Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้พื้นฐานสำหรับการจัดำแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

ความรู้พื้นฐานสำหรับการจัดำแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

Description: สบจ.สป.มท. ได้จัดทําเอกสาร “ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด” เพื่อรวบรวมองค์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพัฒนาการ กระบวนการ และเครื่องมือในการจัดทํา
แผนพัฒนาพื้นที่ของประเทศไทย อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคลากรด้านการวางแผนของจังหวัด และ
กลุ่มจังหวัด ตลอดจนบุคคลทั่วไป ในกระบวนการเรียนรู้ของภาคีเครือข่ายในการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดซึ่งจะนําไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน สามารถตอบสนอง
ความต้องการของพื้นที่ได้อย่างแท้จริง

Search

Read the Text Version

ความรูพ้นื ฐานสาํ หรบั การจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวัดและกลมุ จงั หวัด สํานักพฒั นาและสงเสรมิ การบริหารราชการจังหวดั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสําหรับการจัดทําแผนพฒั นาจังหวดั และกลมุ จงั หวัด ความรูพน้ื ฐาน สําหรับการจัดทาํ แผนพัฒนาจงั หวดั และกลุม จงั หวัด สํานักพฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวดั สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบรสิหาํารนราักชกงาารจนังหปวลัด ัดสาํกนรักงะาทนปรลวดั กงรมะทหรวางมดหไาทดไทยย

ความรพู ืน้ ฐานสําหรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ จงั หวดั คํานํา การจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด และกลุมจังหวัดมีพัฒนาการอยา งตอเน่ืองตั้งแตอดีต จนถงึ ปจจุบัน โดยการเปลี่ยนผานไปสูการบริหารงานเชิงพื้นที่ (Area-based Approach) ซงึ่ เปดโอกาส ใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการกําหนดทิศทางการพัฒนาพื้นท่ีของตนเองผานแผนพัฒนาจังหวัด และกลุมจังหวัดและกําหนดใหจังหวัด และกลุมจังหวัดสามารถจัดทําคําของบประมาณไดเอง ดังนั้น แผนพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัดจึงเปนเครอ่ื งมอื สําคัญของรัฐบาลในการบูรณาการความรว มมือของ ทุกภาคสวนที่เก่ียวของในการขับเคล่ือนการพัฒนาของพื้นที่ใหไปในทิศทางเดียวกัน ตอบสนองตอ ศกั ยภาพ และความตอ งการของประชาชนในพื้นท่ี ปจจุบนั มีการเปล่ยี นแปลงท่สี ําคญั คอื การปรบั เปลยี่ นแนวคิดในการจัดทําแผนพัฒนา จากแผนยุทธศาสตร (Strategic Plan) ไปสูแผนรวม (Comprehensive Plan) โดยมีการปรับปรุงรูปแบบ และเนอ้ื หาของแผนพัฒนาจงั หวัด และกลุมจังหวัดเพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ทมี่ ุงเนนการเชอ่ื มโยงแผนของประเทศทัง้ ระบบเขา ดว ยกนั เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ลในการพัฒนาประเทศในภาพรวม ในการน้ี สาํ นกั พฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจังหวดั สาํ นักงานปลดั กระทรวง มหาดไทยจึงไดจัดทําเอกสาร “ความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัด” ฉบับนี้ข้ึน เพื่อเปนการรวบรวมองคความรูพื้นฐานเก่ียวกับพัฒนาการ กระบวนการ และเคร่ืองมือในการจัดทํา แผนพฒั นาพื้นทข่ี องประเทศไทย อนั จะกอ ใหเกิดประโยชนต อ บุคลากรดานการวางแผนของจังหวัด และ กลุมจังหวัด ตลอดจนบุคคลท่ัวไป ในกระบวนการเรียนรูของภาคีเครือขายในการเขามามีสวนรวม ในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด และกลุมจังหวัดซ่ึงจะนําไปสูการพัฒนาที่ย่ังยืน สามารถตอบสนอง ความตองการของพื้นทไี่ ดอยา งแทจ รงิ สํานักพฒั นาและสงเสริมการบรหิ ารราชการจังหวดั สํานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย ดาวนโหลดรูปเลม สาํ นักพฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู น้ื ฐานสําหรับการจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ จงั หวัด ก สารบัญ หนา ก สารบัญ ข คําอธิบายคํายอ หรือสัญลักษณ ๑ บทที่ ๑ ท่ีมาและความสําคญั ของการจดั ทําแผนพัฒนาจงั หวัดและกลมุ จงั หวดั 2 12 1.1 ความเปนมาของแผนพฒั นาจังหวัดและกลมุ จังหวดั 1.2 เจตนารมณใ นการบรหิ ารงานจงั หวัดและกลุมจงั หวัดแบบบรู ณาการ 15 บทท่ี ๒ กฎหมาย และกลไกการการเชอื่ มโยงประสานแผนพฒั นาท้งั ระบบ 16 20 2.1 กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ งกับการจัดทาํ และประสานแผนพัฒนา 25 2.2 แนวคดิ ใหมในการเช่ือมโยงแผนพัฒนาทั้งระบบ 2.3 กลไกในการเช่อื มโยงแผนในระดับตางๆ 31 บทท่ี ๓ กลไก กระบวนการ และเครื่องมือในการวางแผนพฒั นาจังหวดั 32 และกลมุ จงั หวัด 33 3.1 นโยบาย หลกั เกณฑแ ละแนวทางสาํ คัญในการจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวดั 38 และกลมุ จังหวัด 44 3.2 โครงสรางและกลไกการบรหิ ารจังหวดั และกลมุ จงั หวัด 67 3.3 กระบวนการ และขัน้ ตอนการจดั ทาํ แผนพัฒนาจังหวัด และกลุมจังหวัด 3.4 เทคนิค เคร่ืองมอื ในการจัดทาํ แผนพัฒนาจังหวัด และกลมุ จงั หวดั 68 72 บทที่ ๔ องคประกอบของแผนพฒั นาจงั หวัดและกลุมจังหวดั 79 4.1 องคประกอบของแผนพัฒนาจงั หวดั และกลมุ จงั หวัด 82 4.2 หลักการแนวทางในการกําหนดเปาหมายการพัฒนา ประเด็นการพฒั นา 84 และตวั ชี้วัด บทท่ี ๕ บทสรปุ บรรณานุกรม ภาคผนวก สํานักพฒั นาและสงเสริมการบริหารราชการจงั หวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู ้นื ฐานสาํ หรบั การจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลุม จงั หวดั ข ภาษาไทย คําอธิบายคาํ ยอ ก.บ.ภ. ยอมาจาก คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค อ.ก.บ.ภ. ยอมาจาก คณะอนุกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค ก.น.จ. ยอ มาจาก คณะกรรมการนโยบายการบรหิ ารงานจังหวดั และกลุม จังหวดั แบบบรู ณาการ ก.บ.ก. ยอ มาจาก คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวดั แบบบูรณาการ ก.บ.จ. ยอมาจาก คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ก.บ.อ. ยอ มาจาก คณะกรรมการบริหารงานอําเภอแบบบูรณาการ กม. ยอ มาจาก คณะกรรมการหมูบา น สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบริหารราชการจังหวัด สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสาํ หรับการจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ จงั หวดั 1 บทที่ 1 ท่ีมาและความสําคัญของการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและกลมุ จังหวัด สาํ นกั พฒั นาและสงเสริมการบริหารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสาํ หรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจงั หวัดและกลมุ จงั หวดั 2 ทม่ี าและความสําคญั ของการจัดทําแผนพฒั นาจงั หวัดและกลุมจงั หวัด 1.1 ความเปนมาของแผนพัฒนาจังหวดั และกลุมจงั หวดั การจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณในระดับจังหวัดมีพัฒนาการ มาตามลําดับ โดยเฉพาะในสวนของการจัดสรรงบประมาณ จากเดิมที่จะไดรับการจัดสรร งบประมาณเพือ่ ดาํ เนนิ การในพนื้ ที่จังหวัดผา นสวนราชการ ไดแก กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอ่ืนใดของรัฐ การไดร ับการจัดสรรงบประมาณจากงบกลาง (งบ CEO) และไดพัฒนา มาในรูปแบบของการไดรับการจัดสรรงบประมาณเพ่ือดําเนินการในพ้ืนท่ีจังหวัดโดยตรงในฐานะ เปนสว นราชการตามกฎหมายวาดวยวิธกี ารงบประมาณ ท้ังนี้ ไดมีพัฒนาการของการจัดทําแผนพัฒนา จงั หวดั มาตามลําดบั ชวงเวลา ดังนี้  ชว งแรก : คณะกรรมการพฒั นาชนบทแหงชาติ (กชช.) ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2515 – 2519) รัฐบาลเริ่มมีการพัฒนาชนบท โดยรวมงานชนบทอยูกับแผนเศรษฐกิจสวนรวม และแผนกิจกรรมตาม สาขาตางๆ และกําหนดใหแผนพัฒนาจังหวัดเปนเครื่องมือในการวางแผนจากลางขึ้นบน กลาวคือ ใหจังหวดั เปนผูจัดทําโครงการและสงใหสวนกลางพิจารณา แตก ารพัฒนาในชวงเวลาดังกลาวไมบรรลุ เปาหมาย ทั้งน้ีเพราะปญหาความยากจนในชนบททวีความรนุ แรงมากข้ึน และมีความเหลื่อมล้ําของ รายไดคอนขางสูงระหวางสังคมเมืองและชนบท ตอมาจึงไดมีการกําหนดนโยบายการพัฒนาชนบทที่ เปนรูปธรรมชัดเจน ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 – 2529) ซึ่งใช “ระบบแผน” เปนแกนนําในการพัฒนาและกําหนดทิศทางของการพัฒนาชนบท โดยให ประชาชนมีสวนรวมในการเปนผูวิเคราะหปญหา และเลือกโครงการของรัฐท่ีตนตองการสําหรับ การแกไขปญหาในหมูบานชนบทของตน และใหภาครัฐดําเนินการใหสอดคลองกับปญหาและความ ตองการที่ประชาชนในทองถิ่นยังไมสามารถดําเนินการแกไขปรับปรุงดวยตนเองได และใหเนน ความสาํ คัญในการสนับสนุนประชาชนที่ยากจนใหทว่ั ถงึ มากทส่ี ดุ จนกระทั่งในชวงป พ.ศ. 2535 รัฐบาลไดมีนโยบายสนับสนุนการกระจาย ความเจริญไปสูภูมิภาค มีการปรับปรุงองคกรพิเศษทําหนาที่การประสานงานพัฒนาชนบท คือ คณะกรรมการพัฒนาชนบทแหงชาติ (กชช.) โดยเพ่ิมเติมขอบขายการปฏิบัติงานและอํานาจหนาท่ี ใหก วางขวางขึน้ โดยจะทําหนาท่เี ปนผูประสานการกระจายการลงทุนของภาคเอกชน ไปสูภูมิภาคดวย จึงปรับคณะกรรมการดังกลาวเปนคณะกรรมการพัฒนาชนบท และกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค (กชช.ภ.) ขึ้นเพื่อท่ีจะไดพ ิจารณาแนวทางและนโยบายในการดําเนินการ โดยกระทรวงมหาดไทยและ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทําหนาที่ในการประสานหลักการ นโยบายและแจง วงเงนิ จัดสรรใหจังหวัดแตละจังหวัดจัดทําโครงการใหสอดคลองกับหลักการ นโยบาย และวงเงนิ ท่ี กชช.ภ. กําหนด โดยกระทรวงมหาดไทยกําหนดวิธีการและข้ันตอนในการจัดทําโครงการ พัฒนาจังหวัด หลังจากน้ัน จังหวัดจัดทําโครงการพัฒนาจังหวัดตามวิธีการและขั้นตอนที่กําหนดแลว สํานกั พฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู ื้นฐานสาํ หรบั การจัดทําแผนพฒั นาจังหวัดและกลมุ จงั หวัด 3 สงผานมายังคณะกรรมการพัฒนาจังหวัด (กพจ.) พิจารณาอนุมัติ และจัดสงแผนพัฒนาจังหวัดไปยัง ศูนยประสานการพัฒนาชนบทแหงชาติ สํานักนโยบายและแผน สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงหลักที่เกี่ยวของ เพื่อการประสานแผนตอไป ทั้งนี้ โครงการพัฒนาจังหวัดไดถูกใชเพ่ือ เปนมาตรการในการพัฒนาสูภูมิภาค โดยกําหนดใหมีการจัดทําแผนงานโครงการมาจากสภาพปญหา และความตองการระดับพ้ืนที่ ซึ่งมีคณะกรรมการสภาตําบล (กสต.) พิจารณาใหความเห็น และสง ใหกับคณะกรรมการพัฒนาอําเภอ (กพอ.) วิเคราะหโครงการ และสงผานมายังคณะกรรมการพัฒนา จังหวัด (กพจ.) พจิ ารณาอนมุ ัตโิ ครงการ การดําเนนิ การดงั กลาวทําใหเ กดิ ความชดั เจนในการพัฒนาระดับพื้นท่ีมากขึ้น นาํ ไปสูก ารสรางความเห็นพองตองกนั ระหวางกระทรวง กรม ในการจัดลําดับความสําคัญกอนหลัง การเรงรัดพัฒนาหมูบานตางๆ และทําใหเกิดการประสานงานท่ีดีข้ึน ระหวางหนวยงานตางๆ ต้งั แตร ะดับชาติไปจนถึงระดบั ตําบลในกระบวนการตัดสนิ ใจ การจัดสรรทรัพยากรและการปฏิบัติ โครงการกิจกรรมพัฒนา ท้งั นี้ เพราะมีความเขาใจและยึดถือเปาหมายเดียวกัน โดยเน้ือหาภายใน แผนพัฒนาจังหวัดเนนเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นท่ียากจน รวมทั้ง การปรับปรุง ระบบการผลิตและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และดานอื่นๆ เพิ่มเติมมากข้ึน ทาํ ใหแ ผนพัฒนาจังหวดั มีความหลากหลายและเปน แผนที่ครอบคลมุ ในดา นตางๆ มากข้ึน  ชว งท่ี 2 : ผูวาราชการจังหวัดแบบบรู ณาการ หรอื ผูว า CEO ตอมาในป พ.ศ. 2544 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2544 มีนโยบายกระจายอํานาจในการบริหารโดยการสนับสนุนใหการปฏิบัติราชการของจังหวัดตางๆ เปนการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ทั้งนี้ เพ่ือใหมีหนวยงานเชิงยุทธศาสตรภาครัฐในระดับ พื้นท่ีที่มีศักยภาพและสมรรถนะสูงสามารถประสานและกํากับดูแลการปฏิบัติราชการของทุก สวนราชการ รฐั วิสาหกิจและหนวยงานอ่ืนของรัฐ และสงเสริมสนบั สนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่น และชุมชนใหสามารถรเิ ร่ิมแกไขปญหาและพัฒนาพื้นท่ขี องตนเอง รวมทั้งสงเสริมใหเกิดระบบงาน ที่มีกระบวนการสรางความเห็นพองตองกันของทุกภาคสวนในสังคม เพ่ือใหประชาชนไดรับบริการ ดวยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลางและมีผูรับผิดชอบที่ชัดเจนในการ บริหารราชการระดับพ้ืนที่ โดยใหมีการทดลองปฏิบัติในปงบประมาณ พ.ศ. 2545 ตามโครงการ จงั หวัดทดลองแบบบรู ณาการเพื่อการพฒั นาเปนเวลา 1 ป ประกอบดวย 5 จังหวัด ไดแก ศรีสะเกษ ชัยนาท ลาํ ปาง ภเู กต็ และนราธวิ าส และกาํ หนดจงั หวดั เปรียบเทยี บกบั จังหวัดทดลองไว 5 จังหวัด ไดแ ก สุรินทร อา งทอง พษิ ณโุ ลก พงั งา และปตตานี ตอมาคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเม่ือวันที่ 28 เมษายน 2546 และวันที่ 6 พฤษภาคม 2546 ใหทุกจังหวัด (ยกเวนกรุงเทพมหานคร) ใชการบริหารงานแบบบูรณาการ โดยใหผ วู า ราชการจงั หวดั เปนผูบริหารสูงสุดของจังหวัด (Chief Executive Officer : CEO) และใช การบริหารงานแบบบูรณาการเชนเดียวกับจังหวัดตามโครงการจังหวัดทดลองแบบบูรณาการเพื่อ การพัฒนา โดยใหมีผลตงั้ แตวันที่ 1 ตุลาคม 2546 เปนตน ไปและไดประกาศใช “ระเบียบสํานัก สํานกั พฒั นาและสง เสริมการบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู ื้นฐานสําหรับการจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวดั 4 นายกรัฐมนตรีวาดวยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546” เพื่อรองรับการบริหาร งานจังหวดั กลมุ จงั หวัด และภาคแบบบรู ณาการ สาํ หรับการบริหารงานกลุม จังหวัดนัน้ คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบเม่ือวันที่ 17 พฤศจิกายน 2546 ใหพจิ ารณาจัดตั้งกลมุ จังหวดั เพอ่ื บูรณาการงานของพ้ืนที่ใหมีความชัดเจน มากข้ึน และกําหนดใหมีองคกรเพื่อทําหนาท่ีกํากับ ควบคุมและดูแลการทํางานของจังหวัดและกลุมจังหวัด ประกอบดวย 1) คณะกรรมการสนับสนนุ ระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กสจ.) ทําหนาท่ี กําหนดกรอบนโยบาย วางระบบ แนวทาง มาตรการในการบรหิ ารงานจังหวัดแบบบูรณาการและ กําหนดแนวทางในการแปลงนโยบายรฐั บาลไปสกู ารปฏิบตั ิในระดบั จงั หวัด 2) คณะกรรมการยุทธศาสตร กลุมจังหวัด (กกจ.) มีหนาท่ีบูรณาการจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดใหสอดคลองกับ ยุทธศาสตรช าติและยุทธศาสตรก ารพฒั นาภาค โดยสง เสรมิ กระบวนการมีสว นรว มของทุกภาคกี ารพฒั นา และ 3) คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) โดยมีหนาที่ จัดทํายุทธศาสตร การพัฒนาจังหวัด แผนงานหรือโครงการ โดยกระบวนการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนาให สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด ยุทธศาสตรการพัฒนาภาคและยุทธศาสตรชาติ ในชวงปงบประมาณ พ.ศ. 2545 ถึงปงบประมาณ พ.ศ. 2551 สวนราชการ และรฐั วสิ าหกิจยงั คงเปนเจาของงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปหรือ พระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา ยเพ่ิมเติมแลวแตก รณี แตรัฐบาลไดมีนโยบายเกี่ยวกับการบริหาร งบประมาณในระดับจังหวัดและกลุมจังหวัดเพิ่มเติม ดวยการกําหนดใหมีระบบสนับสนุน การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ และในปงบประมาณ พ.ศ. 2547 - 2549 มีการจัดตั้ง งบประมาณรายจายงบกลาง รายการคาใชจายในการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนา จังหวดั และกลุมจังหวดั เพ่อื จดั สรรใหจังหวัดผานสาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกําหนดให ผูว าราชการจังหวดั บริหารงบประมาณจงั หวดั แบบบูรณาการดวย  ชวงที่ 3 : การบรหิ ารราชการจงั หวดั และกลุมจังหวัดแบบบรู ณาการ ในป พ.ศ. 2550 รัฐบาลไดประกาศใชพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ แผนดนิ พ.ศ. 2534 แกไ ขเพิม่ เตมิ พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผนดนิ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2550 ซงึ่ กาํ หนดใหจ ังหวัดหรือกลุมจังหวัดสามารถย่ืนคําขอจัดต้ังงบประมาณได โดยใหถือวาจังหวดั หรอื กลุม จังหวัดเปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ และกําหนดใหมีการจัดทําแผนจังหวัด และกลุมจังหวัด และตอมาในภายหลังมีการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาวาดวยการบรหิ ารงานจังหวัด และกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 เพื่อกําหนดแนวทางในการบริหารงาน การจัดทํา แผนพัฒนา การจัดสรรงบประมาณของจังหวัด และกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ ตลอดจนกําหนดให ก.น.จ. ดาํ เนินการจัดตั้งกลุม จังหวัด และกําหนดจังหวดั ที่เปนศนู ยป ฏบิ ัติการของกลุมจังหวดั ซึ่ง ก.น.จ. ไดอ อกประกาศคณะกรรมการนโยบายบรหิ ารงานจังหวดั และกลมุ จงั หวัดแบบบูรณาการ เรือ่ ง การจัดต้ัง กลุมจังหวัด และกําหนดจังหวัดที่เปนศูนยปฏิบัตกิ ารของกลุมจังหวัด ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ 2552 โดยกําหนดใหมีการตั้งกลุมจังหวัดจํานวน 18 กลุมจังหวัด การตั้งกลุมจังหวัดถือเปนการเปลี่ยนแปลง สํานกั พฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพน้ื ฐานสําหรบั การจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวดั 5 รูปแบบการบริหารสวนภูมิภาคคร้ังสําคัญของประเทศไทย โดยตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 ฉบับแกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2550 เปดโอกาสใหจังหวัด และกลมุ จังหวัด สามารถจัดทาํ คําของบประมาณและแผนงานโครงการไดเอง โดยตองจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด และกลุม จังหวัดใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ และความตองการของพ้ืนท่ี ซึ่งการจัดทําแผนพัฒนาตองเปดโอกาสใหทุกภาคสวนในจังหวัด และกลุมจังหวัดเขามามีสวนรวม ในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา โดยเจตนารมณสําคัญ คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพ และลด ขั้นตอนปฏิบัติ สรางการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในพ้ืนที่ ตลอดจนการกระจายภารกิจและทรพั ยากร ใหกบั พน้ื ท่เี พือ่ ตัดสนิ ใจในการตอบสนองตอปญหา และความตองการของประชาชน ตอมาในป พ.ศ. 2552 ก.น.จ. ไดออกประกาศคณะกรรมการนโยบาย บริหารงานจังหวัด และกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่อง การจัดต้ังกลุมจังหวัด และกําหนดจังหวัดท่ี เปนศูนยปฏิบตั ิการของกลุมจังหวัด ลงวันท่ี 18 กุมภาพันธ 2552 โดยกําหนดใหมีการต้ังกลุมจังหวัด จาํ นวน 18 กลุมจังหวดั ดังน้ี  กลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ประกอบดวย จังหวัดพระนครศรี- อยุธยา นนทบุรี ปทุมธานี สระบุรี โดยมีจังหวัดพระนครศรอี ยุธยาเปน จังหวดั ทเี่ ปน ศูนยปฏบิ ตั ิการของกลุมจังหวดั  กลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 ประกอบดวย จังหวดั ลพบุรี ชัยนาท สิงหบุรี อางทองโดยมจี ังหวัดลพบรุ ีเปนจงั หวดั ทีเ่ ปนศนู ยปฏิบัตกิ ารของ กลมุ จงั หวัด  กลุมจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ประกอบดวย จังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจนี บรุ ี สระแกว นครนายก สมุทรปราการ โดยมีจังหวัดฉะเชิงเทรา เปนจังหวดั ทีเ่ ปน ศูนยป ฏบิ ตั ิการของกลมุ จังหวัด  กลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 1 ประกอบดวย จังหวัดนครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี โดยมีจังหวัดนครปฐมเปนจังหวัดท่ีเปน ศนู ยปฏิบัตกิ ารของกลมุ จงั หวดั  กลมุ จงั หวัดภาคกลางตอนลา ง 2 ประกอบดวย จังหวัดเพชรบุรี ประจวบ- คีรีขันธ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม โดยมีจังหวัดเพชรบุรีเปนจังหวัดที่ เปนศูนยปฏิบตั ิการของกลมุ จังหวัด  กลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน ประกอบดวย จังหวัดภูเก็ต ระนอง พงั งา กระบี่ ตรัง โดยมจี งั หวดั ภูเก็ตเปนหัวหนา กลุมจังหวัด  กลุมจังหวัดภาคใตฝงชายแดน ประกอบดวย จังหวัดสงขลา สตูล ปตตานี ยะลา นราธิวาส โดยมีจังหวัดสงขลาเปนจังหวัดท่ีเปนศูนย ปฏบิ ัตกิ ารของกลุม จังหวัด สํานักพฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้นื ฐานสําหรับการจัดทําแผนพฒั นาจงั หวัดและกลุม จงั หวดั 6 แผนภาพที่ 1: การแบง กลุมจังหวดั ของประเทศไทย (พ.ศ. 2552 – 2560)  กลุมจังหวัดภาคตะวันออก ประกอบดวย จังหวัดจันทบุรี ชลบุรี ระยอง ตราด โดยมีจังหวัดชลบุรีเปนจังหวัดที่เปนศูนยปฏิบัติการของ กลมุ จงั หวดั  กลุมจงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ประกอบดว ย จังหวัด อุดรธานีหนองคาย เลย หนองบัวลําภู โดยมีจังหวดั อุดรธานีเปนจังหวัด ท่เี ปนศนู ยป ฏิบัติการของกลุมจงั หวัด  กลมุ จังหวัดภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน 2 ประกอบดวย จังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหาร โดยมีจังหวัดสกลนครเปนจังหวัดท่ีเปน ศูนยปฏบิ ัตกิ ารของกลุมจังหวัด  กลุมจงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนกลาง ประกอบดวย จังหวัด ขอนแกน รอยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ โดยมีจังหวัดขอนแกนเปน จังหวดั ทเ่ี ปนศนู ยปฏบิ ัติการของกลมุ จงั หวดั  กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 1 ประกอบดวย จังหวัดนครราชสีมา สุรนิ ทร บุรีรัมย ชัยภูมิ โดยมีจังหวัดนครราชสีมา เปนจงั หวดั ทเ่ี ปนศูนยปฏิบตั ิการของกลมุ จังหวัด สํานกั พฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวัด สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้นื ฐานสําหรบั การจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวัดและกลุมจงั หวัด 7  กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 2 ประกอบดวย จังหวัดอุบลราชธานี อํานาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร โดยมีจังหวัด อบุ ลราชธานีเปน จังหวดั ทเ่ี ปน ศนู ยป ฏิบตั ิการของกลุมจงั หวดั  กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประกอบดวย จังหวัดเชียงใหม แมฮอ งสอน ลําปาง ลําพูน โดยมจี ังหวัดเชียงใหมเปนจังหวัดที่เปนศูนย ปฏบิ ตั ิการของกลุมจังหวัด  กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ประกอบดวย จังหวัดเชียงราย นาน พะเยา แพร โดยมจี ังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดที่เปนศูนยปฏิบัติการของ กลุมจังหวัด  กลมุ จงั หวัดภาคเหนือตอนลาง 1 ประกอบดวย จังหวัดพิษณุโลก ตาก สุโขทัย เพชรบูรณ อุตรดิตถ โดยมีจังหวัดพิษณุโลกเปนจังหวัดที่เปน ศนู ยปฏิบัตกิ ารของกลุมจังหวัด  กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 2 ประกอบดวย จังหวัดนครสวรรค กําแพงเพชร พิจิตร อุทัยธานี โดยมีจังหวดั นครสวรรคเ ปนจังหวัดที่เปน ศนู ยป ฏบิ ัติการของกลุมจงั หวดั  ชวงที่ 4: การจัดต้ังภาค และการบริหารราชการจังหวัด และกลุมจังหวัด แบบบรู ณาการ ในป พ.ศ. 2560 รัฐบาลมีนโยบายใหปรับปรุงรูปแบบการบูรณาการ ในลักษณะ “ภาค” ข้ึน ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารราชการแผนดินตามกรอบการปฏิรูป ประเทศ ยทุ ธศาสตรชาติ และการสรางความสามคั คีปรองดอง (ป.ย.ป.) เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2560 โดยใหม ีการจัดทําแผนงานบูรณาการระดับภาคออกเปน 6 ภาค ประกอบดวย ภาคเหนือ 17 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด ภาคกลาง 20 จังหวัด ภาคตะวันออก 5 จังหวัด ภาคใต 9 จังหวัด และภาคใตชายแดน 5 จังหวัด รวมทั้งไดม ีคําสง่ั สํานักนายกรัฐมนตรีที่ 57/2560 ลงวันท่ี 7 กุมภาพันธ 2560 แตงต้ังคณะกรรมการพิจารณาการจัดทํางบประมาณในลักษณะบูรณาการ เชิงยุทธศาสตร แผนงานบูรณาการเสริมสรางความเขมแข็งและยั่งยืนใหกับเศรษฐกิจภายในประเทศ ปง บประมาณ พ.ศ. 2561 และมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560 เห็นชอบใหมกี ารจัดต้งั คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย การบริหารงานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ พ.ศ. 2560 โดยมีอํานาจหนาที่กําหนดกรอบนโยบายและ วางระบบในการบริหารงานภาค กําหนดนโยบายหลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทําแผนพัฒนา จังหวัด แผนพัฒนากลุมจังหวัด และแผนพัฒนาภาค ซ่ึงแผนพัฒนาภาคตองสอดคลองกับแผน ระดับชาติและนโยบายรัฐบาล โดยกําหนดให ก.บ.ภ. ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีเปนประธาน กรรมการ กรรมการโดยตําแหนง กรรมการผูทรงคุณวุฒิ และใหเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนกรรมการและเลขานุการ โดยมอี ํานาจหนาท่ีกําหนดกรอบนโยบาย สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบริหารราชการจังหวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู ืน้ ฐานสําหรบั การจัดทําแผนพฒั นาจังหวดั และกลุมจงั หวัด 8 และวางระบบในการบริหารงานภาค กําหนดนโยบายหลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทาํ แผนพัฒนา จังหวัด แผนพัฒนากลุมจังหวัด และแผนพัฒนาภาค ซ่ึงแผนพัฒนาภาคสอดคลองกับแผนระดับชาติ และนโยบายรัฐบาล บูรณาการแผนของสวนราชการและแผนพัฒนาพ้ืนท่ี โดยการจัดตั้งภาคอยูบน พื้นฐานแนวคิดของการเช่ือมโยงภารกิจ และพื้นท่ี (Function-Area Approach) ซ่ึงมีเจตนารมณห ลกั 3 ดา น ดงั น้ี 1. การเสริมสรางขีดความสามารถทางการแขงขนั : แนวคิดพ้ืนฐานหลักของ การรวมกลุมพื้นที่เพ่ือการพัฒนามกั มุงเนนการสรา งขดี ความสามารถทางการแขงขันใหกับพ้ืนท่ีซึ่งเปน การสรางความเชื่อมโยงการพัฒนา และการจัดทําโครงการขนาดใหญ (Mega Projects) ซึ่งสามารถ สง ผลกระทบเชิงบวกตอการพัฒนาภาคไดเปนวงกวา ง อยางไรก็ดี การดําเนินการของกลมุ จังหวดั ท่ีผาน มาสะทอนใหเห็นวา การดําเนินการท่ีผานมาของกลุมจังหวัดไมสามารถลดความเหลื่อมล้ําของการ พัฒนาระหวางภาคได ตลอดจนขาดศักยภาพในการจัดทําโครงการขนาดใหญท่ีเชื่อมโยงการพัฒนา ระหวางพืน้ ที่ อันเนื่องจากขอจํากัดดานองคความรู ความชํานาญ และงบประมาณ ดังน้ันการกอต้ังภาค และกําหนดใหมีการจัดแนวทางการพัฒนาภาคจะชวยยกระดับ และเสริมสรางขีดความสามารถ ทางการแขง ขันของพนื้ ที่ไดอยา งเปนรปู ธรรมมากย่ิงขึ้น 2. สรา งความเชอ่ื มโยงของทิศทางการพัฒนา: การจัดต้ังภาค และกําหนดใหมี การจดั ทําทศิ ทางการพฒั นา ตลอดจน แผนพัฒนาภาคจะชวยสงเสริมการเช่ือมโยงยุทธศาสตรและทิศทาง การพัฒนาจากระดับชาติ ลงสูพ้ืนท่ีไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากขึ้น เน่ืองจากในอดตี ที่ ผานมา จังหวัดและกลุมจังหวัดประสบปญหาในการถายทอดยุทธศาสตร และตัวชี้วัดจากระดับชาติ ลงสูการจัดทาํ แผนพฒั นาในระดบั พ้ืนที่ เพราะกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนระดับชาติมีลักษณะ เปดกวาง ไมเฉพาะเจาะจงสงผลการถายทอดตัวยุทธศาสตร และตัวชี้วัดของกลุมจังหวัด และจังหวัด ในกลุมจังหวัดไมมีทิศทาง รูปแบบ หรือกรอบท่ีชัดเจน สงผลใหไมสามารถขับเคล่ือนการพัฒนาพื้นที่ ในภาพรวมไปในทิศทางเดียวกันไดอยาง มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การจัดตั้งภาค การจัดทํายุทธศาสตร และทิศทางการพัฒนาภาคจะชวยวางกรอบแนวทางการพัฒนา และการถายทอดยุทธศาสตร เปาหมาย และตัวช้ีวัดของยทุ ธศาสตรชาติ แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ลงสแู ผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ีไดชัดเจน และ เปน รูปธรรมมากข้นึ 3. บรู ณาการการดําเนินงานของสวนราชการและพื้นที่: การจัดตั้งภาคมุงเนน การดําเนินงานของสวนราชการ (Function) ใหส อดคลองกับศักยภาพ และความตองการของพ้นื ท่ี (Area) ภายใตการมีสวนรวมของทุกภาคสวน เพ่ือใหเกิดการบูรณาการรวมระหวางหนวยงานผานทิศทาง การพัฒนาภาค และแผนพัฒนาภาคซ่ึงจะผลักดันแผนงาน/โครงการสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม และกอ ใหเกดิ การพัฒนาในภาพรวมไดอยางแทจรงิ ตอมาในป พ.ศ. 2560 คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและ กลมุ จังหวัดแบบบูรณาการไดม ปี ระกาศคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัด และกลุมจังหวัด แบบบูรณาการ เร่ือง การจัดตัง้ กลุมจังหวัดและกําหนดจังหวัดท่ีเปนศูนยปฏบิ ัติการของกลุมจังหวัด (ฉบับที่ 3) ซ่ึงมีการจัดตั้งภาค 6 ภาค และปรับปรงุ กลุมจังหวัดใหมใหสอดคลองกับบรบิ ทของประเทศ ทเี่ ปล่ียนแปลงไป โดยมีการยุบรวมและตั้งกลุม จังหวัด ตลอดจนปรบั เปลี่ยนสมาชิกในกลุมจังหวัด ดังนี้ สาํ นกั พฒั นาและสงเสริมการบรหิ ารราชการจงั หวัด สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสาํ หรับการจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ จงั หวดั 9  การจัดต้ังภาค ประกอบดว ย 6 ภาค ดังนี้ 1) ภาคกลาง ประกอบดว ย 4 กลุม จงั หวัด ไดแก (1) กลมุ จังหวัดภาคกลางตอนบน (2) กลมุ จังหวัดภาคกลางปรมิ ณฑล (3) กลุมจงั หวดั ภาคกลางตอนลา ง ๑ (4) กลมุ จงั หวดั ภาคกลางตอนลาง ๒ 2) ภาคใต ประกอบดวย 2 กลมุ จังหวดั ไดแก (1) กลมุ จังหวัดภาคใตฝ ง อา วไทย (2) กลุมจงั หวดั ภาคใตฝ งอันดามนั 3) ภาคใตช ายแดน ประกอบดว ย 1 กลุม จังหวดั ไดแ ก (1) กลมุ จังหวดั ภาคใตชายแดน 4) ภาคตะวันออก ประกอบดวย 2 กลมุ จงั หวดั ไดแก (1) กลุมจังหวดั ภาคตะวันออก ๑ (2) กลุม จังหวัดภาคตะวนั ออก ๒ 5) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประกอบดว ย 5 กลุมจงั หวัด ไดแก (1) กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน ๑ (2) กลมุ จงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน ๒ (3) กลุมจังหวัดภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนกลาง (4) กลมุ จังหวัดภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนลา ง ๑ (๕) กลุม จังหวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนลา ง ๒ 6) ภาคเหนือ ประกอบดวย 4 กลมุ จงั หวดั ไดแก (1) กลุมจังหวดั ภาคเหนอื ตอนบน ๑ (2) กลุมจงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน ๒ (3) กลุมจังหวดั ภาคเหนือตอนลา ง ๑ (4) กลมุ จังหวดั ภาคเหนือตอนลา ง ๒  การปรับปรงุ กลมุ จงั หวดั และปรับเปลี่ยนสมาชิกในกลุมจังหวดั ใหม ดังน้ี 1) กลุมจังหวัดในภาคตะวันออก: แยกกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเดิม (จังหวัดจันทบุรี ชลบุรี ระยอง ตราด) ออกเปน 2 กลุมจังหวัดและโยกยายสมาชิกบางสวนจากกลุม จงั หวดั ภาคกลางตอนกลาง ดังนี้  กลุมจังหวัดภาคตะวันออก 1 ประกอบดวย จังหวัดชลบุรี ฉะเชงิ เทรา ระยอง โดยมีจังหวดั ชลบุรีเปนท่ีต้ังศูนยปฏบิ ัติการของ กลุมจังหวัด เพ่ือใหเปนไปตามแนวนโยบายในการพัฒนาระเบียง เขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) สํานกั พฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวัด สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู ืน้ ฐานสําหรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวดั และกลมุ จงั หวัด 10  กลุมจังหวัดภาคตะวันออก 2 ประกอบดวย จังหวัดปราจีนบุรี จันทบุรี ตราด นครนายก สระแกว โดยยายจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก สระแกว มาจากกลุมจังหวัดภาคกลางตอนกลาง และ กําหนดใหจังหวัดปราจีนบุรีเปนทีต่ ั้งศูนยปฏิบัติการของกลุม จังหวัด เพื่อใหสอดคลองกับศักยภาพ และลักษณะโครงสรางทางเศรษฐกิจ ของพนื้ ที่ 2) กลุมจังหวัดในภาคกลาง: มีการยุบกลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 กลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 และกลุมจังหวัดภาคกลางตอนกลาง และตั้งกลุม จังหวดั ใหม ตลอดจน มีการโยกยา ยสมาชกิ ของกลมุ จังหวัด ดังน้ี  กลุมจงั หวัดภาคกลางปริมณฑล: ประกอบดวย จังหวัดนครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และกําหนดใหจังหวัดนครปฐม เปนท่ีต้ังศูนยปฏิบัติการของกลุมจังหวัด โดยกลุมจังหวัดน้ีจัดตั้ง ข้ึนเพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาภาค และแนวทาง การพัฒนาเมืองสําคัญ/เมืองปริมณฑลตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง ชาติฉบับที่ 12 ยุทธศาสตรที่ 9  กลมุ จังหวดั ภาคกลางตอนบน: ประกอบดว ย จังหวัดพระนคร- ศรอี ยธุ ยา ชยั นาท ลพบรุ ี สระบรุ ี สงิ หบ ุรี อา งทอง และมีจังหวัด พระนครศรีอยุธยาเปนที่ตั้งศูนยปฏิบัติการของกลุมจังหวัด โดย กลุมจังหวัดนี้เปนการยุบรวมกันของ 2 กลุมจังหวัด คือ กลุมจังหวัด ภาคกลางตอนบน 1 และกลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 เพื่อใหสอดคลองกับศัยกภาพของพ้ืนที่ และแนวทางการพัฒนา ของประเทศ  กลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 1: ประกอบดวย จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี โดยมีจังหวัดราชบุรีเปนที่ตั้งศูนย ปฏิบัติการของกลุมจังหวัดซึ่งเปนการเปลี่ยนศูนยปฏิบัติการของ กลุมจังหวัดเดิม คือ จังหวัดนครปฐมไปอยูในกลุมภาคกลาง ปรมิ ณฑล 3) กลุม จังหวัดในภาคใต: กลุมจังหวัดในภาคใตประกอบดวย 3 กลุมจังหวัด ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงสมาชกิ และหวั หนา กลุมจงั หวัดใหม ดังน้ี  กลุมจังหวัดภาคใตช ายแดน: ลดจํานวนสมาชิกในกลุมจังหวัด ภาคใตชายแดนจาก 5 จังหวัด คือ จังหวัดสงขลา สตูล ปตตานี ยะลา นราธิวาส เหลือ 3 จังหวัด คือ ปตตานี ยะลา นราธิวาส โดย ใหจังหวัดยะลาเปนที่ตั้งศูนยปฏิบัติการของกลุมจังหวัดเพื่อให สอดคลองกบั สภาพสงั คม และวัฒนธรรมของกลุม จงั หวัด สาํ นักพฒั นาและสง เสริมการบรหิ ารราชการจงั หวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้นื ฐานสําหรบั การจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวดั 11  กลมุ จงั หวดั ภาคใตฝ ง อันดามัน: ประกอบดวย จังหวัดภูเก็ต กระบี่ ตรัง พังงา ระนอง และสตูล โดยยายจังหวัดสตูลจากกลุมจังหวัด ภาคใตชายแดนมาสังกัดกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน และ กําหนดใหจังหวัดภูเก็ตเปนที่ตั้งศูนยปฏิบัติการของกลุมจังหวัด เนื่องจากมีพื้นท่ีติดทะเลอันดามัน และเพิ่มศักยภาพดาน การทองเท่ียวตามนโยบายรฐั บาล และตามแผนพัฒนาการทองเที่ยว อนั ดามนั ของกระทรวงการทองเที่ยวและกฬี า  กลุมจงั หวดั ภาคใตฝง อาวไทย: ประกอบดวย จังหวัดสุราษฎรธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา โดยยายจังหวัดสงขลา จากกลุมจังหวัดภาคใตชายแดนมาสังกัดภาคใตฝงอาวไทยและ กําหนดใหจังหวัดสุราษฎรธานีเปนท่ีต้ังศูนยปฏิบัติการของ กลุมจังหวัดเพ่ือใหสอดคลองกับศักยภาพและบริบทของพื้นท่ี ฝง อา วไทย 4. กลมุ จังหวัดในภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (คงเดิม) แผนภาพที่ 2 : การแบง กลุมจงั หวัดของประเทศไทย (พ.ศ. 2560 – ปจจุบนั ) สํานกั พฒั นาและสงเสริมการบริหารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู น้ื ฐานสําหรบั การจัดทําแผนพฒั นาจงั หวัดและกลุมจงั หวดั 12 1.2 เจตนารมณในการบรหิ ารงานจังหวัดและกลมุ จงั หวัดแบบบรู ณาการ ภายหลังการประกาศใชร ฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ไดสงผลตอ ความเปล่ียนแปลงหลายเรื่องในการบริหารราชการแผนดิน ท่ีตองมีการปรับปรุงแกไขใหถูกตอง เปนไปตามเจตนารมณของรฐั ธรรมนญู ซึง่ มีสว นสําคัญทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงตอระบบการจัดทํา งบประมาณของประเทศท่ีแตเดิมเปนการตั้งงบประมาณท่ีเกิดจากฐานของหนวยงานระดับกรมเปน หลักมาสกู ารกระจายอาํ นาจไปยงั จงั หวดั และกลุมจังหวดั ทั้งนี้ ไดมกี ารบัญญัติหลักการและแนวคิด ดังกลา วไวในตัวบทกฎหมาย ดังน้ี (1) รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 - มาตรา 78(2) กําหนดใหรัฐจัดระบบการบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น ใหมีขอบเขต อํานาจหนาท่ี และความรับผดิ ชอบทชี่ ัดเจนเหมาะสม แกการพัฒนาประเทศ และสนับสนุนใหจังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพ่ือประโยชน ของประชาชนในพ้นื ท่ี - มาตรา 87 กําหนดใหร ฐั ตอ งดําเนินการตามแนวนโยบายดานการมีสวนรวม ของประชาชน โดยสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมทงั้ ในระดบั ชาตแิ ละระดบั ทอ งถน่ิ (2) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 แกไข เพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2550 - มาตรา 52 วรรคสาม เพ่ือประโยชนในการบริหารงานแบบบูรณาการใน จังหวัดหรือกลุมจังหวัดใหจังหวัดหรือกลุมจังหวัดย่ืนคําขอจัดต้ังงบประมาณได ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการและเง่อื นไขที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีน้ใี หถ ือวาจังหวดั หรือกลมุ จังหวดั เปนสวนราชการ ตามกฎหมายวาดวยวิธกี ารงบประมาณ - มาตรา 53/1 และ มาตรา 53/2 ใหจังหวัดจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด ใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ/ความตองการของประชาชน ในทองถน่ิ โดยใหผูวาราชการจังหวัดประชมุ หารือรว มกับ หัวหนาสวนราชการ ผูบริหารองคกรปกครอง ทองถ่ิน รวมทั้งภาคประชาสังคม/ผูแทนภาคเอกชน ท้ังน้ี การสรรหาใหเปนไปตามที่พระราชกฤษฎีกา กาํ หนด (3) พระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบ บูรณาการ พ.ศ.2551 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 30 ธันวาคม 2551) กําหนดให คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) ทําหนาท่ี กําหนดกรอบนโยบายและวางระบบในการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัด กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทํา รวมทั้งพิจารณากล่ันกรองและใหความเห็นชอบแผนพัฒนา แผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัดและกลุมจังหวัด การจัดทําและบริหารงบประมาณจังหวัด และงบประมาณกลุมจังหวัด สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบริหารราชการจังหวดั สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพื้นฐานสําหรับการจัดทําแผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ จงั หวดั 13 โดยสรุปพระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน ดิน ฉบับที่ 7 พ.ศ.2550 และ พระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มีเจตนารมณสาํ คญั 2 ประการ คอื 1) การบริหารแบบบูรณาการในลักษณะยึดพ้นื ที่เปนหลัก (Area - Based Approach) เพือ่ กระจายการพฒั นาและลดความเหลอ่ื มลาํ้ ของความเจริญเติบโตระหวางพ้ืนที่ตางๆ ในประเทศ แบงเปน 18 กลุมจังหวัด และ 76 จังหวัด และใหแตละพื้นท่ีมียทุ ธศาสตรทิศทางการพัฒนาท่ีชัดเจน โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและความตองการ ของประชาชนในทองถิ่นในจังหวัด โดยจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุมจังหวัด รวมทั้ง การแปลงแผนพัฒนาฯ ไปสแู ผนปฏบิ ตั ริ าชการประจําปของจังหวัดและกลุมจังหวัดซ่ึงทิศทางการพัฒนา ดังกลาวจะตองผานการเห็นชอบรวมกันจากทุกภาคสวนในจังหวัดเพ่ือใหเกิดความยั่งยืนและรวมมือ รว มใจกันในการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรทศิ ทางการพัฒนา 2) การสรางความรวมมือในการบริหารจัดการที่ดี (Collaboration for Good Governance) ซ่งึ จะเปนการจัดการความสัมพันธแนวด่ิงระหวางสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถ่ิน โดยแบงหนาท่ีกันตามแตละยุทธศาสตรซึ่งจะชวยลดความซํ้าซอนของการใชงบประมาณแผนดิน หรือระดมทรัพยากรเขามาใชรวมกันใหเกิดประโยชนสูงสุดในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรรวมท้ังเปน การจัดการความสมั พันธแนวนอนระหวางภาครัฐและภาคสวนอ่ืนในสังคม (ภาคเอกชน และภาคประชา สังคม) โดยทุกภาคสวนจะมีการดําเนินการท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัดซ่ึงเปน แผนท่ีผานความเห็นชอบรวมกันเพ่ือประโยชนตอประชาชนในพ้ืนท่ีเพื่อใหเกิดความรวมมือใน การบริหารจัดการที่ดีตามหลักการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ โดยกําหนดให “ผูวาราชการจังหวดั ” เปนผูประสานเพื่อบูรณาการการดําเนินการของฝายตางๆ ใหสัมพันธ และ เชือ่ มโยงกบั แผนพฒั นาจังหวัดและแผนพฒั นากลุมจังหวดั แผนภาพที่ 3 : เจตนารมณของการบรหิ ารงานจังหวัดและกลมุ จงั หวัดแบบบรู ณาการ สํานกั พฒั นาและสง เสริมการบรหิ ารราชการจังหวัด สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ ้นื ฐานสําหรับการจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวัด 14 จะเห็นไดวาระบบการบรหิ ารงานของจังหวัดแบบบูรณาการน้ัน กําหนดใหจังหวัด และกลุมจังหวัดบูรณาการทุกภาคสวนในพื้นท่ีทั้งราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหาร สวนกลาง องคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการจัดทําแผนพัฒนา จังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัด โดยยึดหลัก รวมคิด รวมทํา รวมแกไขปญหา และรวมรับผิดชอบ การบริหารแบบเครือขาย และ การบูรณาการทรัพยากร เพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตรของหนวยงานภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และภาคธุรกิจเอกชน ใหสัมพันธและ เช่ือมโยงกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุมจังหวัดรวมท้ังใหจังหวัดริเร่ิมเพือ่ แกไขปญหาและ พัฒนาพื้นท่ี โดยเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นในการดําเนิน แผนงานและโครงการต้ังแตเริ่มตน และนําปญหาและความตองการของประชาชนมากําหนดเปน แนวทางริเร่ิม เพื่อแกไขปญหา และพัฒนาพื้นที่ใหสอดคลองกับศักยภาพ โดยมุงเนนไปที่การพัฒนา แบบองคร วมทีค่ รอบคลุมทกุ มติ ิ สําหรับแนวคิดเกี่ยวกับระบบการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการโดยมุงท่ี จะรเิ ริ่มเพ่ือแกไ ขปญ หาและพฒั นาพ้ืนท่ี (Area - Based Approach) โดยนําความตองการของประชาชน มากําหนดเปนแนวทางริเร่ิม มุงเนนไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือเพ่ิมขีดความ สามารถและ ประสิทธิภาพตอการพัฒนาและแกไขปญหา รวมทั้งการเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันของ จังหวดั และกลุม จังหวัด ในการขับเคล่ือนการพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัดอยางมีทิศทางและย่ังยืน จําเปนจะตองมีผูประสานและเช่ือมโยงกิจกรรม หรือเชื่อมตอการดําเนินงานของภาคสวนตางๆ ในพ้นื ที่ ผูวาราชการจังหวัดจึงเปนผูทม่ี ีบทบาทสาํ คัญในการเปนตัวกลางในการจัดระบบการพัฒนา การบรู ณาการ และเชอ่ื มโยงแนวนโยบายพื้นฐานและความตองการของประชาชน ผานทางทองถ่ิน และภาคีที่เก่ียวขอ ง เพอื่ ทจี่ ะขยายผลลงสกู ารปฏิบัตใิ นระดับพืน้ ท่ี  สํานกั พฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจังหวดั สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสาํ หรับการจัดทําแผนพฒั นาจังหวดั และกลมุ จงั หวัด 15 บทท่ี 2 กฎหมาย และกลไกการการเช่อื มโยงประสานแผนพฒั นาท้ังระบบ สาํ นักพฒั นาและสงเสริมการบรหิ ารราชการจังหวัด สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพนื้ ฐานสําหรับการจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวัด 16 กฎหมาย และกลไกการการเชือ่ มโยงประสานแผนพฒั นาทั้งระบบ 2.1 กฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การจดั ทาํ และประสานแผนพฒั นา ในปจจุบันรัฐบาล และกระทรวงมหาดไทยใหความสําคัญกับการจัดทําแผนพัฒนา ใหมคี วามเชือ่ มโยงสอดคลองกันท้งั ระบบ โดยเปน การเช่ือมโยงแผนพฒั นาท้ังในลักษณะบนลงลา ง (Top - Down) คือ การเชอ่ื มโยงยทุ ธศาสตรช าติ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนปฏริ ูป แผนแมบท ตางๆ และแผนพัฒนาภาค ลงไปสูแผนพัฒนาในระดับพ้ืนที่เพ่ือใชเปนกรอบแนวทางในการพัฒนา และ ลา งขน้ึ บน (Bottom - Up) คือ การเช่อื มโยงจากแผนหมูบา น/ชมุ ชน แผนชุมชนระดับตําบล แผนพัฒนา ทองถ่ิน แผนพัฒนาอําเภอข้ึนไปสูแผนพัฒนาจังหวัดซ่ึงเปนการสะทอนสภาพปญหา และความตองการ ของประชาชนในพ้ืนที่ โดยมีแผนพัฒนาจังหวัด และแผนกลุมจังหวัดเปนจุดเชื่อมสําคญั (Focal Point) ในการประสานนโยบายระดบั ชาติ และความตอ งการของประชาชนในพ้ืนที่ ซึ่งไดมีการบัญญัติหลักการ และแนวคดิ ดงั กลา วไวใ นตวั บทกฎหมาย ดังนี้ (1) ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็นยทุ ธศาสตรชาตดิ า นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ขอ ๔.๒ การกระจายศนู ยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สงั คม และเทคโนโลยี ขอยอย ๔.๒.๒ กําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแตละกลุมจังหวัด ในมิติตาง ๆ โดยการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดทิศทางการพัฒนาพื้นท่ีของตนเอง และ บูรณาการแผนใหมีความเชื่อมโยงสอดคลองกนั ในทุกระดับเปนแผนเดียวกัน ต้ังแตระดับหมูบาน ทอ งถน่ิ อําเภอ จงั หวดั จนถึงกลุมจังหวัด เนนการกระจายแหลงอุตสาหกรรมในทองถ่ินเพื่อสงเสริมการ สรางงานในพ้ืนที่ และการพัฒนาภาคบริการท่ีคนในพื้นท่ี สามารถเปนผูประกอบการ และสามารถ กระจายรายไดใ หเ กิดความเปนธรรม ใหความสําคญั กับการสราง “คุณคา ” และ “มูลคา” ทางเศรษฐกิจ จากศักยภาพของฐานทรัพยากรของแตละพื้นท่ี ท้ังทรัพยากรธรรมชาติทุนทางวัฒนธรรมและทุนทาง สังคม การสรา งการมสี วนรว มของคนในพ้ืนที่และผูประกอบการในการสืบคนนํามาปรับใช และยกระดับ การใชทรัพยากรนน้ั อยางยัง่ ยืน ประเด็นยุทธศาสตรดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร จดั การภาครัฐ ขอ ๔.๒ ภาครฐั บรหิ ารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตรช าติเปนเปาหมาย และเช่ือมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นท่ี การบริหารจัดการภาครัฐ มีความสอดคลองเช่ือมโยงและเปนกลไกสําคัญในการนํายุทธศาสตรชาติสูการปฏิบัติในทุกระดับมีการ จัดสรรงบประมาณที่มีลักษณะยึดโยงกับยุทธศาสตรในทุกระดับ มีเปาหมายรวมกันทั้งในเชิงประเด็น เชิงภารกิจ และเชิงพ้ืนที่ โดยอาศัยขอมูลขนาดใหญ รวมท้ังมีระบบการติดตามและประเมินผล การดําเนินงานทั้งในระดับยุทธศาสตรภ ารกิจและพื้นที่ เพื่อนาํ ไปสูการกําหนดประเด็นการพัฒนา การจดั ทาํ นโยบาย และการติดตามประเมนิ ผลทีเ่ ปนระบบอยางตอเนอื่ ง สาํ นักพฒั นาและสงเสรมิ การบริหารราชการจังหวัด สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู น้ื ฐานสําหรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวดั 17 (2) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 แกไข เพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2550 - มาตรา 52 วรรคสาม เพื่อประโยชนในการบริหารงานแบบบูรณาการ ในจงั หวัดหรือกลมุ จงั หวดั ใหจ งั หวัดหรือกลุมจงั หวดั ย่ืนคําขอจัดตั้งงบประมาณได ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ วธิ กี ารและเงื่อนไขทก่ี ําหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีนใี้ หถ อื วา จงั หวัดหรือกลมุ จังหวดั เปนสวนราชการ ตามกฎหมายวา ดว ยวธิ ีการงบประมาณ - มาตรา 53/1 และ มาตรา 53/2 ใหจังหวัดจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด ใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ/ความตองการของประชาชน ในทอ งถนิ่ โดยใหผวู า ราชการจังหวัดประชมุ หารือรว มกับ หัวหนาสว นราชการ ผูบริหารองคกรปกครอง ทองถ่ิน รวมทั้งภาคประชาสังคม/ผูแทนภาคเอกชน ทั้งน้ี การสรรหาใหเปนไปตามท่ีพระราชกฤษฎีกา กําหนด (3) พระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบ บูรณาการ พ.ศ.2551 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 30 ธันวาคม 2551) กําหนดให คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) ทําหนาที่ กําหนดกรอบนโยบายและวางระบบในการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัด กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทํา รวมท้ังพิจารณากล่ันกรองและใหความเห็นชอบแผนพัฒนา แผนปฏบิ ัติราชการประจําปของจังหวัดและกลุมจังหวัด การจัดทําและบริหารงบประมาณจังหวัด และงบประมาณกลมุ จังหวดั มีเจตนารมณ คอื - ตองการเนนการพัฒนาระบบการบริหารพัฒนาท่ียึดพื้นที่ เพื่อลดความ เหล่ือมลํ้าในการพัฒนาของแตละพ้ืนท่ี ใหมีลักษณะใกลเคียงกันมากข้ึน และตอบสนองความตองการ ของประชาชนในพื้นท่ี - เปนเรื่องของระบบการบริหารจัดการตามหลักการบริหารจัดการแนวใหม เปนการจัดความสัมพันธในแนวตั้งระหวางการบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น รวมท้ังความสัมพันธในแนวนอนระหวางภาครัฐกับภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อบูรณาการ ทาํ งานรวมกัน (4) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวี าดวยการบรหิ ารงานเชิงพ้ืนท่ีแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2560 ระเบียบฉบับนี้มีเจตนารมณในการบูรณาการและเชื่อมโยงแผนระดับชาติกับแผน ในระดับพื้นท่ี โดยกําหนดใหมีการจัดต้ังภาค และจัดทําแผนพัฒนาภาคข้ึนเพื่อใชเปนกรอบ ทิศทางการพัฒนาพ้ืนท่ีซึ่งเช่ือมโยงแผนระดับชาติ และนโยบายรัฐบาล โดยปรับระยะเวลาของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาภาค และแผนพัฒนาจังหวัด/กลุมจังหวัดให เทากัน คือ 5 ป ตลอดจนกําหนดใหมีองคกรในการบริหารใหมข้ึนเรียกวา คณะกรรมการบูรณาการ นโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) เพื่อทําหนาท่ีในการกําหนดกรอบนโยบายและวางระบบในการบริหารงาน จังหวัด กลุมจังหวดั และภาค กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทํา รวมท้ังพิจารณา สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบริหารราชการจงั หวัด สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้ืนฐานสําหรบั การจดั ทําแผนพฒั นาจังหวดั และกลมุ จงั หวัด 18 กล่ันกรองและใหความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุมจังหวัด แผนพัฒนาภาค แผนปฏิบัติ ราชการประจําปของจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจําปของกลุมจังหวัด การจัดทําและบริหาร งบประมาณจังหวดั งบประมาณกลุมจังหวัด และงบประมาณของสวนราชการท่ีจะดําเนินการตาม แผนพฒั นาภาค โดยมสี าระสําคญั ดังน้ี ขอ 1 “แผนพัฒนาภาค” หมายความวา แผนท่กี ําหนดทิศทางการพัฒนา ภาคท่ีสอดคลองเช่ือมโยงกับ แผนระดับชาติและนโยบายรฐั บาล มมี ิตกิ ารพัฒนาเชิงกายภาพและ พื้นที่ครอบคลุมทุกมิติเปนเครือ่ งมือ บูรณาการแผนของสวนราชการ เพื่อขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร การพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ นโยบายของรัฐบาลและประเด็น การพัฒนาภาคสูการปฏิบัติ ขอ 7 ใหแผนพัฒนาจงั หวัด แผนพัฒนากลุมจังหวัด และแผนพัฒนาภาค มรี ะยะเวลาหาป ขอ 12 ในครัง้ แรกใหปรับปรงุ แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพฒั นากลุมจังหวัด ใหสอดคลองกับนโยบายและหลักเกณฑที่ ก.บ.ภ. กําหนด และใหแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนา กลุมจังหวัด มีหวงระยะเวลาสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - พ.ศ. ๒๕๖๔) ใหจัดทําแผนพัฒนาภาคและใหกลุมจังหวัดที่ไมมีแผนพัฒนากลุมจังหวัด จัดทําแผนพัฒนากลุมจังหวัด โดยมีหวงระยะเวลาสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - พ.ศ. ๒๕๖๔) (5) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการการจัดทําแผนและประสาน แผนพัฒนาพนื้ ทีใ่ นระดบั อาํ เภอและตาํ บล พ.ศ. 2562 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยฉบับน้ีมีเจตนารมณในการบูรณาการและ เชอ่ื มโยงการจดั ทําแผนและประสานแผนในระดับพ้ืนท่ีหมูบาน ชุมชน ตําบลและอําเภอใหสอดคลองกับ ทศิ ทางการพฒั นาระดบั จังหวดั กลมุ จงั หวัด ภาคและประเทศ ขอ 4 กําหนดความหมายของแผนพัฒนาหมูบาน แผนชุมชน แผนพัฒนา ตาํ บล แผนพฒั นาทองถ่นิ และแผนพฒั นาอําเภอ ขอ 6 – ขอ 8 กําหนดกลไกการจัดทําแผน และแนวในการจัดทําแผน พัฒนาหมบู า น และแผนชมุ ชนตลอดจนแนวทางในการประสานแผนระดบั หมบู านและชุมชน ขอ 9 – ขอ 11 กําหนดกลไกการจัดทําแผน และแนวในการจัดทํา แผนพัฒนาตาํ บล ตลอดจนแนวทางในการประสานแผนระดับตําบล ขอ 12 – ขอ 20 กําหนดกลไกการจัดทําแผน และแนวในการจัดทํา แผนพฒั นาอําเภอ ตลอดจนแนวทางในการประสานแผนระดบั อําเภอ ขอ 21 – 24 กําหนดแนวทางในการบรู ณาการและประสานแผนพัฒนา ในระดับพนื้ ทภ่ี าพรวม สาํ นักพฒั นาและสง เสริมการบรหิ ารราชการจงั หวัด สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพน้ื ฐานสาํ หรบั การจัดทําแผนพฒั นาจงั หวัดและกลมุ จงั หวัด 19 (6) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 และฉบบั แกไขเพ่มิ เติม ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2559) และ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2561) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครอง สวนทองถ่ินมีเจตนารมณในการกําหนดองคกรการจัดทําแผนพัฒนา กําหนดเนื้อหาและองคประกอบ ของแผน ตลอดจนวางกรอบแนวทางในการจัดทํา แกไข ติดตาม ประเมินผลแผนพัฒนาขององคกร ปกครองสวนทอ งถ่ิน ขอ 4 ในระเบียบนี้...... “แผนพัฒนาทองถิ่น” หมายความวา แผนพัฒนา ทอ งถนิ่ ขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน “แผนพัฒนาทองถ่ิน” หมายความวา แผนพัฒนาขององคก รปกครอง สว นทองถิน่ ทกี่ ําหนดวิสยั ทัศน ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค ตัวชว้ี ัด คาเปาหมาย และกลยุทธ โดยสอดคลองกับแผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขต จังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนพัฒนาตําบล แผนพัฒนาหมูบานหรือชุมชน อันมีลักษณะเปน การกําหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่จัดทําข้ึนสําหรับปงบประมาณแตละปซึ่งมี ความตอเน่ืองและเปนแผนกาวหนาและใหหมายความรวมถึงการเพ่ิมเติมหรือการเปล่ียนแปลง แผนพฒั นาทองถ่ิน ขอ ๗ องคกรจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ประกอบดวย (๑) คณะกรรมการพัฒนาทอ งถ่ิน (๒) คณะกรรมการสนับสนนุ การจัดทําแผนพฒั นาทองถ่ิน ขอ ๑๐ คณะกรรมการพฒั นาทองถิ่นมีอํานาจหนาที่ ดงั น้ี (๑) กําหนดแนวทางการพัฒนาทองถ่ิน โดยพิจารณาจากอํานาจ หนาท่ีขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ภารกิจถายโอนตามกฎหมายกําหนดแผนและขั้นตอนการ กระจายอํานาจ ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ กลุมจังหวัด และจังหวัด โดยใหเนนดําเนินการ ในยุทธศาสตรท่ีสําคัญและมีผลตอ ประชาชนโดยตรง เชน การแกไขปญหาความยากจน การปองกันและ แกไขปญหายาเสพตดิ กรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขต จังหวัด นโยบายของผบู ริหารทองถ่นิ ทแ่ี ถลงตอ สภาทอ งถน่ิ และแผนพัฒนาหมบู า นหรอื แผนชุมชน (๒) รวมจัดทํารางแผนพัฒนา เสนอแนะแนวทางการพัฒนาและ การแกไ ขปญหาเกี่ยวกบั การจดั ทํารางแผนพฒั นาในการจัดทํารางแผนพัฒนาใหอ งคก ารบริหารสวนจงั หวดั เทศบาลเมืองพัทยา องคการบริหารสวนตําบล และองคกรปกครองสวนทองถ่ินอื่นท่ีมีกฎหมายจัดตั้ง นําปญหาความตองการจากแผนพัฒนาหมูบาน หรือแผนชุมชนที่เกินศักยภาพของหมูบานหรือชุมชนท่ี จะดําเนินการเองไดมาพิจารณาบรรจุไวในแผนพัฒนา แตหากเกินศักยภาพของเทศบาล องคก ารบริหาร สวนตําบล เมืองพัทยา และองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งใหเสนอปญหาความ ตองการไปยังองคการบริหารสวนจังหวัด และใหองคการบริหารสวนจังหวัดนํามาพิจารณาบรรจุไว ในแผนพฒั นาขององคการบรหิ ารสว นจงั หวดั ตามอาํ นาจหนาท่ี (๗) ในกรณีองคการบริหารสวนตําบลใหคณะกรรมการพัฒนา องคการบริหารสวนตําบลมีหนาท่ีประสานกับประชาคมหมูบานในการรวบรวมวิเคราะหปญหาความ สาํ นกั พฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจังหวัด สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ ้นื ฐานสําหรบั การจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวัดและกลุมจงั หวัด 20 ตองการของประชาชนในทองถิ่นและจัดทําเปนโครงการหรือกิจกรรมเพ่ือประกอบในการจัดทําแผน พัฒนาองคการบริหารสวนตําบลดว ย ขอ ๑๑ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น มีหนาท่ี จัดทํารางแผนพัฒนาใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาท่ีคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นกําหนด จดั ทาํ รางแผนการดาํ เนินงาน และจดั ทํารางขอกําหนดขอบขายและรายละเอยี ดของงาน ขอ ๑๗ การจดั ทําแผนพัฒนาทอ งถิ่น ใหดาํ เนนิ การตามระเบียบนี้ โดยมี ข้นั ตอนดําเนินการ ดงั นี้ (๑) คณะกรรมการพัฒนาทองถ่ินรวมกับประชาคมทองถิ่น สวน ราชการและวิสาหกิจที่เก่ียวของ เพื่อแจงแนวทางการพัฒนาทองถ่ิน รับทราบปญหา ความตองการ ประเด็นการพัฒนาและประเด็นท่ีเก่ียวของตลอดจน ความชวยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติท่ี เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพื่อนํามากําหนดแนวทางการจัดทาํ แผนพัฒนาทองถ่ิน โดยใหนําขอมูลพื้นฐาน ในการพัฒนาจากหนวยงานตาง ๆ และขอมูลในแผนพัฒนาหมูบาน หรือแผนชุมชนมาพิจารณา ประกอบการจดั ทําแผนพฒั นาทองถ่นิ (๒) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น รวบรวม แนวทางและขอมูลนาํ มาวเิ คราะหเพ่อื จัดทาํ รางแผนพัฒนาทองถน่ิ แลวเสนอคณะกรรมการพัฒนาทอ งถน่ิ (๓) คณะกรรมการพัฒนาทองถ่ินพิจารณารางแผนพัฒนาทองถ่ิน เพอื่ เสนอผบู ริหารทอ งถิน่ (๔) ผูบริหารทองถิ่นพิจารณาอนุมัติรางแผนพัฒนาทองถิ่นและ ประกาศใชแผนพัฒนาทองถิ่นเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยสภาตําบลและองคการบริหารสวน ตําบล สาํ หรับองคก ารบริหาร สวนตําบลใหผูบ ริหารทอ งถ่ินเสนอรา งแผนพัฒนาทองถิ่นตอ สภาองคการ บริหารสวนตําบลเพื่อใหความเห็นชอบกอน แลวผูบริหารทองถ่ินจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช แผนพฒั นาทอ งถ่ินตอไป (7) พระราชบัญญตั ิลักษณะปกครองทองท่ี พ.ศ. 2457 แกไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 พระราชบัญญตั ิฉบับน้ีเปนกฎหมายท่ีกําหนดใหมีการจัดต้ัง คณะกรรมการ หมูบานเพื่อเปนองคกรในการจัดทําแผนหมูบานเพ่ือสงเสริมการมีสวนรวมในการจัดการหมูบานของ ประชาชนในพ้ืนที่ มาตรา ๒๘ ตรี ในหมูบานหนึ่งใหมีคณะกรรมการหมูบานประกอบดวย ผูใหญบานเปนประธาน ผูชวยผูใหญบาน สมาชิกสภาองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีภูมิลําเนา ในหมูบาน ผูนําหรือผูแทนกลุมหรือองคก รในหมูบาน เปนกรรมการหมูบานโดยตําแหนง และกรรมการ หมูบานผูทรงคุณวุฒิซ่ึงนายอําเภอแตงตั้งจากผูซึ่งราษฎรในหมูบานเลือกเปนกรรมการหมูบาน ผูทรงคณุ วฒุ จิ าํ นวนไมน อ ยกวาสองคนแตไมเ กินสิบคน......ให คณะกรรมการหมูบานเปน องคก รหลักที่ รับผิดชอบในการบูรณาการจัดทําแผนพัฒนาหมูบาน และบริหารจัดการกิจกรรมท่ีดําเนินงาน ในหมูบ านรวมกับองคก รอ่นื ทกุ ภาคสว น สํานักพฒั นาและสง เสรมิ การบริหารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสาํ หรับการจดั ทาํ แผนพฒั นาจังหวัดและกลุมจงั หวัด 21 2.2 แนวคดิ ใหมในการเช่ือมโยงแผนพฒั นาท้ังระบบ ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญที่มุงสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนใน การกําหนดทิศทางการพ้ืนท/่ี ชมุ ชนของตนเอง ตลอดจนรฐั บาลใหความสําคญั อยางยิ่งยวดในการดาํ เนิน ที่สามารถตอบสนองความตองการของพื้นท่ี และประชาชนไดอยางแทจริง โดยใชยทุ ธศาสตรช าติเปน เปาหมายและเชอ่ื มโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเดน็ ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่ การบริหารจัดการ ภาครัฐตองมีความสอดคลองเชื่อมโยงและเปนกลไกสําคัญในการนํายุทธศาสตรชาติสูการปฏิบัติใน ทกุ ระดบั มีการจดั สรร งบประมาณทีม่ ีลกั ษณะยึดโยงกบั ยทุ ธศาสตรในทุกระดับ มีเปาหมายรวมกันทั้ง ในเชิงประเด็น เชิงภารกิจ และเชงิ พื้นท่ี โดยอาศัยขอมูลขนาดใหญ รวมท้งั มีระบบการตดิ ตามและ ประเมนิ ผล การดาํ เนินงานท้งั ในระดบั ยุทธศาสตรภ ารกิจและพื้นที่ เพ่ือนําไปสกู ารกําหนดประเด็น การพัฒนา การจัดทํานโยบาย และการติดตามประเมินผลท่ีเปนระบบอยางตอเนื่อง จึงไดกําหนดเปน ประเด็นยุทธศาสตรสําคัญไวในยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาส และความเสมอภาค ภายใต ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป พ.ศ. 2561 – 2580 คือ ขอ ๔.๒.๒ กาํ หนดแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของแตล ะกลุมจังหวัดในมิติตาง ๆ โดยการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดทิศทางการพัฒนาพ้ืนที่ของตนเอง และบูรณาการแผน ใหมีความเช่ือมโยงสอดคลองกันในทุกระดับเปนแผนเดียวกัน ตั้งแตระดับหมูบาน ทองถิ่น อําเภอ จังหวดั จนถึงกลมุ จงั หวดั ขอ 4.4.2 เสริมสรางศกั ยภาพของชุมชนในการพ่งึ ตนเองและการพ่งึ พากนั เอง โดยสนับสนุนการรวมกลุมของสมาชิกในชุมชนเพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชน ใหชุมชนไดบริหาร จัดการและมีสวนรวมในกิจการท่ีสงผลกระทบตอชุมชนโดยตรง การสนับสนุนการจัดทําแผนแมบท ชุมชนที่สะทอนปญหาความตองการที่แทจริงของชุมชน โดยมีขอมูลครัวเรือนเพื่อสนับสนุนการจัดทํา แผนและเช่ือมโยงแผนชุมชนกับแผนพัฒนาตําบล แผนพัฒนาอําเภอ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนา กลุมจังหวัด และแผนพัฒนาภาค และเช่ือมโยงกับการกําหนดการจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกัน ขับเคล่ือนกลไกความรวมมือทุกภาคสวนใหมีเปาหมายทิศทาง มีความสมดุล มีอิสระและมีอํานาจ ในการตดั สินใจ จากเจตนารมณข างตนรัฐบาลจึงกําหนดใหมีแผนพัฒนาภาคขึ้นเพื่อวัตถุประสงคหลัก ในการบูรณาการเชื่อมโยงแผนระดับชาติ กับแผนพัฒนาระดับพ้ืนท่ีซ่ึงแผนพัฒนาภาคจะเปนแผน ท่ีกําหนดทิศทางการพัฒนาภาคท่ีสอดคลองเช่ือมโยงกับแผนระดับชาติและนโยบายรัฐบาลครอบคลุม ทุกมติ ิ โดยมี อ.ก.บ.ภ. ทงั้ 5 ชดุ เปนผจู ดั ทําแผนพฒั นาภาคซ่งึ จะถายทอดเปา ประสงค ตัวช้วี ัด คาเปาหมาย จากยุทธศาสตรชาติ 20 ป และยุทธศาสตรที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติซงึ่ เปรียบเสมือนเปนเหมือนจุดเช่ือมสําคัญ (Focal Point) ระหวางนโยบายเนนหนักของรัฐบาล และการดําเนินการของสวนราชการตางๆ (Agenda-Function) ในขณะเดียวกันก็เช่ือมโยงกับนโยบายเนนหนักของรัฐบาลกับศักยภาพและความตองการของพ้ืนที่ (Agenda-Area) โดยสํานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคของสํานักงานเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ จะดําเนินการรวบรวมขอมูลพ้ืนฐานเพ่ือวิเคราะหขอมูลศักยภาพของพ้ืนท่ีกอนกําหนดเปนทิศทางการ พัฒนาภาค เพื่อเสนอตอ อ.ก.บ.ภ. ใหความเห็นชอบสําหรับใชเปนกรอบในการจัดทําแผนพัฒนาภาค สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวัด สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู ้ืนฐานสาํ หรบั การจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ จงั หวัด 22 โดยการจัดทํากรอบทิศทางการพัฒนาภาค จะเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติซ่ึงเปนแผนท่ีจะชี้ทิศทาง การพัฒนาของประเทศใน 20 ปขางหนา นโยบายของรัฐบาล แผนระดับชาติตางๆ เชน แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนความม่ันคง ฯลฯ จะถายทอดยุทธศาสตร เปาประสงค ตัวชี้วัด จากยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป เพื่อใชเปนแนวทางการในการวางกรอบการพัฒนาในภาพรวมของประเทศ ใหก ับทุกพ้นื ท่ี โดยการเช่ือมโยงแผนในระดับตา งๆ ดังนี้  ระดับนโนบาย ประกอบดวย 1) กรอบทิศทางการพัฒนาภาค ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ 2) แผนพัฒนาภาค  ระดับพ้ืนที่ ประกอบดวย 1) แผนพัฒนากลุมจงั หวัด 2) แผนพัฒนาจังหวัด 3) แผนพัฒนาอําเภอ 4) แผนพฒั นาตาํ บล 5) แผนพฒั นาทอ งถ่นิ 6) แผนพัฒนาหมูบา น/แผนชมุ ชน แผนภาพท่ี 4 : การเชอื่ มโยงแผนพฒั นาทัง้ ระบบ ท่ีมา : สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2561 สํานกั พฒั นาและสงเสริมการบรหิ ารราชการจังหวัด สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพน้ื ฐานสาํ หรับการจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวดั 23  ระดับนโนบาย ประกอบดว ย 1. กรอบทศิ ทางการพัฒนาภาค: ทิศทางการพัฒนาภาค คอื กรอบแนวคดิ ในการพัฒนา ภาคซ่ึงใหการจัดทําแผนพัฒนาทั้งระบบมีกรอบการดําเนินการท่ีชัดเจน สํานักพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมภาค ท้ัง 5 ภาคจะดําเนินการจัดทําทิศทางการพัฒนาภาคเสนอตอ อ.ก.บ.ภ. เพื่อเห็นชอบกอน ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาภาคในลําดับตอไป โดยการจัดทํากรอบทิศทางการพัฒนาภาคจะเปนการ ถายทอดยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตรท่ี 9 การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตแิ ผนที่ 12 ลงสูการปฏิบตั ิในพื้นท่ี โดยการจัดทาํ กรอบทิศทาง การพัฒนามีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนแนวทางใหกลุมจังหวัด และจังหวัดใชเปนกรอบในการจัดทํา ยทุ ธศาสตร แผนพัฒนา และแผนปฏิบัติราชการในระดับพื้นท่ี ตลอดจน เปนกรอบแนวทางในการจัดทํา แผนระดับพ้ืนที่ของสวนราชการอ่ืนๆ และองคกรปกครองสวนทองถ่ินซึ่งจะตองสอดคลองกับทิศทาง การพฒั นาของภาค โดยกรอบการพัฒนาภาค จะกําหนดเปาหมาย ตัวช้ีวัด แนวทางการพัฒนาและ ลักษณะโครงการเนนหลักเฉพาะพื้นท่ีเพ่ือใหพ้ืนทน่ี ําไปเปนกรอบในการวางแผนพัฒนา ตลอดจนจัดทํา โครงการใหสอดคลองกับแผนพัฒนาภาค เชน แนวทางการพัฒนาในภาคเหนอื มุงพัฒนากลุมทองเท่ียว ที่มีศักยภาพตามแนวทางการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค ไดแ ก (1) กลุมทอ งเที่ยวอารยธรรมลานนา และกลมุ ชาติพันธุ ในพื้นที่จังหวัดเชยี งใหม ลําพูน ลําปาง แมฮอ งสอน เชียงราย พะเยา แพร นาน (2) กลุมทองเที่ยวมรดกโลก (ทางประวัติศาสตร) ในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย และกําแพงเพชร ทั้งน้ี กรอบทศิ ทางการพฒั นาภาค มีจดุ เนน การพฒั นา (Positioning) ดังน้ี 1. ภาคเหนอื : มงุ พัฒนาภาคเหนือไปสูฐานเศรษฐกจิ สรา งสรรคม ูลคา สูง เชื่อมโยง เศรษฐกิจกบั ประเทศกลุมอนภุ มู ภิ าคลมุ นํา้ โขง 2. ภาคกลาง: พัฒนากรุงเทพฯ สูมหานครทันสมัย และภาคกลางเปนฐานการผลิต สินคา และบริการมลู คาสูง 3. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ: ศูนยก ลางเศรษฐกิจของอนภุ มู ิภาคลมุ นํ้าโขง 4. ภาคตะวนั ออก: ฐานเศรษฐกจิ ชัน้ นํา 5. ภาคใต : ภาคใตเ ปน เมอื งทองเท่ยี วพกั ผอ นตากอากาศระดบั โลก ศนู ยกลางผลติ ยางพารา และปาลมนาํ้ มันระดบั ประเทศ และเมืองเศรษฐกิจเช่อื มโยง การคา การลงทนุ กับภูมิภาคอื่นของโลก 6. ภาคใตช ายแดน: เปนแหลงผลิตภาคเกษตร และอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่ี สําคัญของประเทศ และเปนเมืองชายแดนเช่ือมโยงการคา และ การทองเที่ยวกับพ้ืนท่ีภาคใต และการพัฒนาเศรษฐกิจของ มาเลเซยี และสงิ คโปร สาํ นักพฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู ้นื ฐานสําหรบั การจัดทําแผนพฒั นาจังหวดั และกลมุ จงั หวดั 24 ท่ีมา : สาํ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจ และสังคมแหง ชาติ, 2561 แผนภาพที่ 5 : ทศิ ทางการพฒั นาภาคของประเทศไทย 2. แผนพัฒนาภาค: แผนพัฒนาภาคมีลักษณะเปนแผนแบบบนลงลาง (Top-down) คอื มกี ารวางแผน และชเี้ ปา หมาย หรอื พื้นท่ีการพฒั นาจากสวนกลางท่มี งุ กําหนดทิศทางการพฒั นาพ้ืนที่ ใหสอดคลองเชื่อมโยงกับแผนระดับชาติและนโยบายรัฐบาลซ่ึงครอบคลุมทุกมิติ โดยจะเปนเคร่ืองมือ สําคญั ของรฐั บาลในการเชอ่ื มโยงนโยบายเนนหนักของรัฐบาล และการดําเนินการของสวนราชการตางๆ (Agenda-Function) และในขณะเดียวกันก็เปนการเชื่อมโยงนโยบายเนนหนักของรัฐบาลกับศักยภาพ และความตองการของพื้นท่ี (Agenda-Area) ตลอดจน เปนเครื่องมือสําคัญในการถายทอดยุทธศาสตร เปาหมาย ตวั ชว้ี ัดจากแผนอ่ืนๆ ในระดับนโยบายลงสูแผนพัฒนาระดับพืน้ ท่ไี ดอยางเปนรปู ธรรม  ระดับพืน้ ท่ี ประกอบดว ย 1. แผนพฒั นากลุมจงั หวดั : เปนแผนทมี่ งุ เนน การชีน้ ําการพัฒนาของพื้นท่ีในลักษณะ กลุมจังหวัด โดยมีเปาหมายในการเพิ่มศกั ยภาพการแขงขันทางเศรษฐกิจของกลุมจังหวัด ซ่งึ ในปจจุบัน แผนพัฒนากลุม จงั หวดั ตองดําเนนิ การจดั ทาํ ใหส อดคลองกับทิศทางการพัฒนาภาค และแผนพัฒนาภาค ตลอดจนจะตองเชื่อมโยงยุทธศาสตร เปาประสงค ตัวชี้วดั และคาเปาหมายมาจากแผนพัฒนาภาคลงสู พ้ืนที่ โดยการพิจารณาคัดเลือกโครงการท่ีบรรจุในแผนพัฒนากลุมจังหวัดจะตองเปนโครงการท่ีมีการ เช่ือมโยงกับโครงการขนาดใหญ (Mega Projects) ตามแผนพัฒนาภาค และทุกจังหวัดในกลุมไดรับ ประโยชนจ ากการดาํ เนนิ การ และสามารถยกระดับศักยภาพทางการแขง ขันรว มกนั ของกลุมได 2. แผนพัฒนาจงั หวดั : เปน แผนท่มี ุงเนนการชี้นําการพัฒนาของพ้ืนทจี่ ังหวดั ซึง่ มี เปาหมายในการยกระดับคณุ ภาพชีวิตของประชาชนในพื้นท่ี ซงึ่ การดําเนินการท่ีผานประสบปญหา ในการวางแผนเพราะไมมีขอมูลแผนงาน/โครงการของสวนราชการในพื้นท่ี ตลอดจน องคกร ปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) เพ่ือการวางแผนภาพรวมของพื้นท่ีในรปู แบบหวงโซคุณคาได ดังนั้น สาํ นกั พฒั นาและสง เสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสําหรบั การจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวัด 25 แนวทาง การประสานแผนรูปแบบใหมจะชวยใหจังหวัดสามารถเขาถึงขอมูลการดําเนินโครงการของ สวนราชการ ท่ีเปนโครงการขนาดใหญตามแผนพัฒนา ตลอดจนแผนงาน/โครงการของสวนราชการใน ภูมิภาคและองคกรปกครองสวนทองถิ่นผานกระบวนการการประสานแผนในระดับพ้ืนที่ซึ่งจะชวยให การวางแผนของจงั หวัดมปี ระสิทธิภาพสูงข้ึน 3. แผนพัฒนาอําเภอ: เปนแผนที่รวบรวมรายการโครงการและแผนงานตา งๆ ของอําเภอ เพอื่ สะทอ นถึงปญ หาและความตอ งการของประชาชน โดยมีคณะกรรมการบริหารงานอําเภอแบบบูรณาการ เปนกลไกสาํ คญั ในการขบั เคล่ือน แผนพัฒนาอําเภอมีบทบาทสาํ คัญในการเปนเหมือนจุดเช่ือมตอสําคญั ของการบูรณาการแผนในระดับอําเภอ ท้ังในลักษณะบนลงลาง (Top-down) คือ การถายทอด ยุทธศาสตรจากจังหวัด และสงกรอบแนวทางการพัฒนาอําเภอใหทุก อปท. และลักษณะลางข้ึนบน (Bottom-up) คอื การรวบรวมความตองการของพ้ืนที่ชุมชน/หมบู านเพ่อื จดั ทําเปน แผนความตอ งการของ อาํ เภอเพื่อจัดสง ใหจงั หวดั สาํ หรบั ใชป ระโยชนใ นการวางแผนตอไป 4. แผนพัฒนาตาํ บล: เปนแผนท่ีรวบรวมรายการแผนงานหรอื โครงการหรือกิจกรรมที่ จําเปนตองทําเพ่ือการพัฒนาแกไขปญหาและความตองการของประชาชนในพื้นท่ีระดับตําบลที่มาจาก แผนพัฒนาหมูบาน แผนชุมชน แผนพัฒนาทองถ่ิน และแผนของสวนราชการหรือหนวยงานอื่นท่ี ดําเนินการในพืน้ ที่ โดยมีคณะกรรมการบริหารตําบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) เปนกลไกในการขับเคลือ่ นแผน 5. แผนพฒั นาทองถ่ิน (เทศบาล/อบต.): ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทํา แผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1) และ พ.ศ. 2559 (ฉบับท่ี 2) กาํ หนดใหท ุก อปท. จัดทาํ แผนพฒั นาทอ งถิ่นเพ่ือวางกรอบแนวทางการพฒั นาของ อปท. โดย อปท. ตอง นาํ ความตอ งการจากการประชาคม และแผนพัฒนาหมบู า น/ชุมชน มาใชเปนขอมูลประกอบการวางแผน โดยโครงการใดท่เี กินศักยภาพ เทศบาล/อบต. สามารถเสนอขอการสนับสนนุ จากอาํ เภอ หรือ อบจ. ได 6. แผนพัฒนาหมบู าน/ชมุ ชน: แผนหมูบาน/ชุมชน ถือเปนแผนในระดับลางสุดซ่ึงเปด โอกาสใหประชาชนเขามามีสว นรวมในกระบวนการวางแผนพัฒนาของจังหวัด และมีความสาํ คญั ในการ รวบรวมความตองการของประชาชนเพื่อนําเขาสูกระบวนการวางแผน โดยคณะกรรมการหมูบานมี หนาที่ในการจัดทําแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน โดย อปท. จะใหการสนับสนุนในการจัดประชาคม และมี พัฒนากรอําเภอเปนผูสนับสนุนองคความรูใหแกประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาหมูบานชุมชนจาก การประชาคม ความตองการของประชาชนจากการประชาคมจะถูกนําไปจัดทําแผนหมูบาน/ชุมชน โดยชุมชนสามารถดาํ เนินการกจิ กรรม/โครงการไดเองโดยตรง หากกิจกรรมใดเกินศักยภาพของหมูบา น/ ชมุ ชน ใหเสนอขนึ้ ไปยงั อาํ เภอ และ อปท. เพ่ือขอการสนบั สนนุ จาก อปท. อําเภอ และจังหวัดตอ ไป จะเห็นวาในระดับอําเภอ ประกอบดวยแผนพัฒนาสําคญั 4 แผน ไดแก แผนชุมชน/ แผนพัฒนาหมูบาน แผนพัฒนาทองถ่ิน แผนพัฒนาตําบลและแผนพัฒนาอําเภอ ที่มีบทบาทสําคัญ ในการเปนกลไกในการสะทอนความตองการของพ้ืนที่ใหแกจังหวัด และหนวยงานภูมิภาคของกระทรวง ตางๆ เพื่อใชในการจัดทํายุทธศาสตร และแผนงาน/โครงการใหสอดคลองและตอบสนองตอศักยภาพ และความตองการของประชาชน ดังนั้น หากปราศจากแผนพัฒนาในระดับอําเภอท้ัง 4 แผนจะสงผล กระทบโดยตรงตอคณุ ภาพในการจัดทําแผนพัฒนาของจังหวัด กลุมจังหวัด และแผนของสวนราชการใน สวนกลาง ทั้งน้ี นายอาํ เภอจะมบี ทบาทสาํ คญั ในขับเคล่อื นการบูรณาการแผนพฒั นา ตลอดจน แผนงาน/ สาํ นักพฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจังหวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้นื ฐานสาํ หรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวัดและกลุมจงั หวดั 26 โครงการของทุกหนวยงานท้ังหนวยงานราชการระดับอําเภอ อปท. และหมูบาน/ชุมชน ผานกลไก คณะกรรมการประสานแผนทองถ่ินเปนกลไกการเชือ่ มโยงระหวางสวนราชการระดับอําเภอ และ อปท. ในพน้ื ท่ี ซ่งึ คณะกรรมการประสานแผนฯ จะตองสง แผนความตองการท่ีเกินศักยภาพไปยงั คณะกรรมการ ประสานแผนในระดับจังหวัด เพื่อบูรณาการแผนงาน/โครงการและเสนอไปยัง องคการบริหารสวน จงั หวัด (อบจ.) เพ่อื บรรจใุ นแผนพัฒนาของ อบจ. ตอ ไป 2.3 กลไกในการเช่ือมโยงแผนในระดับตางๆ กลไกในการเชื่อมโยงและบริหารแผนพัฒนาในปจจุบัน สามารถแบงออกไดเปน 3 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับจังหวัด/กลุมจังหวัด และระดับอําเภอ โดยกลไกในแตละระดับ จะดําเนินการเช่ือมโยงจัดทําและเชื่อมโยงประสานแผนแตละระดับเขาดวยกัน ท้ังราชการบริหาร สวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่น และชุมชน โดยมุงหวังใหการ ดาํ เนนิ งานสามารถตอบสนองความตอ งการของพืน้ ที่ไดอ ยางเต็มศักยภาพเพ่ือในการดาํ เนินการบริหาร ภาคเกดิ ประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผลสงู สดุ ดังน้ี 2.3.1 กลไกการบรหิ ารระดับชาติ  คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพฒั นาภาค (ก.บ.ภ.): คณะกรรมการ บูรณาการนโยบายพัฒนาภาค หรอื ก.บ.ภ. จัดตั้งขึ้นตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ บริหารงานเชิงพื้นท่ีแบบบูรณาการ พ.ศ. 2560 โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน เพ่ือทําหนาที่ สําคัญในการวางกําหนดกรอบนโยบาย หลักเกณฑ และวิธกี ารในการจัดทําแผนพัฒนาภาค แผนพัฒนา กลุมจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัด และกลุมจังหวัด ตลอดจน บรู ณาการแผนของสว นราชการและแผนพฒั นาระดับพ้ืนที่ โดยมีอาํ นาจหนาที่ ดงั นี้ - กําหนดกรอบนโยบายและวางระบบในการบริหารงานภาค กลมุ จังหวัด และจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อใหสามารถบริหารงาน แกไขปญหา และพัฒนาไดอยางมี ประสิทธภิ าพและตอบสนองความตอ งการของประชาชนใหไดร ับประโยชนสงู สุด - กาํ หนดนโยบาย หลกั เกณฑ และวิธีการในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุมจังหวัด แผนพัฒนาภาค แผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัด แผนปฏิบัติ ราชการประจําปของกลุม จังหวดั การจัดทาํ และบริหารงบประมาณจังหวดั งบประมาณกลมุ จังหวัด และงบประมาณของสว นราชการ ทจี่ ะดําเนินการตามแผนพฒั นาภาค - บูรณาการแผนของสวนราชการและแผนพัฒนาระดับพื้นที่เพื่อใหการขับ เคลือ่ นแผนในพื้นทข่ี องกระทรวง กรม สอดคลองกบั ศกั ยภาพหรอื ประเดน็ ปญหาในพื้นท่ีและเชื่อมโยงให สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ และนโยบายรฐั บาล - ใหความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุมจังหวัด แผนพัฒนาภาค แผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจําปของกลุมจังหวัด คําของบประมาณของจังหวัด กลุมจังหวัด และงบประมาณของสวนราชการที่จะดําเนินการตาม แผนพัฒนาภาค ตามกฎหมายวา ดว ยวธิ ีการงบประมาณแลวเสนอคณะรฐั มนตรีเพ่ือทราบ สํานักพฒั นาและสงเสริมการบริหารราชการจังหวัด สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสาํ หรบั การจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวดั และกลุมจงั หวัด 27 กลไกการบริหารงานจงั หวัด กลุมจงั หวดั แบบบูรณาการ และ ภาค ระดับชาติ คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค จคงัณหะวกดั รแรลมะกกาลรมุนจโยงั หบวายัดกแาบรบบบรูริหณารางกาานร นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี คณะอนกุ รรมการบรู ณาการนโยบายพัฒนาภาค ระดับกลมุ จงั หวัด ก.บ.ก. คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ หวั หนากลมุ จงั หวัด คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ระดบั จงั หวดั ผวู าราชการจังหวดั ก.บ.จ. คณะกรรมการพฒั นาทองถนิ่ (อบจ.) คกก.พฒั นาทองถิ่น คณะกรรมการบรหิ ารงานอาํ เภอแบบบูรณาการ นายก อบจ. คณะกรรมการบริหารงานตาํ บลแบบูรณาการ คณะกรรมการพัฒนาทอ งถนิ่ (เทศบาล/อบต.) ระดับอาํ เภอ นายอาํ เภอ ก.บ.อ. ปลดั อาํ เภอ คณะกรรมการหมูบาน ก.บ.ต. คกก.พฒั นาทองถ่ิน นายกเทศมนตร/ี อบต. กํานัน/ผใู หญบ า น ก.ม. แผนภาพที่ 6: กลไกการบริหารงานจังหวัด กลุม จงั หวัดแบบบรู ณาการ และ ภาค  คณะอนุกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (อ.ก.บ.ภ.): อาศยั อํานาจ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารงานเชิงพ้ืนท่ีแบบบูรณาการ พ.ศ. 2560 คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาคมคี ําสง่ั ตั้งคณะอนุกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค 6 คณะโดยมีรองนายกรัฐมนตรี 6 ทา นเปนประธาน เพ่ือทําหนาทีจ่ ัดทําแผนพัฒนาภาค และบูรณาการ แผนงานโครงการของสวนราชการ และการพิจารณา กลั่นกรอง แผนพัฒนาภาค แผนพัฒนากลุมจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจําปข องจังหวัด และกลมุ จังหวัด 2.3.2 กลไกการบริหารระดับกลุม จงั หวดั  คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.): จัดตั้งขึ้น ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัด และกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 โดยมี ผูวาราชการจังหวัดท่ีเปนหัวหนากลุมจังหวัดเปนประธาน ซ่ึงจะตองมีบทบาทสําคัญในการถายทอด ยุทธศาสตร และขับเคลื่อนการพัฒนากลุมจังหวัดใหสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาภาค โดยตองมี การปรับปรุงแนวทางในการเสนอ และจัดทําโครงการใหสอดรับการโครงการขนาดใหญ (Mega Projects) ซึ่งบรรจุอยูในแผนพัฒนาภาคเพ่ือเปนการยกระดับศักยภาพทางการแขงขันทางเศรษฐกิจ ของพื้นที่ใหส อดคลองกบั แนวทางการพฒั นาในภาพรวมของประเทศ มีหนา ท่ี ดังน้ี - วางแนวทางปฏิบัติและอํานวยการใหการบริหารงานแบบบูรณาการใน กลุมจังหวดั เปน ไปตามหลักการนโยบายและระบบตามที่ ก.น.จ. กําหนด สาํ นกั พฒั นาและสง เสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพนื้ ฐานสาํ หรบั การจัดทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ จงั หวัด 28 - จดั ทําแผนพฒั นากลมุ จงั หวดั เสนอตอที่ประชุมตามมาตรา 19 ตาม พ.ร.ฎ. วาดว ยการบรหิ ารงานจงั หวดั และกลุมจงั หวัดแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 เพอ่ื รบั ฟงความคดิ เห็น - สงเสริมประสานความรว มมอื การพัฒนาระหวางภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน และแกไ ขปญ หาภายในกลุม จังหวดั และระหวางกลุม จงั หวดั - วิเคราะห บูรณาการ และใหความเห็นชอบรายละเอียดการปฏิบัติตาม แผนปฏิบัติราชการประจําปของกลุม จังหวัด และคาํ ของบประมาณกลุมจังหวดั กอนนําเสนอ ก.น.จ. 2.3.3 กลไกการบริหารระดบั จงั หวัด  คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) : จัดต้งั ข้ึนตาม พระราชกฤษฎีกาวา ดวยการบริหารงานจังหวัด และกลุมจังหวดั แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 โดยให ผูวาราชการจังหวดั เปนประธานซึ่งมีบทบาทสําคัญในการบูรณาการ และขับเคล่ือนการบริหารราชการ ในจังหวัดเพื่อแกไขปญหา และพัฒนาพื้นท่ีในเขตจังหวัดไดอยางมีประสิทธิภาพและตอบสนองความ ตองการของประชาชน โดย ก.บ.จ. มีบทบาทสําคัญเปนใหเปนจุดเช่ือมหลัก (Focal Point) ระหวาง แนวทางการพัฒนาของประเทศ ตลอดจนกรอบการพัฒนาของภาค กับศักยภาพและความตองการ ของพ้ืนที่ ตลอดจนเปนชองทางสาํ คัญในการสะทอนขอมูล และขอเท็จจริงในพื้นท่ีใหแกคณะกรรมการ ในระดับนโยบายทั้ง อ.ก.บ.ภ. และ ก.บ.ภ. เพ่ือใชประกอบการจัดทําแผนพัฒนาภาค และตดั สินใจ เชิงนโยบายตอ ไป - วางแนวทางปฏิบัติและอํานวยการใหการบริหารงานแบบบูรณาการใน จงั หวดั เปนไปตามหลกั การ นโยบาย และระบบตามท่ี ก.น.จ. กาํ หนด - จัดทําแผนพัฒนาจังหวัดเสนอตอท่ีประชุมตามมาตรา 19 ตาม พ.ร.ฎ. วาดว ยการบริหารงานจงั หวดั และกลุมจงั หวดั แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 เพ่ือรบั ฟง ความคิดเห็น - สง เสริม ประสานความรว มมือการพัฒนาระหวางภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคธรุ กิจเอกชน เพ่ือสรางบรรยากาศใหเอ้ืออํานวยตอ การลงทุน และชกั ชวนภาคธุรกิจเอกชนมา ลงทุนในจังหวดั - จัดทําบันทึกความเขาใจกับฝายตางๆ ที่เก่ียวของกับการพัฒนาท่ีใหความ รว มมือและสนบั สนุนการดําเนินการตามแผนพัฒนาจงั หวดั และแผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวดั - วเิ คราะห บรู ณาการ และจัดทําแผนปฏบิ ัติราชการประจําปของจังหวัด และคาํ ของบประมาณจังหวดั กอนนาํ เสนอ ก.น.จ.  คณะกรรมการพฒั นาทอ งถิน่ (องคการบริหารสว นจังหวัด): คณะกรรมการ พัฒนาทองถ่ินจัดต้ังข้ึนตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 (ฉบับท่ี 1) และ พ.ศ. 2559 (ฉบับที่ 2) โดยมีนายกองคการ บริหารสวนจังหวัดเปนประธานซ่ึงมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทางการพัฒนาของทองถ่ินซ่ึง การดาํ เนนิ การที่ผา นยังขาดความเชอ่ื มโยงกับกลไกการดําเนินงานสวนราชการระดับภูมิภาค ดังน้ัน คณะกรรมการพัฒนาทองถ่ิน (องคการบริหารสวนจังหวัด) จึงมีบทบาทสาํ คัญในการบูรณาการ เช่ือมโยงการทํางานเขากับกลไกการบริหารในระดับบน ผานแผนพัฒนาของ อบจ. ซ่ึงจะตอง สาํ นกั พฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจงั หวัด สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู ืน้ ฐานสาํ หรบั การจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลุมจงั หวัด 29 เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาภาค แผนพัฒนากลุมจังหวัด แผนพฒั นาจังหวดั ตลอดจน แผนพฒั นาหมบู า น/ชุมชน และความตอ งการของพนื้ ท่ี 2.3.4 กลไกการบริหารระดบั อาํ เภอ  คณะกรรมการบริหารงานอาํ เภอแบบบรู ณาการ (ก.บ.อ.): คณะกรรมการ บริหารงานอําเภอแบบบูรณาการจัดตั้งขน้ึ เพื่อเปนกลไกสําคัญในการขับเคล่อื นการพัฒนาในระดับ อําเภอ โดยมีนายอําเภอเปนประธาน มีหนาที่ในการบูรณาการและชี้นําการพัฒนาในระดับอําเภอ ตลอดจนเปนกลไกสําคัญในการรวบรวมสภาพปญหาและความตองการของพื้นที่เพื่อใชเปนขอมูล สําคญั สาํ หรบั การจัดทําแผนพัฒนาจังหวดั และกลมุ จังหวัด  คณะกรรมการบริหารงานตําบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) คณะกรรมการ บรหิ ารงานตําบลแบบบูรณาการจัดตง้ั ข้ึนเพ่ือเปนกลไกสําคัญในการกําหนดทิศทางการพัฒนาของ ตําบลใหส อดคลองกับทิศทางการพฒั นาของอาํ เภอและจังหวดั โดยมีหนา ทีใ่ นการจัดทําแผนพัฒนา ระดับตําบลซึ่งเชื่อมโยงแผนพัฒนาหมูบาน แผนชุมชน และแผนพัฒนาทองถิ่นในระดับตําบล และกลั่นกรองและจําแนกแผนงานโครงการท่สี อดคลองกับทิศทางการพัฒนาขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นระดับตําบล เพ่ือนําไปบรรจุไวในแผนพัฒนาทองถ่ินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับตําบลตอไป ก.บ.ต. จึงเปนกลไกสําคัญในการรวบรวมสภาพปญหาและความตองการของ พนื้ ที่ระดบั ตําบลเพอ่ื ใชเปน ขอมูลสําคญั สาํ หรบั การจัดทําแผนพฒั นาอําเภอ การจัดทาํ แผนและประสานแผนพฒั นาพื้นที่ ระดับ กลไก แผนพัฒนา 20 ก.บ.จ.จังห ัวด แผนพฒั นา แผน อบจ. จังหวดั คกก. คณะกรรมการบริหารงาน จังหวดั แบบบรู ณาการ ประสานแผน ทอ งถน่ิ ระดบั จงั หวัด อําเภอ 13 15 16 17 แผนพฒั นา 20 อําเภอ ก.บ.อ. คกก. ประสาน 27 แผนทอ งถ่นิ คณะกรรมการบรหิ ารงาน อําเภอแบบบรู ณาการ ระดับอาํ เภอ หมูบาน/ ุชมชน ํตาบล ก.บ9 .ต. 10 แผนตําบล One Plan เกนิ ศกั ยภาพ 20 เกนิ ศกั ยภาพ คณตะาํ กบรลรแมบกบาบรบรู ณรหิ าากรางราน แผน อบต./ แผนเทศบาล เทศบาลตาํ บล (ทน./ทม.) 4 แผนพฒั นา Bottom Up 6 หมูบ า น กม./คกก.ชุมชน แผนชมุ ชน คณะกรรมการหมูบา น/ คณะกรรมการชุมชน หมบู าน/ชมุ ชน/อปท. ในพืน้ ที่ จดั ประชุมประชาคมรว มกัน สํานักพฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพื้นฐานสําหรบั การจดั ทาํ แผนพฒั นาจังหวดั และกลมุ จงั หวัด 30  คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น (เทศบาล/องคการบริหารสวนตําบล): คณะกรรมการพัฒนาทองถ่ิน (ระดับเทศบาล/อบต.) จัดตั้งขึ้นตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวย การจดั ทําแผนพัฒนาขององคก รปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1) และ พ.ศ. 2559 (ฉบบั ที่ 2) โดยมีผูบริหารของเทศบาล และ อบต. เปนประธาน ตองปรับบทบาทในการเปนกลไกในการกําหนด ทิศทางการพฒั นาของทองถ่นิ ในอาํ เภอ เพือ่ บูรณาการเช่ือมโยงกับแผนชาติ แผนพัฒนาภาค แผนพัฒนา กลุมจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน และความตองการของพ้ืนที่ ตลอดจน จัดลําดับความสําคัญของโครงการพัฒนาตามสภาพปญหาและความตอ งการของชมุ ชนหมบู า น  คณะกรรมการหมูบาน (กม.): คณะกรรมการหมูบานจัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติลักษณะปกครองทอ งท่ี พ.ศ. 2457 โดยมีกํานัน/ผูใ หญบานเปนประธาน ซ่งึ ถือเปน คณะกรรมการท่ีอยูใกลชิดและทํางานรวมกับประชาชนมากที่สุด จึงมีความจําเปนตองปรับบทบาทให สามารถขับเคลือ่ นการบริหารในพ้ืนทเ่ี พอ่ื สรางการมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการกิจกรรมท่ี ดําเนินงานในหมูบานรวมกับองคกรอ่ืนทุกภาคสวน ตลอดจนเปนกลไกสําคัญในการรวบรวม และสงตอ ความตองการของประชาชนในพืน้ ที่ไปยงั องคก รปกครองสว นทองถนิ่ อําเภอ และจงั หวัดตอ ไป  สาํ นกั พฒั นาและสง เสริมการบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู นื้ ฐานสาํ หรับการจดั ทาํ แผนพฒั นาจังหวัดและกลุมจงั หวัด 31 บทท่ี 3 กลไก กระบวนการ และเครื่องมอื ในการวางแผนพฒั นาจังหวัดและกลุม จังหวัด สํานกั พฒั นาและสงเสริมการบริหารราชการจังหวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู ้นื ฐานสาํ หรับการจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวัดและกลมุ จงั หวัด 32 กลไก กระบวนการ และเครือ่ งมือในการวางแผนพัฒนาจงั หวัดและกลุมจงั หวดั 3.1 นโยบาย หลกั เกณฑและแนวทางสําคัญในการจดั ทาํ แผนพัฒนาจงั หวัด และกลุม จงั หวัด นโยบาย หลักเกณฑแ ละแนวทางสําคญั ในการจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวัด และกลุม จงั หวดั และแผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ป ตามแนวทางที่ ก.บ.ภ. และ ก.น.จ. กําหนด อาจสรุปได ดังน้ี 1.1 ยึดยุทธศาสตรช าติระยะ 20 ป แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 และนโยบายรฐั บาล รวมท้ังแผนรายสาขา/เฉพาะดานตางๆ ที่ผาน ความเห็นชอบจากคณะรฐั มนตรแี ลว และขอส่งั การของนายกรัฐมนตรี 1.2 ใหความสาํ คญั กับแผนพัฒนาภาค เพื่อเปนแผนชี้นําการพัฒนาในภาพรวมของ พื้นท่ีเพื่อใหเกิดการพัฒนาท่ีสอดคลองเชื่อมโยงกนั ในทุกพื้นที่ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน อันจะกอใหเ กดิ ประโยชนตอ ประชาชนไดอ ยา งทว่ั ถงึ 1.3 การจัดทําแผนพัฒนากลุมจังหวัดและจังหวัด ใหใชกระบวนการประชาคมแบบ มีสวนรวมของทุกภาคสวนหรือการจัดเวทีระดมความคิดเห็นของประชาชนเพื่อใหไดมาซ่ึงปญหาและ ความตองการ จากประชาชนในพื้นท่ี รวมทั้งใหมีการประสานแผนในระดับพ้ืนท่ี โดยการรวบรวมและ จัดลําดับความสําคัญของปญหาและความตองการของประชาชนในพ้ืนท่ี ผานกลไกการจัดทํา แผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน แผนพัฒนาทองถ่ิน และแผนความตองการของอําเภอเพ่ือใหแผนมีความ เชอ่ื มโยงสอดคลองกนั ในทกุ ระดบั เปน แผนเดียวกัน (One Plan) 1.4 การขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนา มุงเนนการทาํ งานแบบเครือขายรวมกัน ทุกภาคสวน ทั้งสวนราชการ (สวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น) ภาคเอกชน ภาคประชา สงั คมหรอื ประชารฐั และชมุ ชน เพอื่ รวมกนั วางยทุ ธศาสตรการพฒั นาใหเ หมาะสมกับโอกาสและศกั ยภาพ ของภาค กลุมจังหวัด และจังหวัด รวมท้ังรวมมือกันในการสนับสนุนการขับเคล่ือนประเด็นการพัฒนาที่ สาํ คญั ของภาค กลมุ จังหวัด และจังหวัด สกู ารปฏิบัติอยางสัมฤทธิ์ผลโดยจะตองมีการกําหนดเปาหมาย และตวั ชวี้ ดั ทีช่ ัดเจน 1.5 ความครอบคลุมของแผน โดยแผนพัฒนาจังหวัด เปนแผนท่ีมีความครอบคลุม ทกุ มติ กิ ารพัฒนา มุง ตอบสนองความตอ งการและแกไขปญหาที่สําคญั ของจังหวัดและขับเคลื่อนประเด็น การพัฒนาจังหวัดที่สอดคลองกับ ยุทธศาสตรชาติ แผนระดับชาติ นโยบายรัฐบาล และแผนพัฒนาภาค ตามศักยภาพและโอกาสของจังหวดั และแผนพัฒนากลมุ จังหวัด เปนแผนทเ่ี ปนการขับเคลื่อนประเด็น การพัฒนาท่ีสอดคลอง กับทิศทางการพัฒนาภาค หรือความตอ งการแกไขปญหาท่ีเปนประเด็นรวมใน พน้ื ที่ และตอ งมขี อบเขต การดําเนนิ การหรอื ไดรับผลประโยชนมากกวา 1 จังหวัด 1.6 โครงการที่จะนํามาบรรจุในแผนพัฒนาจังหวัด/กลุมจังหวัด และแผนปฏิบัติ ราชการประจาํ ป ตอ งคาํ นงึ ถึงปจ จยั สาํ คัญ ดงั น้ี - โครงการจะตองมีความสอดคลองและเชื่อมโยงกับแนวทางการพัฒนา จงั หวดั และกลุม จังหวัด สํานกั พฒั นาและสงเสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้ืนฐานสาํ หรบั การจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลุม จงั หวดั 33 - แผนงานโครงการตองมีความสอดคลองเช่ือมโยงกับหวงโซคุณคา (Value Chain) ของแผนพัฒนาจังหวดั และกลุมจังหวดั - โครงการมีความเหมาะสมและเปนไปไดท้ังดานเทคนิค (วิธีการหรือ รปู แบบที่ใชในการดาํ เนนิ การ) ดานกายภาพ (ความพรอมของพน้ื ท่ีดําเนนิ งาน บคุ ลากร การบริหาร ความเส่ียง และการบรหิ ารจัดการ) ดานงบประมาณ (ความสมเหตุสมผลของวงเงนิ กับประโยชนที่ ไดรบั ) ดา นระยะเวลา (ดําเนินการไดแลวเสร็จภายในปง บประมาณ) - โครงการจะตองมีความคุมคา ผลลัพธ หรือประโยชนของโครงการท่ี คาดวาจะไดรบั ทง้ั ทางดานเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม อาทิ จาํ นวนประชากร จาํ นวน เกษตรกร พื้นท่ีเพาะปลกู รายได ฯลฯ ในการขับเคลื่อนการบรหิ ารงานจังหวดั แบบบูรณาการ จาํ เปน จะตองมีการวางโครงสราง และกลไกใหสามารถรองรับการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ และเปนการเปดโอกาสใหเกิดกระบวนการมี สวนรวมจากภาคีการพัฒนาตางๆ ในการกําหนดทิศทางการพัฒนาจังหวัดรวมกัน ทั้งนี้ กระทรวง มหาดไทยมีแนวทางในการบรหิ ารงานจังหวัด โดยอาศยั การทํางานผานคณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) ภายใตแนวคิดการบริหารงานแบบกลุมภารกิจเพ่ือเชื่อมโยงการทํางานใน เชิงพืน้ ท่ี (Area – Based Management) ตามแนวคดิ AFP (Area – Function – Participation) อันจะนํา มาสูการพัฒนาและแกไขปญหาไดอยางตรงตามความตองการ สภาพปญหา และศักยภาพอยางมี ประสิทธภิ าพ 3.2 โครงสรา งและกลไกการบริหารจังหวดั และกลุม จงั หวดั พระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ซง่ึ ไดก ําหนดกลไกสนับสนุนการดาํ เนินงานของจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ และการกําหนดหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการในการจัดทําแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติราชการ ประจําปของจังหวัดและกลุมจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2550 แกไขเพม่ิ เตมิ พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 ท่กี ําหนดให จังหวดั และกลุมจังหวดั สามารถยน่ื คําขอจัดตงั้ งบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัดได โดยใหคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เปนองคกรดําเนินงานในระดับจังหวัด และใหมีคณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) เปนองคกรดําเนินงานในระดับ กลมุ จงั หวัด 1) การบริหารงานกลมุ จังหวัด: คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) เปนองคกรหลักในการบรหิ ารงานกลุมจังหวัด โดยมีผูวาราชการจังหวัดที่มศี ูนยป ฏบิ ัติการของ กลุมจังหวัดทําหนาที่หัวหนากลุมจังหวัด เวนแต ก.น.จ. จะกําหนดเปนอยางอ่ืน โดยคณะกรรมการ บรหิ ารงานกลุมจังหวดั แบบบรู ณาการมหี นาท่ี ดังนี้ (1) วางแนวทางปฏิบัติและอํานวยการใหการบริหารงานแบบบูรณาการในกลุม จังหวัดเปนไปตามหลกั การ นโยบาย และระบบตามที่ ก.น.จ. กาํ หนด สํานักพฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจังหวัด สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู ้นื ฐานสําหรับการจดั ทาํ แผนพฒั นาจังหวัดและกลุมจงั หวัด 34 (2) จดั ทาํ แผนพัฒนากลมุ จงั หวดั เสนอตอ ทป่ี ระชมุ ตามมาตรา 19 ของ พ.ร.ฎ. วา ดว ยการบริหารงานจงั หวดั และกลุมจงั หวดั แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 เพอ่ื รบั ฟงความคดิ เห็น (3) สงเสริม ประสานความรวมมอื การพัฒนาระหวางภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาค ธุรกิจเอกชน และแกไขปญหาภายในกลุมจังหวัด และระหวางกลุมจังหวัด เพ่ือใหการพัฒนาเปนไป ตามแผนพฒั นากลุมจังหวัดอยา งยง่ั ยนื (4) วิเคราะห บูรณาการ และใหความเห็นชอบรายละเอียดการปฏิบัติการตาม แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปของกลมุ จังหวัด และคําของบประมาณของกลุม จังหวัดกอ นนําเสนอตอ ก.น.จ. (5) กํากับ ใหคําแนะนํา ติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผนพัฒนากลุม จงั หวดั และแผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปข องกลุมจังหวัด และรายงาน ก.น.จ. (6) แตง ตง้ั คณะอนุกรรมการหรอื คณะทาํ งานเพ่อื ปฏิบัตหิ นา ทตี่ างๆ ตามท่ีมอบหมาย (7) ปฏิบตั ิหนา ที่อ่นื ตามท่ี ก.น.จ. หรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย องคประกอบ (๑) หัวหนากลมุ จงั หวดั ประธานกรรมการ (๒) ผวู า ราชการจงั หวดั ในกลุม จังหวัดทุกจังหวดั รองประธานกรรมการ (๓) ผแู ทนหวั หนาสวนราชการประจาํ จงั หวดั ในกลุม จังหวัด กรรมการ จังหวดั ละไมเ กนิ สองคนทผ่ี ูวา ราชการจงั หวัดแตงต้งั (๔) นายกองคก ารบรหิ ารสวนจังหวดั ในกลมุ จังหวดั ทุกจงั หวัด กรรมการ (๕) นายกเทศมนตรีในกลุม จงั หวดั จงั หวัดละหน่ึงคน กรรมการ (๖) นายกองคก ารบรหิ ารสวนตําบลในกลุม จงั หวัดจงั หวดั ละหน่งึ คน กรรมการ (๗) ผแู ทนภาคประชาสงั คม กรรมการ (๘) ผแู ทนภาคธุรกิจเอกชน กรรมการ เพ่ือสนับสนนุ ตอ การเพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารงานจังหวัดแบบบูรณาการ และ เพอื่ ตอบสนองในการนาํ นโยบายการบรหิ ารงานแบบบูรณาการโดยประชาชนเปนศนู ยกลางไปสูการ ปฏบิ ัตใิ หบ รรลเุ ปาหมายและตัวชวี้ ัดท่กี าํ หนด จึงมีการจดั โครงสรางการบรหิ ารงานจังหวัด ดังนี้ 2) การบริหารงานจังหวัด ใหค ณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เปน องคก รหลักในการบริหารงานจังหวัดซ่ึงมีอํานาจตามพระราชกฤษฎีกาฯ ท่ีกําหนดใหมีภารกิจหนาท่ี เปนองคกรในการบริหารงาน การพัฒนา และการแกไขปญหาของจังหวัดรวมกับภาคีและองคกรท่ี เก่ียวของ โดย ก.บ.จ. จะมีผูวาราชการจังหวัดเปนประธานคณะกรรมการและมีคณะกรรมการ ประกอบดวยผูแทนจากภาคสวนตางๆ ไดแก ภาคราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาชน องคก ารปกครอง สวนทองถ่ิน และภูมิปญญาทองถ่ินเพ่ือรวมกันกําหนดทิศทางการพัฒนาจังหวัดรวมกัน โดย ก.บ.จ. มหี นาที่ดังน้ี (1) วางแนวทางปฏิบัติและอํานวยการใหการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัด เปนไปตามหลกั การ นโยบาย และระบบตามที่ ก.น.จ. กาํ หนด (2) จัดทําแผนพัฒนาจังหวัดเสนอตอท่ีประชุมตามมาตรา 19 ของ พ.ร.ฎ. วาดว ยการบรหิ ารงานจงั หวัดและกลมุ จังหวดั แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 เพ่ือรับฟง ความคิดเหน็ สาํ นกั พฒั นาและสง เสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพนื้ ฐานสําหรบั การจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวดั และกลุมจงั หวดั 35 (3) สง เสริม ประสานความรว มมือการพัฒนาระหวา งภาครัฐ ภาคประชาสังคม และ ภาคธรุ กจิ เอกชน เพื่อสรางบรรยากาศใหเอื้ออํานวยตอการลงทุน และชกั ชวนภาคธุรกิจเอกชนมาลงทุน ในจงั หวัด และใหม กี ารพฒั นาใหเปนไปตามแผนพฒั นาจังหวดั อยางยัง่ ยนื (4) จดั ทาํ บนั ทกึ ความเขาใจกบั ฝายตา งๆ ท่เี ก่ยี วขอ งกับการพฒั นาที่ใหค วามรวมมือ และสนบั สนุนการดาํ เนินการตามแผนพัฒนาจงั หวดั และแผนปฏิบตั ริ าชการประจาํ ปข องจังหวัด (5) วิเคราะห บูรณาการ และจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัด และคําขอ งบประมาณจังหวัด กอนนําเสนอตอ ก.น.จ. (6) กํากับ ใหคําแนะนํา ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนา จังหวัดและแผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปข องจังหวดั และรายงาน ก.น.จ. (7) แตงตัง้ คณะอนกุ รรมการหรอื คณะทาํ งานเพื่อปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ างๆ ตามท่มี อบหมาย (8) ปฏบิ ตั หิ นา ทอ่ี ื่นตามที่ ก.น.จ. หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย องคป ระกอบ (๑) ผวู า ราชการจังหวดั ประธานกรรมการ (๒) รองผูว า ราชการจงั หวดั ทกุ คน กรรมการ (๓) ผแู ทนหัวหนาสวนราชการท่มี ีสาํ นกั งานอยใู นจังหวดั กรรมการ ไมวา จะมฐี านะเปน ราชการบรหิ าร สว นภูมภิ าคหรอื ราชการบริหารสว นกลาง (๔) ผแู ทนรฐั วิสาหกจิ ทีด่ ําเนนิ กิจการอยใู นจังหวดั กรรมการ (๕) ผแู ทนหวั หนาหนวยงานอ่ืนของรัฐท่มี ีสํานักงานอยใู นจังหวดั กรรมการ (๖) ผแู ทนผูบริหารองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ กรรมการ (๗) ผูแทนภาคประชาสังคม กรรมการ (๘) ประธานกรรมการหอการคา จังหวัด กรรมการ (9) ประธานสภาอตุ สาหกรรมจงั หวัด กรรมการ (9) หัวหนาสาํ นักงานจังหวดั กรรมการและเลขานกุ าร 3) จัดใหมีระบบการบริหารงานจังหวดั สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยไดแจง แนวทางการจัดกลุมภารกิจ (Cluster) ใหเหมาะสมกับบรบิ ทของพ้ืนที่ โดยแบงออกเปน 3 รูปแบบ ตามขนาดจังหวัด ศักยภาพ และความซับซอนของปญ หาของจงั หวัด ดงั น้ี รูปแบบท่ี 1 : แยกกลุมภารกิจออกเปน 4 ดาน ไดแก (1) ม่ันคง (2) เศรษฐกิจ (3) สังคม และ (4) กิจการพิเศษ ซ่ึงเหมาะสมกับจังหวัดขนาดใหญที่มีความซับซอนของภารกิจ และ สภาพปญ หาสงู สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวดั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้นื ฐานสําหรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวดั และกลุมจงั หวดั 36 รูปแบบที่ 2 : แยกกลุมภารกิจออกเปน 3 ดา น ไดแก (1) มั่นคง (2) เศรษฐกิจ และ (3) สังคม ซึ่งเหมาะสมกับจังหวดั ขนาดกลางท่มี ีความซับซอ นของภารกจิ และสภาพปญหาไมสงู มาก สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพ ้นื ฐานสําหรับการจัดทําแผนพฒั นาจงั หวดั และกลุม จงั หวดั 37 รูปแบบที่ 3 : แยกกลมุ ภารกิจออกเปน 2 ดาน ไดแก (1) ม่ันคงและการบรหิ าร ทรัพยากรธรรมชาติ และ (2) เศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงเหมาะสมกับจังหวัดขนาดเล็กท่ีมีความ ซบั ซอนของภารกิจ และสภาพปญ หานอ ย โดยกลุมภารกิจตางๆ จะประกอบดวย คณะกรรมการอํานวยการฯ ซ่งึ มีรองผูวาราชการ จังหวัดเปนประธานคณะกรรมการอํานวยการและมีคณะกรรมการ ประกอบดวย หัวหนาสวนราชการ และภาคเอกชนที่เกี่ยวของ และมีคณะทํางานฝายปฏิบัติการแตละกลุมภารกิจมีหนาท่ีปฏิบัติงาน ชวยเหลือและเปนฝา ยเลขานุการคณะกรรมการอํานวยการกลุมภารกิจ ท้ังนี้ การแบงกลุมภารกิจ อาจยืดหยุนไดตามความเหมาะสมและบริบทของพืน้ ที่ 4) การบริหารจัดการระดับอําเภอ กําหนดใหอําเภอจัดตั้งคณะกรรมการ บริหารงานอําเภอแบบบูรณาการ มีหนาที่บริหารจัดการภายในอําเภอ โดยใหนําการจัดระบบ บริหารงานในระดับจังหวัดมาพิจารณาดําเนินการ มีการบริหารงานระดับตําบลโดย ชุดปฏิบัติการ ประจําตําบลทาํ หนาทีเ่ ปนหนวยประสานงานการดาํ เนินงานในระดับตาํ บลเพื่อสนับสนุนและชว ยเหลือ อําเภอในการติดตามงานและประสานภารกิจท่ีเปนนโยบายสําคัญ อําเภออาจพิจารณาจัดตั้งชุด ปฏิบัติการประจําตําบล (1 ชดุ ปฏิบัติการ 1 ตําบล) ใหมีหนาที่ความรับผิดชอบประจําตําบลที่ไดร ับ มอบหมาย โดยหัวหนาชุดปฏิบัติการตําบลอาจแตงต้ังจากเจาหนาที่ของสวนราชการหนวยงาน และ องคกรปกครองสวนทองถิ่นพ้ืนที่ตําบลนั้นๆ รวมเปนคณะทํางานในชุดปฏิบัติการประจําตําบลซึ่ง นอกเหนือจากงานและภารกิจที่มอบหมายแลว ยังจะชวยเหลือสนับสนุนดานการขาว การปฏิบัติการ จติ วิทยา เขา ถงึ ประชาชน สรางความใกลช ดิ และความรว มมือระหวา งภาครฐั กบั ชมุ ชนและประชาชน สํานกั พฒั นาและสงเสรมิ การบริหารราชการจังหวดั สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้นื ฐานสําหรบั การจัดทําแผนพฒั นาจังหวดั และกลุมจงั หวดั 38 3.3 กระบวนการ และข้นั ตอนการจดั ทาํ แผนพัฒนาจังหวดั และกลุมจังหวัด 3.3.1 แนวคิดหลักในการจดั ทาํ แผนพัฒนาจังหวดั และกลุมจงั หวัด 1) ยึดแนวคิดหลักในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการรวมกันผาน คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด/อําเภอ และกลุมภารกิจ คือ ราชการบริหารสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยสรางกระบวนการ การมีสวนรวมระหวางภาคีในการบริหารงานจังหวัดและใชหลักการบริหารเชิงกลยุทธ (Strategic Management) เปนเคร่ืองมือในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาจังหวัดใหมีความเขมแข็งและมี ศักยภาพในการแขงขัน สามารถปองกันและแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนไดอยาง มปี ระสทิ ธภิ าพและขบั เคลือ่ นการพฒั นาจังหวดั ใหเกดิ การพฒั นาที่ยง่ั ยืน 2) กําหนดลักษณะงานใหชัดเจน เพ่ือใหมีประสิทธิภาพและบังเกิดผลสัมฤทธิ์ ของงาน โดยแบงลักษณะงานของจังหวัดออกเปน 3 สวน คือ งานประจํา งานนโยบายเรงดวนของ รัฐบาล และงานยทุ ธศาสตรก ลุมจงั หวดั และยุทธศาสตรจังหวัด 3) ยึดหลกั การการบรหิ ารงานแบบ AFP โดยการบริหารงานจังหวัดจะใหความสําคัญ ตอการพัฒนาในเชิงพื้นที่ (Area) ซ่ึงมีสภาพปญหาความเดือดรอนและความตองการที่แตกตางกันตาม สภาพปญหาและความตองการของพนื้ ที่นั้น ๆ และกําหนดพันธกิจหนาที่ (Function) ของรูปแบบของ การจัดทาํ แผนงาน โครงการและงบประมาณ โดยในการดําเนินงานจะมงุ เนนรูปแบบการทํางานแบบการ มีสวนรวม (Participation) ระหวางภาคีตางๆ ทั้งภาคประชาชน ภาคเอกชนและหนวยงานภาครัฐ ในการเขาไปรวมกันแกไ ขปญ หาและพัฒนาพน้ื ท่ี 3.3.2 กระบวนการจัดทํา และเสนอแผนพัฒนาจงั หวัด และกลุมจังหวัด ในปจ จุบันมีการปรับปรุงกระบวนการในจัดทาํ และเสนอแผนพัฒนาจังหวัด และ กลุม จังหวัดเพื่อใหส อดคลองกับพระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบ บูรณาการ พ.ศ. 2551 และระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารงานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ พ.ศ. 2560 โดยมีรายละเอียด ดังน้ี 1) ก.บ.ภ. กําหนดกรอบ นโยบาย ขั้นตอน และวิธีการการจัดทําแผนพัฒนาและ งบประมาณของจังหวัด/กลมุ จังหวัด และแจง ใหจ ังหวดั และกลุม จังหวดั ทราบ 2) จังหวัดเร่ิมดําเนินการรวบรวมขอมลู ศักยภาพของพ้ืนที่ และสํารวจความตองการ ของประชาชนผานกลไกการประสานแผนในระดบั พื้นที่จากแผนหมูบาน/ชุมชน แผนชุมชนระดับตําบล แผนพัฒนาทองถิ่น แผนพัฒนาและอําเภอ โดยจัดสงขอมูลใหกลุมจังหวัดนําไปใชประกอบการจัดทํา แผนกลุมจังหวัด (มาตรา 18 ตาม พ.ร.ฎ.วาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบ บูรณาการ พ.ศ. 2551) 3) คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) เร่ิมประชุมเพื่อ จดั ทํารา งแผนพัฒนาของกลมุ จงั หวดั และคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เร่ิมประชุมเพ่ือจัดทาํ รา งแผนพฒั นาของกลุมจงั หวัด สํานกั พฒั นาและสง เสริมการบรหิ ารราชการจังหวัด สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ ้นื ฐานสาํ หรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ จงั หวัด 39 4) คณะกรรมการบรหิ ารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการนําสงแผนพัฒนากลุมจังหวัด (พรอ มบัญชรี ายการโครงการท่ีตองการใหสนับสนุน) ใหคณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อใชป ระกอบในการจดั ทาํ รางแผนพฒั นาจังหวัด 5) แตละจังหวัดประชุมหารือกับทุกภาคสวนในจังหวัดเพ่ือพิจารณาแผนพัฒนา กลุมจังหวัด และแผนพัฒนาจังหวัดในคราวเดียวกัน หรือแยกกันก็ได (มาตรา 19 ตาม พ.ร.ฎ. วาดว ยการบรหิ ารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551) 6) คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการดําเนินการจัดสงความเห็น ของท่ีประชุมเก่ียวกับแผนพัฒนากลุมจังหวัดใหคณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ ทราบ และปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดใหสมบูรณและนําสงคณะอนุกรรมการบูรณาการนโยบาย พัฒนาภาค (อ.ก.บ.ภ.) 7) คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวดั แบบบูรณาการปรับปรงุ แผนพฒั นากลุมจงั หวัด ใหส มบรู ณ และสงคณะอนุกรรมการบรู ณาการนโยบายพัฒนาภาค 8) คณะอนุกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาคกลัน่ กรองและเสนอความเห็น เก่ียวกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุมจังหวัดเสนองคณะกรรมการบูรณาการนโยบาย พัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) เพือ่ พจิ ารณาอนมุ ัตใิ หความเห็นชอบ 9) คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาคพิจารณาอนุมัติใหความเห็นชอบ แผนพฒั นากลมุ จังหวดั และแผนพัฒนาจังหวัด และนาํ เรยี นคณะรฐั มนตรีเพอ่ื โปรดทราบ กระบวนการจดั ทาํ แผนพัฒนาจงั หวดั และกลุมจังหวัด ก.บ.ภ. กลมุ จงั หวัด จงั หวัด 1 2 จังหวดั รวบรวมขอมลู ศกั ยภาพ ก.บ.ภ.กําหนดกรอบ นโยบาย ขน้ั ตอน ของจงั หวัด และสํารวจความตองการ วธิ กี าร แผนและงบประมาณของ ของประชาชนในจงั หวดั จงั หวดั / กลุมจงั หวดั 4 ขอ มลู ศกั ยภาพและความตอ งการของจงั หวดั ประกอบการ 3 ก.บ.จ. วิเคราะห เพอ่ื กําหนด จัดทําแผนพฒั นากลมุ จังหวดั ศกั ยภาพและความตองการของ ก.บ.ก. จดั ทาํ ราง แผนพฒั นากลุม จงั หวดั จังหวดั จัดสงรางแผนพฒั นากลุมจังหวดั ประกอบการจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั 5 ก.บ.จ. จดั ทํารา ง แผนพฒั นาจังหวดั สงรางแผนกลมุ จงั หวัดใหจ ังหวดั ตา ง ๆ ในกลุมจังหวัดนําไปประชุมหารอื 6 รางแผนพฒั นาจงั หวดั รว มกบั ภาคสว นตา ง ๆ ในจังหวัด 7.1 จังหวดั จดั ประชมุ ปรกึ ษา หารือกบั ทกุ ภาคสว นในจงั หวดั ก.บ.ก. ปรบั ปรุงแผนพัฒนา สง ขอคดิ เห็น/ขอ เสนอแนะที่เกีย่ วกบั แผนพฒั นากลมุ จังหวัด กลมุ จงั หวดั ใหสมบรู ณ ขอคดิ เหน็ /ขอ เสนอแนะ ซงึ่ ไดจากการประชมุ หารือใหก ลุมจังหวดั เพอื่ นําไปปรบั ปรงุ 7.2 เกย่ี วกบั แผนพฒั นาจงั หวดั ก.บ.จ. ปรบั ปรงุ แผน พฒั นา 8 อ.ก.บ.ภ. กลนั่ กรองและเสนอความเห็น เกย่ี วกบั แผนพฒั นาจังหวดั และแผนพฒั นากลุม จงั หวัดใหสมบรู ณ จังหวดั เสนอ ก.บ.ภ. เพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ตั ใิ หค วาม แผนพฒั นากลมุ จังหวัด เห็นชอบ และเสนอ ครม. ทราบ แผนพฒั นาจังหวดั 9 ครม. แผนภาพที่ 7: แสดงขั้นตอนและวธิ ีการจัดทําแผนพฒั นาจังหวัดและกลุมจังหวดั สํานักพฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจงั หวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้ืนฐานสําหรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวัดและกลมุ จงั หวัด 40 3.3.3 ขั้นตอนการวางแผน การจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัด นอกจากจะเปนกระบวนการเช่ือมโยง การทํางานและภารกิจของทุกภาคสวนในระดับพื้นที่ (จังหวัดและกลุมจังหวัด) แลวนั้น การเตรียมการ สําหรับการวางแผนทุกระดับยังจะกอใหเกิดประโยชนตอการปฏิบัติงาน ปองกันมิใหเกิดปญหาและ ความผิดพลาด หรือลดความเส่ียงที่อาจจะเกิดข้ึนในการปฏบิ ัติงานในอนาคต ทาํ ใหองคกรมีกรอบหรือ ทิศทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เปนระบบ และเอื้อตอการปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จไดอยาง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมท้งั ชว ยใหเกดิ การประหยัดทรัพยากรทางการบริหาร เชน คน เงิน วัสดุ อปุ กรณ เวลา ฯลฯ กระบวนการจัดทําแผนพัฒนาดังกลาว จังหวัดจึงจําเปนจะตองตอบคําถามท่ี สําคญั 4 คาํ ถาม คอื 1) “ปจจุบันเราอยู ณ จุดไหน” (Where are we now?) หรือเรยี กวา การวิเคราะห ปจจัยในการพัฒนา หมายถึง การวิเคราะหปจจัยและสภาวะตางๆ ที่เกี่ยวของกับจังหวัด/กลุม จังหวัด เพ่ือที่จะไดมีความรูและความเขาใจเก่ียวกับปจจัยตางๆ รวมทั้งสถานะของตนเองไดอยาง ชัดเจนย่ิงข้ึน การวิเคราะหปจจัยในการพัฒนาจะบอกใหทราบวาปจจัยหรือสภาวะแวดลอม ภายนอกมีลักษณะอยางไร มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะใด และกอใหเกิดโอกาสและขอจํากัด อยางไรบาง นอกจากนี้การวิเคราะหเชิงกลยุทธจะชวยใหทราบถึงทรัพยากร (Resources) และ ความสามารถ (Capabilities) ตางๆ ที่มีอยูของจังหวัด/กลุมจังหวัดวาเปนจุดแข็งหรือจุดออนอยางไร และจะเอ้ือตอการบรรลุความไดเปรียบทางการแขงขันไดอยางไร โดยสามารถใชเครื่องมือตางๆ ในการวเิ คราะห เชน SWOT Benchmarking PESTEL 2) “ในอนาคตเราตองการไปสูจุดไหน” (Where do we want to be?) หรอื เรียกวา การกําหนดทิศทางขององคกร ไดแก การกําหนดเปาหมายการพัฒนา (Development Goals) ภารกิจ (Mission) และประเด็นการพัฒนาของจังหวัด/กลุมจังหวัด ซึ่งจะเปนการบงชี้วาจังหวัด/ กลุมจังหวัดจะมุงไปในทิศทางใด หรือลักษณะการดําเนินงานของจังหวัด/กลุมจังหวัด นอกจากน้ี การกาํ หนดทิศทางขององคกรยงั มสี วนชวยในการแปลงเปาหมายการพัฒนาหรือภารกิจใหกลายมา เปนวัตถุประสงค ในการดาํ เนนิ งานทีม่ ลี ักษณะทชี่ ัดเจนข้ึน 3) “เราจะทําอยางไรเพ่ือใหบรรลุผลตามขอ 2” (How do we get there?) หรือ การกําหนดประเด็นการพัฒนา การนําขอมูลและความรูตางๆ ท่ีไดรับจากการกําหนดทิศทางของ องคกร และการวิเคราะหปจจัยภายนอกและภายในองคกรมาจัดทําเปนแผนพัฒนา (Comprehensive Plan) รวมท้ังระบบการประเมินและคัดเลือกวาแนวทางการพัฒนาใดที่มีความ เหมาะสมกับจังหวัด/กลุมจังหวัดมากท่ีสุด ในการจัดทําแนวทางการพฒั นาน้ันพึงระลึกเสมอวาการจัด ทําแนวทางการพัฒนาเปนการกําหนดแนวทาง วิธีการ และกิจกรรมตางๆ ขององคกร เพื่อชวยให สามารถบรรลุถึงภารกิจและวัตถุประสงคที่ไดกําหนดไว โดยนําเอาการเปลี่ยนแปลงของปจจัยทั้ง ภายนอกและภายในองคก รมาพจิ ารณาประกอบ สาํ นกั พฒั นาและสงเสริมการบริหารราชการจงั หวัด สาํ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพื้นฐานสําหรบั การจดั ทําแผนพฒั นาจงั หวัดและกลุมจงั หวดั 41 4) “เราจะตองทําหรือปรับเปล่ยี นอะไรบางเพื่อไปถึงจุดนัน้ ” (What do we have to do or change in order to get there?) ซึ่งหมายถึง การนําเปา หมายการพฒั นาไปสูการปฏิบตั ิ เปนข้ันตอนทีม่ ีความสําคัญ เน่ืองจากหากแมจะมีการวิเคราะหหรือวางแผนการพัฒนาไวดเี พียงใด แตถาการปฏิบัติตามเปาหมายขององคกรไมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ความพยายามในการวเิ คราะห หรอื วางแผนกจ็ ะไมกอใหเกิดประโยชนใดๆ ดังนั้น เมอื่ จังหวัด/กลุมจังหวัดไดกําหนดทิศทางขององคกร วิเคราะหปจจัยดานตางๆ และจัดทําเปาหมายการพัฒนาแลว จะตองนําเอาเปาหมายการพัฒนาท่ีได วางแผนจดั ทําและคดั เลอื กไวม าดาํ เนนิ การประยกุ ตป ฏิบัติเพอื่ ใหเ กดิ ผลลัพธตามวตั ถุประสงคท ี่ไดต ั้งไว ในปจจุบันแผนพัฒนาจังหวัด/กลุมจังหวัดถูกกําหนดใหมีลักษณะเปนแผนรวม (Comprehensive Plan) กลา วคือ เปนแผนท่ที ําขนึ้ เพ่ือสนองความตองการในระยะยาว โดยจะตอง ครอบคลุมภารกิจทุกมิติของการพัฒนาจังหวัด/กลุมจังหวัด นอกจากนี้ ยังจะตองประกอบไปดวย แผนปฏิบัติการ (Operational Plan) ซึ่งเปนแผนท่ีกําหนดข้ึนมาใชสําหรบั แตละกิจกรรมโดยเฉพาะ เพ่ือใหบรรลุเปาหมายของแตละกิจกรรม กระบวนการจัดทําแผนพัฒนาประกอบไปดวยขั้นตอน ดงั ตอ ไปนี้ ขน้ั ตอนที่ 1 การสรางความเขา ใจ และขอ ตกลงรว มกัน การสรางความเขาใจ และขอตกลงรวมกันของผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมดของจังหวัด และกลุมจังหวัด กอนจะเร่ิมกระบวนการจัดทําแผนพัฒนา ผูวาราชการจังหวัด/หัวหนากลุมจังหวัด ในฐานะกลไกหลักในการขับเคลื่อน และบูรณาการแผนพัฒนาของจังหวดั /กลุมจังหวัด ตองสรางความ เขาใจที่ตรงกันของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ท้ังในประเด็นรูปแบบการดําเนินการ การมีสวนรวม และ ผูรับผิดชอบหลัก ผานการประชุมหารือ หรือการแจงเวียนแนวทางการจัดทําแผนพัฒนา โดยทุกภาค สวนตองมีความเห็นที่ตรงกันซ่ึงการดึงผูมีสวนไดสวนเสียภายนอกเขามารวมรับฟงตั้งแตตนจะชวย ผลักดันใหก ารนาํ แผนไปสกู ารปฏิบัติประสบความสาํ เร็จ และบรรลุวตั ถุประสงค ขน้ั ตอนที่ 2 การสํารวจ ทบทวน และวเิ คราะหแนวโนม ในอนาคต ขั้นตอนนี้ใหความสําคัญกับการวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยภายใน (Internal Factors) และปจจัยภายนอก หรือส่ิงแวดลอม (External Factors) ของจังหวัด/กลุมจังหวัด เพ่ือใหเห็นถึงศักยภาพ และปญหาที่จังหวัด/กลุมจังหวัดเผชิญซึ่งจะนาํ ไปสูการกาํ หนดประเด็น การพัฒนาทส่ี อดคลองกับศกั ยภาพ ปญหา และโอกาสของพืน้ ที โดยมขี น้ั ตอน ดงั นี้ - สาํ รวจ และประมวลขอ มลู - ขอมูลสําคัญ ไดแก สภาพและแนวโนมในอนาคต ดานนโยบาย เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ ม ในระดบั ทองถิน่ ชมุ ชน ระดับชาติและนานาชาติ - ประเมินผลงานความสําเร็จและบทเรียนของหนวยงาน สภาพพื้นท่ี กลมุ เปา หมาย ความตอ งการ สํานักพฒั นาและสงเสริมการบริหารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

ความรพู ้นื ฐานสาํ หรบั การจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวัดและกลุมจงั หวดั 42 เทคนิคสาํ คัญ 1) การวิเคราะหปจจัยภายใน/ภายนอก: SWOT Analysis และ TOWS Matrix เปน เทคนคิ พื้นฐานที่จะชวยใหจงั หวดั /กลุมจังหวัด เขาใจถึงศกั ยภาพ สภาพปญหาของพ้ืนท่ี โอกาส และภัยคกุ คามของจังหวัด/กลุมจังหวัดเพื่อใหสามารถกําหนดประเด็นยุทธศาสตรไดตรงกับความ ตองการของพื้นที่ 2) การวิเคราะหสภาพแวดลอมในการกําหนดนโยบาย (Policy Landscape): PESTEL เปนเทคนิคสามารถนํามาปรบั ใชควบคูกับเทคนิค SWOT Analysis ในการ วิเคราะหสิ่งแวดลอมภายนอกไดชัดเจนมากขึ้น โดยสามารถวิเคราะหใน 6 มิติ ไดแก มิติการเมือง (P: political) มติ ิเศรษฐกิจ (E: economic) มิติสงั คม (S: social) มิตเิ ทคโนโลยี (T: technological) มิติ ส่ิงแวดลอม (E: environmental) และมิติกฎหมาย (L: legal) ซึ่งจะชวยใหเขาใจแนวโนมของทองถ่ิน/ ชุมชน และประเทศ ตลอดจนบรบิ ทของนานาชาติที่จงั หวัด/กลมุ จังหวัดจะตองเผชญิ ในอนาคต 3) การเปรียบเทียบ (Benchmarking) คือ กระบวนการวัด และ เปรียบเทียบผลติ ภัณฑ บรกิ ารและวธิ ปี ฏิบัติ กบั องคก รที่สามารถทาํ ไดด กี วา เพื่อนํามาเปนแนวทาง ในการปรับปรุงองคกรหรือจังหวัดเพ่ือมุงสูความเปนเลิศ โดยอาจเปรียบเทียบจังหวัดกับจังหวัด หรือจังหวัดกับเมืองตนแบบในตางประเทศซ่ึงมีลักษณะภูมิศาสตรและโครงสรางเศรษฐกิจหรือ สังคมคลายเคียงกับทิศทางการพัฒนาท่จี ังหวัด และกลุมจังหวดั กําหนดไว ซ่ึงทายทีส่ ุดแลวจะชวย ใหเ หน็ ไดวาสถานะของจังหวัด หรอื กลุม จงั หวดั เปน อยา งไรกันแน ประเด็นใดที่เปนจุดเดนของพื้นท่ี และประเดน็ อะไรท่ียงั คงเปนจุดออ นของพ้ืนท่ี ขน้ั ตอนที่ 3 การสรางเปา หมายการพฒั นาของแผน เปาหมายการพัฒนามีผลกระทบโดยตรงตอการขับเคลื่อนแผนพัฒนา เนื่องจาก เปาหมายการพัฒนาจะเปนกรอบหลักการกําหนดกระบวนการ และประเดน็ การพัฒนาท่เี ปนไปได เพ่ือใหสามารถตอบสนองตอ เปาหมายการพฒั นาทก่ี ําหนดไว โดย - นาํ ขอมูลที่ประมวลและวิเคราะหในข้ันตอนท่ี 1 มาสรา งใหเห็นภาพแนวโนมใน อนาคต โดยมองหาโอกาส อุปสรรค ทางเลือกสําหรบั หนว ยงาน - มองอยางเลือกสรรถึงจุดมุงหวังท่ีนาจะเปนไปได แนวโนม เงื่อนไขท่ีมี ผลกระทบตอ การทํางานในอนาคต ความเปน จริง ข้ันตอนท่ี 4 การวิเคราะหพ นั ธกจิ ของหนวยงาน - วิเคราะหพันธกิจเพือ่ ตดั สินใจวา หนว ยงานจะอยูตรงสวนใดและอยา งไร - เลือกและตัดสินใจเพ่ือเปนขอมูลผูกพันท่ีจะใหหนวยงานนําเปาหมายการพัฒนาสู - สรา งแนวทางในการทาํ งาน หลกั การ ภาระผูกพัน พันธะขอ ตกลงทีห่ นว ยงานจะถอื ปฏิบตั ิ สํานกั พฒั นาและสง เสรมิ การบริหารราชการจงั หวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้นื ฐานสาํ หรับการจัดทาํ แผนพฒั นาจังหวัดและกลุมจงั หวดั 43 ขน้ั ตอนท่ี 5 การสํารวจประเด็นทางเลือก - ระดมความคิดสรางสรรคเพอื่ หาแนวทางรวมกนั ในข้ันตอนน้ี มุงเนนการเปลี่ยนเปาหมายการพัฒนาไปสูชุดของประเด็นการพัฒนา ของจังหวดั /กลุมจังหวดั โดยผูมีสวนไดสวนเสียตองพยายามระบุประเด็นการพัฒนาหรือประเด็นปญหา ภายใตผลการวิเคราะหสภาพแวดลอม และศักยภาพขององคกรเพื่อจัดทําทางเลือกท่ีเปนไปไดในทาง ปฏิบัติ ตลอดจนการสํารวจตัวช้ีวัด (KPIs) ท่ีจะนํามาใชในแตละทางเลือกโดยตองเชื่อมโยงเปาประสงค การดําเนินการปฏิบัติและผูรับผิดชอบ ซึ่งจะเปนประโยชนในข้ันตอนการคดั เลอื กประเด็นการพัฒนาที่ เหมาะสมกับศักยภาพ และบริบทของพื้นท่ี ตลอดจนมีความเปนไปไดในการดําเนินการมากที่สุดของ จงั หวัด/กลุมจงั หวดั ข้ันตอนที่ 6 การวิเคราะหเกณฑขอพิจารณาและขอตกลงเบื้องตนสําหรับ การตดั สินใจกล่ันกรองทางเลอื ก - แยกแยะกฎเกณฑเ พือ่ ใชเ ปน เกณฑใ นการประเมนิ - จดั ลําดบั และใหน ํา้ หนกั แกเกณฑตามทหี่ นวยงานเห็นวาเหมาะสม ข้นั ตอนท่ี 7 การประเมิน และคัดเลอื กประเดน็ การพฒั นา ข้ันตอนนี้ มีวัตถุประสงคหลักในการคัดเลือกประเด็นการพัฒนาที่เหมาะสมกับ ศักยภาพ และบริบทของพื้นท่ี ตลอดจนมีความเปนไปไดในการดําเนินการมากท่ีสุดของจังหวัด/ กลมุ จังหวดั ขน้ั ตอนที่ 8 การสรา งความเขา ใจและปรบั ปรงุ ประเดน็ การพฒั นา - ช้ีแจง ทําความเขาใจโนมนาวชักจูงใหผูเก่ียวของในหนวยงานเห็นคลอยตาม เพอื่ จะไดยดึ ถอื สาํ หรบั การทาํ งานตอ ไป ขน้ั ตอนที่ 9 การจัดลําดบั กอ นหลงั ของงานทที่ ํา /จัดลาํ ดับความสําคัญ ขน้ั ตอนที่ 10 การจัดทาํ เอกสารแผนพฒั นา - แยกแผนพัฒนา เปน สว นนาํ และสวนทเ่ี ปนรายละเอียดของแตล ะแผนงาน - สวนนาํ ไดแก เปา หมายการพัฒนา ขอตกลงเบอื้ งตน และชือ่ แผนงานทงั้ หมด - สวนรายละเอียดแตละแผนงาน ไดแก ชอื่ แผนงาน เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค ขน้ั ตอนที่ 11 การปฏบิ ตั ติ ามแผน (Implementation) ขน้ั ตอนท่ี 12 การประเมินผลและการปรับปรงุ (Evaluation and Review) สาํ นักพฒั นาและสง เสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรพู ้นื ฐานสาํ หรบั การจัดทําแผนพฒั นาจงั หวัดและกลมุ จงั หวดั 44 3.4 เทคนิค/เครื่องมอื ในการจัดทาํ แผนพัฒนาจังหวัด/กลุม จงั หวัด ในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด และกลุมจังหวัด ไมเพียงแตเขาใจถึงจุดแข็ง จดุ ออน โอกาส และภัยคกุ คาม (SWOT) เทานั้น ยังจําเปนจะตองพิจารณาถึงปจจัยตางๆ ที่อาจจะ กระทบตอการพัฒนาของจังหวัดได จึงตองวิเคราะหถึงปจจัยแวดลอมตางๆ ในการกําหนดนโยบาย แผนงาน และโครงการ เชน ปจจัยดานเศรษฐกจิ ของโลกและประเทศ ผลกระทบจากการเพ่ิมข้ึนของ ราคาเชื้อเพลิง ปญหาการเมืองและความขัดแยงทางความคิดของคนในสังคม ฯลฯ เปนตน เพอื่ นาํ มาประกอบการตัดสินใจวางแผน โดยอาจใชเครื่องมือทางการบริหารเขามาชวย เชน PESTEL (P = Political, E = Economic, S = Social, T = Technology, E = Environment, L= Legal) เปนตน โดยอาจจะพิจารณาในเชิงนโยบายประกอบการวางแผนพัฒนาจังหวัด/กลุมจังหวัด เชน ในเร่อื งดงั กลาวเปนเรือ่ งที่รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมสนับสนุน กจ็ ะชวยใหแผนงานโครงการท่ีจะกําหนด ข้นึ มโี อกาสไดรับการพจิ ารณาสนับสนุน และสามารถนําไปปฏิบตั ไิ ดตอ ไป เปนตน การดําเนินงานในสวนนี้ คือการวิเคราะหศักยภาพของพ้ืนที่ โดยใหความสําคัญกับ สองปจจัยหลัก ไดแก ความเช่ือมโยงและผลกระทบของนโยบายหรือยุทธศาสตรท่ีสําคัญซ่ึงเปรียบ เสมือนเปนการวิเคราะหถึงปจจัยภายนอก (External Factors) ท่ีสงผลกระทบตอ ศักยภาพ และทิศทาง การพัฒนาของพื้นท่ีในระดับกลุม ของจังหวัด และจังหวดั และการวิเคราะหประเด็นจากการวัดระดับ การพัฒนา (Benchmarking) ซึ่งเปรยี บเสมือนการวิเคราะหปจจัยภายใน (Internal Factors) ที่เกิดจาก ประเมินผลการดําเนินงานของพื้นที่ ซ่ึงทายที่สุดแลวผลการวิเคราะหปจจัยทั้งสองสวนจะถูกนาํ มาเปน ขอ มลู สาํ คญั ในการวเิ คราะหศักยภาพของจงั หวัด ผา นเครอื่ งมือ SWOT ตอ ไป โดยมีแนวทางสาํ คญั ดงั น้ี 3.4.1 PESTEL: การวิเคราะหสภาพแวดลอ มในการกําหนดนโยบาย การวิเคราะหนโยบาย และผลกระทบตอพ้ืนท่ี จะเปนการระบุประเด็นสําคัญจาก นโยบาย หรือยุทธศาสตรสาํ คัญ พรอมการวเิ คราะหผลกระทบเชิงบวก และเชงิ ลบท่ีมผี ลตอ การพัฒนา ของพื้นท่ีในระดับกลุมของจังหวัด และจังหวัด ทั้งน้ี เพ่ือใหการวิเคราะหนโยบายและยุทธศาสตรท่ี เก่ียวของ มีความครอบคลุมและสะทอนบริบทของพื้นท่ีมากท่ีสุด จึงไดกําหนดกรอบในการศึกษา ทบทวนนโยบายและยุทธศาสตรในหลากหลายระดับ ต้ังแตระดับทิศทางการพัฒนาโดยรวมของ ประเทศ (National Level) ระดับประเด็นสําคัญ (Agenda Level) และระดับพื้นที่ (Area Level) ซ่งึ อาจครอบคลุมนโยบายขับเคล่ือนสาํ คัญของรัฐบาลทีต่ องการผลักดันลงไปในพ้ืนท่ีจังหวัดตางๆ ดว ย โดยตัวแบบ PESTEL เปนเคร่ืองมือท่สี ามารถนํามาปรบั ใชในการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกไดมี ประสิทธิภาพ ครอบคลุมในทุกมิติซึ่งจะชวยใหจังหวัด และกลุมจังหวัดเขาใจภาพรวมไดกวางขวาง โดยตวั แบบ PESTEL ประกอบดวย  ปจจัยดานการเมือง (P - Politic Factor): การวิเคราะหปจจัยภายนอกในมิติ การเมืองซึ่งเปนการพิจารณาประเด็นตางๆ เชน เสถียรภาพทางการเมือง นโยบายของรัฐบาล นโยบาย การเงินการคลัง มาตรการภาษี ฯลฯ ที่อาจมีผลกระทบตอพ้ืนที่หรือกลุมธุรกิจ/อุตสาหกรรมหลักของ จงั หวดั /กลุมจงั หวดั สํานกั พฒั นาและสง เสริมการบริหารราชการจังหวัด สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

ความรูพ้นื ฐานสําหรบั การจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวัดและกลุมจงั หวัด 45  ปจ จัยดา นเศรษฐกจิ (E - Economic Factor): การวิเคราะหป จ จัยภายนอก ในมิติเศรษฐกิจซ่ึงเปนการพิจารณาประเด็นตางๆ เชน สภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน อัตราดอกเบี้ย อัตรา แลกเปล่ยี น อตั ราการจา งงาน/วางงาน ราคาตนทนุ ของวัตถุดิบในการผลิต ฯลฯ ซ่ึงที่อาจมีผลกระทบตอ พน้ื ท่ีหรอื กลุม ธรุ กิจ/อตุ สาหกรรมหลักของจังหวดั /กลุมจงั หวดั  ปจจัยดานสังคม (S - Social Factor): การวิเคราะหปจจัยภายนอกในมิติดาน สงั คมซ่ึงเปนการพิจารณาประเดน็ ตางๆ เชน โครงสรางประชากร ระดับการศึกษา การเปลี่ยนแปลงของ วิถีชีวิต/คานิยม/ทัศนคติของประชากรในพื้นท่ีซ่ึงจะชวยใหสามารถทํานาย หรือสรางความเขาใจ เกีย่ วกบั ความตองการของประชาชนในพ้นื ที่ได  ปจจัยดานเทคโนโลยี (T - Technological Factor): การวิเคราะหปจจัย ภายนอกในมิติเทคโนโลยีซง่ึ เปนการพิจารณาถึงระดับของนวัตกรรมทางเทคโนโลยที ี่อาจกระทบตอการ ทาํ งานของภาครฐั พน้ื ที่ หรือกลุม ธุรกจิ /อุตสาหกรรมหลักของจังหวัด/กลุมจังหวัด เชน การเปลี่ยนผา น ของเทคโนโลยีจากอนาล็อกสูดิจิตอล อุปกรณอิเล็กทรอนิกสรูปแบบใหม แนวโนมเทคโนโลยีดาน โทรคมนาคม และการสือ่ สาร  ปจ จัยดา นสิง่ แวดลอ ม (E - Environmental Factor): การวิเคราะหปจจัย ภายนอกในมติ สิ ิ่งแวดลอมซึง่ เปน การพิจารณาประเด็นตางๆ ดานทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอมทมี่ ี ผลตอ การดําเนินการของจังหวัด/กลุมจังหวัด เชน สภาพภูมิอากาศท่ีเปลี่ยนแปลง ปรมิ าณขยะ ปญหา สิง่ แวดลอมระดบั ชาติ และระดับพ้นื ท่ี  ปจจัยดา นกฎหมาย (L - Legal Factor): การวิเคราะหปจจัยภายนอกในมิติ ดา นกฎหมายซึ่งจะกระทบตอ การดาํ เนินการของจงั หวดั /กลุม จังหวัด ตลอดจนภาคเอกชน และประชาชน ในพืน้ ที่ เชน การเปลยี่ นแปลงของกฎหมาย ระเบยี บ ขอบงั คบั ตางๆ ของประเทศ และระหวา งประเทศ แผนภาพท่ี 8 : กรอบการวเิ คราะหนโยบาย และยุทธศาสตรส ําคญั นโยบาย ผลกระทบ แผนฯ 12 - การพฒั นาภาค + ผลกระทบเชงิ บวก / - ผลกระทบเชงิ ลบ แผนงานทองเทย่ี ว + ผลกระทบเชงิ บวก / - ผลกระทบเชิงลบ การ Zoning เกษตร + ผลกระทบเชงิ บวก / - ผลกระทบเชิงลบ สาํ นกั พฒั นาและสงเสริมการบริหารราชการจงั หวดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย