอย่างเพยี งพอ สามารถปฏบิ ัติงานใน................. แต่ละวนั ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ อกจากน้รี ะยะเวลาระหว่างมอื้ เยน็ กับม้ือเช้าห่างกนั ถงึ ๑๒ ชว่ั โมง ...... อาหารที่ได้รบั ประทานต้ังแต่มือ้ เย็น จะถกู เผาผลาญเปน็ ลังงานจนหมดสิน้ ระดบั นำ้ ตาลในเลอื ดก็ลด ๒............... ตำ่ ลง จงึ ทำให้ร่างกายต้องการอาหารเพื่อสร้างพลงั งานใหม่ ................. ใจความสำคัญ ................. ............................................................................................................................. ..................................................... ................. .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................... ................. ............................................................................................................................. ..................................................... ................ เลขท่ี ................. ...... รายชื่อสมาชกิ ๑...................................................................................................เลขท่ี....................... ๒...................................................................................................เลขที่.......................

ชดุ ที่ ๓ ๑............... ................. ใบกิจกรรม ................. การอ่านจับใจความสำคัญ ................. ................. สาเหตุสำคญั ท่ที ำใหห้ ลายคนไม่รับประทานอาหารเช้ามี ๒ ประการ คือประการแรก ไม่ ................ ไรมับพ่ ปรรอ้ะมทใานนกอาารหเตารรเียชม้าอเพาหราาะรมเชม่ ้าเี ววลธิ าแี พกอ้ปญันอหนานต้ีคน่ื อืสกายารตทอ้ ำงอรบีาหไปารโรทง่งี เ่ารยียๆนหสระือดไวปกทรำวงาดนเร็วจึงไไมมต่ ส่ ้อะงดพวิถกีพแิถล.นัะ....เ.ล.....ข.....ท...ี่.... มากนักเชน่ ขา้ วไขเ่ จียว ไข่ตม้ แซนวชิ ฯลฯ ประการท่สี อง ไมร่ บั ประทานอาหารเช้าเพราะกลวั อ้วน หรอื ตอ้ งการลดน้ำหนักวิธีแก้ปญั หานี้ไม่ใช่การงดอาหารมื้อใดมื้อหน่ึง แตค่ วรรับประทานอาหารใหค้ รบ๒............... ................. ทุกมอื้ โดยการควบคมุ อาหารและใหไ้ ดส้ ารอาหารถกู ต้องตามหลักโภชนาการ ................. ใจความสำคัญ ................. ............................................................................................................................. ...................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ................ .................................................................................................................................................................................. เลขท่ี ..................................................................................................................... .............................................................................. ...... รายช่ือสมาชกิ ๑...................................................................................................เลขท่ี....................... ๒...................................................................................................เลขท่.ี ......................

ชุดท่ี ๔ ๑............... ................. ใบกจิ กรรม ................. การอา่ นจบั ใจความสำคัญ ................. ................. โบราณน้ันใช้บา้ นคเปนน็ ไททเยี่ กนิด้ันกถาือรวคา่ลบอ้าดนลเูกปจ็นะสกิ่งรสะําทคาํัญกตนั อ่ ทชี่บวี า้ ิตนตโงั้ดแยตมเ่ หีกิดมไอปพจ้ืนนบตา้ านยทเี่เพรรยี ากะวค่านหไมทอย.........เ..ล.....ข.....ท.....ี่....... ตาํ แยเป็นผู้ทาํ คลอดมไิ ด้ใช้โรงพยาบาลหรือสถานผดุงครรภอ์ ยา่ งในปจั จบุ นั น้ีและท่ีสุดของชีวิต ...... เมื่อมีการตายเกิดข้ึนคนไทยกจ็ ะเกบ็ ศพของผูต้ ายท่ีเป็นสมาชกิ ของบา้ นไว้ในบา้ นก่อนที่จะทาํ๒............... พิธเี ผา ................. ใจความสำคญั ................. ................. .................................................................................................................................................................................. ................. ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... ................ ....................................................................................................................................................................... ........... เลขท่ี ................. ...... รายชือ่ สมาชิก ๑...................................................................................................เลขท.ี่ ...................... ๒...................................................................................................เลขท.่ี ...................... ใบกจิ กรรม ชุดที่ ๕ การอา่ นจบั ใจความสำคญั ๑............... ................. ................. ................. ................. ................ เลขที่

คารโ์ บไฮเดรตเปน็ สารอาหารทส่ี ำคญั ท่ีสดุ ในบรรดาสารอาหารทใ่ี หพ้ ลงั งานแกร่ า่ งกาย จาก สดั สว่ นของพลังงานท่ีได้จากอาหารทงั้ หมดใน ๑ วนั จะมคี าร์โบไฮเดรตประมาณรอ้ ยละ ๔๐-๘๐ ซ่งึ จะ สงู กวา่ ท่ไี ดจ้ ากไขมันและโปรตีน สำหรับการกินข้าวของคนไทย สดั ส่วนของข้าวก็จะมากกวา่ กับขา้ ว กรณีเช่นนี้สอดคล้องกับหลกั วชิ าการท่ีว่าพลงั งานทีไ่ ด้จากอาหารนนั้ ควรไดจ้ ากคารโ์ บไฮเดรตเป็นหลัก ลองลงมาคือไขมันกบั โปรตนี ใจความสำคญั ............................................................................................................................. ..................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... รายช่อื สมาชิก ๑...................................................................................................เลขท่ี....................... ๒...................................................................................................เลขท่ี....................... ภากกิจกรรมวงรอบท่ี 2

แผนการจัดการเรยี นรู้ เรื่อง การอา่ น ชื่อรายวิชา ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ รหสั วิชา ท๒๑๑๐๑ เวลา ๕๐ นาที กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วนั ทส่ี อน ๑๘ เมษายน ๒๕๖๕ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ การอา่ นจบั ใจความสำคญั ครูผ้สู อน นายอดุ ม ลลี านอ้ ย

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ; ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้ และความคดิ ไปใช้ตดั สนิ ใจแก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศนใ์ น การดำเนินชีวติ และมนี สิ ัยรกั การอ่าน ตัวช้ีวัด ตวั ชว้ี ดั ที่ ๒ จบั ใจความสำคญั จากเรือ่ งท่ีอ่าน ตัวช้วี ดั ท่ี ๓ ระบเุ หตผุ ล และข้อเทจ็ จริงกับขอ้ คิดเหน็ จากเรื่องที่อา่ น จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้สู่ตวั ช้ีวัด ๑. นกั เรียนรู้หลักการอ่านจบั ใจความสำคัญได้ (K) ๒. นักเรยี นสามารถแยกสาระสําคัญกับพลความในเรื่องท่ีอ่านได้ (P) ๓. นกั เรยี นมีความสามคั คีรว่ มใจกันทำงานในกลุม่ (A) สาระสำคญั /เน้อื หา การอ่านจับใจความสำคัญเป็นทักษะการอ่านที่ควรฝึกฝน ซ่ึงเป็นการอ่านจับใจความหลักวา่ เรือ่ งราวทีอ่ ่านนน้ั ว่า ดว้ ยเรอื่ งอะไร เป็นอยา่ งไร มีความสำคญั ตรงใหน หมายความวา่ อย่างไร มีอะไรเกย่ี วข้องบ้าง และมักใชก้ บั การอา่ น เพอื่ การศึกษาหาความรโู้ ดยท่ัวไป การอา่ นจับใจความสำคัญจะช่วยให้ผอู้ า่ นเข้าใจเรอื่ งราวได้อยา่ งรวดเรว็ และเป็น พ้นื ฐานสำคัญในการอ่านทดี่ ี สาระการเรียนรู้ - การอา่ นจับใจความสำคัญจากสือ่ ตา่ งๆ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร - ทกั ษะการอ่าน - ทักษะการเขียน - ทักษะการฟงั การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคิด - การจำแนก - การวเิ คราะห์ - การสรปุ ความรู้ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ความมีวนิ ัย ตวั ช้ีวัดท่ี 3.2 ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั และรบั ผิดชอบในการทำงาน ใฝเ่ รียนรู้

ตัวชวี้ ดั ที่ ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ ตัวชว้ี ัดที่ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการเลือกใช้ สอื่ อย่างเหมาะสม บนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ สรปุ เปน็ องค์ความรู้ สามารถนำไปใชใ้ น ชวี ติ ประจำวันได้ มุง่ มั่นในการทำงาน ตัวชีว้ ดั ที่ ๖.๑ ตัง้ ใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัติหนา้ ท่กี ารงาน ตวั ชว้ี ัดท่ี ๖.๒ ทำงานดว้ ยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย รักความเปน็ ไทย ตัวชว้ี ัดท่ี ๗.๒ เห็นคุณคา่ และใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม ความมีวนิ ยั ตวั ช้วี ดั ท่ี 3.2 ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน และรับผดิ ชอบในการทำงาน ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้) ๓. ใบกิจกรรมท่ี ๑ หาใจความสำคัญจากเร่ืองที่อา่ น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 การเรยี นรูต้ ง้ั คำถาม (Learning to Question) ( 5 นาที) ๗. ครเู ปดิ เพลง “ส้มตำ” พร้อมเนือ้ เพลงบนจอโทรทัศน์ ๘. ครูต้ังคำถามเพลงท่ีนักเรยี นฟังจบลงไปช่อื เพลงอะไร (เพลงสม้ ตำ) ๙. จากเพลงดังกลา่ วเขากลา่ วถึงเรอ่ื งอะไร (วิธีการตำส้มตำ วธิ กี ินส้มตำ) ๑๐.ใจความสำคญั ของเพลงคอื อะไร (วิธีการตำส้มตำ วธิ กี นิ สม้ ตำ) ข้ันท่ี 2 การเรียนรู้แสวงหาสารสนเทศ (Learning to Search) (1๕ นาที) ๓. นกั เรยี นจบั คู่ตามความสมัครใจ ๔. นกั เรียนดูใบความรูห้ ลักการอ่านจบั ใจความสำคัญ ๕. ครูฉาย power point หลักการอา่ นจับใจความสำคัญพรอ้ มอธบิ าย ครตู ้ังคำถามนักเรยี นมีหลกั สงั เกตใจความสำคัญ คำตอบ : สังเกตคำเชื่อมแสดงการให้คำจำกัดความ “คอื ” “เป็น” “หมายถงึ ” “หมายความวา่ ” “ประโยคใจความสำคญั มกั เป็นประโยคผล” - สังเกตคำเชือ่ มแสดงการยกตวั อยา่ ง “เชน่ ” “ได้แก”่ “ดังจะเหน็ ไดจ้ าก” “อาท”ิ - หา้ มนำตวั เปรยี บมาตอบเป็นประโยคใจความสำคัญ ใจความสำคญั สว่ นใหญ่มักอยู่ในส่วนใดของย่อหน้า คำตอบ : “สว่ นต้นของย่อหนา้ ” “ส่วนท้ายของย่อหน้า” ขัน้ ที่ 3 การเรยี นรู้เพอื่ สร้างองค์ความรู้ (Learning to Construct) (1๐ นาท)ี ๑. นักเรยี นทำใบกจิ กรรมโดยอา่ นบทความเร่อื งทีก่ ำหนดให้ แลว้ บอกประโยคใจความสำคญั ลงในใบกิจกรรม ขั้นที่ 4 การเรยี นรู้เพ่อื การสื่อสาร (Learning to Communicate) (1๐ นาท)ี ๑. สุม่ นักเรยี นนำเสนอใบกจิ กรรมการอ่านจับใจความ สำคัญจากเรอ่ื งท่ีได้รับมอบหมาย สมุ่ จากชดุ ใบกิจกรรม ชดุ ละ ๑ คู่

ขั้นท่ี 5 การเรยี นรู้เพอื่ ตอบแทนสงั คม (Learning to Service) (๕ นาที) -นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุป เรอ่ื งการอา่ นจับใจความสำคัญ -นักเรยี นบอกประโยชน์ทไ่ี ด้จากการเรยี นเรือ่ งการอา่ นจับใจความสำคัญ -นกั เรยี นนำความรูท้ ี่ไดจ้ ากการอา่ นจับใจความสำคญั ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน สือ่ การเรียนรู้ ๑. ใบความรู้เรอื่ ง การอา่ นจบั ใจความสำคัญ ๒. ใบกจิ กรรม การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๑. วิธีการวดั และประเมินผล ๑) สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ๒) สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ ๓) ตรวจผลงานของนกั เรียน ๒. เครอ่ื งมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ๓. เกณฑก์ ารประเมิน ๑) การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผา่ น ผา่ น ๑ รายการ ถอื วา่ ไม่ผา่ น ๒) การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ควรปรับปรุง ข้อเสนอแนะของวชิ าการ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงชื่อ__________________ฝา่ ยวิชาการ (นางสาวจริ าพร ปัญญารตั นานนท์)

_____/_____/_____ ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรียนของ นายอดุ ม ลลี านอ้ ย แลว้ มีความคิดเหน็ ดงั น้ี 1. เปน็ แผนการจัดการเรียนท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้ 2. การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนสาระภาษาไทย มาจัดกิจกรรมโดย  เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ และจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนได้อยา่ งเหมาะสมดมี าก  เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั และจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสมดี  ยังไมเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 3. เป็นแผนการจดั การเรียนที่  นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้ ลงชือ่ วา่ ท่ี ร.ต. __________________ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา (สญั ญา เขียวปาน) _____/_____/_____



แบบประเมินการการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม(วงรอบท่ี ๓) รายการประเมนิ คะแนน ผลการ เต็ม ประเมนิ ความสนใจ ทำงาน การใหค้ วาม การรบั ฟงั (๑๒ เฉล่ีย และตง้ั ใจ ทนั เวลาที่ ร่วมมือและ ความคิดเหน็ คะแนน) ท่ี ชอ่ื -สกุล กำหนด ผ่าน ไม่ เรยี น ชว่ ยเหลอื (๓ คะแนน) (๓ คะแนน) (๓ คะแนน) เพือ่ น ผา่ น (๓ คะแนน) ๑ เดก็ ชายศุภกติ ต์ ชอบสงู เนิน ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๒ เดก็ ชายศภุ กานต์ ชอบสงู เนิน ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๓ เดก็ ชายพีระพฒั น์ นิสสัยหม่ัน ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๔ เด็กชายศกลพฒั น์ นาลา ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๕ เด็กชายอดิศร ทศิ กระโทก ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๖ เด็กชายวฒุ นิ นั ท์ ทิศกระโทก ๗ เด็กชายวงศกร ชอบบนกลาง ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๘ เด็กชายฐิตพิ ัศ ท่อกระโทก ๙ เด็กชายธนธรณ์ ทศิ กระโทก ๑๐ เด็กชายจักรกรชิ ชาญเจริญ ๑๑ เดก็ ชายพชั รพล ทศิ กระโทก ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๑๒ เดก็ ชายภาคภมู ิ ไตรแป้นมะดัน ๑๓ เดก็ ชายธนรตั น์ จิตคง ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๑๔ เด็กชายรฐั นนท์ เนียดกระโทก ๑๕ เดก็ ชายสรุ เสกข์ มาลาทอง ๑๖ เด็กชายเมธี ธงกระโทก ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๑๗ เด็กชายนฐั กร ทวนกระโทก ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๑๘ เดก็ ชายธนพนธ์ ทะยอมใหม่ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๑๙ เดก็ ชายนธิ ิ ทินกระโทก ๒๐ เด็กหญงิ มรี ชา อัยยะ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๒๑ เด็กหญงิ ดลภา ภมู นิ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๒๒ เดก็ หญิงพรธิชา ทินกระโทก ๒๓ เดก็ หญิงไอศวรรย์ ภูดวงจิตร ๒๔ เดก็ หญงิ จฑุ รามาศ โฆรษั เฐยี ร ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๒๕ เด็กหญงิ ณัฐนชิ า ทศิ กระโทก ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๒๖ เด็กหญิงเบญญาภา สมบูรณ์ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๒๘ เด็กหญิงณชิ านันท์ นากระโทก ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ / ๒๘ เดก็ หญิงวาสนา กลุ ประเสริฐ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ๓ /

แบบประเมินการการปฏิบัติกจิ กรรม (P๑) รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๑. ความสนใจและ ตั้งใจเรียน ๓๒ ๑ ๒. ทำงานเสร็จใน มีความกระตือรอื รน้ ในการ มีความกระตือรอื รน้ ในการ ขาดความกระตือรือรน้ ใน เวลาท่ีกำหนด เรยี น ไม่รีรอต้ังใจเรยี น เรยี น ตง้ั ใจเรยี น ไมค่ อ่ ย การเรยี น ไม่สนใจทำ ๓. การให้ความ ร่วมมอื และ ตง้ั ใจทำกจิ กรรม รบี ตอบ ตัง้ ใจทำกจิ กรรม ไมค่ ่อยกลา้ กจิ กรรม ไม่กล้าซักถามไม่ ช่วยเหลือเพ่อื น คำถาม ซักถามเม่ือสงสยั ซกั ถาม รีรอในการตอบ ตอบคำถาม ๔.การรับฟงั ความ คดิ เหน็ คำถาม ส่งงานเสรจ็ ตามเวลาที่ สง่ งานล่าช้ากวา่ เวลาที่ สง่ งานลา่ ช้ากว่าเวลาท่ี กำหนด กำหนด 5 นาที กำหนด หลงั ๖ นาทีข้ึนไป ให้ความร่วมมือในการ ใหค้ วามรว่ มมือและ ใหค้ วามร่วมมือในการเรียน เรียนและช่วยเหลอื เพ่ือน ช่วยเหลอื เพื่อนเฉพาะใน เมอ่ื ถูกตักเตือน และ ท้งั ในและนอกกลมุ่ อยา่ ง กล่มุ ตนเอง หรอื คนทีช่ อบใจ สว่ นมากจะทำงานลำพังคน เต็มความสามารถ เทา่ น้นั และไมต่ ่อเนอ่ื ง ต้อง เดียว ตลอดเวลา คอยตักเตือนบ้าง รบั ฟงั และยอมรับความ รับฟงั และยอมรับความ ไมย่ อมรับความคิดเห็นของ คดิ เหน็ ของคนสว่ นใหญใ่ ห้ คดิ เห็นของคนส่วนใหญแ่ ต่ เพอื่ น ไม่พอใจเม่ือความ ความรว่ มมอื และปฏบิ ตั ิ บางครง้ั ที่ไม่พอใจก็ คดิ เห็นของตนไมเ่ ปน็ ท่ี ตามเสยี งสว่ นใหญ่ แสดงออกโดยการไม่ปฏบิ ตั ิ ยอมรับ ตาม สรปุ ระดับคณุ ภาพ ระดบั ๓ ๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถงึ ดี ระดับ ๒ ๗ – ๙ คะแนน หมายถึง พอใช้ ระดบั ๑ ๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ ปรับปรุง การผ่านเกณฑ์ : ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ข้ันตำ่ ต้องผ่านระดบั ๒ ขึ้นไป

ใบความรู้ เร่อื งการอ่านจับใจความสาคัญ (ตดั ส่วนขยายใจความสาคัญ (พลความ) ทิง้ ) ………………………………………………………………………………… ✓ หลักในกาสังเกตใจความสาคญั (ต่อจำกช่วั โมงท่ผี ่ำนมำ) ๓. ตดั สว่ นขยายใจความสาคญั (พลความ) ทิง้ ย่อหน้าแต่ละย่อหน้าจะประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบสาคัญ ๒ ส่วน คือ ๑. ความคิดหลกั (Main Idea) ท่ผี เู้ ขยี นมงุ่ เสนอ มกั จะปรำกฏเป็นประโยคใจควำมสำคัญ (Topic Sentence) หน่ึงประโยค ๒. ประโยคขยายใจความสาคัญ (Supporting Sentence) จะมีจำนวนเท่ำใดขนึ้ อย่กู บั ผเู้ ขียนว่ำ ตอ้ งกำร ขยำยควำมใหล้ ะเอียดชดั เจนเพียงใด หำกนกั เรียนทรำบถงึ วิธีกำรขยำยประโยคใจควำมสำคญั แลว้ ก็จะทำใหห้ ำประโยคใจควำม สำคญั ไดง้ ำ่ ยขนึ้ ดว้ ยกำรตดั ประโยคขยำยใจควำมสำคญั ทงิ้ ๓.๑ การให้คาจากดั ความ (การให้นิยาม, การให้ความหมาย) ✓ อธิบำยควำมหมำยของคำหรอื ส่งิ ใดส่ิงหนึง่ ในเนือ้ เรื่อง ✓ สงั เกตคำเช่ือมแสดงกำรใหค้ ำจำกดั ควำม “คือ” “เป็น” “หมำยถงึ ” “หมำยควำมวำ่ ” ๓.๒ การอธิบายใหร้ ายละเอยี ด ✓ ชแี้ จงรำยละเอยี ด ขยำยควำมเรอื่ งรำว ✓ บรรยำยหรืออธิบำยลกั ษณะของสงิ่ ตำ่ งๆ สถำนท่ี หรือ ลำดบั เหตกุ ำรณ์ ๓.๓ การให้เหตุผล โครงสร้างของการให้เหตผุ ล ๓.๓.๑ เหตุ + คำเช่ือมกลมุ่ “จงึ ” +ผล ๓.๓.๒ ผล + คำเช่ือมกลมุ่ “เพรำะ” +เหตผุ ล ประโยคใจควำมสำคญั มกั เป็นประโยคผล ๓.๔ การยกตวั อย่าง - มกั ใชร้ ว่ มกบั วิธีอ่ืน - สงั เกตคำเช่ือมแสดงกำรยกตวั อยำ่ ง “เชน่ ” “ไดแ้ ก”่ “ดงั จะเหน็ ไดจ้ ำก” “อำท”ิ ๓.๕ การเปรยี บเทยี บ วิธีเปรยี บเทยี บ ๓.๕.๑ ยกเรื่องรำวเป็นอทุ ำหรณข์ นึ้ มำก่อนแลว้ จงึ สรุปประเดน็ สำคญั ท่ตี อ้ งกำรนำเสนอไวเ้ ป็น ประโยคใจควำมสำคญั ทำ้ ยยอ่ หนำ้

๓.๕.๒ เปรียบเทียบโดยใชข้ อ้ ควำมท่ีเป็นอปุ มำ แลว้ อธิบำยขยำยควำมใหช้ ดั ๓.๕.๓ เปรียบเทยี บของสองสงิ่ ท่มี ีลกั ษณะเหมอื นหรือตำ่ งกนั ✓ สงั เกตคำเช่ือมแสดงกำรเปรียบเทียบ “เหมือน” “เปรียบเสมือน” “ปำน” “ดจุ ” ✓ โครงสรำ้ งของกำรเปรียบเทียบ ตวั ตงั้ + คำเช่ือมแสดงควำมเปรียบเทยี บ + ตวั เปรียบ หำ้ มนำตวั เปรียบมำตอบเป็นประโยคใจควำมสำคญั ตัวอยา่ งท่ี ๑ • ป๋ องแป๋ ง สันนิษฐานว่าเป็ นของเลน่ ทอ่ี าจจะเข้ามาในเมอื งไทย พร้อมกบั ชาว จนี กเ็ ป็ นได้ เพราะแตเ่ ดมิ นั้นของเล่นชนิดนีเ้ ป็ นสญั ลกั ษณ์ ของคนจนี ย้อมผ้า ทห่ี าบ ป๊ี บยอ้ มผา้ ไปตามบ้านและกจ็ ะถอื กลองหรอื ป๋ องแป๋ งนีแ้ กวง่ ไปมาเพอื่ ให้รู้ว่าชา่ งยอ้ ม ผา้ มาแลว้ ใครจะย้อมผา้ ก็ใหเ้ อาผ้าออกมา ตัวอย่างท่ี ๒ “สุวรรณภูมิ” อนั หมายถึง ดนิ แดนแห่งทองคา ปรากฏการเรียกขานในเอกสาร โบราณมาช้านาน เชน่ หนังสือมหาวงศ์ (พงศาวดารของลังกา) นิทานชาดกของ อินเดีย และนิทานเปอรเ์ ซยี ในอหิ ร่าน แม้กระท่งั ในเอกสารโบราณของชาวฮ่ันและ ชาวจีนก็นิยมเรียกดนิ แดนนีว้ า่ “จนิ หลนิ ” หรือ “กิมหลิน” ซง่ึ มคี วามหมายเดียวกับชอื่ สุวรรณภมู ิ ตัวอยา่ งท่ี ๓ ภเู ขาหนิ ปนู มสี ารบางชนิดในหนิ ละลายไดเ้ มอื่ ถูกน้า ทาใหม้ ีน้าใต้ดินไหลลอด ผา่ นโพรงใต้ภเู ขา หาก บางช่วงกจ็ ะโผล่ขนึ้ มาทพ่ี นื้ ดนิ กลายเป็ นลาห้วย แต่ ไมน่ านน้าใต้ ดินจะไหลลอดแผน่ หนิ หายไปอกี ดงั นั้น ลกั ษณะพนื้ ดินและภเู ขาทเี่ ป็ นหนิ ปนู จงึ เป็ นโพรง

ตัวอย่างตัวอยา่ งท่ี ๔ งานเขียนเช่นเดยี วกบั อาหาร บางชนิดทาใหร้ ่างกายเติบโต บางชนิดเป็ นวิตามนิ ทาให้ ร่างกายสดชืน่ กระปรีก้ ระเปร่า บางชนิดบารุงสมอง บารุงปัญญา บารุงจติ ใจ สร้างพลงั งาน จะเขยี นอย่างไรกไ็ ด้ ขอ้ สาคญั คอื ไม่ควรปรุงอาหารบดู อาหารเป็ นพษิ แก่ร่างกาย มแี ตโ่ ทษ ไม่ได้ให้คุณหรือสร้างสรรคอ์ ะไร พลความ การใหค้ า การให้เหตผุ ล จากดั ความ การยกตัวอย่าง การ เปรยี บเทยี บ การอธบิ ายให้ รายละเอยี ด

ชดุ ที่ ๑ ๑............... ................. ใบกจิ กรรม ................. การอา่ นจบั ใจความสำคญั ................. ................. หากต้องการให้งานท่ีจดั ประสบความสำเร็จ ไมม่ เี หตุ เภทภยั ใดๆ ชาวมอญนิยมรำสาม................ ถาด โดยถาดท่ี 1 คือ การรำ ถวายเทพดาอารกั ษ์ ถาดที่ 2 คอื การรำถวายพระภมู ิ และ เลขท่ี ถาดที่ 3 คือ การรำถวายเจา้ ทเ่ี จา้ ทางและดวงวญิ ญาณบรรพบุรุษ สว่ นอุปกรณ์ ................. ประกอบการรำ ไดแ้ ก่ เหล้า ใชร้ ำเพอ่ื เซน่ ภตู ผแี ละสัมภเวสี ได้ดมื่ กนิ จะได้ไมม่ าทำลายพิธี ...... มดี ดาบ สามารถใชฝ้ าฟนั ทกุ อย่างได้ จงึ ใชร้ ำ เพือ่ ตดั ขาดกับผตู้ าย อยา่ ไดม้ าวนเวียนหว่ ง๒ใย............... ผท้ารัพทยไ่ี ส์ดินร้ บัแกลาะรลถูก่าหยลทาอนดกตราะมสสวายยทตรอะผก้าลู คซนง่ึมตออ้ ญงรมกั กี ษารานดูแบั ลถอื กผาีบรรรำรพกบรุระุษสวเยรจยี งึกมวคี่าวตา้นมผหีมจาึงย...ม.........ี ....................................... ให้ลกู หลานมีความสามคั คีรักใคร่ดจุ ดัง การทอผา้ นทลี ะเส้นจนเป็นผืน ใบต้นขาไก่ รำเพอ่ื ................. ปดเสนียดจัญไร ขออยา่ ใหบ้ ังเกิดในงานนีแ้ ละแกล่ ูกหลาน ท้ังยังมคี วามหมายให้ ลกู หลาน...ม..ี........... ความอตุ สาหะอยา่ เกยี จครา้ น ทำความเจรญิ ให้แก่วงศ์ ตระกูลเปรยี บดงั ตน้ ขาไก่ ทม่ี ี เลขที่ ................. ธรรมชาตงิ อกงามแตกแขนงออก เปน็ กอกลุ่ม ...... ใจความสำคัญ ............................................................................................................................. ..................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................................................... รายชื่อสมาชิก ๑...................................................................................................เลขท่.ี ...................... ๒...................................................................................................เลขท่ี.......................

ชุดท่ี ๒ ๑............... ................. ................. ใบกิจกรรม ................. ................. การอา่ นจบั ใจความสำคัญ ................ เด็กหหู นวกจะเปน็ ใบ้ ถ้าไมไ่ ดร้ ับการฝกึ ท่เี หมาะสม เพราะเดก็ ไม่ได้ยนิ เสียงพดู จงึ ไมม่ แี บบอยา่ ง เลขท่ี ใเรนิ่มกพารูดเคลำยี ทน่มี เสีคียวงาพมหดู แมลายะไเปด้ล๑ง่ เสคียำงแพตูด่เอดอ็กกหมตู าึงสจ่วะนเรเ่ิมดพ็กดูหจูตะึงจเระ่มิ พพดู ดู ชเ้ามกือ่ วอ่าาวยยั ุมเาชกน่ กวเด่านก็ ้ันอาหยจูุ ๑ึงเปข็นวบอวคัยววระจใะน....................... การรบั ฟงั เสยี งที่มีความสำคัญตอ่ พัฒนาการทางการพดู ของเด็ก ๒............... ................. ใจความสำคัญ ................. ............................................................................................................................. ..................................................... ................. .............................................................................. .................................................................................................... ................. .................................................................................................................................................................................. ................ .................................................................................................................................................................................. เลขที่ ................. ...... รายช่ือสมาชกิ ๑...................................................................................................เลขท.่ี ...................... ๒...................................................................................................เลขที.่ ......................

ชดุ ท่ี ๓ ๑............... ................. ................. ใบกจิ กรรม ................. การอา่ นจบั ใจความสำคญั ................. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อ.ย.) พบเช้อื จุลนิ ทรีย์ปนเป้อื นในน้ำผกั ผลไมแ้ ละน้ำ ................ สมุนไพร ท้ังแบบบรรจภุ าชนะปิดสนิทและแบบตักขาย จากการเก็บตวั อย่าง 455 ตวั อย่าง พบวา่ เลขที่ ................. ในกล่มุ นำ้ ผักผลไม้ และน้ำสมนุ ไพรแบบบรรจุภาชนะปิดสนิท นำ้ ใบบวั บกมกี ารปนเป้อื นสูงถึง 97.83% ...... รองลงมาคอื น้ำจับเลี้ยง 90% นำ้ เสาวรส 87.88% นำ้ บีตรทู 84.61% น้ำเฉากว๊ ย 67.35% นแนบำ้้ำเสบฉำตารักกอขว๊ งยา6ย72พ8.5.บ50ว1%า่%นนน้ำ้ำส้ำกเำรกระ๊กอเฮจง๊ยีวมยบีกา75ร15ป..0น356เป%%้อื นนแเ้ำลชกะอื้ รนะจำ้ เเุลจกนิ๊ีย๊กบทฮรว5ียย0์ 1%5040แ.6%ล9ะ%รนอำ้ สงจล่วบั นงเมลนา้ียำ้ คผงอืัก4นผ6้ำล.ใ1ไบม5บ%แ้ วัลบะกนำ้ 8ส5ม.7ุน1ไพ%ร๒.................................................................. ................. ใจความสำคัญ ................ .................................................................................................................................................................................. เลขท่ี ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. ...... ............................................................................................................................. ..................................................... รายชื่อสมาชิก ๑...................................................................................................เลขท่.ี ...................... ๒...................................................................................................เลขที่.......................

ชุดที่ ๔ ๑............... ................. ใบกจิ กรรม ................. การอา่ นจบั ใจความสำคญั ................. ................. เม่ือเราสอบตกเราย่อมเสยี ใจ บางคนเกดิ ความรู้สึกวา่ ชวี ติ นไี้ ร้คา่ การสอบตกเป็นความอบั อายท่ี ................ จะติดตัวไปจนตลอดชวี ิต มองหนา้ ใครไม่ไดอ้ กี แล้ว ฉนั เป็นคนโง่ คนไรค้ วามสามารถ ความร้สู กึ เชน่ นี้ เลขท่ี ไมม่ ีประโยชน์อะไรนอกจากจะทำให้เราจมอยู่ในความทกุ ข์ และไม่มวี ันแกต้ วั ได้ตลอดชวี ติ บางคนอาจ................. คดิ วา่ เลิกรู้สึกเชน่ นัน้ ไม่ได้ แต่น้ันเป็นเพราะไม่พยายามเลิก ความเป็นคนจิตใจไมเ่ ข้มแข็งของตน ...... ตากหากทที่ ำลายตนเอง หาใชก่ ารสอบตกไม่ การสอบตกเปน็ เพียงเหตุเลก็ น้อย แต่เรากลับทำลาย ๒............... ตนเองเสียราวกบั เปน็ มหนั ตทกุ ข์ ................. ................. ใจความสำคัญ ................. ............................................................................................................................. ..................................................... ................. .................................................................................................................................................................................. ................ ............................................................................................................................. ..................................................... เลขที่ .................................................................................................................................................................................. ................. ...... รายชอื่ สมาชกิ ๑...................................................................................................เลขที.่ ...................... ๒...................................................................................................เลขที.่ ......................

ภาพกิจกรรมวงรอบท่ี 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook