Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหา วิสาหกิจเพื่อสังคม

เนื้อหา วิสาหกิจเพื่อสังคม

Published by arisa.26, 2017-05-19 00:03:09

Description: เนื้อหา วิสาหกิจเพื่อสังคม

Search

Read the Text Version

วิชา เรียนรูว้ สิ าหกจิ เพื่อสงั คม (Social Enterprise: SE) สาหรบั บคุ ลากรทกุ ระดบั รษิกา สีหะจุฬางกรูขอบเขตรายวิชา รายวิชาเรียนรู้วิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise: SE) นั้นจะทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และทาความเข้าใจและความเป็นมาของแนวคิดนี้ รวมไปถึงความแตกต่างของแนวความคิดวิสาหกิจเพื่อสังคม และแนวคิดอ่ืนๆ และแสดงให้เห็นถึงการดาเนินงานของ SE ในต่างประเทศท่ีประสบความสาเร็จอย่างมากมายเมื่อนามาปรับใช้ในประเทศไทยแนวคิดน้ีก็ได้ถูกปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสังคมไทยผ่านการดาเนินงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐในรูปแบบของบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัดและในฐานะของข้าราชการกรมการพฒั นาชุมชนที่รับผิดชอบในการนานโยบายน้ีไปปฏิบตั ิทั้งในส่วนกลางและในพน้ื ทจ่ี งึ ตอ้ งเรยี นรบู้ ทบาทหน้าทขี่ องผปู้ ฏบิ ตั งิ านและการดาเนนิ งานบริษทั ประชารัฐฯวัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ เรียนรู้แนวคดิ /ความเป็นมาของแนวความคิดวสิ าหกิจเพอ่ื สงั คม (Social Enterprise: SE) 2. เพอ่ื เรียนรคู้ วามแตกตา่ งระหวา่ งแนวความคดิ SE และแนวคิดอืน่ ๆ 3. เพอ่ื เรยี นรู้รปู แบบและการนาเอาแนวคดิ SE มาใช้ในประเทศไทย 4. เพ่ือเรียนรู้บทบาท/หน้าท่ีของกรมการพัฒนาชุมชนในการดาเนินงานร่วมกับบริษัทประชารัฐรัก สามคั คีฯเนอ้ื หารายวชิ า 1. แนวคิด/ความเปน็ มาของ “วสิ าหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise: SE)” 2. ความแตกต่างระหว่าง ธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business) และ วิสาหกิจเพ่ือสังคม (Social Enterprise) 3. SE ทปี่ ระสบความสาเร็จในประเทศตา่ งๆ 4. วสิ าหกจิ เพื่อสังคมกับบรษิ ัท ประชารัฐรักสามัคคจี งั หวดั (วสิ าหกจิ เพือ่ สังคม) จากดั 5. กรมการพัฒนาชมุ ชนกบั การดาเนนิ งานเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ 6. บทเรยี นทป่ี ระสบความสาเร็จของแต่ละบริษทั

1. แนวคิด/ความเปน็ มาของ “วสิ าหกจิ เพอื่ สังคม (Social Enterprise: SE)” ในยุคที่เศรษฐกิจถูกขับเคล่ือนด้วยระบบทุนนิยม ในแงข่ องการพัฒนาเศรษฐกิจแน่นอนย่อมทาให้เกิดการแข่งขันและการพัฒนาเทคโนโลยี แรงงานมากมายถูกเกณฑ์เข้ามาเพื่อเป็นต้นทุนสาคัญในการผลิตทรัพยากรต่างๆถูกนามาใช้อย่างรวดเร็ว และไม่ได้สามารถทดแทนข้ึนมาได้ทันต่อการขยายตัว ของการเจริญเติบโตน้ี และในทางกลับกันการเติบโตท่ีรวเร็วของเสณษฐกิจนี้มามาซึ่งปัญหาแอบแฝงและนับวันเร่ิมกลายเป็นปัญหาที่หนักหนาขึ้น ท้ังการกดข่ีขูดรีดแรงงานเพื่อให้ได้มาเพ่ือกาไรสูงสุด รายได้เกิดการกระจุกตัวอยู่ในหมู่นายทุนผู้ธุรกิจ ชุมชนเล็กๆขาดแรงงานเพื่อไปพัฒนาตนเอง คุณภาพชีวิตของคนเร่ิมตกต่าเน่ืองจากรายได้ท่ีไม่พอประทังชีวิต ทรัพยากรเส่ือมโทรมลง สิ่งเหล่าน้ีเกิดขึ้นสวนทางกับความเจริญงอกงามทางเศรษฐกจิ ทเ่ี กิดขึ้นในปจั จบุ นั บทบาทของบริษัทต่างๆในการดาเนินงานเพ่ือพัฒนาและแก้ไขสังคมมีมาอย่างยาวนาน เนื่องจากการดาเนินงานของบริษัทต่างๆน้ันย่อมเกิดผลกระทบต่อสังคมไม่มากกว่าน้อย ทั้งในด้านลบและด้านบวก ภาคธุรกิจจึงมีวธิ ีการผ่อนปรนและบรรเทาปัญหาเหล่านี้ โดยกระบวนการคืนประโยชน์สู่สังคมตามที่เรารู้จักกันคือCSR ซ่ึงในช่วงแรกของการทา CSR นั้นเป็นการแบ่งเงินจากผลกาไรบางส่วนมาเพื่อมาตอบแทนสังคมในด้านตา่ งๆ ซ่ึงเรียกว่า CSR-after-process แต่ตอนหลังความตระหนักถึงการดาเนินงานของบริษัทได้ส่งผลกระทบอย่างไรต่อสังคมและชุมชน จึงได้ปรับเปล่ียนมาเป็นการทา CSR-in-process เพ่ือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมและชุมชนต่างๆและถือเปน็ การแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมซงึ่ เป็นมากกวา่ การทาตามกฎหมายเหมือนอยา่ งการทา CSR แบบแรก และเมื่อเวลาผ่านไปธุรกิจต่างๆสามารถบริหารจัดการต่องผลกระทบทางด้านลบที่เกดิ ขนึ้ ต่อชมุ ชนได้แล้วนนั้ ก็เริ่มพัฒนามาสกู่ ารบรหิ ารงานและทรพั ยากรของทางกิจการมาเพื่อสร้างประโยชน์และผลกระทบเชิงบวกตอ่ สังคมและชุมชน แต่ทั้งนี้เป้าหมายหลักของการดาเนินกิจการของบริษัทเหล่านี้น้ันก็ยังคงมุ่งเน้นผลกาไรของบริษัทเป็นท่ีตั้ง จนในปัจจุบันได้เกิดแนวความคิดเร่ืองการประกอบธุรกิจที่มีเป้าประสงค์หลักเพ่ือการแก้ไขปัญหาสังคม นั้นคือ แนวความคิดท่ีเรียกว่า ผู้ประกอบเพื่อการสังคม (SocialEntrepreneur) ซึ่งมีรูปแบบแยกย่อยลงไปและมีลักษณะท่ีแตกต่างกัน อาทิ ธุรกิจเพ่ือสังคม (SocialBusiness) วสิ าหกจิ เพอ่ื สังคม (Social Enterprise) เปน็ ตน้

วสิ าหกจิ เพอื่ สงั คม (Social Enterprise) คือ อะไร? จุดเรมิ่ ต้นของแนวคิด วสิ าหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) นั้น เร่ิมจากความคิดที่จะดาเนินธรุ กิจหรือกิจการท่ีมีจุดมุ่งหมายในการแก้ไขปัญหาสังคมเหมือน NGOs มูลนิธิ หรือ องค์กรการกุศลต่างๆ แต่มีวิธีการเหมือนการทาธุรกิจท่ัวไปเพ่ือหากาไร เพียงแต่ไม่ได้มุ่งทากาไรสูงสุดเพ่ือนามาปันผลกันในหมู่ผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจการเอง ดังน้ัน วิสาหกิจเพื่อสังคม จึงเป็นการนาเอาข้อดีของภาคธุรกิจและภาคสังคมมาผสมผสานกัน เพื่อให้เกิดความยั่งยืนข้ึนในสังคม ทั้งที่เนื่องจาก ธุรกิจย่อมไม่อาจดาเนินไปได้หากว่าสังคมนั้นลม่ สลาย แตห่ ากการคานงึ ถึงสังคมนั้นมุ่งเน้นแตไ่ ปในแนวทางแบบ มูลนิธหิ รือ NGOs ไปเสียทั้งหมด ก็ย่อมไม่เกดิ ความสร้างสรรค์และพฒั นานวัตกรรมต่างๆตามแนวทางแบบทนุ นยิ ม อีกทั้งการได้มาซง่ึ รายได้ย่อมไม่ย่ังยืนเพราะองค์กรการกุศลเหล่านี้ ยืนหยัดได้ด้วยเงินบริจาค ซ่ึงหากปราศจากซ่ึงรายได้ทางน้ีแล้วองค์กรก็คงต้องปดิ ตัวลง จุดประสงค์หลักของการจัดตั้ง วิสาหกิจเพื่อสังคม คือ การแก้ไขปัญหาสังคมในด้านต่างๆ เช่นแก้ปัญหาความยากจน ส่งเสริมการศึกษา อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม แก้ปัญหาด้านโภชนาการและสาธารณสุข เป็นต้น โดยอาจดาเนินงานได้ในหลายรูปแบบ ท้ังการสร้างงานให้คนด้อยโอกาส การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนโดยการให้ความรู้ หรือการนาเอากาไรท่ีได้จากการดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจไปช่วยเหลือชุมชนหรือมูลนิธิต่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้เป้าประสงค์หลักของการดาเนิน วิสหกิจเพื่อสังคม นั้นจะต้องมีความตระหนักในเร่ืองของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติด้วย โดยท่ีการดาเนินกิจการประเภทน้ีจะเป็นไปเพื่อแก้ปญั หาและดแู ลสง่ิ แวดล้อมไปพรอ้ มกนั โดยไมเ่ ป็นการตกั ตวงเอากาไรสงู สุดแต่เพยี งอยา่ งเดยี ว ลักษณะสำคญั ของ วสิ ำหกจิ เพื่อสงั คม (Social Enterprise) 1) ดาเนินงานเพ่ือผลประโยชน์ทางสังคมหรือส่ิงแวดล้อม และมีแนวทางการหารายได้ด้วยตนเองเพ่ือหล่อเลี้ยงการดาเนินงานอย่างยั่งยืน โดยที่มาของรายได้สามารถอยู่ในรูปแบบการขายผลิตภัณฑ์และ/หรือบริการ การระดมทุนโดยให้ผลตอบแทนแก่ผู้ลงทุน จนถึงการขอรับบริจาคหรือการสนับสนุนทางการเงินแบบใหเ้ ปลา่ เหมือนองคก์ ารสาธารณประโยชน์ 2) เน้นการใช้นวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา นั่นคือการคิดค้นวิธีการใหม่ๆ ที่สามารถแก้ปัญหาที่เป็นเป้าหมายของการดาเนินงานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ได้ผล ย่ังยนื และสามารถตอ่ ยอดผลลัพธ์ได้ 3) การดาเนินงานโดยอาศัยความร่วมมืออย่างกว้างขวาง เพื่อใช้ศักยภาพเฉพาะทางของหน่วยงานตา่ งๆ ในเครือขา่ ยเพื่อร่วมแกไ้ ขปัญหาทซ่ี ับซอ้ น ด้วยความรับผิดชอบที่มีมาพร้อมการดาเนินกิจการเพื่อสังคมน้ี อาจทาให้เกิดความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือนถึงรูปแบบความรับผิดชอบต่อสังคมท่ีเคยมีมาก่อนหน้าน้ี อย่าง CSR (Corporate SocialResponsibility) ซ่งึ แท้จริงแลว้ การดาเนินงานท้งั 2 อย่างนี้มีความแตกต่างกนั ทัง้ คานยิ ามและในเชงิ หลกั การ

ควำมแตกต่ำงระหว่ำง CSR และ SE กระแสเรอื่ งการดาเนินความรับผิดชอบตอ่ สังคม ของกิจการต่างๆ เริ่มปรากฏชัดเจนเปน็ รูปธรรมมากข้ึน จนมีรูปแบบขององค์กรหรือคาเรียกแบบใหม่เกิดข้ึนเพ่ือตอบสนองเจตนารมณ์ขององค์กรที่ต้องการยกระดับการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมโลกที่มีพลวัตสูงขึ้น คาเรียกที่เกิดขึ้นใหม่ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา อาทิ Social Enterprise,Social Entrepreneur, Social Entrepreneurship โดยที่มีความพยายามนาคาเหล่าน้ีไปเปรียบเทียบกับคาว่า CSR ว่าวา่ มคี วามแตกตา่ งกันอย่างไร ในทางคานิยามแล้ว (Social) Enterprise คือ วิสาหกิจ, การประกอบการ แต่ (Corporate Social)Responsibility คือ ความรับผิดชอบ ซ่ึงวิสาหกิจเพ่ือสังคมน้ัน เป็นได้ท้ัง องค์กรท่ีไม่แสวงหากาไร (non-profits) และที่แสวงหากาไร (for-profits) เม่ือการประกอบการเป็นไปเพ่ือวัตถปุ ระสงคท์ างสังคม ก็เรยี กได้วา่วิสาหกิจนั้นไม่ว่าจะแสวงหากาไรหรือไม่แสวงหากาไร ก็ถือว่ามีความรับผิดชอบต่อสังคม ดังน้ัน SocialEnterprise จึงมี CSR ในขณะท่ี CSR คอื กจิ กรรมเพ่ือสงั คม เปน็ ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมที่เกิดขึ้นปลายทางหลังจากที่ธุรกิจมีกาไรและม่ันคงแล้ว จึงหาหนทางในการตอบแทนคืนสู่สังคมในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ซง่ึ ต่างจาก Social Enterprise ท่มี หี ัวใจหลักของการประกอบการอยู่ทีส่ ังคมตงั้ แต่ต้นทาง เพราะฉะน้ัน กิจการหรือธุรกิจที่ดาเนินการตามแนวคิดแบบ Social Enterprise จึงมีพันธกิจหลักในการดาเนินงานเพ่ือสังคมและสิ่งแวดล้อม แต่สาหรับการประกอบธุรกิจท่ัวๆไปท่ีไม่ได้มีจุดประสงค์หลักเพื่อสังคมก็อาจจะมีการทา CSR เพื่อเป็นการคืนประโยชน์กลับสู่สังคมและสร้างการยอมรับขึ้นได้ หรือในอีกนัยหน่ึงอาจจะมีการดาเนินธุรกิจโดยมีวัตถุประสงค์ทางสังคมมากากับ ดังเช่นการดาเนินธุรกิจในรูปแบบ ธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business) ตามแนวความคิดของ ศาสตราจารย์มูฮมั หมัด ยูนุส ผู้บกุ เบิกธุรกิจเพ่ือสังคมในบังคลาเทศและเจา้ ของรางวัลโนเบล สาขาสนั ตภิ าพ ในปี ค.ศ. 2006 ดังที่กล่าวมาแล้ว แนวความคิด วิสาหกิจเพ่ือสังคม (Social Enterprise) เป็นหน่ึงในแนวความคิดท่ีคิดค้นข้ึนมาเพ่ือแก้ปัญหาทางสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดการจากการดาเนินธรุ กิจอย่างไร้จริยธรรมและความคานึงถึงสังคม ซ่ึงยังมีอีกแนวความคิดหน่ึงท่ีแพร่หลายเป็นอย่างมากในการดาเนินธุรกิจหรือกิจการที่คานึงถึงสังคม นั่นคือ แนวความคิด ธุรกิจเพ่ือสังคม (Social Business) ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักท่ีเหมือนกัน คือ มุ่งไปที่ประโยชน์ทางสังคม และกาไรสูงสุดมิใช่เพื่อกิจการของตนเอง แต่กระนั้นก็ยังมีความแตกต่างในทางหลักการและลกั ษณะบางประการ ดงั ทจ่ี ะได้กล่าวถงึ ในบทต่อไป

2. ความแตกตา่ งระหว่าง ธรุ กิจเพ่ือสงั คม (Social Business) และ วิสาหกจิ เพ่ือสังคม (Social Enterprise) ธุรกิจหรือกิจการใดๆท่ีดาเนนิ การเพื่อเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาสังคมเป็นวตั ถุประสงคห์ ลักนั้น เราได้หมายรวมเรียกกิจการเหล่านั้นว่าเป็น ผู้ประกอบการสังคม (Social Entrepreneur) ซึ่งได้มีลักษณะท่ีดาเนินกิจการเพื่อแก้ไขปัญหาสังคมในด้านต่างๆ เช่น แก้ปัญหาความยากจน ส่งเสริมการศึกษา อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แก้ปัญหาด้านโภชนาการและสาธารณสุข เป็นต้น และท่ีคุ้นเคยกันดีในประเทศไทยก็คือ แนวคิดแบบธุรกิจเพ่ือสังคม (Social Business) และ วิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ซ่ึงดูเผินๆแล้วท้ังสองแนวคดิ นีน้ า่ จะเปน็ แนวคดิ เดยี วกัน แต่ความจริงแลว้ ทง้ั สองรูปแบบน้มี ีความแตกต่างกัน สหประชาชาติได้ประกาศเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยั่งยืน (Sustainable DevelopmentGoals: SDGs) ในเดือนกนั ยายน 2558 โดยมเี ปา้ หมายสาคัญวา่ ในอีก 15 ปี ต่อจากนี้ ความยากจนตอ้ งหมดไป ปกปอ้ งทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม และประชากรโลกมีความเปน็ อยู่ทีด่ ีมีรายได้ ซ่ึง ศาสตราจารย์มูฮมั มดั ยูนุส ศาตราจารย์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ผู้คิดค้นการทา ธุรกิจเพื่อสังคม(Social Business) โดยเริ่มต้นแหง่ แรกท่ี บังคลาเทศบา้ นเกดิ ของเขา ได้อธิบายว่าแนวทาง ธุรกิจเพ่ือสังคมน้ันจะสามารถตอบรบั ต่อเปา้ หมายการพัฒนาอย่างยั่งยนื ของสหประชาชาตไิ ด้ และแนวคดิ นี้ยังสามารถผลักดนั ให้บรรลุซง่ึ เป้าหมายทต่ี ั้งไว้ ธรุ กิจเพื่อสังคม (Social Business) เป็นแนวความคิดที่ ศ.ยูนสุ คิดขึ้นมาโดยเร่ิมตน้ มีความตอ้ งการอยากแก้ปัญหาการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของคนจนในบังกลาเทศ เนื่องจากคนจนนั้นไม่มีเครดิตและไม่สามารถกู้เงินไปใช้ทามาหากินได้จากธนาคารหรือสถาบันการเงินทั่วไป เขาจึงคิดเร่ือง การเงินระดับฐานราก(Microfinance) โดยก่อตั้งธนาคารกรามีน (Grameen Bank) ข้ึนมาในปี 2526 เพ่ือเป็นแหล่งเงินกู้สาหรับประชาชนท่ียากจน และธนาคารนี้ได้ขยายตัวต่อยอดไปเป็นธุรกิจอีกหลากหลายซึ่งสามารถแก้ไขปัญหาความยากจนไดใ้ นหลายๆประเทศ และเปน็ ต้นกาเนิดของการดาเนินธรุ กิจเพื่อสังคม ซ่ึงศ.ยูนุส นั้นไดว้ างหลักเกณฑ์ของธุรกิจเพื่อสังคมไว้ 7 ข้อ นนั่ คือ 1. เป็นธุรกิจที่ดาเนินการเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน หรือปัญหาอ่ืนๆในสังคม เช่น การศึกษา สาธารณสุข การเขา้ ถงึ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดลอ้ ม เป็นตน้ 2. เปน็ ธรุ กจิ ทด่ี าเนนิ การบนฐานของความยั่งยืนทางการเงนิ และเศรษฐกจิ 3. ผู้ลงทุนจะได้รบั เงินต้นทีล่ งทุนไปเท่านัน้ จะไมไ่ ดร้ ับการปันผลใดๆทงั้ ส้ิน 4. เมื่อคืนทุนให้ผู้ลงทุนไปแล้ว กาไรจากการดาเนินกิจการจะนามาใช้เป็นทุนต่อยอดการดาเนินธุรกิจ ตอ่ ไป 5. คานึงถงึ ส่งิ แวดลอ้ ม 6. แรงงานไดค้ า่ แรงตามท่ีสมควรได้ และได้ทางานนสภาพแวดล้อมท่ดี ี 7. ทางานด้วยความร่นื เรงิ ใจ

ในอีกด้านหนึ่งธุรกิจเพื่อสังคมนั้นย่อมเป็นการดาเนินงานแบบธุรกิจท่ีหวังผลกาไรและไม่ให้เกิดการขาดทุนอย่างแน่นอน เพียงแต่ว่ากาไรน้ันมิใช่การปันผลเพื่อ “ประโยชน์ส่วนตัว” แต่เป็นการปันผล “เพ่ือประโยชน์ส่วนรวม” โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ธุรกิจเพื่อสังคมแบบท่ี 1 (Type I Social Business:non-loss, non-dividend company) ซ่ึงเป็นบริษัทที่ไม่มีการปันผลแก่ผู้ลงทุน ผู้ลงทุนจะได้รับแต่เพียงเงินตน้ คืนเท่านั้น และผลกาไรจะถูกนาไปขยายและพัฒนากิจการให้ดีย่ิงขน้ึ และ ธุรกิจเพื่อสังคมแบบท่ี 2 (TypeI Social Business: profit-making company) ที่สามารถปันผลได้หากว่าผู้ลงทุนน้ันเป็นคนยากจน และการปนั ผลนั้นเปน็ เพอ่ื บรรเทาความยากจนของพวกเขาเหล่าน้ัน ท้ังนี้หากว่าธรุ กิจใดๆดาเนินการไปได้ตามหลักการน้ีก็ถือวา่ เป็นธรุ กิจเพื่อสังคม แต่ในขณะเดยี วกันในแต่ละพื้นท่ีย่อมมีความแตกตา่ งกันในหลายๆด้าน ท้ังระบบการเมือง ระบบเศรษฐกิจ และสภาพของสังคม ซึ่งทามาสู่การปรับเปล่ียนแนวคิดน้ีให้เข้ากับสภาพสังคมนั้นๆ หนึ่งในน้ันคือ การดาเนินงานแบบวิสาหกิจเพ่ือสังคม (Social Enterprise) คาว่า วสิ าหกิจ น้ันเป็นคาที่กว้างมากกว่าคาว่า ธุรกิจ เน่ืองจากวิสาหกิจ คือ การดาเนินกิจการใดๆที่มีความซับซ้อนหลากหลาย หรือเสี่ยงต่อการขาดทุน แต่สาหรับธุรกิจน้ัน คือ การประกอบกิจการใดๆ ท้ังทางด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หัตถกรรม การบริการ หรือกิจการที่เป็นการคา้ ขาย หรอื กิจกรรมใดๆทไ่ี ม่ใชร่ าชการ ซง่ึ โดยความหมายนี้ วิสาหกจิ นั้นจะเปน็ คาทกี่ วา้ งกว่า ธรุ กจิ วิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) เป็นการดาเนินธุรกิจท่ีมีความหลากหลายของกลุ่มคนที่เขา้ รว่ มลงทุนมากกวา่ ธกุ จิ เพ่ือสังคม และเป้าหมายก็ไมไ่ ด้จากัดอยู่เฉพาะทีค่ นยากจน แต่เปน็ ทุกๆคนในสงั คมโดยมีเป้าหมายการดาเนินกิจการที่คานึงถึงประโยชน์ของสังคมและสิ่งแวดล้อมมากกว่าท่ีจะคานึงถึงกาไร โดยที่วสิ าหกจิ เพือ่ สัคมน้ันมลี กั ษณะดังนี้ 1. มภี ารกิจท่ีชดั เจนท่จี ะทาเพ่ือสงั คม และ/หรอื ส่ิงแวดลอ้ ม ระบุไว้ในเอกสารที่เป็นทางการ 2. รายไดห้ ลักมาจากการคา้ ขาย 3. ลงทนุ ซา้ จากรายได้สว่ นใหญ่ 4. เปน็ อสิ ระจากรฐั 5. การดาเนนิ งานเป็นไปเพื่อผลประโยชนต์ ่อสังคมเป็นหลัก 6. โปร่งใสและตรวจสอบได้ ดังจะเห็นไดว้ ่า วิสาหกิจเพ่อื สังคมนั้นไม่ได้มีบทบญั ญัติข้อไหนที่ระบวุ ่า ห้ามไม่ให้ปนั ผลกาไร เพียงแต่ผลกาไรส่วนใหญ่ทไ่ี ด้นน้ั ต้องนาไปลงทุนวนกลบั คนื ใหก้ ารดาเนินธุรกิจนั่นเอง สาหรับวิสาหกิจเพ่ือสังคมนั้นก็มีการแบ่งออกได้เป็นท้ังกิจการท่ีไม่แสวงหากาไร (Non-profits) แต่กระนั้นก็มิใช่องค์กรการกุศลที่ไม่หวังผลกาไร (Non-profit organization) เหมือน มูลนิธิ เน่ืองจาก มูลนิธิน้ันมรี ายได้มาจากการดาเนนิ ธรุ กจิ ก็จริง แตร่ ายรับหลักกลบั มาจากการบรจิ าค เพ่ือนาไปใชใ้ นการดาเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ และท่สี าคญั ไมม่ ผี ู้ใดเปน็ เจ้าของ “มูลนธิ ”ิ เหมือนกบั การดาเนินงาน วิสาหกจิ เพ่ือสงั คม ที่

แสวงหากาไร (For-profits) ซึ่งหากมีกาไร ก็จะนากาไรส่วนใหญ่ไปขยายหรือลงทนุ ในกิจการหรือโครงการเพือ่สงั คมตอ่ และกาไรบางส่วนแบ่งปนั กลับคนื ให้เจ้าของและผู้ถือห้นุ ได้ตำรำงแสดงกำรเปรยี บเทยี บองคก์ ร/กจิ กำรต่ำงๆ วัตถปุ ระสงคก์ ารจดั ตง้ั หรอื ลกั ษณะในการประกอบการท่ี รปู แบบกจิ การ มสี มาชกิ หรือผถู้ อื ทาการคา้ และ มีการปนั ผลแก่ มกี ารเฉลี่ยคืนผล จดั ตัง้ ขึ้นเพือ หุน้ ร่วมกันเป็น หวังผลกาไร สมาชกิ หรือผ้ถู อื กาไรแกส่ มาชกิ วตั ถปุ ระสงค์1 บรษิ ัททว่ั ไป ส่วนรวม/สาธารณะ2 สหกรณ์ เจา้ ของ หนุ้ หรอื ผ้ถู อื หนุ้3 สมาคม เปน็ หลัก4 มลู นธิ ิ    5 วิสาหกจิ เพ่อื สงั คม      6 ธรุ กจิ เพ่ือสังคม        ปันไดบ้ างส่วน   ปันไดห้ ากผถู้ ือหุ้น  เป็นคนยากจนหรือ  ผูด้ ้อยโอกาส เพราะฉะน้ันแล้วหากเทียบเคียงการดาเนินงานแบบ วิสาหกิจเพื่อสังคม และธุรกิจเพ่ือสังคม จะเห็นว่าวัตถุประสงค์หลักๆของทั้งสองแนวทางนั้นเป็นไปเพ่ือ การแก้ปัญหาและสร้างประโยชน์ให้แก่สังคม โดยมีความคานึงถึงสงิ่ แวดล้อม แตส่ ่ิงท่แี ตกต่างกันออกไปคอื วิสาหกิจเพ่ือสังคมนนั้ จะครอบคลุมและให้ความหมายที่กว้างกว่า ธุรกิจเพ่ือสังคม เพราะเป้าหมายนั้นไม่ใช่แต่เพียงคนยากจนและด้อยโอกาส แต่ยังรวมถึงกลุ่มคนอ่ืนๆในสังคมด้วย นอกจากน้ีเราจะเห็นได้ว่าโดยหลักการแล้วน้ัน วิสาหกิจเพื่อสังคมสามารถที่จะปันผลกาไรส่วนหนึ่งให้แก่ผู้ลงทุนได้หรือจะเอากาไรมาต่อยอดดาเนินกิจการต่อไปก็ได้ แต่ธุรกิจเพื่อสังคมนั้น ไม่สามารถปนั ผลกาไรได้ หรอื ถา้ จะปันผลไดก้ ต็ อ้ งให้คนยากจนเปน็ เจ้าของกิจการหรอื เงินลงทุนเทา่ นั้น เพราะฉะนั้นสามารถจาแนกแต่ละประเภทของการดาเนินกิจการเพื่อสังคมออกมาให้เห็นภาพที่ชัดเจนไดต้ ามแผนผังดา้ นลา่ ง

แผนผังการจาแนกประเภทกิจการ มคี วามม่งุ ประสงค์ทางสังคมหรือไม่? ไม่มี มีCommercial มุ่งกาไรหรือไม่?Enterprise ไม่ ใช่ Non-Profit มีการปันผลกาไรหรือไม?่Social Enterprise ไมม่ ี มี Social Business ผู้ถอื หนุ้ ทรี่ ับประโยชนห์ รอื ปันผล Type I เป็นคนยากจนหรือผดู้ อ้ ยโอกาสหรอื ไม?่ ไม่ใช่ ใช่ For-Profit Social Business Social Enterprise Type II เมื่อได้รับทราบแล้วว่า วิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) คือ อะไร มีจุดประสงค์เช่นไร และมีความแตกต่างจากการดาเนินกิจการหรือธุรกิจอื่นๆอย่างไรไปแล้ว บทต่อไปจะขอกล่าวถึง ตัวอย่างการดาเนินงาน วสิ าหกจิ เพื่อสังคม ทัง้ ในเวทีโลกและในประเทศไทย 3. SE ที่ประสบความสาเรจ็ ในประเทศต่างๆ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา รัฐบาลในหลายประเทศได้แล็งเห็นความสาคัญของกิจการเพื่อสังคม และมีนโยบายในการสนับสนนุ กิจการเพือ่ สังคม ตวั อยา่ งเช่น ในทวีปยุโรป “ธุรกิจเพอื่ สงั คม” กาลังมีอนาคตท่ีนา่ จับตามอง ล่าสดุ ในประเทศอติ าลี ธรุ กิจเพ่อื สังคม หรือที่เรยี กกันว่า “Other Economy” ประกอบไปดว้ ยการทาเกษตรอินทรีย์ (Organic Farming) การค้าบนพ้ืนฐานความยุติธรรม (Fair Trade) ธุรกิจเพื่อการกุศล(Charity Projects) ซ่ึงสามารถทารายได้เป็นเม็ดเงินสูงถึง 60,000 ล้านยูโร (ราว 3 ล้านล้านบาท) คิดเป็น4% ของ GDP ทั้งหมด ทั้งน้ีภาคธุรกิจดังกล่าวมีแนวโน้มว่าจะขยายตัวเพิ่มข้ึนอีก โดยจากการศึกษาของมหาวิทยาลัย John Hopkins พบว่าธุรกิจเพื่อสังคมมีแนวโน้ม การจ้างงานท่ีเติบโตกว่าในธุรกิจทั่วไปถึง 3เทา่

ในประเทศอังกฤษ ธุรกิจเพ่ือสังคมถูกจัดอยู่ใน “Third Sector” (โดยมีภาครัฐเป็น First Sectorและภาคธุรกิจเอกชนทั่วไปเป็น Second Sector) และยังถือว่าเป็น “Social Economy” ซึ่งนัยหนึ่งก็คือ“ระบบเศรษฐกิจทางเลือก” ทอ่ี ยู่นอกเหนอื จาก 2 แนวทางหลกั คือ ระบบเศรษ ฐกิจทุ นนิยม (Capitalism) และระบบเศรษฐกิจท่ีกากับและควบคุมโดยรัฐ(Communism) ทั้งน้ีธุรกิจเพ่ือสังคมในองั กฤษจะครอบคลุมธุรกิจต่างๆ ของชุมชน เช่น เครดิตยูเนียน บริษัทค้าขายขององค์กรการกุศล สหกรณ์ เงินกองทุนเพื่อการพัฒนา บริษัทเอกชนท่ีมุ่งกาไรแต่จัดสรรกาไรเพื่อการกุศล ฯลฯ ซ่ึงรัฐบาลได้ให้การสนับสนุนด้วยการให้เงินลงทุนแบบกองทุนสวัสดิการ (Trusts andFoundations) รวม 9,000 ล้านปอนด์ (ราว 495,000 ล้านบาท) และยังมีเงินในกองทุนประเภทอื่นๆ อีก80,000 ล้านปอนด์ (4.4 ล้านล้านบาท) ตลอดจนได้มีการจัดตั้ง Social Enterprise Unit ข้ึนในกระทรวงการคา้ และอุตสาหกรรม ในปีค.ศ. 2002 ซ่ึงต่อมาได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของ Office of the Third Sector ในปีค.ศ.2006เพื่อประสานและดูแลธุรกิจเพ่ือสังคมและองค์กรที่ไม่แสวงผลกาไรโดยเฉพาะ นอกจากน้ี ยังมีการจัดตั้งนิติบุคคลรูปแบบใหม่ภายใต้ช่ือ “Community Interest Company (CIC)” ซ่ึงต้ังขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพ่ือผลประโยชน์ของชุมชนมากกว่าเพื่อของเจ้าของ โดยกฎหมายบังคับให้ คืนผลกาไรร้อยละ 35 ของกาไรท้ังหมดแก่ชุมชน ขณะท่ีให้บุคคลอ่ืนได้เพียงร้อยละ 4 และยังบังคับมิให้มีการโอนย้ายกาไรและทุนท่ีบริษัทสะสมไดอ้ อกจากบริษัทด้วย ท้ังน้ีเพ่ือให้ชุมชนเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มท่ี นอกจากน้ีรัฐบาลอังกฤษยังมีแผนการจดั ตั้ง “ตลาดหลักทรพั ยเ์ พ่อื สังคม” ในกรุงลอนดอนอีกด้วย นอกจากประเทศทางฝั่งยุโรปแล้ว ยังมีประเทศอ่ืนๆทั้งในแถบอเมริกา เอเชีย และแอฟริกาท่ีนาแนวทาง Social Enterprise ไปใช้ในการดาเนินกิจการและธรุ กิจ ตัวอย่างเชน่ ประเทศแคนาดา มีเงินกองทุนสนับสนุน Social Enterprise ภายใต้การดูแลของรัฐมนตรีด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษยแ์ ละศกั ยภาพ พร้อมทัง้ มีการออกพระราชบัญญัตคิ วามรว่ มมือขององค์กรไมแ่ สวงหาผลกาไร โดยลดความแตกต่างของกฎระเบียบสาหรับองค์กรไม่แสวงหาผลกาไรและรัฐบาล ปรับปรุงความน่าเช่ือทางการเงิน ทาให้บทบาทและความรับผิดชอบของพนักงานและผู้อานวยการมีความเข้าใจง่าย และปกป้องสิทธิของสมาชิก นอกจากนั้นยังก่อตั้ง Co-operative Development Initiative (CDI) ในปี 2003 ซ่ึงเป็นโครงการ 5 ปี เพ่ือชว่ ยพฒั นา ทาวจิ ยั รวมถึงทดลองใชน้ วัตกรรมกบั ของโมเดลของสหกรณต์ ่างๆ ในส่วนภูมิภาคเอเชีย ประเทศสิงคโปร์ มีการจัดตั้งกองทุน Social Enterprise (Social EnterpriseFund - SEF) ซ่ึงเป็นผู้ให้เงินทุนสนบั สนุนเร่ิมตน้ สาหรับกิจการเพอื่ สงั คม และยังมกี ารจัดต้ังคณะกรรม SocialEnterprise Committee (SEC) โดยมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจ สร้างกิจการเพื่อสงั คมที่มีความชานาญด้านสงิ่ แวดล้อม และสรา้ งวัฒนธรรมของการเป็นผู้ประกอบการด้านสังคม

ประเทศกัมพูชา มีการดาเนินงานของบริษัท Digital Divide Data (DDD) เป็นบริษัทด้าน IT ขนาดใหญ่ท่ีเปิดโอกาสการทางานให้กับผู้ขาดโอกาสและผู้พิการ ซ่ึงถูกกีดกันออกจากสังคม และมีโอกาสก้าวหน้าน้อยมากในประเทศกัมพูชา ประเทศอินเดีย มีการก่อตตั้ง Aravind Eye Hospital and Aurolab เป็นโรงพยาบาลตา ที่มีเป้าหมายคือการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และบริการด้านสาธารณสุขให้ผู้คนได้เข้าถึงในราคาย่อมเยาแต่องค์กรก็ยังคงมีเสถียรภาพทางการเงิน โดยทุกวันนี้ Aravind เป็นผู้ที่ให้บริการการผ่าตัดดวงตาท่ีใหญ่ที่สุดในประเทศอินเดีย โดยรักษาดวงตาให้กับผู้ป่วยกว่า 1.4 ล้านคนต่อปี และรักษาฟรีให้กับผู้ป่วยประมาณ 66เปอร์เซ็นตข์ องจานวนผู้ป่วยต่อปี เพราะรายไดจ้ ากผู้ป่วยท่ีมีกาลังจา่ ยค่ารักษาพยาบาลได้นั้นครอบคลมุ ต้นทุนขององค์กรได้ นอกจากน้ียังมีหน่วยงาน SKS India ซ่ึงเป็นหน่วยงานให้บริการทางการเงินแก่คนจนในอินเดียโดยมุ่งหมายจะช่วยให้คนจนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ผ่านทางโปรแกรมธนาคารของชุมชน ที่ให้ผู้หญิงยากจนกู้เงินสาหรับการลงทุนทางธุรกิจและสาหรับเรื่องฉุกเฉินอื่นๆ โดยไม่จาเป็นต้องกู้เงินนอกระบบท่ีต้องจ่ายดอกเบ้ียสงู ประเทศบังคลาเทศ เริ่มต้นการดาเนินงานแบบ ธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business) โดยศาสตราจารย์มูฮัมหมัด ยูนูส ผู้ก่อตั้งธนาคารกรามีน ซ่ึงเป็นธนาคารที่ปล่อยเงินกู้ขนาดย่อม (Micro-credit)ให้แม่บา้ นชาวบังคลาเทศลงทุนเพ่ือต้งั กิจการของตนเอง นอกจาก Grameen Bank แล้ว ยังมบี ริษัท XayanITมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราการอพยพย้ายถ่ินท่ีอยู่และแก้ปัญหาการว่างงานของประเทศด้วยการให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ชาวบังคลาเทศ โดยจัดใหม้ ีการอบรม การจ้างงานและฝึกสอนเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเนน้ ทกั ษะการสรา้ งเว็บไซต์ การจัดการ และการพฒั นาซอฟต์แวร์แก่เยาวชน ประเทศแอฟริกาใต้ บริษัท Playpumps ผู้ผลิตม้าหมุนสาหรับเด็กท่ีช่วยสูบน้าสะอาดสาหรับการอุปโภคบริโภคจากบ่อใต้ดินไปท่ีแทงค์เก็บน้า ทุกๆ ครั้งที่เด็กๆ หมุนเล่นและแทงค์น้านี้ก็เช่ือมต่อกับท่อน้าในชุมชนเพอ่ื ให้ทุกคนได้มีน้าสะอาดใช้ โดยปจั จบุ นั มีเพลยป์ ๊มั ประมาณ 700 เครอ่ื งถกู ตดิ ตง้ั ในแอฟรกิ าใต้ แหล่งรายได้ของเพลย์ ป๊ัมมาจากการขายพื้นท่ีโฆษณาบริเวณปั๊ม โดยโฆษณาบางส่วนมีเน้ือหารณรงค์เร่ืองโรคเอดส์แกเ่ ดก็ ประเทศเคนย่า ธุรกิจ Kickstart ออกแบบและผลิตเทคโนโลยีที่ช่วยคนให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิเช่น ระบบการจ่ายน้าขนาดเล็กที่ควบคุมได้ด้วยมือและเคร่ืองบดเมล็ดทานตะวันและงา โดยทางบริษัทขายสินค้าเทคโนโลยีเหล่านี้ให้แก่ผู้ประกอบการท้องถ่ินในราคาถูก เพ่ือช่วยเพ่ิมผลผลิตและสามารถเปิดกจิ การเลก็ ๆ ของตัวเองได้ สาหรับประเทศไทย รัฐบาลได้มีจัดต้ังสานักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (สกส.) ข้ึนเพ่ือสนับสนนุ และส่งเสริมการทางานของกิจการเพ่ือสังคมผ่านทางองค์กรตวั กลาง (Intermediary Organization)และการเชอื่ มโยงภาคีเครอื ขา่ ยต่างๆ เพื่อสรา้ งศกั ยภาพและความสามารถของกิจการเพอ่ื สังคม ให้เขา้ ถึงแหล่งทุน/ตลาดได้ โดยมุ่งเน้นที่จะสนับสนนุ แนวคิดนวตั กรรมเพ่ือสังคมท่ีมปี ระสิทธภิ าพ มีโอกาสท่ีจะเกิดผลมาก มี

ความยงั่ ยนื และขยายผลได้ โดยสนบั สนุนท้ังการรเิ ร่มิ สรา้ งกิจการเพ่อื สงั คมใหม่ และตอ่ ยอดกจิ การเพ่ือสังคมที่มีอยู่แล้ว ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการขับเคล่ือนภาคกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย (Facilitator) นอกจากน้ียังได้ออกระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีเพ่ือรับรองสถานะของกิจการเพื่อสังคม และมีการออกหลักการมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนวิสาหกิจเพื่อสังคม ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 15 มีนาคม2559 ซ่ึงมีการให้คานิยามคาว่า “วิสาหกิจเพ่ือสังคม” และมาตรการทางภาษีเพื่อสนับการดาเนินกิจการประเภทนี้ โดยได้ใหค้ านิยาม “วสิ หกิจเพอ่ื สังคม” ไว้ดังนี้ “วิสาหกิจเพื่อสังคม” หมายถึง บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซ่ึงประกอบกิจการเก่ียวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือ การอ่ืน ๆ โดยมุ่งส่งเสริมการจ้างงานในท้องถ่ินท่ีมีวิสาหกิจเพื่อสังคมตั้งอยู่หรือมีเป้าหมายอย่างชัดเจนต้งั แต่แรกเรม่ิ ในการแก้ปัญหาและพฒั นาชุมชน สังคม หรือสิง่ แวดล้อมเปน็ หลัก มิใชก่ ารสร้างกาไรสูงสุดตอ่ ผู้ถือหุน้ หรือผู้เป็นหุน้ ส่วน ทั้งนี้ จะต้องนาผลกาไรไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70 ไปลงทุนในกิจการหรือใชเ้ พอื่ ผลประโยชน์ของเกษตรกร ผู้ยากจน คนพิการ ผู้ดอ้ ยโอกาส หรือใชเ้ พื่อประโยชน์ส่วนรวมอืน่ ๆ ซง่ึ กิจการท่ีเข้าขา่ ยตามคานยิ ามนจี้ ะสามารถได้รับสธิ ปิ ระโยชนท์ างภาษี ดังน้ี คอื1. ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุทธิของวิสาหกิจเพื่อสังคมในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ทั้งน้ีเฉพาะวิสาหกิจเพ่ือสังคมที่นาผลกาไรท้ังหมดไปลงทุนในกิจการหรือใช้เพื่อประโยชน์ของเกษตรกร ผู้ยากจนคนพกิ าร ผ้ดู ้อยโอกาส หรอื ใช้เพื่อประโยชนส์ ว่ นรวมอืน่ ๆ โดยไมม่ กี ารจ่ายเงนิ ปันผล2. สทิ ธิประโยชนท์ างภาษสี าหรับผู้สนับสนุนวิสาหกจิ เพื่อสงั คมทีเ่ ปน็ บริษทั หรือหา้ งหนุ้ ส่วนนิติบคุ คล 1) กาหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสามารถหักรายจ่ายเงินลงทุนในหุ้นสามัญของวิสาหกิจเพ่ือสังคมตามจานวนที่ลงทุนจริง ท้ังนี้ เฉพาะกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนติ ิบุคคลถือหนุ้ สามัญของวิสาหกิจเพอ่ื สังคมไว้จนกวา่ บริษทั หรอื หา้ งหุน้ ส่วนนิติบคุ คลนนั้ หรือวิสาหกิจเพ่อื สงั คมเลิกกจิ การ 2) กาหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสามารถหักรายจ่ายเงินท่ีมอบให้หรือทรัพย์สินท่ีโอนให้วสิ าหกิจเพื่อสังคมนาไปใช้ในกิจการหรือใช้เพ่ือประโยชน์ของสังคมโดยไม่มีค่าตอบแทนตามจานวนที่จ่ายจริงแต่เมื่อรวมกับรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 2 ของกาไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกศุ ลสาธารณะ ทั้งนี้ หากจ่ายเงินดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนไม่เกินร้อยละ 30 ของกาไรสุทธิในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีผู้สนับสนุนวิสาหกิจเพ่ือสังคมจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามข้อ 2 แต่หากวิสาหกิจเพ่ือสังคมไม่มีการจ่ายเงินปันผล วสิ าหกิจเพ่ือสังคมจะได้รับสิทธปิ ระโยชน์ทางภาษีตามข้อ 1 และผู้สนับสนุนวสิ าหกจิ เพื่อสงั คมจะได้รบั สิทธิประโยชนท์ างภาษตี ามขอ้ 2

ดังจะเห็นได้ว่า ในแต่ละประเทศนั้นมีการดาเนินนโยบายที่ให้การสนับสนุนวิสหกิจเพื่อสังคมที่แตกต่างกันไป โดยที่จะเห็นได้ว่า รัฐบาลในแต่ละประเทศน้ัน มีส่วนเข้าไปเก่ียวข้องอยู่บ้างไม่มากก็น้อยถึงแม้วา่ การดาเนินงานเหล่านี้จะเปน็ ไปในแบบธุรกิจก็ตาม ท้ังที่การมีส่วนร่วมของรัฐบาลน้ันย่อมก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสีย การแทรกแซงที่มากเกินไปของรัฐบาล อาจทาให้การบริหารงานเป็นไปอย่างไม่อิสระ และสุดท้ายแล้วก็จะไม่ดาเดินไปตามกลไกอย่างท่ีควรจะเป็น หรือหากกว่ารัฐบาลไม่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องเลยวสิ าหกิจเพื่อสังคมเหล่าน้ีก็อาจกลายสถานะไปเป็นบริษัทที่ทาธุรกิจเพื่อกาไรสูงสุดแตเ่ พียงอย่างเดียวก็เป็นได้ซงึ่ หากรฐั เข้ามาสนับสนุนอย่างถูกวิธี เชน่ การออกกฎหมายรับรองความเป็นวิสหกจิ เพือ่ สงั คม และการให้สิทธิประโยชน์บางประการแก่กิจการน้ันๆ ก็อาจเป็นแนวทางท่ีดีในการขับเคล่ือนวิสาหกิจเพ่ือสังคมให้เกิดความย่ังยืนในสงั คมน้ันๆก็เปน็ ได้ 4. วสิ าหกจิ เพื่อสงั คมกับบริษัท ประชารัฐรกั สามัคคจี ังหวดั (วสิ าหกิจเพอื่ สงั คม) จากัด สาหรับการดาเนิน วิสาหกิจเพ่ือสังคม (Social Enterprise) ในประเทศไทยน้ันได้มีการจัดตั้ง“สำนักงำนสร้ำงเสริมกิจกำรเพ่ือสังคมแห่งชำติ (สกส.)” ทาหน้าท่ีคอยส่งเสริมการพัฒนาการดาเนินงานกิจการเพ่ือสังคม และให้คา จากัดความ “กิจการเพื่อสังคม (Social Entrepreneur)” คือ กิจการท่ีมีจุดมุ่งหมายหลักในการแก้ไขปัญหาสังคมและส่ิงแวดล้อม โดยใช้กลไกการบริหารจัดการท่ีดีของภาคธุรกิจมาบวกกับความรู้ และนวัตกรรมสังคม มีความยั่งยืนทางการเงินจากรายได้หลักที่มาจากสินค้าหรอื บริการ โดยไม่ต้องพ่ึงพาเงนิ บริจาค และนาผลกาไรท่ีเกิดขึ้นไปลงทุนซ้า เพ่ือขยายผลกระทบทางสังคมท่ีเกิดขึ้น กิจการเพ่ือสังคมที่เห็นได้ปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น โรงพยาบาลอภัยภูเบศร์ โครงการพัฒนาดอยตุง โคงการแม่ฟ้าหลวง เป็นตน้ ในปี 2558 รัฐบาลได้มีนโยบายลดความเหลื่อมล้า สร้างรายได้และความเจริญ ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้ครอบคลุมทั้งประเทศโดยให้ภาคเอกชนและภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมดาเนินการร่วมกับภาครัฐเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของประเทศในเร่ือง มั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน ซ่ึงคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันท่ี ๑๕ธันวาคม ๒๕๕๘ รับทราบการแต่งตั้งคณะกรรมการภาครัฐและภาคเอกชน ๑๒ คณะ ประกอบด้วย กลุ่มValue Driver 7 คณะ และกลุ่ม Enable Driven 5 คณะ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐของรัฐบาล ซึ่งคณะกรรมการทั้ง 12 ชุดดังกล่าว มีบทบาทหน้าท่ี ดังนี้ (1) ดาเนินการในลักษณะหุ้นส่วนภาครัฐเอกชน และประชาชน (2) เน้นกิจกรรมที่เป็น Action Based (3) ครอบคลุม 4 เสาหลัก คือ ธรรมาภิบาลนวัตกรรมและผลิตภาพ การยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ และการมีส่วนร่วมในความมั่งค่ัง (4) ภาคเอกชนนาโดยภาครัฐเป็นผูอ้ านวยความสะดวกและสนบั สนุน กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่ึงในหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายภารกิจให้รับผิดชอบการดาเนินงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ ซึ่งคณะทางานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ (E3) โดยมีพลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา เป็นหัวหน้าทีมภาครัฐ และ คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี เป็นหัวหน้าทีมภาคเอกชนโดยมีการดาเนินงานทั้งในระดับ และในระดับอาเภอ มีเป้าหมายเดียวกัน คือ สร้างรายได้ให้กับชุมชน เพื่อ

ประชาชนมีความสุขทา ๓ เรื่องประกอบด้วย การเกษตร การแปรรูป(SMEs/OTOP) และการท่องเท่ียวโดยชุมชนในรูปแบบประชารฐั คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควชิ าการ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ช่วยกันแก้ปัญหา และพัฒนาชุมชนท้องถ่ินของตนเองซึ่งมีบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพ่ือสังคม)จากัด เป็นเครื่องมือในการขบั เคลอื่ นงาน ภายใตแ้ นวคิด Social Enterprise (SE) แนวทางวิสาหกิจเพ่ือสังคม (Social Enterprise: SE) ท่ีได้นามาใช้ในการดาเนินงานบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพ่ือสังคม) นั้น มีเป้าหมายหลักเพ่ือสังคมไม่ใช่เพื่อกาไรสูงสุดรายได้หลักมาจากการให้คาปรึกษาแก่ชมุ ชนไม่ใช่เงนิ จากรัฐหรือเงนิ บริจาค กาไรตอ้ งนาไปใช้ขยายผล ไม่ใช่ปันผลเพ่ือประโยชน์มกี ารบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล และมกี ารจดทะเบยี นเป็นรูปแบบบริษทั Social Enterprise หรอื วสิ าหกจิ เพอ่ื สังคม มีหลักเขา้ ใจงา่ ยๆ 5 ประการ คือ ทม่ี า: เว็บไซตบ์ ริษัทประชารฐั รักสามัคคีประเทศไทย จากดั http://www.prsthailand.com/social-enterprise/

ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน สาหรับการดาเนินงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐในระดับพื้นท่ีน้ันได้มีการตั้งคณะประสานงานและขับเคล่ือนนโยบายสานพลังประชารัฐ ประจาจังหวัด (คสป.) ขึ้นเพ่ือเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนและดงึ ภาคส่วนต่างๆเขา้ มาเพ่ือทางานในระดบั จงั หวัด ซ่งึ ภายในกรอบการดาเนนิ งานน้ี คณะทางานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ ระดับจังหวัด จะถูกจัดตั้งข้นึ ในลักษณะคณะอนุกรรมการฯ ภายใต้คณะทางาน คสป. การดาเนินงานเป็นไปเพื่อประสานและบูรณาการการทางานต่างๆในพื้นท่ีเพ่ือให้การดาเนินงานนโยบายโครงการสานพลังประชารัฐของทางรัฐบาลเป็นไปอย่างราบรื่น โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเปน็ ประธานในการขับเคล่ือนน้ี ซ่ึงการดาเนินงานให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรมจึงมีการพัฒนากระบวนการขับเคลื่อนผ่านบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) จากัด ซ่ึงมีโครงสร้างแบบวิสาหกิจเพ่ือสังคม (SocialEnterprise) โดยบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) จากัดจะทาหน้าที่เป็นบริษัทโฮลดิ้งกลาง(Holding Company) และในทุกจังหวดั จะมีการจัดต้ังบริษัทในแต่ละจังหวดั ท้ังน้ีสามารถสรุปเปน็ การดาเนินสั้นๆ ให้เข้าใจงา่ ยได้ ดงั น้ี หลักการ คือ ๑ ๓ ๕ 76 + 1 มคี วามหมายคอื 1 คือ มุ่งสู่เป้ำเหมำยเดียว“สร้างรายได้ให้กับชุมชน เพอื่ ประชาชนมีความสุข” โดยวดั จากรายได้เพิ่มมากขึ้นต่อครัวเรือนต่อปี สินค้าและบริการ ขายได้ราคาดีขึ้น โดยใช้ฐานข้อมูล จปฐ. เป็นตัวช้ีวัด ที่ได้มีการจัดเก็บทกุ ปี ๓ คือ ทำ ๓ เร่อื ง ได้แก่ การเกษตร การแปรปู (SMEs/OTOP) และการทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชน 5 คอื กระบวนกำรทำ ประกอบดว้ ย 1) กำรเขำ้ ถงึ ปจั จัยกำรผลิต ทงั้ ด้านทรพั ยากรและโอกาสในการเข้าถงึ แหลง่ ทนุ 2) กำรสรำ้ งองคค์ วำมรู้ จากในชมุ ชนและสง่ เสริมความรเู้ พือ่ สร้างประโยชนต์ ่อยอด 3) กำรตลำด พัฒนาแบบบูรณาการ ตัง้ แต่การวิเคราะหต์ ลาดไปจนถงึ ช่องทางการขายใหม่ๆ 4) กำรสื่อสำรสร้ำงกำรรับรู้เพ่ือควำมย่ังยืน ช่วยสร้างแบรนด์และหาช่องทางประชาสัมพันธ์ ผา่ นสอื่ ท้องถ่นิ และสอื่ ระดบั ประเทศ 5) กำรบริหำรจัดกำร ท้งั ด้านต้นทนุ บัญชี และการบริหารความเส่ยี ง 76 + ๑ คือ จดั ตง้ั บริษัทประชารฐั รักสามคั คีจังหวัด (วิสาหกิจเพ่อื สังคม) จากัด ครบ ๗๖ จงั หวัด กับ ๑ บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) จากัด ซึ่งเป็นบริษัทแม่ อานวยการดาเนินงานและส่งเสริม/สนับสนุนบริษัทฯในระดับจังหวัด ท้ังหมดน้ีเป็นกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากจะขับเคลื่อนผ่านบริษัทประชารัฐรักสามัคคีมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบต้ังแต่ต้นทาง กลางทาง ถึงปลายทาง จนก่อให้เกิดรายได้แล้วนารายได้น้ันมาต่อยอดพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง โดยการดาเนินการของบรษิ ทั นั้นจาเปน็ ต้องวางอยบู่ นหลกั การปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือใหเ้ กดิ ความยงั่ ยืนในการพัฒนา อีกทั้งส่ิงที่ต้องระลึกไว้เสมอคือการพัฒนาน้ันจะต้องไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง นั่นเท่ากับว่าเราจะต้องพัฒนาไปพร้อมๆกันอยา่ งยตุ ิธรรม

รฐั บาลได้มกี ารกาหนดระยะเวลาการจดั ต้งั บรษิ ทั ประชารฐั รกั สามคั คี (จังหวัด) จากัด ดังนี้ ระยะท่ี ๑ จานวน ๕ จงั หวดั คือ ภเู ก็ต อุดรธานี เพชรบรุ ี เชียงใหม่ บรุ ีรัมย์ แลว้ เสร็จภายในเมษายน ๒๕๕๙ ระยะท่ี ๒ จานวน ๖ จงั หวัด คอื น่าน อบุ ลราชธานี ชุมพร พิษณุโลก ร้อยเอด็ สระแกว้ ภายในมถิ นุ ายน ๒๕๕๙ ระยะท่ี ๓ จานวน ๗ จังหวัด คือ สงขลา สกลนคร ตราด กาญจนบุรี อุทัยธานี สระบุรี ชัยนาท ภายในกนั ยายน ๒๕๕๙ และระยะท่ี ๔ ครบทั้ง ๗๖ จงั หวดั ท่วั ประเทศภายในธนั วาคม ๒๕๕๙ ซึ่งในเวลานี้มีบริษัทที่จัดตั้งครบแล้วท้ังหมด 76 จังหวัด เป็นท่ีเรียบร้อย (ข้อมูล ณ วันท่ี 10 ตุลาคม2559) ตัวอยา่ งการดาเนนิ งานของ บรษิ ัท ประชารัฐรกั สามคั คีประเทศไทย จากดั 1. โครงการ “สานพลังเพื่อบา้ นเกิด” เป็นโครงการท่ีจัดทาขึ้นโดยบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) จากัด มีวัตถุประสงค์ในการสร้างผู้นาการพัฒนาชุมชนรุ่นใหม่ในแต่ละจังหวัดซึ่งมีประสบการณ์ มีความเป็นผู้นา และมีความสามารถในการแก้ปญั หา โครงการน้ีจะผสมผสานการถ่ายทอดองค์ความรู้และการทางานจริงในพ้ืนที่เพ่ือเสริมสร้างทักษะการบรหิ ารธรุ กจิ ชมุ ชนและ การพฒั นาชุมชนแบบ Area Based ตลอดระยะเวลา 2 ปีของโครงการนผี้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการจะมโี อกาสได้ - ร่วมพัฒนาชุมชนในจังหวัดบ้านเกิด - เรียนรู้แนวทางการทางานแบบวิสาหกจิ เพ่อื สังคม (Social Enterprise) - เรียนร้แู นวทางการบริหารและการสอ่ื สารแบบผู้นา - สัมผัสกบั ผบู้ ริหารระดับสูงของเครือธุรกจิ ระดับชาตทิ ีส่ นบั สนนุ โครงการนี้ - สร้างเครอื ขา่ ยกบั ผนู้ าชมุ ชนร่นุ ใหมท่ ัว่ ประเทศ - มรี ายได้ในระหวา่ งการเรียนรู้ตลอด 2 ปี 2. โครงการ “ผา้ ขาวม้าทอ้ งถิ่น หัตถศลิ ป์ไทย” โดยความร่วมมือระหว่าง บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) จากัด ธุรกิจภาคเอกชนหน่วยงานภาครัฐและวชิ าการ จึงได้มีความคิดรเิ ร่ิมจัดทาโครงการ “ผ้าขาวม้าท้องถ่ิน หัตถศิลป์ไทย” ข้ึน เพื่อสร้างความตระหนักถึงคณุ ค่าของผ้าขาวม้าในเชิงศิลปวฒั นธรรมใหเ้ กิดขนึ้ ในสงั คม ส่งเสริมให้แต่ละชุมชนสร้างผา้ ขาวม้าที่มีอตั ลักษณอ์ ันโดดเด่นชดั เจน และผลักดนั ใหเ้ กิดการแปรรปู ผ้าขาวม้าเป็นสินคา้ ท่หี ลากหลายย่ิงข้ึนโครงการน้ีจะเป็นการเสริมสร้างความสามัคคีในชุมชนผ่านการสร้างสรรค์ผลงานร่วมกัน สร้างความภาคภูมิใจในท้องถน่ิ ผ่านการบอกเลา่ ความเป็นมาของผ้าขาวม้าของตนใหแ้ ก่สังคม และยงั เปน็ พัฒนาผลิตภัณฑ์ผา้ ขาวม้าผา่ นการถา่ ยทอดองค์ความรู้จากผู้เช่ยี วชาญดา้ นการออกแบบ การแปรรปู และ การตลาด อีกดว้ ย

“วัตถปุ ระสงคโ์ ครงกำร”- สร้างความรักสามัคคีและความภาคภูมิใจในชุมชนผ่านการสร้างสรรค์ผลงานและการบอกเล่าประวตั คิ วามเป็นมาของผ้าขาวมา้ ของตน- สร้างความตระหนักถงึ คุณคา่ ของผ้าขาวม้าในเชงิ ศิลปวัฒนธรรมให้เกิดขึ้นในสังคม- เฟ้นหาอัตลักษณ์ของผ้าขาวม้าจากชุมชนต่างๆและเสริมสร้างให้มีความโดดเด่นยิ่งข้ึน พร้อมท้ังสรา้ งการยอมรับอยา่ งเป็นทางการผา่ นการจดลิขสิทธ์แิ ละเคร่ืองหมายการคา้- พฒั นาผลิตภัณฑแ์ ปรรปู จากผ้าขาวม้าใหม้ คี วามหลากหลายและตรงตอ่ ความต้องการของตลาด- ช่วยสร้างอาชพี และเสรมิ สร้างรายได้ใหก้ บั คนในชุมชน3. โครงการ “ลองกองผลไมด้ ีชายแดนใต้” (นราธิวาส ยะลา และปตั ตาน)ีบรษิ ัท ประชารัฐรักสามคั คี (ประเทศไทย) จากัด ได้สนับสนุนชอ่ งทางการจาหน่ายลองกองของกลุ่มผู้เกษตรกรผู้ปลูกลองกองจาก 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนาลองกองมาทาการจาหน่ายภายในงาน และนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลองกอง มาจาหน่าย ณ ตลาดนัดคลองผดุงกรุงเกษม ระหว่างวันที่ 26 ตุลาคม – 2พฤศจกิ ายน 2559 ซง่ึ ผลจากการจดั จาหน่าย ระหวา่ งวันที่ 26 – 31 ตลุ าคม 2559 ที่ผ่านมามี ดังน้ี1. จงั หวัดนราธิวาส มียอดจาหนา่ ยรวม 75,000 บาท2. จังหวดั ยะลา มียอดจาหน่ายรวม 191,500 บาท3. ร้านคา้ ประชารฐั (นา้ ลองกอง/ไอศกรมี ) มยี อดจาหน่ายรวม 4,910 บาท รวมยอดจาหนา่ ย 271,410 บาท4. การแสดงและจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์ภายในงาน “บา้ นและสวนแฟร์ 2016”บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) จากัด ประสานความร่วมมือกับ บริษัท อมรินทร์พร้ินต้ิงแอนค์ พบั ลิชชิ่ง จากัด (มหาชน) จัดพ้ืนท่ีแสดงและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ จานวน 13 บูธ ภายในงาน “บ้านและสวนแฟร์ 2016” ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี ระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม – 6พฤศจิกายน 2559 โดยคัดเลือกผู้เข้าร่วมจาหน่ายจากชมุ ชนเป้าหมายที่ทางานร่วมกับ บริษัท ประชารัฐรักสามคั คจี งั หวัด (วิสาหกจิ เพ่อื สังคม) จากดั จานวน 13 ชมุ ชน จากพ้นื ที่ 8 จังหวดั ดงั นี้1. สมุนไพร จังหวดั นา่ น2. เบาะรองนง่ั จากผา้ ขาวมา้ จังหวดั สระแกว้3. นา้ ตาลสด ขนมหม้อแกง พรกิ กะเหรยี่ ง ดอกเกลอื ปูม้า จังหวดั เพชรบรุ ี4. แก้วมงั กร ผ้าหมอ้ หอ้ ม โตะ๊ หมู่บูชา จงั หวัดแพร่5. ผา้ ภูอคั นี จงั หวดั บรุ ีรัมย์6. ผลิตภณั ฑต์ าลโตนด จงั หวัดสงขลา7. ผกั ตบชวา ผ้าทองพืน้ เมือง จงั หวัดชยั นาท8. กล้วยเลบ็ มือนาง จังหวดั ชมุ พร

ตวั อย่างความสาเรจ็ ของบริษัท ประชารัฐรักสามัคคีฯ ในจงั หวัดตา่ งๆ 1) บริษัท ประชารฐั รกั สามคั คภี ูเกต็ (วสิ าหกิจเพือ่ สงั คม) จากดั มีการดาเนินงานเป็นจังหวัดแรกโดยคัดเลือกผลิตภัณฑ์เข้าสู่กระบวนการพัฒนาคือ สับปะรด ภเู กต็ กงุ้ มงั กรภูเก็ต นมแพะ และผา้ บาติก สบั ปะรดภเู ก็ต 1. สรา้ งกระแสการบริโภคสบั ปะรดภเู ก็ต ภายใต้ออ่ งหลายภเู ก็ตรบั โชคลาภ จาหน่ายโดยให้จอง ลว่ งหนา้ ราคาลูกละ 1,500 บาท จานวน 100 ลูก (ผลผลติ ส่งใหใ้ นชว่ งไหว้เจ้าตรษุ จนี 2560) ซงึ่ มีการตอบรับเปน็ อย่างดี 2. ทาการแปรรูปสบั ปะรดเป็นแยมสบั ปะรด กงุ้ มังกรภเู กต็ 1. จัดเทศกาล Phuket Lobster Festival 2016 “เจ้าถ่ินพากินกุ้งมังกร” รณรงค์การบริโภค กุ้งมังกรภูเก็ต จัด Menu Signature จากกุ้งมังกรภูเก็ต รวมถึงมีการคิดค้นเมนูอาหารโดยใช้ สบั ปะรดร่วมกับกุ้งมังกรภเู ก็ต 2. จัดทา Zoning พ้ืนที่เพาะเลี้ยงกุ้ง ทาธนาคารกุ้ง ส่งเสริมการเพาะเล้ียงกุ้งมังกรภูเก็ตให้เกิด ความยั่งยนื และให้เกดิ การขยายผล นมแพะภูเกต็ 1. จดั ระบบ Pasteurize และพัฒนาบรรจุภัณฑ์นมแพะภูเกต็ 2. พฒั นารปู แบบผลิตภณั ฑ์จากนมแพะ (สบู่ โลชน่ั ทาผิว ครีมทามือ เจลอาบน้า) ผา้ บาติกภเู กต็ 1. พัฒนารปู แบบผลติ ภัณฑ์ ผ้าบาติค เปน็ กระเป๋า Beach Bag เสนอต่อโรงแรมชั้นนาในจังหวัด และขายตรงผ่านเว็บไซต์ มียอดการจาหน่าย 200,000 บาท และนาผ้าบาติกมาจัดทาผ้าอ้อม เด็กสาหรับห่อทารกแรกคลอดนาเสนอต่อโรงพยาบาลสิริโรจน์ภูเก็ตได้รับ Order จองล่วงหน้า จากโรงพยาบาล 2. กาหนดจัดกิจกรรม Batik Design Week 2016 ในเดือนกันยายน 2559 เพื่อแสดงโชว์ ผลงาน จาหนา่ ยสนิ คา้ บาติก มกี ารจดั ทา Workshop บาติก และการเจรจาการค้า. 2) บริษัท ประชารฐั รกั สามัคคีเชยี งใหม่ (วิสาหกจิ เพ่ือสงั คม) จากัด การดาเนินงานในจังหวัดเชียงใหม่มีความโดดเด่นในเรื่องของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและการท่องเทีย่ วในชมุ ชน รว่ มถงึ การรว่ มมือกนั อย่างสมัฤทธิ์ผลกบั ภาคเอกชนในพน้ื ที่ ลาไย จาหน่ายลาไยให้แก่ ท๊อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ตาบลขัวมุง จานวน137 ครัวเรือน เป็นผกู้ าหนดราคา 41 บาท รวมค่าขนส่งและตะกร้า ท้ังนี้ราคาอาจมีการปรับขน้ึ ลงตามราคา

ตลาดซ่ึงจะปรับทุกสัปดาห์ จานวนผลผลิตท่ีรบั ซ้ือ 100 ตัน ส่วนการจ่ายเงินให้เกษตรกรจะรับตรงกบั ท็อปส์ซปู เปอร์มาร์เกต็ นอกจากนี้ยงั มีการประสานแม็คโครรับเพ่อื ซ้ือลาไย กาแฟ 1. หาแนวทางสร้าง Branding โดยคุยกับทาง ปตท. เร่ืองการร่วมมือกับ Amazon Café อาจจะให้ขายเป็นกาแฟค่ัวบดแล้ว โดยแยกใส่ถุงแบรนด์เทพเสด็จในร้านประมาณ 5 สาขาในเชียงใหม่ พร้อมทั้งการมีการแสดง Story ของกาแฟเทพเสด็จ 2. สร้างแบรนดก์ าแฟเทพเสดจ็ ต่อไปโดยมผี ้เู ชย่ี วชาญมา Endorse รสชาติ กลิน่ และคุณภาพ การทอ่ งเท่ียวชุมชน บา้ นแม่กาปอง อ.แม่ออน มีสมาชิก 134 ครัวเรือน ซ่ึงเปิดเป็นโฮมสเตย์ 27 หลัง บ้านแม่กาปองต้ังอยู่ท่ามกลางภูเขามีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ อากาศเย็นสบายตลอดท้ังปี มีวิถีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์เป็นเสน่ห์ดึงดู ดนักท่องเท่ียว ซึ่งทางบริษัทได้เข้ามาสนับสนุนการคิด package การสนับสนุนแบบ sponsorship แต่ยังคงอนรุ ักษค์ วามเป็นศูนย์การเรียนรู้ไม่ใชเ่ พื่อการค้า 3) บรษิ ัท ประชารัฐรกั สามัคคีเพชรบรุ ี (วสิ าหกิจเพ่อื สงั คม) จากัด ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนถา้ รงค์ ประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่าง ๆ ส่งผลให้ประชาชน/ผู้สนใจ มีความสนใจที่จะเรียนรู้เพ่ิมมากข้ึน เฉล่ียเดือนละ 30-40 คณะ (ในบางวันมีจานวนมากกว่า 1 คณะ) ซ่ึงจากเดิมอยู่ที่ 15 – 16 คณะ/เดือน ส่งผลสรา้ งรายได้ให้กับชุมชนเพิม่ มากขนึ้ ตวั อย่างเชน่ 1. สวนตาลลุงถนอมมีผู้เข้าชมมากขึ้น ชาวบ้านมีรายได้จากการเป็นวทิ ยากรประจาฐาน ๆ ละ 500 บาท และสามารถขายผลิตภณั ฑช์ มุ ชนได้มากขึ้น 2. ชุมชนมีรายได้จากการขายสินค้าท่ีตลาดดงยาง ต.ถ้ารงค์ อ.บ้านลาด เฉล่ียเดือนละ 6,000 บาท/ชมุ ชน นอกจากนี้ยังมีการพัฒนากลุ่มการเกษตรและกลุ่มการแปรรูป/SMEs ท่ีทางบริษัทฯ ได้เข้าร่วมการพัฒนาอกี ด้วย อาทิขนมหมอ้ แกง 1. พัฒนาบรรจุภัณฑ์จากเดิมให้เป็น ขนมหม้อแกงถ้วย ที่พัฒนาให้เหมาะกับพฤติกรรมการบริโภคที่ ปรบั เปล่ยี นไป เพื่อเพิ่มมูลคา่ ให้สินค้า 2. ขยายช่องทางการตลาดไปท่ีการออกแบบร้านท่ี Modern Trade โดยสามารถจาหน่ายขนมหม้อแกง ได้ถ้วยละ 45 บาท จากเดิมจาหน่ายในพื้นที่ได้ราคาถ้วยละ 20 บาท ขนมหม้อแกงชนิดถาด มียอด การสั่งซื้อเพิ่มข้ึนจากเดิม 600 ถาด/วัน ราคาจาหน่ายถาดละ 45 บาท มูลค่า 800,000 บาท ต่อ เดือน และขนมหม้อแกงชนิดถ้วย มียอดการสั่งซ้ือเพ่ิมขึ้นจากเดิม 600 ถ้วย/วัน เช่นกัน ราคา จาหน่ายถาดละ 25 บาท มูลคา่ 450,000 บาท ต่อเดือน รวมเปน็ เงนิ 1,250,000 บาท/เดอื น

3. ประชาชนผู้มีอาชีพที่เกี่ยวเน่ือง เช่น การทาน้าตาลโตนด การทามะพร้าวสด การปลูกเผือก การเล้ียง เป็ดไข่ มีรายได้เพ่ิมข้ึนจากการจาหน่ายผลผลิต ดังกล่าว ไม่น้อยกว่า ๕๐ ราย โดยมีรายได้เพ่ิมข้ึน เดอื นละ ๒,๐๐๐ บาท/คน 4. รายได้ชุมชนเพิม่ ข้นึ เดือนละ 18,000 บาท 5. ประสานไปรษณีย์ไทย เพ่ือเพิ่มช่องทางการจัดจาหน่ายโปรแกรม อร่อยทั่วไทย/ของดีของไทย “Thaileandpostmart.com และการจัดสง่ สินคา้ ผา่ นระบบไปรษณยี ์ไทย ผกั ปลอดภยั 1. ได้ใช้สหกรณ์บริการเกษตรอินทรีย์เพชรบุรี จากัด หรือ CO-POP เป็นจุดรวบรวมสินค้าเกษตร ปลอดภัย ส่งผลให้รายได้ในรอบ ๓ เดือน (พ.ค.-ก.ค. ๕๙) ของ ๗ ชุมชน เป็นเงิน 137,000 บาท/๓ เดอื น 2. สหกรณ์บริการเกษตรอินทรีย์เพชรบรุ ี จากัด ไดร้ วบรวมกล้วยน้าว้า จากชุมชนท่าไม้รวก จาหน่าย ใน เดอมอลล์ เบ้ืองต้นจานวน ๓๐๐ หวีๆ ละ ๕๕ บาท เป็นเงนิ ๑๖,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๑๕๓,๕๐๐ บาท แพปลา/ธนาคารปมู า้ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางส่ือต่างๆ เช่น ทีวี หนังสือพิมพ์ เฟสบุ๊ค ฯลฯ ทาให้มีนักท่องเที่ยวสนใจมาศึกษาดูงานของแพปลาชุมชน และธนาคารปมู ้า ทาให้สามารถจาหน่าย ปู เพ่ิมมากข้ึน อาทิตย์ละ ๒๐๐-๓๐๐กก. สร้างรายได้ให้กับประชาชนที่เป็นสมาชิกแพปลา (เรือท่ีเป็นสมาชิก ๗ ลา) จานวน ๓๐ ครอบครัว มีรายได้เพ่ิมข้ึน จานวน ๔,๐๐๐–๖,๐๐๐ บาท/เดือน และเรือที่ไม่ได้เป็นสมาชิก จานวน ๘๐ ลา สามารถใช้ราคาการจาหนา่ ยจาก แพปลา ไปอ้างอิงราคา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook