Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Team4 _Lucky สู้ๆ _The infinite Game Final 28.7.22

Team4 _Lucky สู้ๆ _The infinite Game Final 28.7.22

Published by tanapat tp, 2022-08-02 07:06:49

Description: Team4 _Lucky สู้ๆ _The infinite Game Final 28.7.22

Search

Read the Text Version

THE INFINITE GAME เกมของคนที่มองเห็นอนาคต TEAM : LUCKY สู้ ๆ

WHO IS SIMON SINEK ?  Simon Oliver Sinek เป็นนกั เขียนและนกั พดู สร้างแรง บนั ดาลใจชาวองั กฤษ-อเมริกนั และเป็นท่ีรู้จกั ในTed Talk Simon Oliver Sinek  เป็นผเู้ ขียนหนงั สือ ไดแ้ ก่ - Start With Why Start With Why - Leaders Eat Last - The Infinite Game 2

CONTENTS : บทที่ 1 : เกมแบบมีขอบเขตและเกมแบบไร้ขอบเขต (Finite & Infinite Game) บทท่ี 2 : ปณิธานอนั ดงี าม (Just Cause) บทท่ี 3 : ทค่ี ุณมใี ช่ปณธิ านหรือไม่ (Cause / No Cause) บทท่ี 4 : ผู้สืบสานปณธิ าน (Keeper of the cause) บทที่ 5 : ความรับผดิ ชอบของธุรกจิ (The Responsibility of Business) บทท่ี 6 : ความมุ่งมนั่ และทรัพยากร (Will & Resources) บทท่ี 7 : ทมี ทเ่ี ชื่อใจกนั (Trusting Teams) บทที่ 8 : ภาวะจริยธรรมเสื่อมถอย (Ethical Fading) บทที่ 9 : คู่ปรับทค่ี ู่ควร (Worthy Rival) บทที่ 10 : ความยืดหย่นุ ในการดารงกจิ การ (Existential Flexibility) บทท่ี 11 : ความกล้าหาญในการเป็ นผ้นู า (The Courage To Lead) 3

INTRO : WHAT IS THE FINITE & INFINITE GAME ? https://uxdesign.cc/design-and-the-infinite-game-3e4c9b602385 4

INTRO : INFINITE MINDSET 2.ทีมท่ีเช่ือใจกนั *1.ปณธิ านอันดงี าม (Trusting Team) (Just Cause) 5. ความกล้าหาญในการเป็ นผู้นา (The Courage to Lead) 4. ความยืดหยุ่นในการดารงกจิ การ 3.คู่ปรับทคี่ ู่ควร (Existential Flexibility) (Worthy Rival) 5

CONTENTS : K.SAOWALUK บทที่ 1 : เกมแบบมีขอบเขตและเกมแบบไร้ขอบเขต (Finite & Infinite Game) บทที่ 2 : ปณธิ านอนั ดงี าม (Just Cause) บทท่ี 3 : ทคี่ ุณมใี ช่ปณธิ านหรือไม่ (Cause / No Cause) 6

CHAPTER 1 : บทท่ี 1 เกมแบบมขี อบเขตและเกมแบบไร้ขอบเขต (FINITE & INFINITE GAME) 7

CHAPTER 1 : บทที่ 1 เกมแบบมขี อบเขตและเกมแบบไร้ขอบเขต (FINITE & INFINITE GAME) What is best What is best for ME ? for OTHERS? Focus การเอาชนะคู่แข่งขัน  Focus ผลกั ดนั เป้าหมาย/ปณธิ าน/ วสิ ัยทัศน์ ทจี่ ะช่วยเหลือนักเรียนและครู ในเรื่องการเรียนการสอน 8

VICTORINOX : INFINITE MINDSET 9

CHAPTER 2 : บทท่ี 2 ปณิธานอนั ดงี าม (JUST CAUSE) _หลกั การข้อแรกของกระบวนการคดิ แบบ INFINITE MINDSET  การมวี สิ ัยทศั น์อนั ยงิ่ ใหญ่/ปณธิ านอนั ดงี าม (Just Cause) ถึงอนาคตข้างหน้าทส่ี ามารถ บนั ดาลใจให้ผู้อื่น “เสียสละ” เพ่ือทาให้วสิ ัยทัศน์เหล่าน้ันเกดิ ขนึ้ จริงในภายภาคหน้าได้  [การเสียสละในโลกแห่งธุรกิจเกิดข้ึนไดห้ ลายรูปแบบ อาทิ การยอมทางานหนักและการยอม ปฏเิ สธเงนิ เดือนทส่ี ูงกว่าขององค์กรอื่น] Nikolai Vavilov นักพฤกษศาสตร์ชาวโซเวยี ต “ เรายอมขน้ึ เชิงตะกอนเผาศพ เรายอมมอดไหม้ แต่เราจะไม่ยอมล้มเลกิ ความเชื่อมน่ั ของเรา ” “ ท่ามกลางภาวะอดอยาก ณ มหานคร Leningard ในช่วงสงครามโลกคร้ังทสี่ อง กล่มุ นักวทิ ยาศาสตร์ชาวโซเวยี ต ผู้รับหน้าทป่ี กป้องหมู่มวลเมลด็ พนั ธ์ุพืชผกั จานวนมหาศาลกลบั เลือกทจ่ี ะยอมอดตายแทนการรับประทานพืชผกั เหล่าน้ัน ทถ่ี ูกเกบ็ รักษาโดย Nikolai Vavilov นักพฤกษศาสตร์ผู้มวี สิ ัยทศั น์อนั ยง่ิ ใหญ่ในการสารองหมู่มวลเมลด็ พนั ธ์ุให้กบั มนุษยชาติในอนาคตหากมเี หตุการณ์ไม่คาดฝันเกดิ ขนึ้ … ” 10

CHAPTER 2 : บทท่ี 2 ปณธิ านอนั ดงี าม (JUST CAUSE) _ คุณสมบตั ิ 5 ประการ 11

CHAPTER 3 : บทที่ 3 ทคี่ ุณมใี ช่ปณธิ านหรือไม่ (CAUSE / NO CAUSE) “ หนึ่งในปัญหาใหญ่ของการลงเล่นใน infinite 1. การเข้าใจผดิ ว่าวสิ ัยทัศน์/ปณธิ าน อนั แสนยงิ่ ใหญ่และดูเป็ นไปได้ยากน้ัน คือ Just game คือ การเข้าใจผดิ ว่าวสิ ัยทศั น์/ปณธิ านทม่ี ี Cause เสมอ ท้ังๆท่ีเป้าหมายที่ยง่ิ ใหญ่บางอย่างน้ันมีขอบเขตที่จากดั ขอบเขตจากดั น้ันเป็ น Just Cause ซึ่งสามารถ เกดิ ขนึ้ ได้ในหลายกรณี ” อาทิ ภารกิจในการส่งมนุษยไ์ ปดวงจนั ทร์ของสหรัฐอเมริกาท่ีถึงแมจ้ ะเป็นเรื่องที่สาคญั ระดบั โลกแต่สุดทา้ ยกม็ ีวนั สิ้นสุดลง 2. การเข้าใจผดิ ว่าวสิ ัยทัศน์/ปณธิ านท่มี ุ่งเน้นไปทก่ี ารเป็ นทหี่ นึ่งน้ัน คือ Just Cause ท้งั ๆที่การเป็นที่สุดในเรื่องหน่ึงๆน้นั เป็นสถานะเพยี งชว่ั คราวและมกั จะมีการเปลี่ยนแปลง อยตู่ ลอดเวลาเมื่อมีเทคโนโลยหี รือส่ิงอื่นท่ีดีกวา่ ถือกาเนิดข้ึน วิสยั ทศั น์/ปณิธานที่ดีใน infinite game จึงไม่ใช่การเป็นท่ีสุดแต่กลบั เป็นการทา ให้ “ดีกวา่ เดิม” ในทุกๆวนั 3. การเข้าใจผดิ ว่าการทาความดแี บบคร้ังคราว เช่น การทา CSR (corporate social responsibility) น้นั คือ Just Cause ท้งั ๆท่ีจริงๆแลว้ CSR น้นั เป็น เพียงหน่ึงในกิจกรรมขององคก์ ร การทาเพื่อสงั คมอยา่ งแทจ้ ริงน้นั ตอ้ งฝังรากลึกไปถึงแก่นของโมเดลการทาธุรกิจที่ยดึ มน่ั ในการ “หาเงินดว้ ยการทาความดี” ไม่ใช่การหาเงินก่อนแลว้ ค่อยทาความดี 12

CONTENTS : K.PATIPORN (Keeper of the cause) บทที่ 4 : ผ้สู ืบสานปณิธาน (The Responsibility of Business) บทท่ี 5 : ความรับผดิ ชอบของธุรกจิ บทท่ี 6 : ความมุ่งมน่ั และทรัพยากร (Will & Resources) 13

CHAPTER 4 : บทที่ 4 : ผู้สืบสานปณธิ าน (KEEPER OF THE CAUSE) เกมของคนท่ีมองเหน็ อนาคต เกมแบบมีขอบเขต คือ เกมท่ีมีกตกิ าตายตวั และมีวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีตกลงกนั ไวแ้ ลว้ เกมจะสิน้ สดุ ลงเม่ือบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ โดยมีขอบเขต มีจดุ เรม่ิ ตน้ จดุ ก่ึงกลาง และ จดุ สนิ้ สดุ เสมอ เกมแบบไรข้ อบเขต คือ เกมท่ีไม่มีขอบเขต ไม่มีจดุ สนิ้ สดุ เล่นเกมไปเร่อื ย ๆ ดาเนนิ ไปอยา่ งไม่มีวนั จบ บทที่ 4 ผสู้ บื สานปณธิ าน แซม วอลตนั ผกู้ ่อตงั้ บรษิ ัท วอลมารค์ วอลตนั ไดบ้ รรยายวิสยั ทศั นข์ องตวั เองไวว้ า่ “ถา้ เราทางานรว่ มกนั เราจะลดค่าครองชีพของทกุ คนได้ เราจะทาใหโ้ ลกมีโอกาสไดเ้ ห็น วา่ การประหยดั เงินและการมีชีวิตท่ีดีขนึ้ เป็นอยา่ งไร” ดว้ ยปณิธานของ วอลตนั ทงั้ พนกั งานและลกู จา้ งจงึ รกั บรษิ ัท วอลมารค์ ผคู้ นจงึ อยากใหม้ ีรา้ นวอลมารค์ ในชมุ ชนุ ของตวั เอง ถึงแม้ เศษฐกิจตกต่าก็ไมส่ ่งผลกระทบต่อ วอลตนั ปณิธานของ วอลตนั จะตอ้ งเลือนหายไป ถา้ ผสู้ ืบสานปณิธาน มีวิสยั ทศั นต์ า่ งกนั ตวั อยา่ ง ไมค์ ดุ๊ก ไดร้ บั ตาแหนง่ ซอี ีโอ ไดส้ รา้ งช่ือเสียงใหก้ บั บรษิ ัท วอลมารค์ ในฐานะผู้ เชียวดา้ นประสิทธิภาพ วสิ ยั ทศั นข์ อง ไมค์ ด๊กุ คือ มงุ่ เนน้ ผลกาไร การเติบโตและการเป็นเจา้ ของตลาด เรม่ิ ตน้ ท่ีผลประโยชนข์ องบรษิ ัทก่อนผลประโยชนข์ องผคู้ น ซง่ึ ต่างจาก แซม วอลตนั จงึ ทาใหก้ ารบรหิ ารของ ไมล์ ด๊กุ ลม่ สลายจากการหยดุ งานประทว้ งของพนกั งาน ทาความเส่ือมเสียใหก้ บั บรษิ ัทฯ 14

CHAPTER 4 : บทที่ 4 : ผู้สืบสานปณธิ าน (KEEPER OF THE CAUSE) เราต้องตัง้ ชื่อตาแหน่งใหม่ ตาแหน่งงานทกุ ตาแหน่ง มีความสาคญั ทงั้ หมด “ตาแหนง่ สงู สดุ ” จะพงุ่ เปา้ ไปท่ีเบือ้ งบนและภายนอก สว่ นตาแหน่งรองลงมา จะพงุ่ เปา้ ไปท่ีเบือ้ งล่างและภายใน โดยวาง กรอบหนา้ ท่ีตวั เองทกุ ครง้ั ท่ีไดร้ บั ตาแหนง่ ใหม่ ดงั คากล่าวของพลอากาศเอกลอรี โรบินสนั ผนู้ าในเกมแบบไรข้ อบเขตจะมีความพรอ้ มในการปฏบิ ตั ิบตั หิ นา้ ท่ีมากขนึ้ ถา้ พวกเขาเขา้ ใจวา่ ตวั เองกาลงั กา้ วเขา้ สบู่ ทบาทอะไร ในฐานะผสู้ ืบสานปณิธาน พวกเขามีหนา้ ท่ี ตดั สนิ ใจวา่ เม่ือไหรท่ ่ีตน้ ทนุ ระยะสนั้ ท่ีมีขอบเขตจะคมุ้ คา่ และสามารถผลกั ดนั วสิ ยั ทศั นท์ ่ีไรข้ อบเขตได้ พวกเขาจะคิดไปไกลกวา่ เรอ่ื งผลกาไร ผู้สืบทอดตาแหน่งสูงสุด ผสู้ ืบทอดตาแหน่งสงู สดุ กรอบความคิดแบบมีขอบเขต สว่ นใหญ่จะแต่งตง้ั ผสู้ ืบทอดตาแหนง่ สงู สดุ จากตาแหนง่ รองอนั ดบั หน่งึ เพราะเป็นหน่ึงไม่ก่ีตาแหน่งท่ีมองเห็นทกุ อยา่ งท่ีเกิดขนึ้ ท่วั บรษิ ัทฯ พวกเขาเขา้ ใจกระบวนการภายในบรษิ ัทฯ ไมเคิล ดนิ กินส์ ไดก้ ล่าวไว้ ผสู้ ืบทอดตาแหน่งสงู สดุ กรอบความคดิ แบบไรข้ อบเขต จะมองหาผสู้ ืบสานวสิ ยั ทศั นบ์ รหิ ารงานแบบควบค่กู นั ไป เพม่ิ เติมเต็มซง่ึ กนั และกนั แลว้ คดิ วา่ พวกเขาเป็นพนั ธมติ ร คนสาคญั ในปณิธานเดียวกนั ดงั นนั้ ผสู้ ืบทอดตาแหน่งสงู สดุ ตอ้ งรูจ้ กั พลิกแพลง ปรบั เปล่ียนทศั นคติ และเรยี นรูท้ กั ษะใหมส่ าหรบั หนา้ ท่ีใหม่ และปรบั ตวั เขา้ กบั บทบาทหนา้ ท่ีใหม่ 15

CHAPTER 5 : บทที่ 5 : ความรับผดิ ชอบของธุรกจิ (THE RESPONSIBILITY OF BUSINESS) บทท5ี่ ความรับผดิ ชอบของธุรกจิ (ฉบบั ปรบั ปรุงใหม)่ ความรบั ผิดชอบของธุรกิจ ของ มิล ตนั ฟรีดแมน นกั เศรษฐศาสตร์ ไดก้ ลา่ วไวว้ า่ “ความรบั ผิดชอบของธรุ กิจ คือ การใชท้ รพั ยากรของธรุ กิจ และดาเนิน กิจการ เพ่อื เพ่มิ ผลกาไรภายใตก้ ติกาของเกม” หรอื พดู อีกอย่างหน่งึ คือ การหาเงิน และเงินนน้ั เป็นของผถู้ ือหนุ้ การมองธุรกิจแคใ่ นมติ ิเดียว ของ อาจส่งผลเสียต่อธรุ กิจและ บอ่ นทาลายระบบทนุ นยิ มได้ ระบบทนุ นยิ มก่อนหนา้ ฟรดี แมน ระบบทนุ นิยมก่อนหนา้ ฟรดี แมน เป็นระบบทนุ นยิ ม ท่ีเห็นผลประโยชนข์ องบรษิ ัท รองจากผลประโยชน์ ของผบู้ รโิ ภค หลงั จาก ฟรดี แมน เขียนบทความเก่ียวกบั ความ รบั ผดิ ชอบของธรุ กิจในปี 1970 ผบู้ รหิ ารและกรรมการบรษิ ัท ก็หนั ไปมองวา่ ตวั เองมีหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบตอ่ ผถู้ ือหนุ้ ช่วงเวลาต่อมา บรษิ ัทฯก็เรม่ิ ใชก้ ลยทุ ธก์ ารเลิกจา้ งพนกั งาน เพ่อื บรรลผุ ล กาไร การใชร้ ะบบทนุ นยิ มในทางทผี่ ดิ การใชร้ ะบบทนุ นยิ ม ตง้ั แต่ชว่ งของ ฟรดี แมน ปี 1970 เป็นตน้ มา เป็นการใชร้ ะบบทนุ นยิ มในทางท่ีผดิ มาโดยตลอด จงึ ทาใหร้ ะบบทนุ นยิ มบกพร่อง คือปกปอ้ ง ผลประโยชนแ์ บบมีขอบเขตของนกั ลงทนุ ไวเ้ หนือส่งิ อ่ืนใด เชน่ บรษิ ัทตา่ งๆ เอาค่าตอบแทนผบู้ รหิ ารมาผกู ติดกบั ผลประกอบการ ดร.สเตาต์ อธิบายไว้ “ถา้ ค่าตอบแทนจานวน 80 เปอรเ์ ซน็ ตข์ อง ซี อี โอ ขนึ้ อยกู่ บั ราคาหนุ้ ซี อี โอ ยอ่ มพยามยามอยา่ งเต็มท่ีเพ่ือใหร้ าคาหนุ้ เพม่ิ ขนึ้ ทาแบบนน้ั จะส่งผลเสียตอ่ พนกั งาน ลกู คา้ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม อาจส่งผลเสียใน ระยะยาว ทาใหป้ ิดโรงงาน ลดคา่ แรง และดาเนนิ มาตรการลดตน้ ทนุ และทาการเลกิ จา้ งพนกั งาน 16

CHAPTER 5 : บทที่ 5 : ความรับผดิ ชอบของธุรกจิ (THE RESPONSIBILITY OF BUSINESS) แรงกดดันให้เล่นเกมด้วยกรอบคิดแบบมีขอบเขต แรงกดดนั กรอบคดิ แบบมีขอบเขต คือ กดดนั จากตลาดหนุ้ สง่ ผลเสียตอ่ ธุรกิจ แรงกดดนั จากนกั ลงทนุ เพ่อื ใหบ้ รษิ ัทบรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย ภาวะเศรษฐกิจตกต่า การสรา้ งการ เติบโตของธรุ กิจอย่างรวดเรว็ รวมทงั้ แรงกดดนั สรา้ งความเสียหายใหก้ บั บรษิ ัท เสียงรัวกลองสู่การเปลีย่ นแปลง ความเปล่ียนแปลงจะเกิดขนึ้ อย่างแน่นอน คือวถิ ีของเกมแบบไรข้ อบเขต บรษิ ัทท่ีเล่นอยใู่ นเกมคาจากดั ความเก่ียวกบั ความรบั ผิดชอบของธุรกิจตอ้ งมีลกั ษะะดงั ต่อไปนี 1 .ผลักดนั จดุ มุ่งหมาย คือ ทาใหผ้ คู้ นรูส้ กึ เป็นส่วนหน่งึ ของอะไรบางอย่าง พรอ้ มทง้ั รูส้ กึ ว่าชีวติ และการทางานของพวกเขามีคณุ คา่ มากกวา่ การทางานไปวนั ๆ 2 .ปกป้องคน คือ ดาเนนิ กิจการในลกั ษณะท่ีปกปอ้ งคนทางานใหเ้ รา คนท่ีซอื้ สินคา้ จากเรา รวมทง้ั สภาพแวดลอ้ มท่ีเราอาศยั และทางานอยู่ 3 . สร้างผลกาไร คือ เงนิ เป็นเชือ้ เพลิงท่ีทาใหธ้ ุรกิจสามารถอย่รู อดและสง่ เสรมิ คะุ ลกั ษะะสองขอ้ ขา้ งตน้ ต่อไป พดู ง่ายๆ คือ ความรบั ผดิ ชอบของธรุ กิจ คือ การใชค้ วามม่งุ ม่นั และทรพั ยากรเพ่ือผลกั ดนั ปณิธานท่ีย่งิ ใหญ่กว่าตวั เอง ปกปอ้ งคนและสถานท่ีท่ีธรุ กิจดาเนินกิจการอยู่ รวมถงึ สรา้ งทรพั ยากรเพม่ิ เพ่อื ใหธ้ รุ กิจสามารถทาส่ิงเหลา่ นนั้ ตอ่ ไปใหน้ านท่ีสดุ เทา่ ท่ีจะเป็นไปได้ ถา้ เราทกุ คนลว้ นมีสทิ ธิท่ีจะรูส้ กึ วา่ ตวั เองไดร้ บั ความปลอดภยั ทางจิตใจในท่ีทางาน ไดร้ บั การตอบแทนอย่างเป็นธรรมจากความท่มุ เทของตวั เอง และมีสว่ นรว่ มในส่งิ ท่ี ย่งิ ใหญ่กว่าตวั เอง ธุรกิจจะทรงพลงั มากขนึ้ เม่ือมีการมอบอานาจเพ่อื ประชาชนโดยประชาชน ความสนั คลอนจะยงั ไมส่ ิน้ สดุ ในเรว็ วนั 17

CHAPTER 6 : บทที่ 6 ความมุ่งมนั่ และทรัพยากร : (WILL & RESOURCES) บทที่ 6 ความมุ่งม่ันและทรัพยากร ความมุ่งม่ัน คือ ความรูส้ กึ ของบคุ ลากร ตอนท่ีพวกเขาทางาน ความมงุ่ ม่นั รวมถงึ ขวญั กาลงั ใจ แรงจงู ใจ แรงบนั ดาลใจ ความรบั ผิดชอบ ความตอ้ งการท่ีจะมีส่วนรว่ ม ความ ตอ้ งการท่ีจะท่มุ เทจากใจจรงิ ทรัพยากร คอื เงิน รายได้ ผลกาไร กระแสเงินสด ทรพั ยากรมกั มาจากแหล่งท่ีมาภายนอกอย่างลกู คา้ หรอื นกั ลงทนุ และเป็นผลรวมท่ีไดจ้ ากเกณฑว์ ดั ทางการเงนิ ทงั้ หมดท่ีมี ส่วนช่วยใหอ้ งคก์ รแขง็ แกรง่ ความมุ่งมั่นมาก่อนทรัพยากร ความม่งุ ม่นั กบั ทรพั ยากร มีความสาคญั เทา่ เทียมกนั ขนึ้ อยวู่ ่าผนู้ ามีกรอบคดิ แบบมีขอบเขต หรอื ไรข้ อบเขต กรอบคิดแบบมีขอบเขต มกั ใหค้ วามสาคญั กบั ผลลพั ธ์ พวกเขาจงึ เลือกทางเลือกท่ีก่อใหเ้ กิดผลลพั ธอ์ ยา่ งรวดเรว็ ถงึ แมก้ ารทาแบบนน้ั จะสง่ ผลเสียตอ่ บคุ ลากร เชน่ ในชว่ งกิจการฝืดเคือง ผนู้ าจะเลือกมาตรการเลิกจา้ งเพ่อื ลดตน้ ทนุ เป็นอนั ดบั แรก กรอบคิดแบบไร้ขอบเขต จะพยายามอยา่ งหนกั เพ่อื มองใหไ้ กลกว่าแรงกดดนั ทางการเงิน และใหค้ วามสาคญั กบั บคุ ลากรก่อนผลกาไรใหม้ ากท่ีสดุ เท่าท่ีจะ เป็นไปได้ ในชว่ งกิจการฝืดเคือง พวกเขาแทบไม่เคยมองว่าบคุ คลกรเป็นค่าใชจ้ า่ ย เขาจะปรบั ลดและสารวจแนวทางอ่ืนๆ เพ่อื ประหยดั เงิน เช่น จะใชม้ าตรการพกั งานแทนท่ี จะเป็นการเลิกจา้ ง 18

CHAPTER 6 : บทที่ 6 ความมุ่งมนั่ และทรัพยากร : (WILL & RESOURCES) ต้นทนุ ของความมุ่งม่ัน ผนู้ าท่ีมีกรอบคดิ แบบมีขอบเขต มองวา่ บคุ ลกรเป็นตน้ ทนุ ส่วนผนู้ าท่ีมีกรอบคดิ แบบไรข้ อบเขต มองว่าพนกั งานเป็นมนษุ ย์ ซง่ึ ไม่สามารถคานวณมลู คา่ รวมกบั ว่าพวกเขา เป็นเครอ่ื งจกั รชนิ้ หน่งึ การลงทนุ กบั มนษุ ยไ์ ม่ไดม้ ีแคก่ ารจ่ายค่าตอบแทนอย่างดี และสรา้ งสภาพแวดลอ้ มท่ีทางาน แต่ยงั รวมถึงการปฎิบตั ต่อพวกเขาในฐานะมนษุ ยแ์ ละเขา้ ใจว่าพวกเขาก็ เหมือนมนษุ ยท์ กุ คน โดยมีความทะเยอทะยาน ความหวาดกลวั แนวคิด และความคิดเหน็ พวกเขาอยากรูส้ กึ ว่าตวั เองมีความสาคญั เม่ือบรษิ ัททาใหบ้ คุ ลากรรูส้ กึ ว่าตวั เองมีความสาคญั บคุ คลกรก็จะรว่ มแรงรว่ มใจกนั ในแบบท่ีไม่สามารถใชเ้ งินซอื้ ได้ เมื่อความมุ่งมั่นแรงกล้า บรษิ ัท ท่ีใหค้ วามสาคญั กบั พนกั งานเป็นอนั ดบั แรก ผนู้ าท่ีกรอบคิดแบบไรข้ อบเขต เม่ือเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย พวกเขา ปฎิเสธท่ีจะเลือกแนวทาง ท่ีสะดวก ตวั อยา่ งการเลิกจา้ งพนกั งาน แต่พวกเขาทาอะไรสกั อย่าง ใหพ้ นกั งานพอใจ รูส้ กึ ดี อยบู่ รษิ ัทอย่างปลอดภยั ม่นั คง ทาใหพ้ นกั งานมีแรงบันดาลใจในการทางาน พนกั งานก็จะมีความ มงุ่ ม่นั แรงกลา้ ในการทางาน รกั บรษิ ัท เม่ือเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย บคุ ลากรจะกระตือรอื รน้ ท่ีเสาะหาวธีช่วยเหลือบรษิ ัท ส่ิงท่ีสาคญั ท่ีสดุ คือ ทกุ คนรูส้ กึ ว่าพวกเขาลม่ หวั จมทา้ ยดว้ ยกนั ผนู้ าท่ีกรอบคิดแบมีขอบเขต จะม่งุ ม่นั แรงจงู ใจภายนอก ไมว่ า่ จะเป็นค่าตอบแทน โบนสั สวสั ดิการ หรอื การแข่งขนั ภายในองคก์ ร ถา้ สรา้ งแรงบนั ดาลใจส่งิ เหลา่ นี้ เรา สามารถสรา้ งแรงจงู ใจไดด้ ว้ ยเงินและสามารถจา้ งคนใหท้ างานหนกั แต่เงนิ ไมส่ ามารถซอื้ ความมงุ่ ม่นั ท่ีแทจ้ รงิ ได้ องคก์ ารท่ีพนกั งานไดร้ บั รางวลั ภายนอกเพ่อื ใหเ้ ขาท่มุ เทงานอยา่ งเตม็ ท่ี นน้ั แตกตา่ งจากองคท์ ่ีพนกั งานไดร้ บั แรงดาลใจจากภายในเพ่อื ใหท้ าแบบนนั้ โดยองคก์ รแบบมีขอบเชตจะเตม็ ไปดว้ ยผรู้ บั จา้ ง สว่ นองคก์ รแบบไรข้ อบเขต จะเตม็ ไปดว้ ยผศู้ รทั ธา 19

CONTENTS : K.WEERAWAT (Trusting Teams) (Ethical Fading) บทท่ี 7 : ทมี ทเ่ี ช่ือใจกนั บทท่ี 8 : ภาวะจริยธรรมเสื่อมถอย 20

CHAPTER 7: บทท่ี 7 : ทมี ทเ่ี ชื่อใจกนั (TRUSTING TEAMS) การสร้างทมี ทเี่ ตม็ ไปด้วยความเชือ่ ใจกัน ผนู้ าท่ีมีความคดิ คดิ แบบไรอ้ บเขต เนน้ การสรา้ งทีมท่ีเตม็ ไปดว้ ยความเช่ือใจซง่ึ กนั และกนั - Trust จะเกิดขนึ้ ไดก้ ็ต่อเม่ือสมาชิกทกุ คนในทีม รูส้ กึ ถงึ ความปลอดภยั - เรยี นรูท้ ่ีจะแสดงความรูส้ กึ ออกมา ปราศจากความกลวั ท่ีจะเผยจดุ บกพรอ่ งและขอ้ ผิดพลาดของตวั เอง ให้ความสาคัญกบั การสร้างพืน้ ที่ปลอดภยั พนกั งานสามารถหยบิ ยกปัญหาท่ีเกิดข้ึนมาช้ีแจงใหท้ ุกคนทราบ เพื่อใหท้ ุกฝ่ ายร่วมกนั ช่วยเหลือเพื่อแกไ้ ขปัญหาต่างๆ “เมื่อเราทางานอยใู่ นทีมท่ีเชื่อใจกนั เราจะรู้สึกปลอดภยั พอที่จะแสดงความอ่อนแอ ยกมือและยอมรับวา่ เราทาผดิ พลาด ซื่อตรงเก่ียวกบั ความบกพร่องในการปฎิบตั ิงาน รวมถึงการขอความช่วยเหลือ” เมื่ออยใู่ นทีมท่ีเชื่อใจกนั เราจะมีความเชื่อมนั่ วา่ เจา้ นายหรือเพ่อื นร่วมงานจะคอยสนบั สนุนเราอยู่ 21

CHAPTER 7: บทที่ 7 : ทมี ที่เช่ือใจกนั (TRUSTING TEAMS) การสร้างทมี ทเี่ ตม็ ไปด้วยความเชือ่ ใจกัน หน่ึงในเกณฑก์ ารพิจารณาวา่ คนประเภทใดเหมาะสมกบั หน่วยซีล คือใชก้ ราฟสองแกนเทียบ “การปฎิบตั ิงาน” VS “ความเช่ือใจ” “ผมอาจเช่ือใจคุณมากพอที่จะฝากชีวิตของตวั เองไวก้ บั คุณ แต่ผมเช่ือใจคุณมากพอที่จะฝากเงินหรือภรรยาไวก้ บั คุณหรือเปล่า” * คุณอาจช่วยผมในการสูร้ บไดจ้ ริง แต่ผมไม่ไดเ้ ช่ือใจคุณมากพอท่ีจะแสดงความอ่อนแอออกมา หน่วยซีลคน้ พบวา่ คนท่ีมีผลปฎิบตั ิงานสูง และมีความเชื่อใจต่าคือสมาชิกที่ส่งผลเสียต่อทีม เพราะสมาชิกประเภทน้ีมีนิสยั หลงตวั เอง ชอบพดู จาใหร้ ้ายคนอื่น และมีอิทธิพลทางดา้ นลบต่อทีม โดยเฉพาะสมาชิคใหม่หรือรุ่นนอ้ ง # หน่อยชีลยอมเลือกคนที่มีผลปฎิบตั งานปานกลางและความเชื่อใจสูง # บางคร้ังถึงข้นั ตอ้ งเลือกผลปฎิบตั ิงานต่าและความเช่ือใจสูงมากกวา่ ปัญหา คนทผี่ ลการปฎบิ ตั งิ านสูง แต่ความเช่ือใจตา่ คือ - สนใจผลการปฎิบตั ิงานและเสน้ ทางอาชีพของตนเองมากกวา่ ช่วยทีมใหเ้ จริญกา้ วหนา้ - แนวทางที่ใหใ้ นการบรรลุเป้าหมายมกั มีส่วนนาไปสุ่สภาพแวดลอ้ มที่ส่งผลเสียจนทาใหค้ นอื่นๆ เจริญกา้ วหนา้ ไดล้ าบาก ในวฒั นธรรมท่ีเนน้ กบั ผลการปฎิบตั ิงาน 22

CHAPTER 7: บทที่ 7 : ทมี ท่เี ชื่อใจกนั (TRUSTING TEAMS) การสร้างทมี ทเี่ ตม็ ไปด้วยความเชื่อใจกัน วฒั นธรรม = ค่านิยม + พฤติกรรม การสร้างวฒั นธรรมบนพ้ืนฐานของความเช่ือใจตอ้ งอาศยั การทางานมากมาย โดยเริ่มจากการสร้างพ้นื ท่ี ท่ีทาใหผ้ คู้ นรู้สึกปลอดภยั และสบายใจท่ีจะเป็นตวั ของตวั เอง ผนู้ าไม่ไดม้ ีหนา้ ที่รับผดิ ชอบผลลพั ธ์ แต่มีหนา้ ที่รับผดิ ชอบบุคลากรท่ีทาหนา้ ท่ีสร้างผลลพั ธ์ วธิ ีที่ดีท่ีสุดท่ีจะผลกั ดนั ผลการปฏิบตั ิงานใน องคก์ รคือการสร้างสภาพแวดลอ้ มท่ีผคู้ นเตม็ ใจแบ่งปันขอ้ มูล ยอมเผยความผดิ พลาด รวมถึงเตม็ ใจเสนอและรับความช่วยเหลือ 23

CHAPTER 8: บทที่ 8 : ภาวะจริยธรรมเสื่อมถอย (ETHICAL FADING) ภาวะจริยธรรมเสื่อมถอย ความเส่ือมถอยของจริยธรรม” คือ มกั จะเกิดข้ึนกบั องคก์ รท่ีมีการบริหารแบบ finite mindset ท่ีใหค้ วามสาคญั กบั “ผลงาน” มากกวา่ หลกั จริยธรรมพ้นื ฐาน ซ่ึงนามาสู่การเสื่อมถอยของจริยธรรมของคนในองคก์ ร ท่ีเห็นวา่ การทาผดิ หลกั คุณธรรมเลก็ นอ้ ยน้นั ทาใหไ้ ดร้ ับ ผลตอบแทนท่ีดีกวา่ จนในท่ีสุด จะมองเรื่องที่ผดิ ศีลธรรมน้ีเป็น “มาตรฐานของการทางาน” การนาแนวคิดแบบ infinite mindset เป็นการป้องกนั Ethical Fading ท่ีดีที่สุด - Just Cause ท่ีแขง็ แกร่ง - Trusting Team ที่พร้อมร่วมมือกนั เพ่ือส่งผา่ นวสิ ยั ทศั นอ์ นั ยง่ิ ใหญข่ ององคก์ รไปขา้ งหนา้ 24

CONTENTS : K.TAPANA (Worthy Rival) บทที่ 9 : คู่ปรับทคี่ ู่ควร (Existential Flexibility) บทท่ี 10 : ความยืดหย่นุ ในการดารงกจิ การ บทที่ 11 : ความกล้าหาญในการเป็ นผู้นา (The Courage To Lead) 25

CHAPTER 9 : บทท่ี 9 : คู่ปรับทค่ี ู่ควร (WORTHY RIVAL) หลกั การข้อท่ี 3 ของ Infinite mindset การมคี ู่แข่งขนั ทค่ี ู่ควร ทค่ี วรค่าแก่การทาความเข้าใจและเปรียบเทียบ เพื่อนาจุดแข็งของคู่แข่งมาพฒั นาองค์กรของตนเองต่อไป คู่แข่งคู่ปรับ ความคิดแบบ Finite Mindset คือการเอาชนะกนั แบบถึงท่ีสุด ส่วนความคิดแบบ Infite Mindset คือการมองเห็นถึงความสาคญั ของการมีอยขู่ องคู่แข่งจะช่วยใหอ้ งคก์ รหนั มาให้ ความสาคญั กบั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง Continuous Improvement การสร้างนวตั กรรมใหม่ๆ รวมถึงการร่วมกนั ขบั เคล่ือน Just Cause ที่ยงิ่ ใหญ่ไปขา้ งหนา้ ได้ องคก์ รท่ีมองไม่เห็นคูแ่ ข่งของตนเอง สุดทา้ ยกต็ อ้ งถอนตวั ออกจาก Infinite Game เหมือนกนั Block buster บริษทั เช่าวดิ ีโอ ที่มองเห็น Netflix เป็นเพียงคูแ่ ขง่ ขนาดเลก็ ท่ีไม่มีความจาเป็นท่ีตอ้ งสนใจ 26

CHAPTER 10 : บทท่ี 10 : ความยืดหย่นุ ในการดารงกจิ การ (EXISTENTIAL FLEXIBILITY) หลกั การข้อที่ 4 ของกระบวนการคิดแบบ Infinite Mindset การมคี วามหยืดหย่นุ ในการสร้างตวั ตนขึน้ มาใหม่ได้ตลอดเวลา องคก์ รท่ีจะมีสามารถยนื อยใู่ นตลาดหรือในดาเนินกิจการได้ ตอ้ งรู้จกั เปลี่ยนแปลงตนเอง ในทางตรงกนั ขา้ ม องคก์ รท่ีไม่เปลี่ยนแปลงอาจสร้างการเติบโตและผลประกอบการท่ีดีไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองในระยะส้ัน แต่ สุดทา้ ยองคก์ รเหลา่ น้นั กจ็ ะไร้ซ่ึงความสามารถในการลงแข่งขนั กรณีของ Eastman Kodak บริษทั ผผู้ ลิตฟิ ลม์ ถา่ ยภาพท่ีเริ่มตน้ จาก Just Cause ท่ียงิ่ ใหญ่ในการทาใหผ้ คู้ นทุกคนสามารถ เขา้ ถึงการถ่ายรูปได้ แตก่ ลบั ไม่ยอมปรับเปลี่ยนตวั ตนของตวั เองใหพ้ ร้อมกบั การแข่งขนั ในสนามการถ่ายรูปในยคุ ดิจิตอล ท้งั ๆท่ี Eastman Kodak น้นั เป็นผคู้ ิดคน้ และถือครองสิทธิบตั รของการถ่ายภาพดว้ ยกลอ้ งดิจิตอลมานานต้งั แต่ปี 1975 27

CHAPTER 11 : บทท่ี 11 : ความกล้าหาญในการเป็ นผู้นา (THE COURAGE TO LEAD) หลกั การข้อที่ 5 ของกระบวนการคดิ แบบ Infinite Mindset การมคี วามกล้าทจี่ ะเป็ นผ้นู าของการเปลย่ี นแปลง วสิ ยั ทศั นท์ ่ีตอ้ งการ “ช่วยเหลือมนุษยท์ ุกคนใหม้ ีสุขภาพท่ีดีข้ึน” ของ CVS บริษทั คา้ ปลีกยารักษาโรครายใหญ่ของสหรัฐอเมริกาไดผ้ ลกั ดนั ประกาศยกเลิกการขายสินคา้ บุหร่ีท่ีมีมูลคา่ รวมกนั กวา่ 2 พนั ลา้ นดอลลาร์ในร้านขายยากวา่ 2,800 แห่งของบริษทั ในปี 2014 ซ่ึงนามาสู่การวพิ ากษว์ จิ ารณ์อยา่ ง ร้อนแรงในวงการ Wallstreet ถึงผลประโยชนท์ ี่ลดลงของผถู้ ือหุน้ แต่ในเวลาเพียงแคห่ น่ึงปี คร่ึงตอ่ มา มูลค่าหุน้ ของ CVS น้นั กลบั พงุ่ สูงข้ึนเกือบๆ 2 เท่าจากยอดขายที่เพิ่มมากข้ึนจากการสนบั สนุนของลูกคา้ และการจบั มือกบั เจา้ ของผลิตภณั ฑท์ ี่ มีความเช่ือที่ตรงกนั ท่ียอมนาสินคา้ ของพวกเขามาขายในร้านขายยาของ CVS ผลการวจิ ยั พบวา่ การยกเลิกขายบุหร่ีของ CVS ทาใหม้ ีคนเลิกบุหรี่มากยงิ่ ข้ึน 28

KEY FINDING : สิ่งทไี่ ด้เรียนรู้จากหนังสือเล่มนี้ 1. ทาใหส้ ามารถแยกความแตกตา่ งระหวา่ ง แนวคิดกรอบแบบมีขอบเขต กบั กรอบแบบไรข้ อบเขต เป็นอยา่ งไร 2. แนวคดิ แบบไรข้ อบเขต (Infinite Mindset) ทาใหอ้ งคก์ รสามารถรบั มือในกระีท่ีเกิดสถานการะว์ ิกฤตใหก้ ับบรษิ ัทฯ ไดโ้ ดยไมท่ าใหพ้ นกั งานเดือดรอ้ น เชน่ การปลดพนกั งาน เป็นตน้ 3. แนวคดิ แบบไรข้ อบเขต (Infinite Mindset) เป็นแนวคดิ ท่ีองคก์ รและผนู้ าสามารถนาไปใชเ้ พ่ือ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ใหก้ บั พนกั งานและเพ่ือมีกาลงั ใจในการทางานตอ่ ไป 4. องคก์ รและผนู้ าท่ีมีปะิธานหรอื วิสยั ทศั นท์ ่ีดยี ่อมนาพาใหพ้ นกั งานและคนในองคก์ รอย่รู อดต่อไปได้ 5. ทาใหเ้ ขา้ ใจถงึ ความหมายของคาวา่ ปะิธานหรอื วสิ ยั ทศั นอ์ นั ดีงาน เป็นส่งิ ท่ีทกุ คนควรตระหนกั ถึง เป็นส่งิ ทาใหท้ กุ คน มีวิสยั ทศั นอ์ นั ดงี าม กวา้ งไกล เกิดขนึ้ ได้ 6. ทาใหท้ กุ คนมีความรกั ความสามคั คซี ง่ึ กนั และกนั ในทีมงาน 7. สาหรบั การทางานความไวว้ างใจและเช่ือใจกนั มีความสาคญั มากกวา่ ประสิทธิภาพในการทางาน 29

KEY FINDING : ส่ิงทสี่ ามารถนามาปรับใช้ในองค์กรหรือชีวติ ประจาวนั ได้ องคก์ ร 1. แนวคิดแบบไรข้ อบเขต (Infinite Mindset) เป็นแนวคิดท่ีดที ่ีองคก์ รสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่ือพรอ้ มรบั กบั สถานการะว์ ิกฤต ท่ีอาจเกิดขนึ้ ไดใ้ นอนาคต และสามารถยืดหยนุ่ รบั การเปล่ยี นแปลงไดต้ ลอดเวลา 2.ผนู้ าองคก์ รสามารถนาแนวคดิ นี้ ไปปรบั ใชก้ บั พนกั งานเพ่ือสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ขวญั กาลงั ใจ ในการปฎิบตั งิ านของพนกั งาน 3.องคก์ รสามารถศีกษาขอ้ มลู คแู่ ขง่ ขนั เพ่ือนาขอ้ มลู ท่ีไดม้ ามาพฒั นาตอ่ ยอดนวตั กรรมหรอื สินคา้ ใหม่ๆ ได้ ชีวติ ประจาวนั 30 1. สามารถนามาใข้ เป็นผนู้ าใหก้ บั ครอบครวั ดว้ ยวสิ ยั ทศั นอ์ นั กวา้ งไกล ดีงาม ไม่มีขอบเขต และ ทาใหค้ นในครอบครวั รูส้ กึ ปลอดภยั ม่นั คง ใหเ้ ขารูส้ กึ เป็นสว่ นหนง่ึ และมีคะุ คา่ คนในครอบครวั ก็จะรกั กนั แบง่ บนั กนั ถึงแมจ้ ะมีปัญหาในครอบครวั 2. สามารถลดความกดดนั หลายๆ ดา้ นเขา้ มาในชีวติ ได้ ดว้ ยกรอบความคิดแบบไรข้ อบเขต 3. สามารถทาใหม้ ีจรยิ ธรรมมากขนึ้ ม่งุ ม่นั ความถกู ตอ้ ง 4. สามารถนามาใชใ้ นการพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง เหมือนเกมท่ีไรข้ อบเขต ไมม่ ีท่ีสนิ้ สดุ 5. ทกุ คนสามารถตงั้ เปา้ หมายปะิธานหรอื วสิ ยั ทศั นข์ องตนเองและทาใหส้ ่งิ นนั้ ใหป้ ระสบผลสาเรจ็

TEAM MEMBER : LUCKY สู้ ๆ 1. คุณวรี วฒั น์ ลมิ้ อมิ่ : ต๊ะ (EU Dept.) 2. คุณเสาวลกั ษณ์ จงธนจินดากจิ : จิงโจ้ (BMD) 3. คุณปฎพิ ร พ่มุ แจ้ : แจ้ (Maintenance 2) 4. คุณฐาปนา ภาพยนต์ : แมน (Warehouse Dept.) 1 234 31

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook