Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน ปี 62

วิจัยในชั้นเรียน ปี 62

Published by sirirat_na_ka, 2022-07-10 10:16:02

Description: วิจัยในชั้นเรียน ปี 62

Search

Read the Text Version

วิจยั ในชน้ั เรียน การสง่ เสริมทกั ษะการเขยี นตัวเลขเปน็ ภาษาอังกฤษ สำหรบั นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ยว์ ิทยาคาร ปีการศกึ ษา 2562 นางสาวสิรริ ัตน์ สังสทุ ธิ ตำแหนง่ ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ โรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา ปทุมธานี เขต 2

วจิ ัยในชน้ั เรยี น เร่ือง การสง่ เสรมิ ทักษะการเขียนตัวเลขเปน็ ภาษาอังกฤษ สำหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2562 ผวู้ จิ ัย นางสาวสิรริ ัตน์ สงั สทุ ธิ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ โรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 2 2

ชื่องานวิจัย การส่งเสรมิ ทักษะการเขียนตวั เลขเปน็ ภาษาองั กฤษ ช่อื ผู้วจิ ัย นางสาวสริ ริ ัตน์ สังสทุ ธิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ปกี ารศึกษา 2562 บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเ์ พื่อให้นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ได้มีความรู้ ความสามารถ ในการเขียน ตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษจาก โดยใช้กิจกรรมการอ่านตัวเลขจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น เกมหรือใบงานที่มี ตัวเลขประกอบอยู่ มีการใช้กิจกรรมการเขียนคำศัพท์เกี่ยวกับตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษ รวมทั้งการลงมือทำ แบบฝึกหัดเพื่อทดสอบความรู้ ความเข้าใจ และประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการพัฒนาด้านการเรียนรู้ตัวเลขเป็น ภาษาอังกฤษตามทักษะกระบวน การเขยี น โดยผ้วู ิจัยได้จัดทำการทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน รวมท้ังทำการ คดิ วเิ คราะห์ผลคะแนนโดยใช้วิธกี ารหาคา่ เฉลี่ยและค่าร้อยละ จากการศึกษาปรากฏวา่ จากการทดสอบจากทักษะการเขยี นตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษ และทำแบบฝึกหัด ทุกชุดทีก่ ำหนดใหน้ น้ั ทำให้นกั เรียนมีความรู้ ความจำ และสามารถทำแบบทดสอบหลังเรียนได้ดยี ่ิงข้ึน ดังจะเห็น ได้จากการเปรยี บเทียบผลการทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียนของนักเรยี นท่เี พม่ิ ขึ้น ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา เนื่องจากการเรียนรู้ภาษาอังกฤษนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องมีพื้นฐานความรู้ทางด้าน กระบวนการทักษะทั้ง 4 คือ จะต้องสามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษได้ เพราะหากว่าถ้า นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทักษะด้านใดด้านหนึ่งแล้ว ก็จะเป็นปัญหาที่สำคัญมากแก่ผู้เรียนและครูผู้สอน เพราะจะทำให้การเรียนการสอนขาดประสทิ ธิภาพและผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษาวิชาภาษาองั กฤษไมด่ ีเท่าทีค่ วร จากการที่ได้สอนนักเรียนทั้งระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 ได้พบว่านักเรียนได้เรียน เนื้อหาเกี่ยวกบั ระบบจำนวนเหมือนกัน และนักเรยี นบางคนยงั ขาดทักษะกระบวนการเขยี นอยู่ ดังนั้นขา้ พเจา้ จงึ เห็นควรนำนักเรียนทย่ี ังขาดทักษะน้ีมาทำการวิจยั ในชัน้ เรยี น ทางเลอื กทีค่ าดว่าจะแกป้ ัญหา 1. จงู ใจให้สนใจในความสำคญั ของการฟัง พูด อา่ น และเขียนตวั เลขเปน็ ภาษาองั กฤษ 2. บนั ทึกสาเหตุและปัญหาของความบกพร่องทางกระบวนการอ่าน และเขียนของนกั เรยี น 3. ใหผ้ ู้เรียนฝึกทักษะกระบวนการเขียน จากแบบฝกึ ต่าง ๆ รวมท้งั การเขยี นคำศพั ทก์ ่อนเรยี นทุกคร้ัง 4. ให้แบบฝึกการเขยี นตวั เลขเปน็ ภาษาองั กฤษเพิม่ เตมิ จดุ มุ่งหมาย เพือ่ ให้นกั เรียนรอ้ ยละ 80 มคี วามรู้ ความสามารถในทกั ษะกระบวนการเขียนตัวเลขเปน็ ภาษาองั กฤษ 3

ตวั แปรท่ีศกึ ษา 1. แบบฝกึ หัดทีเ่ น้นทกั ษะกระบวนการเขียน 2. ระดบั ผลสัมฤทธิข์ องคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น กรอบแนวคิดในการวจิ ัย การวิจัยในครั้งนี้มุ่งเน้นที่การส่งเสริมทักษะกระบวนการเขียนตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 ผู้วิจัยได้จัดทำแบบฝึกอย่างง่ายๆ เพื่อให้นักเรยี นไม่เบือ่ และสนุกสนาน ในการเรียน อีกทั้งยังสามารถนำไปใช้ในการทำแบบฝึกหัดหรือข้อสอบที่ผู้วิจัยได้จัดทำขึ้น ผู้วิจัยได้ทำการ เปรียบเทียบผลคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อศึกษาการพัฒนาของนักเรียนหลังจากที่ได้มีการฝึกทักษะ กระบวนการต่างๆ วา่ มคี วามแตกต่างหรือมกี ารเปลย่ี นแปลงโดยมีพัฒนาการทดี่ ีขึน้ หรอื ไมอ่ ย่างไร ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั 1. นักเรยี นมีทกั ษะกระบวนการเขียนตวั เลขเปน็ ภาษาองั กฤษเพิม่ มากข้นึ 2. นักเรยี นเห็นความสำคญั ของการฟงั พดู อา่ น และเขยี นตวั เลขเป็นภาษาอังกฤษ ขอบเขตของการวจิ ัย ในการศึกษาวิจัยในครั้งนีเ้ ป็นการใช้แบบฝึกอย่างง่ายๆ เพื่อช่วยฝึกและเพิ่มพูนทกั ษะกระบวนการเขียน ตวั เลขเปน็ ภาษาอังกฤษ และไดก้ ำหนดขอบเขตการวจิ ยั ไว้ดงั น้ี 1. ประชากร ประชากรท่ีใชใ้ นการศกึ ษา คอื นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2562 โรงเรยี น ชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร จำนวนทงั้ ส้นิ 10 คน 2. เนื้อหา / หลักวิชา ทักษะการเขียนตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษ ที่สอดคล้องกับหลักสูตรของโรงเรียน ชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร วธิ ดี ำเนินการวิจยั ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน 19 มถิ ุนายน 2562 – 30 กนั ยายน 2562 ( มีเวลา 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 20 ชั่วโมง ตลอด 4 เดือน ในการวจิ ัยคร้ังน้ี) วัน เดือน ปี กจิ กรรม หมายเหตุ 19 มิถุนายน 2562 -ศึกษาสภาพปญั หาและวิเคราะห์แนวทางแกป้ ัญหา 20-23 มถิ ุนายน 2562 -เขยี นเคา้ โครงงานวจิ ยั ในช้ันเรียน 23-30 มิถุนายน 2562 1-31 กรกฎาคม 2562 -วิเคราะหผ์ ู้เรยี นและวิเคราะห์เนื้อหา -ออกแบบเคร่ืองมือท่ีจะใช้ในการวิจยั -นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ผ้วู จิ ัยบันทกึ คะแนน -สอนเก่ยี วกบั จำนวน 1-20 เป็นภาษาอังกฤษ -นักเรยี นทำแบบฝกึ หัดการเขียนตัวเลขเป็นภาษาองั กฤษ ฉบับที่ ผ้วู จิ ยั บันทึกคะแนน 1 และฉบับที่ 2 4

1 สิงหาคม 2562 - -สอนเกี่ยวกบั จำนวน 20-900 เปน็ ภาษาอังกฤษ 10 กนั ยายน 2562 -นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั การเขียนตวั เลขเป็นภาษาอังกฤษ ฉบบั ท่ี ผวู้ ิจยั บนั ทึกคะแนน 11-26 กนั ยายน 2562 1-10 ตลุ าคม 2562 3 และ 4 20-31 ตุลาคม 2562 -นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดหลงั เรยี น ผูว้ ิจยั บนั ทึกคะแนน -เก็บรวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มลู -สรุปและอภิปรายผล -จดั ทำรปู เล่ม เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั 1. แบบทดสอบวดั ความรกู้ อ่ นเรียน (Pre-Test) 2. แบบฝึกหัดเก่ียวกับกระบวนการทักษะการอ่าน และการเขยี น 3. แบบทดสอบวดั ความรู้หลงั เรียน (Post-Test) ขน้ั ตอนการดำเนนิ การ ในการดำเนนิ การศึกษาวิจัยในคร้งั นี้มกี ารดำเนินการและรายละเอียดเปน็ ขน้ั ตอนดังนี้ 1. ขัน้ วเิ คราะห์ 1.1 วเิ คราะห์ผเู้ รยี น การวิเคราะห์ผ้เู รยี นได้กำหนดไว้ดงั นี้ ประชากร คือ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร จำนวนทั้งส้ิน 10 คน 1.2 วเิ คราะห์เน้อื หา ขน้ั ตอนดำเนินการมดี ังนี้ เนอ้ื หาที่จะใช้สร้างแบบทดสอบ และแบบฝกึ หัดคำศัพท์เกี่ยวกับจำนวนตวั เลข โดยผ้วู ิจัยได้จัดแบ่งตามค่าประจำ หลักดังนี้ 1.2.1 Ones (หลกั หน่วย) ได้แก่ Zero = 0 One = 1 Two = 2 Three = 3 Four = 4 Five = 5 Six = 6 Seven = 7 Eight = 8 Nine = 9 1.2.2 หลักทอ่ี ยู่ระหว่างเลข 10-20 ได้แก่ Eleven = 11 Twelve = 12 Thirteen = 13 5

Fourteen = 14 Fifteen = 15 Sixteen = 16 Seventeen = 17 Eighteen = 18 Nineteen = 19 1.2.3 Tens (หลักสบิ ) ไดแ้ ก่ Ten = 10 Twenty = 20 Thirty = 30 Forty = 40 Fifty = 50 Sixty = 60 Seventy = 70 Eighty = 80 Ninety = 90 1.2.4 Hundreds (หลักรอ้ ย) ได้แก่ One hundred = 100 200 Two hundreds = 300 Three hundreds = 400 Four hundreds = 500 600 Five hundreds = 700 Six hundreds = 800 900 Seven hundreds = Eight hundreds = Nine hundreds = 2. ข้นั ออกแบบ ข้ันออกแบบแบบทดสอบ และแบบฝึกหัดมขี ้นั ตอนดงั นี้ 2.1 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) จำนวน 10 ข้อ ตามหมวดหมู่คำศัพท์ท่ี กำหนดไว้โดยเปน็ ขอ้ สอบเขยี นทง้ั หมด 2.2 แบบฝึกหัดเกี่ยวกับคำศัพท์ เป็นแบบฝึกที่จะใช้ในการพัฒนาทักษะ กระบวนการเขียน โดยแบ่งวิธีการเขียนออกเป็น 4 ฉบับ แต่ละฉบับประกอบไปด้วยคำศัพท์ จำนวน 10- 20 คำ ทีผ่ ูว้ ิจยั ได้คดั เลอื กไว้ 2.3 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) จำนวน 10 ข้อ ตามหมวดหมู่คำศัพท์ที่ กำหนดไว้โดยเป็นข้อสอบเขียนทั้งหมด โดยเป็นข้อสอบชุดเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน หากแตส่ ลับขอ้ ไปมา 6

3. ข้ันดำเนนิ การ มกี ารดำเนินการดงั นี้ 3.1 ทำการทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน และทำการบนั ทกึ ผลคะแนน 3.2 ดำเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการเขียนคำศัพท์ตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษ โดยการเขียน คำศพั ท์กอ่ นเรยี น และทำแบบฝกึ หดั ทผี่ ู้วจิ ัยนำมาทดสอบ 2 สปั ดาห์ / 1 ครงั้ และทำการบนั ทกึ คะแนน 3.3 ทำการทดสอบอกี ครงั้ โดยให้นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน และทำการบนั ทกึ ผลคะแนน 4. ขัน้ วเิ คราะห์ขอ้ มลู 4.1 วิเคราะหข์ อ้ มลู - วเิ คราะห์ผลจากคะแนนท่ไี ด้จากการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น - วิเคราะห์ผลจากคะแนนท่ีได้จากการทำแบบฝึกหัด - วิเคราะหผ์ ลจากคะแนนทไ่ี ดจ้ ากการทำแบบทดสอบหลังเรยี น 4.2 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู - การหาค่าเฉลยี่ - การหาค่ารอ้ ยละ 5. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล จากการศึกษาวจิ ยั ในชั้นเรยี นครั้งน้ี สามารถวเิ คราะห์ผลได้ดังนี้ 5.1 ผลการวเิ คราะห์จากคะแนนแบบฝึกหดั ทั้ง 4 ฉบบั 5.2 ตารางที่ 1 แสดงผลคะแนนแบบฝึกหดั ทั้ง 4 ฉบบั ชัน้ ช่ือ-นามสกุล แบบฝึกหัด แบบฝึกหัด แบบฝึกหดั แบบฝกึ หดั ท่ี 1 (%) ท่ี 2 (%) ท่ี 3(%) ท่ี 4(%) ป.3/1 ด.ช. กนกพฒั น์ เสนาพล ป.3/1 ด. ญ ทัสนันท์ คณะใน 20 60 40 50 ป.3/2 ด.ช. กมลภพ แซป่ งึ 50 70 40 60 ป.3/2 ด.ญ. นงนภัส แก้วแสง 30 70 50 60 ป.3/3 ด.ช. อภินันท์ แย้มแก้ว 40 70 60 60 ป.3/3 ด.ญ. ขวัญจิรา นรอนิ ทร์ 30 50 20 50 ป.3/4 ด.ช. วีรชัย กลมกล่อม 40 70 50 70 ป.3/4 ด.ญ. คตี ภัทร สัมมาขันธ์ 20 60 50 60 ป.3/5 ด.ช. กฤษฎา ประสิทธิ์ 30 70 60 70 ป.3/5 ด.ญ. ณฐั ธิดา รนื่ โพธ์ิกลาง 20 60 40 60 ค่าเฉล่ีย 30 50 60 60 31 63 47 60 7

จากตารางท่ี 1 แบบฝกึ หัดทงั้ 5 ประกอบไปดว้ ย - แบบฝึกหัดที่ 1 เรือ่ งตัวเลข 1-20 จำนวน 20 ขอ้ (10 คะแนน) - แบบฝกึ หัดที่ 2 เรอื่ งตวั เลข 1-20 จำนวน 20 ขอ้ (10 คะแนน) - แบบฝึกหดั ท่ี 3 เรอ่ื งตัวเลข 20-900 จำนวน 20 ข้อ (10 คะแนน) - แบบฝกึ หัดท่ี 4 เร่อื งตัวเลข 20-900 จำนวน 20 ขอ้ (10 คะแนน) 5.3 ผลการวเิ คราะหจ์ ากคะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน ตารางที่ 1 แสดงผลคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ชน้ั ชอื่ -นามสกุล แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลงั เรียน ป.3/1 ด.ช. กนกพัฒน์ เสนาพล 20 60 ป.3/1 ด. ญ ทัสนันท์ คณะใน 30 80 ป3/2 ด.ช. กมลภพ แซ่ปึง 20 70 ป.3/2 ด.ญ. นงนภัส แก้วแสง 20 70 ป.3/3 ด.ช. อภินนั ท์ แย้มแกว้ 10 60 ป.3/3 ด.ญ. ขวัญจิรา นรอนิ ทร์ 20 60 ป.3/4 ด.ช. วรี ชยั กลมกลอ่ ม 20 70 ป.3/4 ด.ญ. คตี ภัทร สัมมาขันธ์ 30 80 ป.3/5 ด.ช. กฤษฎา ประสทิ ธ์ิ 10 50 ป.3/5 ด.ญ. ณัฐธิดา ร่ืนโพธก์ิ ลาง 30 70 จากตารางที่ 2 ชี้ให้เห็นวา่ นักเรียนมีพัฒนาการดีขึ้นเมื่อดูจากการเปรียบเทียบเปอรเ์ ซ็นต์ของผลคะแนน จากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และตัวเลขในช่องสุดท้ายที่บ่งบอกถึงพัฒนาการของนักเรียนได้อย่าง ชัดเจน สรุปผลการศกึ ษาวจิ ัย จากการศึกษาและวิเคราะห์คะแนนที่ได้จากการทดสอบกอ่ นเรียนนั้นแสดงให้เห็นว่านักเรียนยังไม่มีพน้ื ฐานความรู้คำศัพท์เกี่ยวกับตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษ หรือมีพื้นฐานความรู้มาบ้างแต่ไม่สามารถจดจำคำศัพท์ เหล่านั้นได้ แต่หลังจากนักเรียนได้เรียน และทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติม ทำให้นักเรียนมีความรู้ ความจำเกี่ยวกับ คำศัพท์ และสามารถทำแบบทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าจะมีนักเรยี นบางคนที่มีค่าคะแนนจาก การทำแบบฝึกหัดไม่ค่อยดีเท่าที่ควรนั้น ก็อาจเป็นเพราะว่านักเรียนยังขาดความต่อเนื่องในการทำความเข้าใจ และเนื่องจากผู้วจิ ัยเองกม็ โี อกาสได้พบกับผูเ้ รียนเพยี งสปั ดาห์ละ 1 ครั้งเท่านั้น และในบางคร้ังก็มีกิจกรรมตา่ งๆ ของทางโรงเรียนมาคั้นความต่อเนื่องของการเรียนรู้และดึงความสนใจของนักเรียนไปด้วย และอีกสาเหตุจากการ สอบถามโดยตรงจากนักเรียนทำให้ผู้วิจัยได้พบข้อมูลเพิ่มเติมว่านักเรยี นไม่ได้กลับไปทบทวนและทำความเข้าใจ เพิม่ เติมนอกหอ้ งเรียน ดังน้นั ผู้วจิ ัยจึงเล็งเห็นวา่ ปญั หาน้คี วรจะนำไปพฒั นาในคร้ังต่อไป 8

อภิปรายผลจากการศึกษา จากการสร้างแบบฝึกหัดการเขยี นตวั เลขเปน็ ภาษาอังกฤษในคร้งั น้ี สามารถอภิปรายผลได้ดังน้ี 1. สังเกตได้ว่านักเรียนสามารถพัฒนาความรู้ ความจำมากขึ้น โดยดูผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อน เรียนและหลงั เรียน 2. จากการวิจัยครง้ั นที้ ำใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรู้ศัพทภ์ าษาองั กฤษเพิ่มข้นึ 3. จะเหน็ ได้ว่าเม่ือนักเรยี นได้รับการสอนทีเ่ น้นยำ้ ในจดุ ท่ีนักเรยี นมักจะสบั สนหรือผดิ พลาดบ่อยๆ ทำให้ นักเรยี นผดิ พลาดน้อยลง ข้อเสนอแนะ 1. การสร้างแบบฝึกควรจะใชร้ ปู แบบเกม เพื่อดึงความสนใจของนกั เรียนให้มีตอ่ การเรียนภาษาอังกฤษ เพมิ่ ข้นึ 2. การวจิ ยั คร้งั ต่อไปควรมีเวลาในการพบและตดิ ตามผลจากนักเรียนมากกว่าน้ี 9

ภาคผนวก 10

ตารางบันทกึ แสดงผลคะแนนแบบฝึกหดั ทงั้ 4 ฉบับ ชนั้ ช่อื -นามสกลุ แบบฝกึ หดั ที่ 1 แบบฝกึ หัดที่ 2 แบบฝกึ หดั ท่ี 3 แบบฝกึ หัดที่ 4 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน ป.3/1 ด.ช. กนกพฒั น์ เสนาพล 6 ป.3/1 ด. ญ ทัสนนั ท์ คณะใน 2 7 4 5 ป.3/2 ด.ช. กมลภพ แซ่ปงึ 5 7 4 6 ป.3/2 ด.ญ. นงนภัส แก้วแสง 3 7 5 6 ป.3/3 ด.ช. อภนิ ันท์ แยม้ แกว้ 4 5 6 6 ป.3/3 ด.ญ. ขวญั จิรา นรอนิ ทร์ 3 7 2 5 ป.3/4 ด.ช. วรี ชยั กลมกล่อม 4 6 5 7 ป.3/4 ด.ญ. คีตภัทร สัมมาขนั ธ์ 2 7 5 6 ป.3/5 ด.ช. กฤษฎา ประสทิ ธิ์ 3 6 6 7 ป.3/5 ด.ญ. ณฐั ธิดา รืน่ โพธกิ์ ลาง 2 5 4 6 3 6 6 ตารางบันทกึ แสดงผลคะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น ชัน้ ช่ือ-นามสกลุ แบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบหลงั เรียน (10 คะแนน) (10 คะแนน) ป.3/1 ด.ช. กนกพฒั น์ เสนาพล 20 60 ป.3/1 ด. ญ ทัสนันท์ คณะใน 30 80 ป.3/2 ด.ช. กมลภพ แซ่ปงึ 20 70 ป.3/2 ด.ญ. นงนภสั แกว้ แสง 20 70 ป.3/3 ด.ช. อภินันท์ แย้มแก้ว 10 60 ป.3/3 ด.ญ. ขวัญจิรา นรอินทร์ 20 60 ป.3/4 ด.ช. วรี ชยั กลมกล่อม 20 70 ป.3/4 ด.ญ. คีตภัทร สมั มาขันธ์ 30 80 ป.3/5 ด.ช. กฤษฎา ประสิทธ์ิ 10 50 ป.3/5 ด.ญ. ณฐั ธิดา ร่นื โพธิ์กลาง 30 70 11

12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook