Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน ปี 64

วิจัยในชั้นเรียน ปี 64

Published by sirirat_na_ka, 2022-07-22 01:18:48

Description: วิจัยในชั้นเรียน ปี 64

Search

Read the Text Version

วิจยั ในช้ันเรียน ความพงึ พอใจในการเรียนออนไลนว์ ิชาภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน โดยการใช้คลิปการสอนในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนกั เรียนประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ัตยว์ ทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2564 นางสาวสิริรัตน์ สังสุทธิ ตำแหนง่ ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ โรงเรียนชุมชนประชาธปิ ตั ย์วิทยาคาร สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา ปทมุ ธานี เขต 2

วิจยั ในช้ันเรยี น เรอ่ื ง ความพงึ พอใจในการเรียนออนไลน์วชิ าภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน โดยการใช้คลิปการสอนในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนกั เรยี นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ยว์ ิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2564 ผู้วิจัย นางสาวสริ ริ ตั น์ สังสุทธิ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ โรงเรยี นชุมชนประชาธปิ ตั ยว์ ิทยาคาร สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 2

ชื่องานวจิ ัย ความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานโดยการใช้คลิปการสอน ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ของนักเรยี นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ชอ่ื ผวู้ จิ ัย นางสาวสิริรตั น์ สังสทุ ธิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศ ปกี ารศึกษา 2564 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์วิชภาษาอังกฤษพื้นฐานโดยการใช้ คลิปการสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักเรียน ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนชุมชน ประชาธิปัตย์วิทยาคารการศึกษา 2564 กลุ่มทดลองเป็นนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 3/1 จำนวน 15 คน เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการวิจัย ได้แก่ คลิปการสอนและแบบสอบถาม สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ค่าเฉล่ีย และ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน บทท่ี1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แพร่ระบาดอยา่ งรุนแรงทั่วโลก สง่ ผลกระทบตอ่ การศึกษาของทุกประเทศ สำหรบั สถานศึกษาใน ประเทศไทยไม่สามารถเปิดการเรียนการสอนได้ ตามปกติและต้องปรับรูปแบบการเรียนการสอนโดย กระทรวงศึกษาธกิ ารและหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องไดก้ ำหนดนโยบาย การจดั การเรียนการสอนโดยผา่ นระบบการเรียน การสอนแบบออนไลน์ซึ่งอาจเกิดปัญหาหรืออปุ สรรคจากการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน เช่น นักเรียนไม่เข้าใจ เนอื้ หาท่เี รียน เกดิ ความเบอ่ื หนา่ ยในการเรียน เปน็ ต้น แต่ปัจจบุ นั เทคโนโลยีได้เขา้ มาบทบาทเพ่ือเอื้ออำนวยความ สะดวก ทำให้เราสามารถรับรู้ข่าวสารหรือติดตอ่ สื่อสารกันไดภ้ ายใน ไม่กี่นาทีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีส่วน สำคัญในการชว่ ยการจัดการศกึ ษาให้มีประสทิ ธิภาพยิง่ ขึ้น เนอ่ื งดว้ ยสถานการณ์ปัจจุบันทำให้ครูผู้สอนแตล่ ะวิชาตอ้ งจดั รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์และมี สื่อการสอนที่หลากหลาย นอกจากนี้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่มีอิทธิพลและสำคัญในการติดต่อสื่อสาร ดังน้ัน ครูผู้สอน จึงควรหากลวิธีที่ทำให้นักเรียนสนุกกับการเรียนภาษาอังกฤษ จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะ ศึกษาเกี่ยวกับความพงึ พอใจในการเรยี นออนไลนว์ ิชภาษาองั กฤษพ้ืนฐานโดยการใช้คลปิ การสอนในชว่ งสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชุมชน ประชาธิปัตย์วิทยาคาร เพื่อเป็นแนวทางในการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับสถานการณ์ใน ปจั จุบันและเพ่ือพฒั นาทกั ษะและศักยภาพของนักเรียน และนกั เรยี นต่อไปในอนาคต 1.2 วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั 1.2.1 เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรยี น ด้านการใชส้ อ่ื การสอนออนไลนท์ ่ีหลากหลาย 1.2.2 เพอื่ พัฒนาส่ือการสอนออนไลน์ใหเ้ หมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้เรยี น 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.3.1 สถานที่ในการศึกษา นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3/1 โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตยว์ ิทยาคาร 1.3.2 ระยะเวลาในการศึกษา ตลอดปีการศึกษา 2564

1.4 คำนยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1.4.1 ความพึงพอใจ หมายถึง การได้บรรลุความต้องการ ความคาดหวัง ความปรารถนา ความ อยากของบคุ คล การไดบ้ รรลุหรอื การได้ตอบสนองบาง สง่ิ ท่เี รียกรอ้ งหรือเปน็ ขอ้ แม้การยอมตาม การมีอิสระจาก ความสงสยั อย่างเพยี งพอ หรือทำให้คล้อยตาม 1.4.2 การเรยี นออนไลน์ หมายถงึ นวตั กรรมทางการศึกษาท่เี ปลี่ยนแปลงวิธีเรียนท่เี ป็นอยู่เดิมเป็น การเรยี นท่ี ใช้เทคโนโลยีท่กี า้ วหนา้ เชน่ อินเทอร์เนต็ อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเนต็ ดาวเทียม ดงั นัน้ จึงหมายรวมถึง การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งมีจุดเชื่อมโยงคือ เทคโนโลยีการส่ือสารเป็นสื่อกลาง ของการเรยี นรู้ 1.4.3 สื่อการสอน หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือวิธีการใดๆ ที่ครูนำมาประกอบการเรียนการสอน เพอ่ื ช่วยให้เกดิ การเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 1.5 ประโยชน์และคณุ คา่ ของการวจิ ัย 1.5.1 ทราบถึงความพึงพอใจของผู้เรยี นที่มีต่อการเรียนออนไลน์วิชาภาษาองั กฤษพ้ืนฐานโดยการ ใช้คลปิ การสอน 1.5.2 ใช้เป็นขอ้ มูลในการวางแผนเพือ่ พัฒนาปรับปรงุ ส่ือการออนไลน์ บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 2.1 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วข้องกบั ความพงึ พอใจ 2.1.1 ความหมายของความพึงพอใจ กวิยา เนาวประทีป (2553) ได้ให้ความหมายของความพึง พอใจไว้ว่า เป็นทัศนคติ หรือความรู้สึกทางบวกของ บุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด การที่บุคคลมีการปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมรอบตัว การตอบสนอง ความต้องการส่วนบุคคล ด้วยการโต้ตอบกับบุคคลอื่นและสิ่งต่างๆ ใน ชวี ติ ประจำวนั ทำให้แต่ละคนมีประสบการณ์และความคาดหวงั กับสิ่งท่ีจะ ได้รับแตกต่างกันไป เม่อื ความต้องการ ได้รับการตอบสนองตามที่คาดหวังเอาไว้เมื่อนั้นจะเกิดความพึงพอใจ แต่หาก ไม่ได้รับการตอบสนองตามความ คาดหวงั ทมี่ ีอยู่กจ็ ะกลายเป็นความไมพ่ อใจ นั่นคอื ระดับความพงึ พอใจจะข้ึนอยู่กบั ความรู้สกึ ของบุคคล 2.1.2 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ เชลลีย์ (Shelly, 1975, pp. 252-268) สรุปทฤษฎี ความพึงพอใจไว้ว่าเปน็ ทฤษฎีว่าด้วย ความรูส้ ึกสองแบบ ของมนษุ ย์ คือ ความรู้สกึ ในทางบวก และความรู้สึกทาง ลบ ความรูส้ ึกทุกชนดิ ของมนุษยจ์ ะตอ้ ง อยูใ่ นกลุ่มความรู้สกึ ทงั้ สองแบบนี้ ความรู้สึกทางบวก คือ ความรสู้ กึ ทเี่ มอ่ื เกิดขึ้นแล้วจะทำให้เกดิ ความสุข ความรู้สึกนี้เป็นความรู้สกึ ที่แตกต่าง จากความรู้สึกทางบวกอืน่ ๆ กล่าวคือ เป็น ความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับ ทำให้เกิดความสุขหรือความรู้สึกทางบวกเพิ่มขึ้น ได้อีก จะเห็นได้ว่าความสุขเป็น ความรู้สึกที่สลับซับซ้อน และความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกทางบวกอื่นๆ ความรู้สึกทางลบ ความร้สู ึกทางบวก และความสขุ มีความสัมพนั ธก์ นั อยา่ งสลบั ซับซ้อน และระบบความสัมพันธข์ อง ความรูส้ ึกท้ัง 3 นี้ เรียกว่า ระบบความพงึ พอใจ โดยความพอใจจะเกิดขึน้ เม่ือมีความรู้สกึ ทางบวกมากกวา่ ความรู้สกึ ทาง ลบ ความ พอใจสามารถแสดงออกมาในรูปของ ความรู้สึกทางบวกแบบต่างๆได้ และความรูส้ ึกทางบวกนี้ยังเปน็ ตัวช่วย ให้ เกดิ ความพงึ พอใจเพิ่มขนึ้ ไดอ้ ีก 2.2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้องกับสื่อการสอน 2.2.1 ความหมายของสื่อการสอน สริ ิพชั รเ์ จษฎาวโิ รจน์ (2550: 71) กล่าววา่ สือ่ การเรยี นร้หู มายถึง สิ่งใดๆกต็ ามทเี่ ป็นเครื่องชว่ ย ถ่ายทอดความรู้จากบทเรียนไปส่นู กั เรยี น ซง่ึ จะช่วยทำให้นักเรยี นเกดิ การเรียนรู้อย่าง มีประสิทธิภาพ ชาญชัย ยมดิษฐ์ (2548: 417) อธิบายว่า สื่อการเรียนการสอนเป็นตัวกลางเชื่อมโยงความรู้ ความ

เข้าใจระหวา่ งสารที่ครูสง่ ไปยงั นักเรยี น ทำให้นกั เรียนเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ทีค่ รกู ำหนดไว้ โดย สือ่ ทค่ี รูใช้สอนเรยี กว่า สอ่ื การเรยี นการสอน ก็แปลวา่ นกั เรียนก็เรียนรูค้ รกู ใ็ ชส้ อนด้วยนั่นเอง 2.2.2 ประโยชน์ของสอ่ื การสอน สริ พิ ัชร์ เจษฎาวโิ รจน์ (2550: 77) กล่าวถงึ ประโยชน์ของสื่อการ สอนต่อครู ดังน้ี 1. ช่วยให้ความสะดวกแก่ครูในการสอน การสอนเป็นไปด้วยดี 2. ช่วยผ่อนแรงในการอธิบาย อธิบายได้ตรงประเด็น 3. ช่วยประหยัดเวลาในการสอน 4. ช่วยให้ครูและนักเรียนมีความเขา้ ใจตรงกัน งานวิจัยใน ชั้นเรียน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 : งานนิเทศตดิ ตามการจดั การเรยี นรูแ้ ละวิจัย กลุ่มบริหารวิชาการโรงเรยี น หอวงั ปทมุ ธานี 5. ช่วยใหค้ รสู ังเกตปฏิกิริยานกั เรียนได้ 6. ช่วยใหค้ รูมีความมนั่ ใจในการสอนมากขนึ้ บทท3ี่ วิธดี ำเนินการวิจัย 3.1 ประชากร / กลุม่ ตวั อยา่ งท่ศี กึ ษา ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 จำนวน 15 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ใน ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตยว์ ิทยาคาร 3.2 เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย 3.2.1 แบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนออนไลนว์ ิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐานโดยการใช้คลปิ การสอน 3.2.2 สอ่ื การสอน เชน่ powerpoint, you tube, Line application 3.3 วิธีเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.3.1 ระยะทำการทดลอง ผู้วิจัยได้จัดการเรียนการสอนโดยการใช้คลิปการสอน โดยจัด กระบวนการเรยี นการสอนผา่ น Line application และการทดสอบผ่านสื่อออนไลน์ 3.3.2 ระยะหลังการทดลอง หลังจากเรียนจนครบตามกำหนดแล้ว ผู้วิจัยได้ดำเนินการจัดทำ แบบสอบถาม เพื่อใหน้ ักเรียนประเมนิ ความพงึ พอใจในการใช้ส่ือการสอนออนไลน์ (คลิปการสอน) 3.4 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลของแบบสอบถามโดยวิธีทางสถิติ นำแบบสอบถามทั้งหมดตรวจสอบความ ถูกต้อง ความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน จากนั้นผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ไป ประมวลผลด้วย วิธีการทางสถิติ ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานราย รปู แบบและรายข้อ เพือ่ ทราบการกระจายเป็นรายข้อ นำขอ้ มลู ค่าเฉลยี่ จากการวิเคราะห์รายรูปแบบและรายข้อมา แปลความหมาย จัดลำดับโดยใช้เกณฑข์ องวชิ ติ อู่อ้น (2550) คา่ ความพงึ พอในงานวิจัยในชั้นเรียน: ระดับ 1 ค่าเฉล่ีย 1.00-1.80 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจ/ พฤติกรรมในระดับน้อยที่สุด ระดับ 2 ค่าเฉลี่ย 1.81-2.60 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ/พฤติกรรมในระดับน้อย ระดับ 3 ค่าเฉลี่ย 2.61-3.40 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ/พฤติกรรมในระดบั ปานกลาง ระดับ 4 ค่าเฉลี่ย 3.41- 4.20 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ/พฤติกรรมในระดับมาก ระดับ 5 ค่าเฉลี่ย 4.21-5.00 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ/พฤติกรรมในระดับมากทส่ี ดุ สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลงานวิจัย มดี งั น้ี สถติ ิพืน้ ฐาน ไดแ้ ก่ ค่าเฉลี่ย (x) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์ความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์วิชภาษาอังกฤษ พื้นฐานโดยการใช้คลิปการสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักเรยี นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ตั ยว์ ิทยาคาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์วิชภาษาอังกฤษพื้นฐานโดยการใช้ คลิปการสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักเรียน ประถมศึกษาปีท่ี 3/1 โรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร จำนวน 15 คน แบ่งเป็นนักเรียนชาย 7 คน และเปน็ นักเรียนหญิง 8 คน นักเรียนมีความพึงพอใจของต่อการเรียนออนไลน์วิชาภาษาอังกฤษโดยการใช้คลิปการสอน ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สื่อการสอนมคี วามถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย ระดับพึงพอใจมากที่สุด (������=4.53) ด้านรูปแบบสื่อการสอนใช้ งานง่าย ไม่ซับซ้อน ระดับพึงพอใจมาก ที่สุด (������=4.44) ด้านสื่อการสอนคลอบคลุมเนื้อหาที่เรียน ระดับพึงพอใจมาก ที่สุด (������=4.38) ด้านสื่อการสอนมี ความถกู ต้อง ชดั เจน เข้าใจงา่ ย ระดบั พงึ พอใจมากทสี่ ดุ (������=4.31) ประเดน็ ������ S.D. แปลความหมายระดับ ลำดับท่ี 1. รูปแบบสอ่ื การสอนมีความเหมาะสม สวยงาม นา่ สนใจ 4.38 0.71 มากที่สดุ 4 2. สอ่ื การสอนมคี วามหลากหลาย 4.59 0.61 มากที่สุด 1 3. รูปแบบสื่อการสอนใช้งานง่าย ไม่ ซับซ้อน 4.44 0.76 มากที่สุด 3 4. สื่อการสอน ครอบคลุมเนื้อหาที่เรียน 4.31 0.74 มากที่สุด 5 5. สื่อการสอนมีความถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย 4.53 0.72 มาก ที่สุด 2 ตารางแสดงจำนวนค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจการเรียนออนไลน์วิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐานโดยการใช้คลิปการสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) บทท่ี5 สรุปผล การอภปิ ราย และข้อเสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการวจิ ยั จากการวิจยั ความพึงพอใจการเรียนออนไลนว์ ิชาภาษาอังกฤษพ้นื ฐานโดยการใช้คลิป การสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักเรียน ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ตั ยว์ ิทยาคาร สามารถสรุปผลไดด้ งั น้ี ผลการวจิ ยั พบว่า ด้านส่อื การสอน มคี วามถกู ต้อง ชดั เจน เขา้ ใจง่าย ระดบั พงึ พอใจมากท่ีสดุ (������=4.53, S.D.=0.72) ดา้ นรูปแบบสอื่ การสอนใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน ระดับพึงพอใจมากท่ีสดุ ������=4.44, S.D.=0.76) ด้านส่ือการ สอนครอบคลมุ เน้ือหาทีเ่ รียน ระดับพึงพอใจ มากที่สุด (������=4.38, S.D.=0.71) ด้านสื่อการสอนมีความถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย ระดับพึงพอใจมากที่สุด (������=4.31, S.D.=0.74) ตามลำดับ 5.2 อภิปรายผล การใช้สื่อการสอน(คลิปการสอน)ในช่วงการเรียนออนไลน์ในรายวิชาภาษาอังกฤษ พื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ช่วยให้นักเรียนมีความ กระตือรือร้นในการเรียน ไม่ว่าจะเปน็ การจดจำ หรือการนำภาษาอังกฤษไปใช้ในชวี ิตประจำวนั การทำแบบฝึกหัด การทำข้อสอบ เปน็ ตน้ ซึ่งจากการวิเคราะหค์ ะแนนเฉลยี่ ของ นกั เรยี น แสดงว่านักเรียนมีความพงึ พอใจมากท่ีสุดต่อ การใช้สื่อการสอน (คลิปการสอน) เนื่องจากการสอนโดยใช้สื่อการสอนเป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ลงมือ ปฏิบัติจริงทกุ คน ซึ่งคุณครูผู้สอนสามารถอธิบายนักเรียนควบคู่กับการทำกิจกรรมผ่านสือ่ การสอน (คลิปการสอน) พร้อมกันได้และทำใหน้ ักเรยี นจดจำหลักการใช้ภาษาองั กฤษไดด้ ียิ่งข้นึ 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ครูควรใชส้ ่ือการสอนทีห่ ลากหลายในการทำกิจกรรมภาษาองั กฤษของนักเรียน เพือ่ ดงึ ดูดความสนใจ ในการเรยี น และทำให้นักเรียนให้ความรว่ มมือมอื ในการเรียนการสอนยิง่ ขนึ้

5.2.2 การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอน (คลิปการสอน) คุณครูสามารถนำไปปรับใช้กับเนื้อหาและ บทเรียนที่สอนได้อย่างหมาะสม และใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนเพื่อพัฒนาปรับปรุงบทเรียนออนไลนใ์ นการสอน ครง้ั ต่อไป อ้างองิ กวิยา เนาวประทีป. 2553. ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลต่อระดับ ความพึงพอใจของนักศกึ ษาโครงการปรญิ ญาโททางการ บัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะ พาณิชยศาสตร์และการบัญชมี หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. ชาญชัย ยมดิษฐ์. 2548. เทคนิคและวิธีการสอนร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร: หลักพิมพ์. วิชิต อู่อ้น. 2550. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สิริพัชร์เจษฎาวิโรจน์. 2550. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. Shelly, M. W. (1975). Responding to Social Change. Pennsylvania: Dowden Huntchisam Press. Inc.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook