Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Kerkrin_suppakun601208178

Kerkrin_suppakun601208178

Published by KERKRIN SUPPAKUN, 2018-11-05 00:36:53

Description: Kerkrin_suppakun601208178

Search

Read the Text Version

อนิ เทอรเ นต

อินเทอรเ น็ต คอื อะไรอนิ เทอรเนต็ คือ ระบบเครือขา ยคอมพิวเตอรขนาดใหญท ่สี ุดของโลก โดยจะเปน การเชื่อมตอเคร่อื งคอมพวิ เตอรหลายๆ เครอ่ื งจากทัว่ โลกมาเชอื่ มตอเขา ดว ยกนั ซงึ่ ชว ยใหสามารถติดตอส่ือสารและแลกเปลีย่ นขอมูลระหวา งกนั ไดท ่วั โลก ในการติดตอ กันระหวางเครอื่ งคอมพวิ เตอร จาํ เปน ตอ งมกี ารระบวุ า สงมาจากไหน สง ไปใหใครซ่งึ ตอ งมกี ารระบุ ช่ือเครอ่ื ง(คลา ยกบั เลขทบ่ี าน) ในอินเทอรเ นต็ ใชข อ ตกลงในการตดิ ตอทีเ่ รียกวา TCP/IP (ขอตกลงท่ีทาํ ใหค อมพวิ เตอรตดิ ตอกนั ได) ซ่ึงจะใชสงิ่ ที่เรียกคา “ไอพี-แอดเดรส” (IP-Address) ในการระบุชื่อเคร่อื งจะไมมีเบอรทซี่ าํ้ กนั ได

ประวตั ขิ องอินเทอรเ นต็ อินเทอรเนต็ กําเนิดข้ึนครง้ั แรกในประเทศสหรัฐอเมรกิ า เมอ่ื พ.ศ. 2512 โดยองคก รทาง ทหาร ของสหรัฐอเมริกา ชื่อวา ยู.เอส.ดเี ฟนซ ดีพารท เมนท ( U.S. Defence Department ) เปน ผูค ิดคนระบบขน้ึ มา มีวัตถปุ ระสงค คอื เพ่ือใหมรี ะบบเครือขา ยท่ไี มมี วนั ตายแมจะมีสงคราม ระบบการสอ่ื สารถกู ทาํ ลาย หรอื ตัดขาด แตระบบเครอื ขา ยแบบนี้ ยงั ทาํ งานไดซ ่ึงระบบดงั กลาวจะใชวธิ ีการสง ขอมลู ในรูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝายวจิ ยั ขององคกรจึงไดจัดต้งั ระบบเน็ตเวรก์ิ ขนึ้ มา เรยี กวา ARPAnet ยอ มาจากคําวา Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสาํ เรจ็ และไดรับความนยิ ม ในหมขู องหนวยงานทหาร องคก ร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาตางๆ เปน อยา งมาก

ประวตั ิอนิ เทอรเ น็ต (ตอ )การเชื่อมตอในภาพแรกแบบเดิม ถาระบบเครือขายถกู ตัดขาด ระบบก็จะเสยี หายและทําใหการเชอื่ มตอ ขาดออกจากกนั แตในเครือขายแบบใหม แมวา ระบบเครอื ขา ยหน่ึงถกู ตัดขาดเครอื ขา ยกย็ งั ดําเนินไปไดไ มเ สยี หาย เพราะโดยตวั ระบบกห็ าชอ งทางอนื่ เชอ่ื มโยงกันจนไดในระยะแรก เมอ่ื ARPAnet ประสบความสาํ เรจ็ ก็มอี งคก รมหาวทิ ยาลยั ตางๆ ใหค วามสนใจเขา มารว มในโครงขายมากขึ้น โดยเนน การรับสง จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส ( Electronic Mail )ระหวา งกันเปนหลกั ตอมากไ็ ดขยายการบริการไปถงึ การสง แฟมขอ มลู ขา วสารและสง ขาวสารความรูทัว่ ไป แตไ มไดใ ชในเชงิ พาณชิ ย เนน การใหบ รกิ ารดานวชิ าการเปน หลัก

ประวัตอิ นิ เทอรเนต็ (ตอ ) ป พ.ศ. 2523 คนทัว่ ไปเริ่มสนใจอนิ เทอรเน็ตมากข้นึ มกี ารนาํ อนิ เทอรเนต็ มาใชใ นเชิงพาณิชย มกี ารท าธรุ กิจบนอนิ เทอรเ นต็ บริษัท หา งรานตา งๆ ก็เขารวมเครอื ขายอนิ เทอรเน็ตมากขน้ึ

อินเทอรเน็ตในประเทศไทยประเทศไทยไดเรมิ่ ติดตอกบั อนิ เทอรเน็ตในป พ.ศ. 2530 ในลกั ษณะการใชบริการ จดหมายเลก็ ทรอนกิ สแบบแลกเปลี่ยนถุงเมลเปน ครง้ั แรก โดยเริม่ ท่ีมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทรวทิ ยาเขตหาดใหญ ( Prince of Songkla University ) และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียหรอื สถาบันเอไอที ( AIT )

อนิ เทอรเ นต็ ในประเทศไทย (ตอ) ภายใตโ ครงการความรวมมือระหวางประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงการ IDP ) ซึ่ง เปน การติดตอ เชือ่ มโยงโดยสายโทรศัพท จนกระทัง่ ป พ.ศ. 2531 มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วิทยาเขตหาดใหญ ไดย ื่นขอที่อยอู นิ เทอรเ น็ตในประเทศไทย โดยไดร บั ท่ี อยอู นิ เทอรเน็ต Sritrang.psu.th ซง่ึ นับเปน ทีอ่ ยอู ินเทอรเ นต็ แหงแรกของประเทศไทย

อนิ เทอรเ นต็ ในประเทศไทย (ตอ ) ตอมาป พ.ศ. 2534 บรษิ ทั DEC ( Thailand ) จํากัดไดขอที่อยอู นิ เทอรเ นต็ เพื่อใช ประโยชนภายในของบริษัท โดยไดร บั ท่อี ยูอินเทอรเน็ตเปน dect.co.th โดยที่คํา “th” เปน สว นที่เรยี กวา โดเมน ( Domain ) ซงึ่ เปนสว นท่แี สดงโซนของเครือขา ยอนิ เทอรเน็ตใน ประเทศไทย โดยยอมาจากคําวา Thailand

อนิ เทอรเ น็ตในประเทศไทย (ตอ) กลา วไดว า การใชง านอนิ เทอรเ นต็ ชนิดเตม็ รปู แบบตลอด 24 ชวั่ โมง ในประเทศ ไทยเกิดขน้ึ เปน คร้งั แรกเมื่อเดอื น กรกฎาคม ป พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทยบรกิ าร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั ไดเชา วงจรสอ่ื สารความเรว็ 9600 บิตตอ วินาที จากการ สือ่ สารแหงประเทศไทยเพ่ือเชอื่ มเขา สอู ินเทอรเ นต็ ที่บรษิ ัท ยยู เู น็ตเทคโนโลยี ( UUNET Technologies ) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า

อินเทอรเน็ตในประเทศไทย (ตอ)ในปเ ดียวกนั ไดมีหนวยงานท่ีเชอ่ื มตอ แบบออนไลนก ับเครอื ขา ยอนิ เทอรเ น็ตผา นจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั หลายแหง ดว ยกัน ไดแ ก สถาบนั เทคโนโลยแี หง เอเชีย ( AIT ) มหาวิทยาลยัมหิดล สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา วทิ ยาเขตเจา คุณทหารลาดกระบงั มหาวิทยาลยัเชยี งใหม และมหาวิทยาลัยอสั สัมชญั บริหารธรุ กิจ โดยเรียกเครอื ขายนว้ี าเครอื ขา ย “ไทยเนต็ ” ( THAInet ) ซงึ่ นับเปน เครือขายที่มี “ เกตเวย “ ( Gateway ) หรือประตสู ูเ ครอื ขายอนิเทอรเน็ตเปนแหง แรกของประเทศไทย

อินเทอรเ นตในประเทศไทย (ตอ)ปจจุบนั ไดม ีผรู จู กั และใชอินเทอรเนต็ มากขนึ้ มีอตั ราการเติบโตมากกวา 100 % สมาชกิ ของอนิ เทอรเน็ตขยายจากอาจารยแ ละนิสิตนกั ศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสปู ระชาชนท่ัวไป

การทํางานของอินเทอรเน็ตการสอ่ื สารขอ มลู ดวยคอมพวิ เตอรจ ะมโี ปรโตคอล (Protocol) ซ่ึงเปนระเบยี บวธิ ีการสอื่ สารที่เปนมาตรฐานของการเชอ่ื มตอ กําหนดไว โปรโตคอลท่เี ปน มาตรฐานสําหรับการเชื่อมตออนิเทอรเ นต็ คอื TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท ุกเครอ่ื งทเ่ี ชอ่ื มตอเขากบั เครอื ขา ยอนิ เทอรเ นต็ จะตอ งมหี มายเลขประจาํ เครื่องทเี่ รียกวา IP Address เพื่อเอาไวอ างองิ หรือตดิ ตอ กบั เคร่ืองคอมพวิ เตอรอ ่นื ๆ

การทาํ งานของอนิ เทอรเ น็ต (ตอ)นเครอื ขาย ซงึ่ IP ในท่ีน้กี ค็ อื Internet Protocol ตวั เดียวกบั ใน TCP/IP นั่นเอง IPaddress ถกู จัดเปน ตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บติ ใน 1 ชดุ นจี้ ะมีตัวเลขถกู แบงออกเปน 4 สวนสว นละ 8 บติ เทา ๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงใหเ ปน เลขฐานสิบกอ นเพอื่ ความงายแลว เขียนโดยคน่ั แตละสว นดว ยจดุ (.)

การทาํ งานของอินเทอรเนต็ (ตอ) ดงั น้ันในตวั เลขแตละสวนนี้จึงมีคา ไดไมเ กิน 256 คอื ต้งั แต 0 จนถงึ 255 เทา น้นั เชน IP address ของเครื่องคอมพิวเตอรข องสถาบันราชภฎั สวนดสุ ิต คอื 203.183.233.6 ซึ่ง IP Address ชดุ น้จี ะใชเปน ทอี่ ยูเพ่ือตดิ ตอ กบั เครือ่ งพวิ เต อรอ ื่นๆ ในเครอื ขา ย

โดเมนเนม เนื่องจากการตดิ ตอสือ่ สารกันกนั ในระบบอินเทอรเน็ตใชโปรโตคอล TCP/IP เพอื่ สอื่ สารกนั โดยจะตอ งมี IP address ในการอางอิงเสมอ แต IP address นถ้ี ึงแม จะจัดแบงเปนสว นๆ แลว ก็ยงั มอี ปุ สรรคในการทต่ี องจดจํา ถา เครอื่ งที่อยูในเครอื ขายมีจาํ นวนมากข้นึ การจดจาํ หมายเลข IP ดูจะเปนเรอ่ื งยาก และอาจสบั สนจาํ ผดิ ได แนวทางแกป ญหาคอื การต้ังช่อื หรอื ตวั อักษรขนึ้ มาแทนท่ี IP address ซง่ึ สะดวกในการจดจาํ มากกวา เชน IP address คือ 203.183.233.6 แทนท่ีดวยช่อื dusit.ac.th ผูใ ชงานสามารถ จดจาํ ชื่อ dusit.ac.th ไดงายกวา การจําตวั เลข

โดเมนเนม (ตอ )โดเมนทไ่ี ดรบั ความนยิ มกันท่วั โลก ที่ถือวาเปนโดเมนสากล มดี งั น้ี คอื .com ยอมาจากcommercial สาํ หรับธรุ กจิ .edu ยอ มาจาก education สาํ หรบั การศกึ ษา .int ยอมาจากInternational Organization สําหรบั องคกรนานาชาติ .org ยอ มาจาก Organizationสําหรบั หนวยงานทีไ่ มแสวงหาก าไร .org ยอมาจาก Organization สาํ หรับหนว ยงานท่ีไมแสวงหากําไร

บริการตา งๆ บนอนิ เทอรเนต็1. เวลิ ดไ วดเ ว็บ (WWW) เวลิ ดไวดเว็บ หรอื เครอื ขายใยแมงมุม เหตทุ ี่เรียกช่อื น้เี พราะวา เปนลกั ษณะของการเชื่อมโยงขอ มลู จากทหี่ นึง่ ไปยังอกี ที่หน่ึงเร่อื ยๆ เวิลดไวดเว็บ เปนบริการที่ไดรบั ความนิยมมากที่สดุ ในการเรยี กดูเวบ็ ไซตต อ งอาศัยโปรแกรมเว็บเบราวเซอร (webbrowser) ในการดูขอ มลู เวบ็ เบราวเ ซอรท ี่ไดรบั ความนิยมใชใ นปจจบุ ัน เชน โปรแกรมInternet Explorer (IE) , Netscape Navigator 2. จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส (Electronic Mail) การติดตอสื่อสารโดยใชอีเมลสามารถท าไดโ ดยสะดวก และประหยดั เวลา หลกั การท างานของอีเมลก็คลา ยกับการสง จดหมายธรรมดานนั้ คือ จะตองมที อี่ ยทู ่ีระบชุ ดั เจน กค็ อื อเี มลแอดเดรส (E-mail address)

บริการตา งๆบนอินเทอรเ นต็ (ตอ )องคป ระกอบของ e-mail address ประกอบดว ย1. ชือ่ ผใู ช (User name)2. ชอ่ื โดเมน Username@domain_nameการใชง านอีเมล สามารถแบง ไดด งั นี้ คือ 1. Corporate e-mail คอื อเี มล ท่ีหนว ยงานตางๆสรา งข้ึนใหกับพนกั งานหรอื บุคลากรในองคก รนนั้ เชน [email protected]คือ e-mail ของนักศกึ ษาของสถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ติ เปน ตน 2. Free e-mail คอื อีเมล ที่สามารถสมคั รไดฟ รีตาม web mail ตา งๆ เชน Hotmail, Yahoo Mail, Thai Mail และ Chaiyo Mail 3. บรกิ ารโอนยา ยไฟล (File Transfer Protocol) เปน บริการทเี่ กี่ยวของกับการโอนยายไฟลผ านระบบอินเทอรเ น็ต การโอนยา ยไฟลสามารถแบงไดด ังนี้ คือ

บรกิ ารอนิ เทอรเนต็ (ตอ) องคประกอบของ e-mail address ประกอบดว ย 1. ช่ือผูใ ช (User name) 2. ชือ่ โดเมน Username@domain_name การใชงานอเี มล สามารถแบงไดด ังน้ี คือ 1. Corporate e-mail คอื อเี มล ทีห่ นว ยงานตางๆสรางขนึ้ ใหก บั พนักงานหรอื บคุ ลากรในองคก รน้ัน เชน [email protected] คอื e-mail ของนักศกึ ษาของสถาบนั ราชภัฏสวนดสุ ติ เปน ตน 2. Free e-mail คือ อเี มล ทีส่ ามารถสมัครไดฟรตี าม web mail ตา งๆ เชน Hotmail, Yahoo Mail, Thai Mail และ Chaiyo Mail 3. บรกิ ารโอนยา ยไฟล (File Transfer Protocol) เปนบริการทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การโอนยายไฟลผา นระบบอนิ เทอรเน็ต การโอนยายไฟลส ามารถแบงไดดังนี้ คือ

นาย เกริกกรนิ สรรพคุณ601208178ITS-C


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook