Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง การจัดทำและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่อำเภอและตำบล

รวมกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง การจัดทำและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่อำเภอและตำบล

Description: สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหาราชการจังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ และข้อสั่งการที่เกี่ยวข้องกับการประสานแผนในระดับพื้นที่เพื่อจัดทำเอกสาร
ฉบับนี้เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดทำและประสานแผนระดับ
พื้นที่ตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ระดับตำบล และระดับอำเภอ รวมถึง
แผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่

Search

Read the Text Version

รวมกฎหมายและระเบยี บทเ่ี ก่ยี วข้อง การจัดทำและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นทอ่ี ำเภอและตำบล IN_ok.indd 1 สำนกั พฒั นาและสง่ เสรมิ การบริหารราชการจงั หวัด สำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย 2/10/2562 13:28:21

คำนำ ยุทธศาสตร์ชาต ิ ๒๐ ป ี ให้ความสำคัญอย่างย่ิงยวดในการจัดทำ แผนพฒั นาระดบั พน้ื ทซี่ ง่ึ เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการกาํ หนด ทิศทางการพัฒนาพื้นท่ีของตนเอง และบูรณาการแผนให้มีความเชื่อมโยง สอดคล้องกันในทุกระดับเป็นแผนเดียวกัน ต้ังแต่ระดับหมู่บ้าน ท้องถ่ิน อําเภอ จังหวัด จนถึงกลมุ่ จงั หวัด กระทรวงมหาดไทยในฐานะหน่วยงานหลกั ในการจัดทำและขับเคลื่อนแผนพัฒนาระดับพื้นท่ีจึงได้ประกาศใช ้ “ระเบียบ กระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจดั ทำแผนและประสานแผนพฒั นาพนื้ ทใี่ นระดบั อำเภอและตำบล พ.ศ. ๒๕๖๒” ในราชกจิ จานเุ บกษา เมอ่ื วนั ท ่ี ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ เพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการจัดทำและประสานแผนในระดับพื้นที่อำเภอ และตำบล ตลอดจน แนวทางและกระบวนการประสานแผนระดบั พน้ื ทอ่ี ำเภอ และตำบลกับแผนพฒั นาจงั หวดั ในการน ้ี สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหาราชการจังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยจึงได้ดำเนินการรวบรวมกฎหมาย ระเบียบ และข้อส่ังการท่ีเกี่ยวข้องกับการประสานแผนในระดับพื้นที่เพ่ือจัดทำเอกสาร ฉบับน้ี สำหรับให้ผู้เก่ียวข้องใช้ประกอบการจัดทำและประสานแผนระดับ พื้นท่ีต้ังแต่ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ระดับตำบล และระดับอำเภอ รวมถึง แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในพืน้ ที่ต่อไป สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจงั หวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย IN_ok.indd 2 2/10/2562 13:28:21

สารบญั หนา้ ๑. กฎหมายและระเบยี บทเ่ี กย่ี วข้อง: การจัดทำและประสานแผน ในระดับพนื้ ท่อี ำเภอและตำบล ๑.๑ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการจดั ทำแผนและ ๒ ประสานแผนพัฒนาพนื้ ทใี่ นระดบั อำเภอและตำบล พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๒ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจดั ทำแผนพัฒนา ๑๒ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ๑.๓ ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจัดทำแผนพัฒนา ๒๔ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน (ฉบบั ท่ ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑.๔ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการจัดทำแผนพฒั นา ๒๙ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที ่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑.๕ พระราชบัญญตั ลิ กั ษณะปกครองทอ้ งที ่ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๓๓ และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม ๑.๖ ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยหลักเกณฑ์การเป็น ๖๖ กรรมการหมู่บา้ น การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ ี และการประชมุ ของ คณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒. หนงั สือส่งั การท่ีเก่ียวข้อง: การจัดทำและประสานแผน ในระดับพื้นทีอ่ ำเภอและตำบล ๒.๑ สำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ๘๑ ๒.๒ กรมการปกครอง ๙๕ ๒.๔ กรมการพัฒนาชมุ ชน ๙๙ ๒.๔ กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถนิ่ ๑๐๕ ___________________ IN_ok.indd 3 2/10/2562 13:28:21

บาํ บัดทกุ ข์ บาํ รงุ สุข IN_ok.indd 4 2/10/2562 13:28:21

กฎหมาย และระเบียบที่เก่ียวขอ้ ง การจัดทำและประสานแผนในระดับพืน้ ท่ีอำเภอและตำบล IN_ok.indd 1 1 2/10/2562 13:28:21

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกหจิ นจ้าานุเ๑บกษา ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการจัดทาแผนและประสานแผนพฒั นาพน้ื ทใ่ี นระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 โดยที่มาตรา ๕๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ กาหนดให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในระดับชาติและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ประกอบกับตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๘๐ ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร จดั การภาครัฐ ขอ้ 4.2 กาหนดให้ภาครฐั บรหิ ารงานแบบบูรณาการโดยมียทุ ธศาสตรช์ าติเป็นเป้าหมาย และเชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ ทุกพื้นท่ี จึงสมควรกาหนดแนวทาง เพอื่ บูรณาการในการจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาในระดบั พ้นื ทีห่ มบู่ ้าน ชมุ ชน ตาบล และอาเภอ ให้เกิดความเช่ือมโยงสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด ภาค และประเทศ ไปในทศิ ทางเดียวกนั ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เกดิ ความคุ้มคา่ นาไปสคู่ วามมั่นคง มัง่ คัง่ และยัง่ ยนื อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และในฐานะท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติ องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญตั ิสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และมาตรา 6 แหง่ พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย จึงออกระเบยี บไว้ ดงั นี้ ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสาน แผนพฒั นาพ้ืนท่ีในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 ข้อ ๒ ระเบยี บนใ้ี ห้ใช้บงั คบั ต้ังแตว่ นั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ต้นไป ขอ้ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือสั่งการหรือคาส่ังอื่นใดในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้ว ในระเบียบนีห้ รือซึง่ ขดั หรือแย้งกบั ระเบียบนี้ใหใ้ ชร้ ะเบียบนแี้ ทน ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี “แผนพัฒนาในระดับพื้นที่” หมายความว่า แผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนา ตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน แผนพัฒนาอาเภอ และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น ทดี่ าเนนิ การในพื้นท่อี าเภอ “การจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี” หมายความว่า การจัดทาแผน และประสานแผนพัฒนาหม่บู ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถน่ิ แผนพัฒนาอาเภอ และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืน รวมทั้งองค์กรภาคเอกชนและประชาชน IN_ok.indd 2 2 2/10/2562 13:28:21

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกหจิ นจ้าานุเ๒บกษา ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ ทด่ี าเนนิ การในพ้นื ท่ใี ห้มีความเชื่อมโยงและสอดคลอ้ งในทุกระดบั เป็นแผนเดยี วกนั เพอ่ื ใหส้ ะท้อนปัญหา และความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนท่ี และสอดคลอ้ งกับแนวทางตามแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนา กลุม่ จังหวัด และแผนพัฒนาภาค ท่เี ป็นการบรู ณาการการทางานของทุกหนว่ ยงานในพนื้ ท่ี “หม่บู ้าน” หมายความว่า หม่บู ้านตามกฎหมายว่าดว้ ยลักษณะปกครองทอ้ งที่ “ชมุ ชน” หมายความว่า ชุมชนท่ไี มม่ ีตาแหน่งกานนั ผู้ใหญบ่ า้ น และอยู่ในพนื้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ “องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน” หมายความว่า องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด เทศบาล องคก์ าร บริหารส่วนตาบล เมืองพัทยา และราชการส่วนท้องถิ่นอ่ืนตามท่ีมีกฎหมายกาหนดแต่ไม่รวมถึง กรงุ เทพมหานคร “คณะกรรมการชมุ ชน” หมายความว่า คณะกรรมการของชมุ ชนที่อย่ใู นพืน้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินในเขตเทศบาลและเมอื งพทั ยา “คณะกรรมการหมู่บา้ น” หมายความว่า คณะกรรมการหมู่บา้ นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยลักษณะ ปกครองท้องที่ และคณะกรรมการกลางหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเองตามกฎหมายว่าด้วย จัดระเบียบบริหารหมูบ่ า้ นอาสาพัฒนาและปอ้ งกนั ตนเอง “แผนพัฒนาอาเภอ” หมายความว่า แผนพัฒนาท่ีรวบรวมรายการโครงการและแผนงานต่าง ๆ ของอาเภอที่สะท้อนถึงปัญหาและความต้องการของประชาชน ตลอดจนความต้องการของทุกภาคสว่ น ในพ้ืนท่ีอาเภอโดยแผนพัฒนาอาเภอจาเป็นต้องจัดทาเพื่อให้เป็นเคร่ืองมือในการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ และทศิ ทางการพัฒนาของอาเภอในอนาคต “แผนความต้องการระดับอาเภอ” หมายความว่า รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต้องดาเนินการในพ้ืนท่ีอาเภอในแต่ละปีงบประมาณที่ระบุถึงปัญหาและความต้องการของ ประชาชนในพ้ืนท่ีอาเภอและเป็นไปตามลาดับความสาคัญ ที่มาจากแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพฒั นาตาบล แผนพฒั นาท้องถิ่น และแผนของส่วนราชการหรอื หน่วยงานอ่นื ทด่ี าเนนิ การในพ้ืนที่ โดยจัดกลุ่มของปัญหาและความตอ้ งการออกเป็นหมวดหมู่และส่งไปยังจังหวัดหรอื หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพื่อประกอบการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดหรือแผนปฏิบัติ ราชการประจาปีของสว่ นราชการ “แผนปฏิบัติงานประจาปีของอาเภอ” หมายความว่า แผนพัฒนาที่รวบรวมโครงการหรือกิจกรรม ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีได้รับการจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจาปีที่ต้องดาเนินการในพื้นท่ีอาเภอ และรายงานให้คณะกรรมการบริหารงาน จงั หวัดแบบบรู ณาการทราบ “แผนพัฒนาท้องถิ่น” หมายความว่า แผนพัฒนาท้องถ่ินตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการจัดทาแผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น IN_ok.indd 3 3 2/10/2562 13:28:21

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกหจิ นจ้าานเุ๓บกษา ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ “แผนพัฒนาตาบล” หมายความว่า แผนพัฒนาท่ีรวบรวมรายการแผนงานหรือโครงการ หรอื กจิ กรรม ท่จี าเป็นต้องทาเพอ่ื การพฒั นาแกไ้ ขปญั หาและความต้องการของประชาชนในพนื้ ทร่ี ะดับตาบล ที่มาจากแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น ท่ีดาเนินการในพื้นที่ “แผนพัฒนาหมู่บ้าน” หมายความว่า แผนพัฒนาที่กาหนดแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่มาจากกระบวนการเรียนรู้เพ่ือจัดการตนเองที่คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชนในหมู่บ้านร่วมคิด วิเคราะห์ปัญหา ศักยภาพความพร้อมของหมู่บ้าน ภายใต้เวทีประชาคมหมู่บ้าน และข้อมูลท่ีคน ในหมู่บ้านจัดเก็บ รวมถึงข้อมูลจากแผนชนิดต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นแผนที่ส่วนราชการ หน่วยงาน องคก์ รตา่ ง ๆ ใหก้ ารสนบั สนนุ หรือจัดทาขึ้น เพื่อรวบรวมให้เปน็ กรอบแนวทางการปอ้ งกนั แก้ไขปัญหา และพัฒนาหมบู่ า้ นให้สอดคล้องกับปญั หาและความต้องการท่แี ทจ้ ริงของหม่บู ้าน “แผนชุมชน” หมายความว่า แผนชุมชนตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา แผนพัฒนาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ “การจัดทาเวทีประชาคมหมบู่ ้านและชมุ ชน” หมายความวา่ การจัดทาเวทีประชาคมร่วมกัน ระหว่างประชาชน คณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน และส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น ท่ีดาเนินการในพ้ืนที่ เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ เพื่อใช้ ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนของส่วนราชการหรอื หน่วยงานอน่ื ท่ีดาเนนิ การในพ้ืนที่ ขอ้ ๕ ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามระเบยี บนี้ และมีอานาจตีความ วินิจฉัยปัญหา กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ตั เิ พือ่ ดาเนินการให้เปน็ ไปตามระเบยี บน้ี หมวด 1 การจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาหมบู่ า้ นและแผนชุมชน ขอ้ 6 ในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้เป็นไปตามแนวทาง ดังนี้ (1) จัดทาเวทีประชาคมหมู่บ้านและชุมชน เพ่ือรวบรวมข้อมูลปัญหาความต้องการต่าง ๆ ของหมู่บา้ นและชมุ ชน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและคณุ ภาพชวี ติ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ความมัน่ คงและความสงบเรียบร้อย และการบรหิ ารจัดการ หรืออื่น ๆ (2) บูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมบู่ า้ นและแผนชุมชน ให้นาขอ้ มูลจากเวทปี ระชาคมหมูบ่ า้ น และชุมชน ข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) มาใช้เป็น ข้อมูลพ้นื ฐานในการจดั ทาแผนพัฒนาหมู่บา้ นและแผนชมุ ชน พร้อมทัง้ จัดลาดับความสาคญั เพ่อื รองรับ การพัฒนาและแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี รวมท้ังตอบสนองนโยบายสาคัญเร่งด่วนที่จะแก้ไขปัญหา และ พัฒนาระดบั หม่บู า้ นและชุมชนของรฐั บาล IN_ok.indd 4 4 2/10/2562 13:28:21

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกหจิ นจ้าานุเ๔บกษา ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ (3) ส่งแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชนตาม (2) ให้ ก.บ.ต. และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เพ่ือเปน็ ขอ้ มูลในการจดั ทาแผนพฒั นาตาบล และแผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ (4) ประสานจัดทาโครงการเกี่ยวกับการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน เพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณจากหนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และหนว่ ยงานอืน่ ๆ (5) ตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนพฒั นาหม่บู า้ นและแผนชมุ ชนให้เป็นปจั จบุ ัน (6) ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชนทุกปี เพ่ือให้แผนงานหรือโครงการ ระดับหมู่บ้านและชุมชน เป็นปัจจุบัน และมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการพัฒนา ของประชาชนในหมู่บา้ นและชุมชน ในการจัดทาแผนตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการหมู่บ้าน เป็นองค์กรหลักท่ีรับผิดชอบ ในการบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน หรือให้คณะกรรมการชุมชน หรือหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวข้อง ช่วยดาเนนิ การบูรณาการจดั ทาแผนพฒั นาหมู่บ้านและแผนชมุ ชนกไ็ ด้ ขอ้ 7 ให้นายอาเภอและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ดาเนินการพัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการหมู่บ้าน และคณะกรรมการชุมชน หรือหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องในการบูรณาการ และประสานงานในการจดั ทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ข้อ 8 เพ่ือให้เกิดการบูรณาการในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้อาเภอ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เปน็ หนว่ ยงานหลกั ร่วมกันในการจัดทาแผนพัฒนาหมบู่ า้ นและแผนชุมชน ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เป็นหน่วยงานสนับสนุนในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน และแผนชมุ ชน ทั้งน้ี แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาหมบู่ า้ นและแผนชมุ ชน ให้เปน็ ไปตามทกี่ ระทรวงมหาดไทย กาหนด หมวด 2 การจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาตาบล ขอ้ 9 ในตาบลหน่ึง ให้มีคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ ข้ึนคณะหน่ึง เรียกโดยย่อวา่ ก.บ.ต. โดยประกอบดว้ ย (๑) ปลดั อาเภอผรู้ บั ผดิ ชอบประจาตาบลท่นี ายอาเภอมอบหมาย ประธานกรรมการ (2) ปลัดองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ในตาบล กรรมการ (3) ขา้ ราชการทป่ี ฏบิ ตั งิ านในตาบลที่นายอาเภอแตง่ ตั้งจานวนไมเ่ กินสามคน กรรมการ (4) กานัน ผใู้ หญ่บา้ นในตาบล กรรมการ (5) ผ้ทู รงคุณวุฒิทนี่ ายอาเภอแตง่ ตัง้ จานวนไมเ่ กินหา้ คน กรรมการ (6) พัฒนากรผ้รู บั ผดิ ชอบตาบล กรรมการและเลขานุการ IN_ok.indd 5 5 2/10/2562 13:28:21

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกหิจนจ้าานุเ๕บกษา ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ ในการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตาม (5) ให้คานึงถึงผู้มีความรู้ความสามารถเก่ียวกับการพัฒนา ชมุ ชนในระดบั ตาบล หรือมีประสบการณใ์ นการจดั ทาแผนพฒั นาในระดบั ตาบล องค์ประชุมและการประชมุ ของ ก.บ.ต. ให้นาหมวด 5 คณะกรรมการท่ีมีอานาจดาเนินการ พจิ ารณาทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง มาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม ขอ้ 10 ให้ ก.บ.ต. มีอานาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้ (1) รวบรวมข้อมูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ข้อมลู ความจาเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) และข้อมูลอื่น ๆ เพื่อใช้เปน็ ข้อมลู ในการจัดทาแผนพฒั นาตาบล (2) รวบรวมแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน และแผนพัฒนาท้องถิ่นในตาบล เพ่ือใช้ ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาตาบล (3) จัดทาแผนพัฒนาตาบล ให้นาข้อมูลจาก (1) และ (2) มาวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ กลั่นกรอง ประมวลผล เพ่ือกาหนดทิศทางการพัฒนาตาบล และจัดลาดับความสาคัญของแผนงาน หรือโครงการระดับตาบล รวมท้ังจัดทาแผนงานหรือโครงการในการแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ ที่มีความ คาบเกี่ยวตั้งแต่สองหมู่บ้านหรือสองชุมชนขึ้นไป เพ่ือรองรับการพัฒนาและตอบสนองนโยบาย สาคัญเร่งดว่ นในการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาในตาบล (4) จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับตาบลท่ีสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนท่ีระดบั ตาบล และจัดทาบัญชปี ระสานโครงการพัฒนา ส่งให้องคก์ รปกครอง สว่ นท้องถิน่ พิจารณาบรรจุไว้ในแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ (5) จัดส่งแผนพัฒนาตาบล ให้ ก.บ.อ. ใช้ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผน ความตอ้ งการระดบั อาเภอ (6) ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาตาบลทุกปี เพื่อให้แผนงานหรือโครงการระดับตาบล เป็นปัจจบุ นั ขอ้ 11 ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล และดาเนนิ การพฒั นาศกั ยภาพ ก.บ.ต. ในการจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาตาบล ท้งั นี้ แนวทางในการจดั ทาแผนพัฒนาตาบล ใหเ้ ป็นไปตามท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด หมวด 3 การจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาอาเภอ ข้อ 12 ในอาเภอหน่ึง ให้มีคณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ ข้ึนคณะหน่ึง เรยี กโดยย่อว่า ก.บ.อ. โดยประกอบดว้ ย (๑) นายอาเภอ ประธานกรรมการ (๒) ปลดั อาเภอหวั หน้ากลมุ่ งานหรอื ปลดั อาเภอ รองประธานกรรมการ หวั หน้าฝ่ายบริหารงานปกครอง (๓) พฒั นาการอาเภอ กรรมการ IN_ok.indd 6 6 2/10/2562 13:28:22

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกหจิ นจ้าานุเ๖บกษา ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ (4) ท้องถนิ่ อาเภอ กรรมการ (5) หวั หน้าสว่ นราชการ รฐั วิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานอนื่ ของรัฐ ในระดับอาเภอ กรรมการ ท่นี ายอาเภอแต่งตง้ั จานวนไม่เกนิ สบิ สองคน (6) ผแู้ ทนผบู้ ริหารองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในอาเภอซ่ึงคดั เลอื กกนั เอง กรรมการ ประเภทละหน่งึ คน ยกเว้นองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั และเมืองพทั ยา (7) ผู้ทรงคุณวฒุ ทิ น่ี ายอาเภอแต่งตง้ั จานวนไมเ่ กินห้าคน กรรมการ (8) ปลดั อาเภอผูร้ ับผดิ ชอบสานกั งานอาเภอ กรรมการและเลขานกุ าร (9) ขา้ ราชการสานักงานส่งเสรมิ การปกครองท้องถนิ่ จังหวดั กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร ทีท่ ้องถิน่ จังหวดั มอบหมายจานวนหนงึ่ คน (10) ข้าราชการในสานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ ทน่ี ายอาเภอแตง่ ต้ังจานวนหนงึ่ คน กรรมการตาม (5) (6) และ (7) มีวาระอยใู่ นตาแหน่งคราวละห้าปี ในการแตง่ ตง้ั ผูท้ รงคณุ วฒุ ติ าม (7) ให้นายอาเภอแตง่ ต้งั โดยคานึงถงึ ผทู้ ่ีมีความรคู้ วามสามารถ เกี่ยวกับการพัฒนาระดับอาเภอ ด้านการศึกษา หรือมีประสบการณ์ในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ รวมทั้งด้านภาคประชาสงั คมและเอกชน องค์ประชุมและการประชุมของ ก.บ.อ. ให้นาหมวด 5 คณะกรรมการที่มีอานาจดาเนินการ พจิ ารณาทางปกครองตามกฎหมายวา่ ด้วยวิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม ขอ้ 13 ให้ ก.บ.อ. มอี านาจหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปนี้ (1) วางแนวทางปฏบิ ตั แิ ละอานวยการการบรหิ ารงานแบบบูรณาการในอาเภอ รวมทงั้ กาหนด กรอบแนวทางปฏิบัติในการประสานแผนพัฒนาพื้นที่ของภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นท่ีอาเภอให้เป็นไป ตามหลักการ นโยบายและกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ ง (2) จัดทาแผนพัฒนาอาเภอและแผนความต้องการระดับอาเภอ โดยกาหนดทิศทาง การพัฒนาอาเภอ การประสานและรวบรวมข้อมูลจากปัญหาและความต้องการของประชาชน แผนพัฒนาหมู่บา้ น แผนชมุ ชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ และแผนพัฒนาของส่วนราชการ หรือหน่วยงานอนื่ ท่ีดาเนนิ การในพื้นทอ่ี าเภอ (3) จัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปขี องอาเภอ โดยรวบรวมโครงการหรือกิจกรรมของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจาปีที่ต้องดาเนินการในพ้ืนที่อาเภอ และรายงานให้ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) ทราบ (4) ประสานกับทุกภาคส่วนในพ้ืนที่ รวมท้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือนาแผนพัฒนา อาเภอไปส่กู ารปฏิบัติ รวมทง้ั กากบั ติดตามผล และใหค้ าแนะนาหน่วยงานตา่ ง ๆ ท่ดี าเนนิ งานพฒั นา พ้นื ทรี่ ะดบั อาเภอในดา้ นต่าง ๆ เพอ่ื การพฒั นาและการแก้ไขปญั หาในพ้ืนทอ่ี ย่างย่ังยืน IN_ok.indd 7 7 2/10/2562 13:28:22

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกหจิ นจ้าานุเ๗บกษา ๑๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ (5) ตรวจสอบความซ้าซ้อนของแผนงานหรือโครงการของหน่วยงานต่าง ๆ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินที่ดาเนินการในพ้ืนที่อาเภอ หากตรวจพบความซ้าซ้อนของแผนงานหรือโครงการ ให้ ก.บ.อ. เร่งแจ้งข้อเท็จจริง พรอ้ มท้ังเสนอความเห็นประกอบไปยังหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งเพือ่ พจิ ารณา ดาเนนิ การตอ่ ไป (6) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืน ๆ ตามท่ีคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) มอบหมาย (7) แต่งตั้งคณะอนกุ รรมการเพ่อื ปฏิบัตหิ น้าทต่ี ่าง ๆ ตามท่ี ก.บ.อ. มอบหมาย คณะอนุกรรมการตาม (7) อย่างน้อยต้องประกอบด้วย ผู้แทนจากส่วนราชการภายในอาเภอ ผแู้ ทนจากองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และผ้แู ทนภาคประชาสังคม ขอ้ 14 ให้ ก.บ.อ. นากรอบทิศทางการพัฒนาอาเภอและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด มาเป็นแนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับอาเภอ โดยกาหนดให้ แผนพฒั นาอาเภอมีระยะเวลาสอดคลอ้ งกับห้วงเวลาของแผนพฒั นาจงั หวัด การกาหนดโครงร่างแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับอาเภอ ให้เป็นไปตามที่ กระทรวงมหาดไทยกาหนด ขอ้ 15 ให้ ก.บ.อ. นาแผนพัฒนาอาเภอ ตามข้อ 14 เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา ใหค้ วามเห็นชอบ เม่ือผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาอาเภอตามวรรคหน่ึงแล้ว ให้ ก.บ.อ. ประกาศใช้แผนพัฒนาอาเภอและจัดส่งแผนพัฒนาอาเภอให้หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ รวมท้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนท่ี เพื่อให้ทุกภาคส่วนนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาพ้ืนท่ี ระดับอาเภอในทิศทางการพฒั นาอาเภอเดยี วกัน ขอ้ 16 ให้ ก.บ.อ. จาแนกแผนงานหรอื โครงการระดับอาเภอในความรับผดิ ชอบขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และจัดทาบัญชปี ระสานโครงการพัฒนา ส่งใหอ้ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ขอ้ 17 ให้ ก.บ.อ. จัดส่งแผนความต้องการระดับอาเภอ ให้ ก.บ.จ. หรือหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด หรอื แผนปฏบิ ตั ิราชการของหน่วยงานน้ัน ๆ ขอ้ 18 ให้อาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และ ดาเนนิ การพัฒนาศักยภาพของ ก.บ.อ. ในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาอาเภอ ทั้งน้ี การจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวทางทกี่ ระทรวงมหาดไทยกาหนด ขอ้ 19 ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณาโครงการท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินขอรับ การประสานโครงการตามบัญชีประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือโครงการที่ คณะกรรมการบริหารงานจงั หวดั แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพือ่ บรรจุไว้ในแผนพฒั นาขององคก์ ารบรหิ าร ส่วนจังหวัด พร้อมท้ังตรวจสอบโครงการดังกล่าวเพ่ือไม่ให้โครงการซ้าซ้อนกับแผนพัฒนาจังหวัด IN_ok.indd 8 8 2/10/2562 13:28:22

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกหจิ นจ้าานเุ๘บกษา ๑๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ และแผนปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืน และให้จัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา เพอื่ จัดส่งให้หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องพจิ ารณาดาเนนิ การ ขอ้ 20 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้ความสาคัญกับการสร้างและพัฒนาศักยภาพ ในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาท้องถ่ิน โดยในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินให้เป็นไป ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจัดทาแผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ หมวด ๔ การบรู ณาการและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี ข้อ 21 เพื่อให้เกิดการบูรณาการและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่ ให้ดาเนินการ ตามแนวทาง ดงั น้ี (๑) จัดทาเวทีประชาคม เพือ่ ใหท้ กุ ภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการระดมความคิดเหน็ ของประชาชน เพ่ือใหไ้ ดม้ าซงึ่ ปัญหา และความต้องการจากประชาชนในพ้นื ที่ (๒) ให้มีการประสานแผนในระดบั พื้นที่ โดยการรวบรวมและจัดลาดบั ความสาคญั ของปัญหา และความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ ผ่านกลไกการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนความต้องการระดับอาเภอ เพ่ือให้แผนมีความเชือ่ มโยง สอดคลอ้ งกันในทุกระดบั เป็นแผนเดยี วกัน (๓) ในกรณแี ผนงานหรือโครงการ หรอื พนื้ ท่ี มีความซา้ ซ้อนกันในการจดั ทาแผนระดับอาเภอ กับแผนพฒั นาท้องถนิ่ ให้หารอื ร่วมกนั ระหวา่ งคณะกรรมการบรหิ ารงานอาเภอแบบบรู ณาการกบั องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิน่ ทเี่ ก่ยี วข้อง (4) บูรณาการการงบประมาณ และประสานความร่วมมือเพือ่ ขอรับการสนบั สนุนงบประมาณ ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนพฒั นาในระดับพ้ืนท่ี โดยการแสวงหาความรว่ มมอื และการบูรณาการจากทกุ ภาคส่วน ขอ้ 22 ในการดาเนินการตามข้อ ๒1 (๑) ให้นายอาเภอกาหนด วัน เวลา และสถานท่ี ในการจัดทาเวทีประชาคมร่วมกันของหมู่บ้าน ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนที่ และอาจประสานใหส้ ว่ นราชการหรือหน่วยงานอื่นท่ีดาเนนิ การในพน้ื ทเี่ ข้ารว่ มเวทีประชาคมดว้ ยกไ็ ด้ การจัดทาเวทีประชาคมตามวรรคหน่ึงในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้นายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยากาหนด วัน เวลา และสถานที่ในการจัดทาเวทีประชาคมของชุมชน และเมืองพัทยา และอาจประสานส่วนราชการหรือหน่วยงานทด่ี าเนินการในพืน้ ทเี่ ข้ารว่ มเวทีประชาคมดว้ ยก็ได้ ข้อ 23 ปฏิทินการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาตามระเบียบน้ี ให้เป็นไปตามที่ กระทรวงมหาดไทยกาหนด ขอ้ ๒4 ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด โดยนาแผนพัฒนาอาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ แผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัด มาประกอบการจดั ทาแผนพฒั นาทบี่ ูรณาการรว่ มกัน IN_ok.indd 9 9 2/10/2562 13:28:22

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกหิจนจ้าานุเ๙บกษา ๑๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ หมวด ๕ การสนบั สนนุ การดาเนนิ การ ขอ้ 25 การดาเนินการของคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน ก.บ.ต. และ ก.บ.อ. หรือการดาเนินการอื่นใดท่เี ปน็ ไปภายใต้ระเบยี บน้ี ให้หน่วยงานหลักซึ่งรับผิดชอบในการจัดทาแผน ในแต่ละระดบั และหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ งสนบั สนนุ งบประมาณตามความเหมาะสม ข้อ 26 ให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน รวมท้ัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนทางวิชาการ วสั ดุอุปกรณ์ และพฒั นาบุคลากรท่ีเก่ียวข้องตามความเหมาะสม ขอ้ 27 จังหวัด ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พิจารณา นาโครงการหรือกิจกรรมท่ีอยู่ในแผนพัฒนาอาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ แผนงานโครงการ ระดับตาบล แผนงานหรือโครงการระดับหมู่บ้านและชุมชน ไปประกอบการจัดต้ังคาของบประมาณ หรอื จดั ทางบประมาณรายจ่ายประจาปตี ามอานาจหน้าท่ี โดยให้ความสาคญั เปน็ ลาดบั ตน้ เน่ืองจากเปน็ แผนงานโครงการทผี่ ่านกระบวนการประชาคมของประชาชนในพื้นที่ หมวด ๖ การกากบั ดูแล ขอ้ ๒8 ใหน้ ายอาเภอมหี นา้ ท่ีกากบั ดแู ล และให้คาแนะนาในการประสานแผนพฒั นาหมบู่ า้ น แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอาเภอ ที่ดาเนินการในพ้ืนท่ีอาเภอ เพอื่ ให้การดาเนนิ การตามระเบยี บนเ้ี กดิ ผลสัมฤทธ์ิ ข้อ 29 เพ่ือให้การประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนที่เกิดผลสัมฤทธิ์ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด มอี านาจหน้าทก่ี ากบั ดูแล และให้คาแนะนาทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี (1) บูรณาการการจัดทาแผนพัฒนาในระดบั พ้ืนที่กบั ทกุ ภาคส่วน และสอดคล้องเชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นาจังหวัด (2) ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และผลกระทบ ท่ีเกดิ ขน้ึ จากการประสานแผนพัฒนา ในระดับพน้ื ท่ี (3) การมสี ่วนรว่ มของประชาชน และการบริหารกจิ การบ้านเมอื งทด่ี ี (4) พิจารณาให้หน่วยงานใดเปน็ ผดู้ าเนินการ ในกรณีท่ีมคี วามซ้าซอ้ นกนั ในเรื่องงบประมาณ ระยะเวลาดาเนินการ ผดู้ าเนนิ การ หรอื โครงการ ขอ้ ๓0 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอาเภอกากับดูแล และให้คาแนะนาเพ่ือให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถนิ่ ดาเนินการจดั ทาแผนพฒั นาท้องถน่ิ และการประสานแผนพฒั นาท้องถนิ่ ให้สอดคลอ้ ง กับแผนพัฒนาในระดับจังหวัด เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครอง IN_ok.indd 10 10 2/10/2562 13:28:22

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกหจิ นจ้าานเุ๑บ๐กษา ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ ส่วนท้องถิ่น และกฎหมายว่าด้วยการกาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่นิ ข้อ ๓1 ให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ร่วมกับกรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ติดตามและประเมินผลคุณภาพแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนพัฒนาอาเภอ เป็นประจาทุกปี เพ่ือปรับปรุงคุณภาพ ให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและปัญหาของประชาชนในพน้ื ที่ บทเฉพาะกาล ขอ้ ๓2 ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการบริหารงานอาเภอ (กบอ.) ท่ีนายอาเภอ แต่ละอาเภอมีคาส่ังแต่งตั้งตามหนังสือกรมการปกครอง ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๓๐๕.๑/ว ๙๗๔๕ ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๒ เรื่อง การจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ฉบับทบทวนในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปฏิบัตหิ นา้ ท่คี ณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบรู ณาการ (ก.บ.อ.) ตามระเบียบน้ีไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) ตามระเบียบน้ี แตท่ ัง้ นี้ ตอ้ งไมเ่ กนิ สามปีนบั แต่วันทีร่ ะเบยี บนใี้ ช้บังคับ ประกาศ ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ พลเอก อนพุ งษ์ เผา่ จนิ ดา รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย IN_ok.indd 11 11 2/10/2562 13:28:22

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๔๖ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทาํ แผนพัฒนาขององคก รปกครองสว นทองถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําและประสาน แผนพฒั นาขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๖ ใหเ ปนปจ จุบนั อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ แหงพระราชบัญญัติกําหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอาํ นาจใหแ กองคก รปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบยี บไว ดงั นี้ ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาของ องคก รปกครองสว นทอ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘” ขอ ๒ ระเบยี บนใี้ หใ ชบังคบั ตัง้ แตวนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน ตนไป ขอ ๓ ใหยกเลกิ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําและประสานแผนพัฒนาของ องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๖ บรรดาระเบียบ ขอบังคบั หรือคําสงั่ อื่นใดซ่งึ ขดั หรือแยงกับระเบยี บนี้ใหใ ชระเบียบนี้แทน ขอ ๔ ในระเบียบน้ี “องคก รปกครองสวนทองถน่ิ ” หมายความวา องคการบรหิ ารสวนจงั หวดั เทศบาล เมอื งพทั ยา องคการบรหิ ารสว นตําบล และองคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ อน่ื ทมี่ ีกฎหมายจดั ต้งั ยกเวน กรงุ เทพมหานคร “สภาทองถิ่น” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล สภาเมืองพัทยา สภาองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล และสภาองคก รปกครองสวนทองถนิ่ อื่นท่มี ีกฎหมายจัดตงั้ “คณะกรรมการพัฒนาทองถ่ิน” หมายความวา คณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวัด คณะกรรมการพฒั นาเทศบาล คณะกรรมการพัฒนาเมืองพทั ยา คณะกรรมการพฒั นาองคการบรหิ ารสวนตําบล และคณะกรรมการพฒั นาขององคกรปกครองสว นทองถิน่ อน่ื ที่มกี ฎหมายจดั ตงั้ “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถน่ิ ” หมายความวา คณะกรรมการสนับสนุน การจดั ทาํ แผนพัฒนาองคก ารบริหารสว นจงั หวัด คณะกรรมการสนับสนนุ การจดั ทําแผนพฒั นาเทศบาล คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพฒั นาเมืองพทั ยา คณะกรรมการสนบั สนุนการจัดทาํ แผนพฒั นา องคการบริหารสว นตําบล และคณะกรรมการสนบั สนนุ การจดั ทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถ่ินอื่น ทม่ี กี ฎหมายจัดตง้ั 12 IN_ok.indd 12 2/10/2562 13:28:23

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๔๗ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา “คณะกรรมการติดตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาทองถิ่น” หมายความวา คณะกรรมการติดตาม และประเมินผลแผนพฒั นาองคการบริหารสวนจังหวดั คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเมืองพัทยา คณะกรรมการติดตามและประเมินผล แผนพฒั นาองคก ารบริหารสวนตาํ บล และคณะกรรมการตดิ ตามและประเมินผลแผนพัฒนาขององคกร ปกครองสวนทอ งถิน่ ท่ีมกี ฎหมายจดั ตั้ง “อาํ เภอ” หมายความรวมถึงกิง่ อาํ เภอดวย “ผบู รหิ ารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน หรือผูบริหารทองถิ่น ขององคก รปกครองสวนทองถิ่นอ่ืนที่มีกฎหมายจดั ตั้ง “สมาชกิ สภาทอ งถิ่น” หมายความวา สมาชิกสภาองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั สมาชกิ สภาเทศบาล สมาชกิ สภาเมืองพทั ยา สมาชิกสภาองคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล และสมาชิกสภาองคก รปกครองสว นทองถิ่นอ่ืน ทมี่ ีกฎหมายจัดตั้ง “นายอาํ เภอ” หมายความรวมถึงปลัดอาํ เภอผเู ปน หัวหนา ประจาํ ก่ิงอําเภอดว ย “ปลดั องคกรปกครองสวนทอ งถิ่น” หมายความวา ปลัดองคก ารบรหิ ารสวนจงั หวดั ปลัดเทศบาล ปลัดเมอื งพทั ยา ปลัดองคการบริหารสวนตําบล และปลดั ขององคก รปกครองสวนทอ งถิ่นอืน่ ที่มีกฎหมายจดั ตงั้ “หวั หนาสว นการบรหิ ารทมี่ ีหนาทีจ่ ัดทาํ แผน” หมายความวา ผอู าํ นวยการกองแผนและงบประมาณ ผอู าํ นวยการกองวชิ าการและแผนงาน หวั หนากองวิชาการและแผน หัวหนา งานวิเคราะหน โยบายและแผน หัวหนาสํานักปลัดองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล หรอื ผปู ฏบิ ตั หิ นาทเี่ ชน เดียวกันกับตาํ แหนง ดังกลา ว “พนักงานสว นทองถน่ิ ” หมายความวา ขาราชการสวนจังหวัด พนักงานเทศบาล พนักงานเมืองพัทยา พนักงานสว นตําบล และพนกั งานหรอื ขา ราชการขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ อ่ืนที่มีกฎหมายจดั ตงั้ “แผนพฒั นา” หมายความรวมถงึ แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นา และแผนพัฒนาสามป “แผนยุทธศาสตรการพัฒนา” หมายความวา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององคกร ปกครองสวนทองถ่ินที่กําหนดยุทธศาสตร และแนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ซ่งึ แสดงถงึ วิสัยทัศน พนั ธกิจ และจุดมงุ หมายเพ่อื การพัฒนาในอนาคต โดยสอดคลองกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการบริหารราชการแผน ดิน ยุทธศาสตรการพฒั นาจงั หวดั อาํ เภอ และ แผนชุมชน 13 IN_ok.indd 13 2/10/2562 13:28:23

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๔๘ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา “แผนพฒั นาสามป” หมายความวา แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการพฒั นา อันมีลักษณะเปน การกาํ หนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนา ที่จัดทําขน้ึ สําหรับปง บประมาณแตละป ซงึ่ มีความตอ เนอ่ื งและเปน แผนกาวหนาครอบคลมุ ระยะเวลาสามป โดยมีการทบทวนเพือ่ ปรบั ปรงุ เปน ประจาํ ทกุ ป “แผนการดําเนินงาน” หมายความวา แผนการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ทีแ่ สดงถงึ รายละเอียดแผนงาน โครงการพฒั นาและกิจกรรมท่ดี ําเนินการจริงทัง้ หมดในพน้ื ทข่ี ององคก ร ปกครองสวนทอ งถ่ินประจําปงบประมาณน้ัน “โครงการพฒั นา” หมายความวา โครงการที่มีวัตถปุ ระสงคสนองตอแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน และดําเนินการเพื่อใหการพัฒนาบรรลุตามวิสัยทัศนขององคกร ปกครองสว นทองถน่ิ ที่กําหนดไว “การแกไ ข” หมายความวา การแกไ ขขอผดิ พลาดในแผนพัฒนาหรอื แผนการดาํ เนนิ งานใหถ กู ตอ ง โดยไมทําใหวตั ถปุ ระสงคแ ละสาระสําคัญเดมิ เปล่ียนแปลงไป “การเพ่ิมเติม” หมายความวา การเพิ่มเติมแผนงาน โครงการที่ไมมีอยูในแผนพัฒนาสามป ใหปรากฏไวใ นแผนพัฒนาสามป “การเปล่ียนแปลง” หมายความวา การทําใหวัตถุประสงคและสาระสําคัญของแผนพัฒนา เปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ ขอ ๕ ใหป ลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบยี บนี้ และใหมอี าํ นาจตคี วามและวนิ จิ ฉยั ปญ หาเกี่ยวกับการปฏบิ ัตติ ามระเบียบน้ี และใหมอี าํ นาจกาํ หนดหลกั เกณฑและวิธีปฏิบัติเพ่ือดําเนินการ ใหเ ปน ไปตามระเบียบนไี้ ด ในกรณีทม่ี เี หตจุ ําเปน ใหผ ูว า ราชการจังหวัดมอี ํานาจยกเวนหรอื ผอนผันการปฏบิ ัตติ ามระเบียบน้ี ขององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ ภายในเขตจังหวดั แลว รายงานกระทรวงมหาดไทยทราบภายในสิบหาวัน นบั แตวันทยี่ กเวนหรอื ผอ นผัน ขอ ๖ การจัดทาํ แผนพฒั นาขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน ตอ งสอดคลอ งกับระเบยี บ วาดวย การประสานการจดั ทําแผนพัฒนาจงั หวัดขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ IN_ok.indd 14 14 2/10/2562 13:28:23

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๔๙ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา หมวด ๑ องคกรจดั ทาํ แผนพฒั นา ขอ ๗ องคกรจดั ทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน ประกอบดว ย (๑) คณะกรรมการพัฒนาทอ งถน่ิ (๒) คณะกรรมการสนบั สนนุ การจดั ทาํ แผนพฒั นาทอ งถิ่น ขอ ๘ ใหผ ูบริหารทองถิ่นแตงต้ังคณะกรรมการพฒั นาทองถน่ิ ประกอบดวย (๑) ผูบรหิ ารทอ งถ่นิ ประธานกรรมการ (๒) รองนายกองคก รปกครองสวนทอ งถนิ่ น้นั ทุกคน กรรมการ (๓) สมาชกิ สภาทองถนิ่ ที่สภาทอ งถิน่ คดั เลอื กจาํ นวนสามคน กรรมการ (๔) ผูท รงคณุ วุฒทิ ี่ผูบริหารทอ งถนิ่ คดั เลอื กจาํ นวนสามคน กรรมการ (๕) ผูแทนภาคราชการและ/หรอื รฐั วิสาหกจิ ท่ีผบู ริหารทอ งถิน่ คดั เลือกจํานวนไมน อยกวาสามคน กรรมการ (๖) ผูแทนประชาคมทองถิน่ ทปี่ ระชาคมทองถนิ่ คดั เลือก จํานวนไมนอยกวา สามคนแตไ มเกนิ หกคน กรรมการ (๗) ปลดั องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ กรรมการและเลขานุการ (๘) หัวหนา สวนการบรหิ ารที่มีหนา ที่จัดทําแผน ผชู วยเลขานกุ าร กรรมการตามขอ ๘ (๓) (๔) (๕) และ (๖) ใหมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองปและอาจ ไดรับการคดั เลือกอีกได ขอ ๙ ใหผูบริหารทองถ่ินแตงตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถ่ิน ประกอบดว ย (๑) ปลัดองคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ ประธานกรรมการ (๒) หวั หนาสว นการบริหารขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ กรรมการ (๓) ผูแ ทนประชาคมทอ งถ่นิ ที่ประชาคมทอ งถิ่นคดั เลือก จํานวนสามคน กรรมการ (๔) หวั หนาสว นการบรหิ ารทม่ี ีหนา ที่จดั ทําแผน กรรมการและเลขานกุ าร IN_ok.indd 15 15 2/10/2562 13:28:24

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๕๐ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา (๕) เจาหนาท่วี ิเคราะหนโยบายและแผน หรอื พนกั งานสวนทองถิน่ ท่ีผบู รหิ ารทองถิ่นมอบหมาย ผูชว ยเลขานุการ กรรมการตามขอ ๙ (๓) ใหมีวาระอยูใ นตาํ แหนงคราวละสองปและอาจไดร ับการคดั เลือกอกี ได ขอ ๑๐ คณะกรรมการพัฒนาทอ งถ่ินมีอาํ นาจหนาท่ี ดังน้ี (๑) กาํ หนดแนวทางการพัฒนาทองถิน่ โดยพิจารณาจาก (๑.๑) อาํ นาจหนา ทีข่ ององคก รปกครองสวนทองถ่ิน โดยเฉพาะอํานาจหนาท่ีที่มีผลกระทบ ตอประโยชนส ุขของประชาชน เชน การปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย การผังเมอื ง (๑.๒) ภารกิจถา ยโอนตามกฎหมายกาํ หนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอํานาจ (๑.๓) ยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ กลุมจังหวัด และจังหวัด โดยใหเนนดําเนินการ ในยทุ ธศาสตรท ส่ี าํ คญั และมีผลตอประชาชนโดยตรง เชน การแกไขปญหาความยากจน การปองกัน และแกไ ขปญ หายาเสพตดิ (๑.๔) กรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในเขตจังหวดั (๑.๕) นโยบายของผูบรหิ ารทอ งถิ่นทแี่ ถลงตอสภาทอ งถิ่น (๑.๖) แผนชมุ ชน ในการนําประเด็นขางตนมาจัดทําแผนพัฒนา ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นคํานึงถึง สถานะทางการคลงั ของทองถน่ิ และความจําเปน เรงดว นท่ีตอ งดําเนินการ มาประกอบการพิจารณาดว ย (๒) รวมจัดทํารางแผนพัฒนา เสนอแนะแนวทางการพัฒนา และการแกไขปญหาเกี่ยวกับ การจัดทํารา งแผนพัฒนา ในการจดั ทาํ รา งแผนพฒั นา ใหเ ทศบาล เมืองพัทยา องคก ารบริหารสวนตาํ บล และองคกร ปกครองสว นทอ งถน่ิ อื่นที่มกี ฎหมายจัดตั้ง นาํ ปญหาความตอ งการจากแผนชมุ ชนทเ่ี กนิ ศักยภาพของชมุ ชน ทจ่ี ะดาํ เนินการเองไดมาพิจารณาบรรจุไวในแผนพัฒนา แตหากเกินศักยภาพของเทศบาล เมืองพัทยา องคการบรหิ ารสวนตําบล และองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ อื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง ใหเสนอปญหา ความตองการ ไปยงั องคการบรหิ ารสวนจังหวดั และใหอ งคก ารบรหิ ารสว นจังหวัดนํามาพิจารณาบรรจุไวในแผนพัฒนา ขององคการบรหิ ารสว นจงั หวดั ตามอาํ นาจหนา ที่ (๓) พจิ ารณารา งแผนพฒั นาและรางแผนการดําเนินงาน IN_ok.indd 16 16 2/10/2562 13:28:24

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๕๑ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา (๔) ใหความเห็นชอบรางขอ กาํ หนดขอบขายและรายละเอยี ดของงานตามขอ ๑๙ (๒) (๕) พิจารณาใหข อคิดเห็นเก่ียวกับการติดตามและประเมินผลแผนพฒั นา (๖) แตง ตงั้ ทป่ี รึกษา คณะอนุกรรมการหรอื คณะทาํ งานอน่ื เพ่ือชวยปฏิบัติงานตามท่ีเห็นสมควร (๗) ในกรณอี งคก ารบรหิ ารสวนตําบล ใหค ณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลมีหนาที่ ประสานกบั ประชาคมหมบู า นในการรวบรวม วิเคราะหป ญหา ความตอ งการของประชาชนในทองถ่ิน และจดั ทาํ เปนโครงการหรือกิจกรรมเพือ่ ประกอบในการจัดทําแผนพฒั นาองคก ารบริหารสว นตําบลดว ย ขอ ๑๑ คณะกรรมการสนบั สนนุ การจัดทาํ แผนพัฒนาทองถนิ่ มีหนา ที่จัดทํารางแผนพัฒนา ใหส อดคลอ งกบั แนวทางการพฒั นาทค่ี ณะกรรมการพฒั นาทอ งถิน่ กําหนด จดั ทํารางแผนการดาํ เนินงาน และจัดทาํ รางขอกาํ หนดขอบขา ยและรายละเอียดของงานตามขอ ๑๙ (๑) ขอ ๑๒ การประชุมของคณะกรรมการพฒั นาทองถ่นิ คณะกรรมการสนบั สนนุ การจดั ทาํ แผน พฒั นาทอ งถิ่น คณะกรรมการตดิ ตามและประเมินผล คณะอนกุ รรมการ และคณะทํางาน ตองมีกรรมการ มาประชมุ ไมน อยกวา ก่ึงหน่งึ ของจํานวนกรรมการทั้งหมด แลวแตก รณีจงึ จะเปน องคประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานในท่ปี ระชุม ถา ประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจ ปฏบิ ัตหิ นา ที่ได ใหกรรมการทม่ี าประชุมเลือกกรรมการคนหน่งึ เปนประธานในที่ประชุม การวินิจฉยั ช้ีขาดของการประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถา คะแนนเสียงเทา กันใหประธานในทีป่ ระชุมออกเสยี งเพมิ่ ขึ้นอกี เสยี งหนึ่งเปนเสยี งชีข้ าด หมวด ๒ ผูทรงคุณวฒุ ิ ขอ ๑๓ ผูทรงคณุ วฒุ ิตอ งมีคุณสมบตั ิตาม (๑) และไมมีลักษณะตองหามตาม (๒) ถึง (๗) ดงั ตอไปนี้ (๑) เปนผูม คี วามรคู วามสามารถ ซอ่ื สัตย สจุ รติ สามารถตรวจสอบพฤตกิ รรมได (๒) เปน สมาชิกสภาทอ งถนิ่ หรือผบู ริหารทองถิ่นน้ัน (๓) เปนพนักงานหรือลกู จางขององคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ น้ัน (๔) เปนผมู สี ว นไดเสียไมวาทางตรงหรือทางออมในสัญญากับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ที่ตนเปนกรรมการ 17 IN_ok.indd 17 2/10/2562 13:28:24

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๕๒ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา (๕) ตดิ ยาเสพตดิ ใหโทษ (๖) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ หนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทจุ รติ ตอหนา ทห่ี รือถือวา กระทาํ การทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ (๗) ไดร ับโทษจําคกุ โดยคาํ พพิ ากษาถึงที่สุดใหจําคุกต้ังแตสองปข้ึนไปและพนโทษมายังไมถึงหาป นบั ถึงวันท่ไี ดร บั แตงตัง้ ใหดาํ รงตําแหนง ผทู รงคณุ วฒุ ิ เวนแตใ นความผิดอนั ไดก ระทําโดยประมาท ขอ ๑๔ ผทู รงคุณวุฒมิ วี าระอยูในตาํ แหนง คราวละสองปแ ละอาจไดร บั การคดั เลือกอีกได ขอ ๑๕ ผทู รงคุณวุฒพิ น จากตาํ แหนงดวยเหตใุ ดเหตหุ นึ่ง ดังตอ ไปนี้ (๑) ครบวาระการดํารงตําแหนง (๒) ตาย (๓) ลาออก โดยย่นื หนังสือตอ ประธานกรรมการทต่ี นดํารงตําแหนง (๔) คณะกรรมการท่ผี ูทรงคุณวฒุ ดิ าํ รงตําแหนงอยเู ห็นวา มีเหตุอนั ควรและมีมติจํานวนไมนอยกวา สองในสามใหอ อก (๕) มีลักษณะตองหามตามขอ ๑๓ หมวด ๓ การจดั ทําแผนพัฒนา ขอ ๑๖ การจดั ทําแผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาใหดาํ เนนิ การตามระเบียบน้ี โดยมขี ้ันตอนดาํ เนนิ การ ดังน้ี (๑) คณะกรรมการพฒั นาทอ งถนิ่ จัดประชุมประชาคมทองถิ่น สวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ที่เกีย่ วของ เพื่อแจง แนวทางการพัฒนาทอ งถ่ิน รับทราบปญหา ความตองการ ประเด็นการพัฒนา และประเด็น ที่เกย่ี วของตลอดจนความชวยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี เพ่ือนํามากําหนด แนวทางการจดั ทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา โดยใหน าํ ขอมูลพ้นื ฐานในการพฒั นาจากหนวยงานตา ง ๆ และขอ มลู ในแผนชมุ ชนมาพิจารณาประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพฒั นา (๒) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น รวบรวมแนวทางและขอมูล นาํ มาวิเคราะหเ พ่อื จดั ทํารา งแผนยุทธศาสตรการพัฒนาแลวเสนอคณะกรรมการพฒั นาทองถน่ิ (๓) คณะกรรมการพัฒนาทอ งถิ่นพจิ ารณารางแผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นา เพอื่ เสนอผูบรหิ ารทอ งถนิ่ 18 IN_ok.indd 18 2/10/2562 13:28:25

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๕๓ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา (๔) ผูบริหารทองถิ่นพิจารณาอนุมัติรางแผนยุทธศาสตรการพัฒนา และประกาศใชแผน ยุทธศาสตรการพฒั นา สําหรับองคการบริหารสวนตําบลใหผูบริหารทองถ่ินเสนอรางแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ตอ สภาองคก ารบริหารสว นตาํ บลเพื่อใหความเห็นชอบกอน แลว ผูบริหารทองถ่นิ จงึ พจิ ารณาอนุมัติและ ประกาศใชแ ผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาตอ ไป ขอ ๑๗ การจดั ทําแผนพัฒนาสามป ใหดําเนินการตามระเบียบน้ี โดยมีข้ันตอนดําเนินการ ดงั น้ี (๑) คณะกรรมการพัฒนาทอ งถ่ินรวมกับประชาคมทองถ่ิน กําหนดประเด็นหลักการพัฒนา ใหสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมายเพ่ือการพัฒนาในแผนยุทธศาสตรการพัฒนา รวมทง้ั สอดคลอ งกับปญ หา ความตอ งการของประชาคมและชมุ ชน โดยใหน ําขอมูลพื้นฐานในการพัฒนา จากหนว ยงานตา ง ๆ และขอ มลู ในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจดั ทําแผนพัฒนาสามป (๒) คณะกรรมการสนบั สนุนการจดั ทาํ แผนพัฒนาทอ งถิน่ รวบรวมประเด็นหลักการพัฒนา ปญหา ความตอ งการ และขอมลู นํามาจดั ทาํ รา งแผนพัฒนาสามป แลวเสนอคณะกรรมการพฒั นาทอ งถน่ิ (๓) คณะกรรมการพฒั นาทอ งถ่ินพิจารณารางแผนพฒั นาสามปเ พอื่ เสนอผบู ริหารทองถิ่น (๔) ผบู รหิ ารทอ งถ่นิ พจิ ารณาอนุมัตริ างแผนพฒั นาสามปและประกาศใชแ ผนพฒั นาสามป สําหรบั องคก ารบริหารสวนตําบลใหผ ูบรหิ ารทองถ่นิ เสนอรางแผนพัฒนาสามปต อสภาองคก าร บริหารสวนตําบลเพื่อใหความเห็นชอบกอนแลวผูบริหารทองถิ่นจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช แผนพัฒนาสามปต อไป ขอ ๑๘ แผนพัฒนาสามปใหจัดทําและทบทวนใหแลวเสร็จภายในเดือนมิถุนายนกอน งบประมาณประจาํ ป ผวู า ราชการจงั หวัดมอี าํ นาจขยายเวลาการจัดทําแผนพัฒนาสามปแลวรายงานกระทรวงมหาดไทยทราบ ในกรณขี องเทศบาลผูวาราชการจังหวัดอาจมอบอํานาจใหนายอําเภอได เม่ือมีการขยายเวลา ใหแ จง จังหวัดเพอ่ื รายงานกระทรวงมหาดไทยทราบ สาํ หรับองคการบริหารสวนตาํ บล อาํ นาจของผูวาราชการจังหวัดตามวรรคสองใหเปนอํานาจ ของนายอําเภอแลวแจงจงั หวัดเพือ่ รายงานกระทรวงมหาดไทยทราบ ขอ ๑๙ องคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจมอบใหหนวยงานหรือบุคคลภายนอกจัดทําหรือ รวมจดั ทาํ รางแผนพัฒนาได โดยมขี ัน้ ตอนการดําเนินการ ดังน้ี IN_ok.indd 19 19 2/10/2562 13:28:25

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๕๔ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา (๑) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถ่ินจัดทํารางขอกําหนดขอบขายและ รายละเอียดของงานทจี่ ะมอบหมายใหหนว ยงานหรอื บคุ คลภายนอกดาํ เนินการ เพื่อเสนอคณะกรรมการ พัฒนาทอ งถ่นิ (๒) คณะกรรมการพัฒนาทองถ่ินพิจารณาใหความเห็นชอบรางขอกําหนดขอบขายและ รายละเอยี ดของงานแลว เสนอผูบ ริหารทองถิ่น (๓) ผูบริหารทองถ่นิ พจิ ารณาอนุมัติขอกําหนดขอบขายและรายละเอียดของงาน ขอ ๒๐ ใหหนวยงานหรือบุคคลภายนอกที่จัดทําหรือรวมจัดทํารางแผนพัฒนาดําเนินการ ตามขัน้ ตอนและวิธีการจัดทํารางแผนพฒั นาตามระเบยี บน้ี หมวด ๔ การแกไ ข การเพ่มิ เตมิ หรือการเปล่ียนแปลงแผนพฒั นา ขอ ๒๑ การแกไขแผนพัฒนาเปนอาํ นาจของผบู ริหารทองถ่นิ ขอ ๒๒ การเพม่ิ เติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาสามป ใหดําเนินการตามระเบียบนี้ โดยมี ขน้ั ตอนดําเนนิ การ ดังนี้ (๑) คณะกรรมการสนับสนนุ การจัดทําแผนพฒั นาทองถ่ิน จัดทํารางแผนพัฒนาสามปที่เพิ่มเติม หรอื เปลีย่ นแปลงพรอมเหตุผลและความจําเปนเสนอคณะกรรมการพัฒนาทอ งถิน่ (๒) คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นพิจารณารางแผนพัฒนาสามปท่ีเพิ่มเติมหรือเปล่ียนแปลง เพ่ือเสนอผบู ริหารทอ งถิน่ (๓) ผูบริหารทองถิ่นพิจารณาอนุมัติรางแผนพัฒนาสามปที่เพ่ิมเติมหรือเปลี่ยนแปลงและ ประกาศใชแ ผนพฒั นาสามปทเ่ี พ่ิมเตมิ หรือเปล่ียนแปลง สําหรบั องคการบรหิ ารสว นตําบล ใหผูบรหิ ารทอ งถนิ่ เสนอรางแผนพัฒนาสามปทีเ่ พมิ่ เตมิ หรอื เปลี่ยนแปลงตอสภาองคก ารบริหารสวนตําบลเพ่อื ใหความเห็นชอบกอ น แลวผูบริหารทองถ่ินจึงพิจารณาอนุมัติ และประกาศใชต อไป ขอ ๒๓ การเปล่ียนแปลงแผนยุทธศาสตรการพัฒนาใหดําเนินการตามระเบียบนี้ โดยมี ข้ันตอนดาํ เนนิ การ ดังนี้ (๑) คณะกรรมการสนับสนนุ การจดั ทําแผนพฒั นาทองถน่ิ จดั ทาํ รา งแผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นา ท่ีเปลี่ยนแปลงพรอ มเหตผุ ลและความจาํ เปน เสนอคณะกรรมการพัฒนาทอ งถ่ิน IN_ok.indd 20 20 2/10/2562 13:28:26

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๕๕ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา (๒) คณะกรรมการพัฒนาทองถ่ินและประชาคมทอ งถนิ่ พจิ ารณารา งแผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นา ทีเ่ ปล่ียนแปลงเพ่ือเสนอผบู ริหารทองถ่นิ (๓) ผบู รหิ ารทอ งถิน่ พิจารณาอนมุ ตั ริ างแผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาทเ่ี ปล่ยี นแปลงและประกาศใช แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนาท่ีเปล่ยี นแปลง สําหรับองคการบริหารสวนตําบล ใหผูบริหารทองถิ่นเสนอรางแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ทเี่ ปลี่ยนแปลงตอ สภาองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บลเพ่อื ใหค วามเห็นชอบกอ น แลวผูบ ริหารทอ งถน่ิ จงึ พจิ ารณา อนมุ ัตแิ ละประกาศใชตอไป หมวด ๕ การนําแผนพัฒนาไปปฏิบัติ ขอ ๒๔ ใหผูบรหิ ารทอ งถิ่นประกาศใชแ ผนพฒั นาที่อนุมตั ิแลว และนาํ ไปปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั แจง สภาทอ งถิ่น คณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวดั แบบบูรณาการ องคการบริหารสวนจังหวัด อําเภอ หนวยงาน ท่เี ก่ยี วของ และประกาศใหป ระชาชนในทอ งถน่ิ ทราบโดยทวั่ กนั ภายในสบิ หาวันนบั แตว นั ทปี่ ระกาศใช และปด ประกาศโดยเปด เผยไมนอยกวา สามสบิ วนั ขอ ๒๕ ใหอ งคก รปกครองสว นทองถน่ิ ใชแ ผนพัฒนาสามปเปนกรอบในการจดั ทํางบประมาณ รายจา ยประจําป และงบประมาณรายจา ยเพม่ิ เติม รวมทง้ั วางแนวทางเพอ่ื ใหม กี ารปฏิบตั ใิ หบรรลวุ ัตถุประสงค ตามโครงการท่กี ําหนดไวในแผนพฒั นาสามป ขอ ๒๖ การจดั ทาํ แผนการดําเนนิ งานใหดาํ เนินการตามระเบียบนี้ โดยมีขั้นตอนดําเนินการ ดังนี้ (๑) คณะกรรมการสนับสนุนการจดั ทําแผนพฒั นาทองถิน่ รวบรวมแผนงาน โครงการพัฒนา ขององคก รปกครองสว นทองถิ่น หนว ยราชการสว นกลาง สว นภมู ภิ าค รฐั วิสาหกิจและหนว ยงานอน่ื ๆ ทีด่ ําเนินการในพืน้ ทขี่ ององคก รปกครองสวนทองถิ่น แลว จัดทํารางแผนการดําเนินงาน เสนอคณะกรรมการ พัฒนาทองถิ่น (๒) คณะกรรมการพัฒนาทอ งถิน่ พิจารณารางแผนการดาํ เนนิ งาน แลวเสนอผูบริหารทองถิ่น ประกาศเปน แผนการดาํ เนินงาน ทง้ั นใ้ี หปด ประกาศแผนการดําเนินงานภายในสิบหาวันนับแตวันที่ประกาศ เพือ่ ใหประชาชนในทอ งถิน่ ทราบโดยทั่วกันและตอ งปด ประกาศไวอยา งนอยสามสบิ วัน 21 IN_ok.indd 21 2/10/2562 13:28:26

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๕๖ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๒๗ แผนการดําเนนิ งานใหจ ัดทําเสร็จภายในเดือนธันวาคมของปงบประมาณนัน้ หรือภายใน สามสิบวนั นับแตวันทต่ี ้ังงบประมาณดาํ เนินการหรอื ไดร ับแจง แผนงาน/โครงการจากหนวยราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอ่ืน ๆ ที่ตองดําเนินการในพื้นท่ีองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในปง บประมาณน้นั การขยายเวลาการจัดทําและการแกไขแผนการดําเนนิ งานเปนอาํ นาจของผูบ รหิ ารทอ งถ่นิ หมวด ๖ การตดิ ตามและประเมินผลแผนพฒั นา ขอ ๒๘ ใหผ ูบริหารทองถิ่นแตง ต้งั คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาทองถิ่น ประกอบดวย (๑) สมาชกิ สภาทอ งถ่ินที่สภาทอ งถน่ิ คัดเลอื กจาํ นวนสามคน (๒) ผูแทนประชาคมทองถ่นิ ที่ประชาคมทองถนิ่ คดั เลอื กจํานวนสองคน (๓) ผูแทนหนว ยงานที่เกยี่ วขอ งท่ผี บู รหิ ารทอ งถ่ินคัดเลือกจาํ นวนสองคน (๔) หัวหนา สวนการบริหารทค่ี ัดเลือกกันเองจํานวนสองคน (๕) ผูทรงคณุ วุฒิท่ผี บู รหิ ารทอ งถิน่ คัดเลอื กจาํ นวนสองคน โดยใหคณะกรรมการเลอื กกรรมการหน่ึงคนทําหนาท่ีประธานคณะกรรมการ และกรรมการ อกี หน่ึงคนทําหนาทีเ่ ลขานกุ ารของคณะกรรมการ กรรมการตามขอ ๒๘ ใหมวี าระอยูในตําแหนงคราวละสองปแ ละอาจไดรับการคัดเลอื กอีกได ขอ ๒๙ คณะกรรมการตดิ ตามและประเมินผลแผนพฒั นาทอ งถ่นิ มอี าํ นาจหนาที่ ดงั น้ี (๑) กาํ หนดแนวทาง วธิ กี ารในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา (๒) ดําเนินการตดิ ตามและประเมินผลแผนพฒั นา (๓) รายงานผลและเสนอความเหน็ ซึ่งไดจากการติดตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาตอผูบริหารทองถิ่น เพื่อใหผ ูบรหิ ารทอ งถิน่ เสนอตอ สภาทอ งถน่ิ คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น และประกาศผลการติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาใหป ระชาชนในทอ งถนิ่ ทราบโดยทั่วกันอยางนอยปละหนึ่งคร้ัง ภายในเดือนธันวาคม ของทุกป ท้ังนีใ้ หปด ประกาศโดยเปดเผยไมน อ ยกวา สามสิบวนั (๔) แตง ตั้งคณะอนกุ รรมการหรอื คณะทํางานเพือ่ ชวยปฏิบตั ิงานตามทีเ่ ห็นสมควร 22 IN_ok.indd 22 2/10/2562 13:28:26

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง หนา ๕๗ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ขอ ๓๐ องคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจมอบใหหนวยงานหรือบุคคลภายนอกดําเนินการ หรือรวมดําเนนิ การตดิ ตามและประเมินผลแผนพัฒนาไดโดยมขี ้ันตอนดําเนนิ การ ดงั น้ี (๑) คณะกรรมการตดิ ตามและประเมินผลแผนพัฒนาทองถ่ินจัดทํารางขอกําหนด ขอบขาย และรายละเอียดของงานที่จะมอบหมายใหหนว ยงานหรอื บุคคลภายนอกดําเนินการ เพอื่ เสนอผูบรหิ ารทองถิน่ (๒) ผบู รหิ ารทอ งถิ่นพจิ ารณาอนุมตั ิขอกาํ หนด ขอบขายและรายละเอยี ดของงาน (๓) หนวยงานหรอื บคุ คลภายนอกดาํ เนนิ การหรอื รวมดําเนินการติดตามและประเมนิ ผล (๔) ใหหนวยงานหรอื บุคคลภายนอกทด่ี าํ เนนิ การหรอื รวมดําเนินการติดตามและประเมินผล รายงานผลการดาํ เนนิ การซงึ่ ไดจ ากการตดิ ตามและประเมินผลตอคณะกรรมการติดตามและประเมินผล เพอ่ื ประเมนิ ผลการรายงานผล เสนอความเหน็ ตอ ผบู รหิ ารทองถิ่น (๕) ผูบรหิ ารทอ งถิน่ เสนอผลการตดิ ตามและประเมินผลตอ สภาทองถนิ่ คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น และประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพฒั นาใหป ระชาชนในทองถนิ่ ทราบโดยทวั่ กันอยางนอ ย ปละหนง่ึ คร้งั ภายในเดือนธันวาคมของทกุ ป ท้งั นีใ้ หปด ประกาศโดยเปดเผยไมน อยกวาสามสบิ วัน ขอ ๓๑ เพ่ือประโยชนของประชาชนโดยสวนรวมและเพ่ือใหการบริหารงานขององคกร ปกครองสว นทองถน่ิ สอดคลอ งกับแนวนโยบายของรฐั บาล กระทรวงมหาดไทยอาจจัดใหมีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาขององคกรปกครองสว นทอ งถิ่นไดต ามความเหมาะสม บทเฉพาะกาล ขอ ๓๒ แผนยุทธศาสตรการพฒั นา แผนพฒั นาสามปและแผนปฏบิ ัติการ ที่มีอยูเดิมกอนวันที่ ระเบียบน้มี ผี ลในการประกาศใช ใหมผี ลใชไ ดต อไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ สมชาย สนุ ทรวัฒน รัฐมนตรีชวยวาการฯ ปฏบิ ตั ิราชการแทน รฐั มนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 23 IN_ok.indd 23 2/10/2562 13:28:27

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๑๘ ง หนา้ ๓ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการจดั ทาํ แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนา ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๘ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติกําหนดแผน และข้ันตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยออกระเบียบไว้ ดังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนา ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙” ข้อ ๒ ระเบียบน้ีให้ใชบ้ ังคบั ต้ังแต่วันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ให้แก้ไขคาํ ว่า “แผนพัฒนาสามปี” เป็น “แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี” ในระเบียบ กระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการจดั ทาํ แผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ พ.ศ. ๒๕๔๘ ทุกแหง่ ขอ้ ๔ ให้ยกเลิกบทนิยามคําว่า “แผนพัฒนา” “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา” “แผนพัฒนาสามปี” “โครงการพัฒนา” “การเพ่ิมเติม” และ“การเปล่ียนแปลง” ในข้อ ๔ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาํ แผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความตอ่ ไปนแ้ี ทน “แผนพัฒนา” หมายความวา่ แผนพัฒนาทอ้ งถิ่นส่ีปีขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน “แผนพฒั นาท้องถน่ิ สีป่ ี” หมายความวา่ แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่กําหนด วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์ โดยสอดคล้องกับ แผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนพัฒนาตําบล แผนพัฒนาหมู่บ้านหรือแผนชุมชน อันมีลักษณะเป็นการกําหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนา ที่จัดทําขึ้นสําหรับปีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้า และให้หมายความรวมถึงการเพม่ิ เตมิ หรือเปลี่ยนแปลงแผนพฒั นาท้องถิน่ ส่ปี ี “โครงการพัฒนา” หมายความว่า โครงการที่มีวัตถุประสงค์สนองต่อแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและดาํ เนนิ การเพอ่ื ใหก้ ารพัฒนาบรรลตุ ามวิสัยทัศน์ทีก่ าํ หนดไว้ ขอ้ ๕ ให้ยกเลิกความใน (๑) และ (๒) ของข้อ ๑๐ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการจดั ทาํ แผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแี้ ทน “(๑) กําหนดแนวทางการพฒั นาท้องถน่ิ โดยพิจารณาจาก (ก) อาํ นาจหนา้ ท่ีขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน โดยเฉพาะอํานาจหน้าที่ท่ีมีผลกระทบ ตอ่ ประโยชนส์ ุขของประชาชน เชน่ การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย การผังเมอื ง (ข) ภารกจิ ถ่ายโอนตามกฎหมายกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจ 24 IN_ok.indd 24 2/10/2562 13:28:27

เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๑๘ ง หนา้ ๔ ๒๘ กนั ยายน ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา (ค) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ กลุ่มจังหวัด และจังหวัด โดยให้เน้นดําเนินการ ในยทุ ธศาสตรท์ สี่ าํ คญั และมีผลต่อประชาชนโดยตรง เช่น การแก้ไขปัญหาความยากจน การป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด (ง) กรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ในเขตจังหวดั (จ) นโยบายของผบู้ รหิ ารท้องถนิ่ ท่แี ถลงตอ่ สภาท้องถ่ิน (ฉ) แผนพฒั นาหมู่บา้ นหรอื แผนชุมชน ในการนําประเด็นข้างต้นมาจัดทําแผนพัฒนา ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินคํานึงถึง สถานะทางการคลังของท้องถิน่ และความจําเป็นเร่งด่วนท่ตี อ้ งดาํ เนินการ มาประกอบการพจิ ารณาด้วย (๒) ร่วมจัดทําร่างแผนพัฒนา เสนอแนะแนวทางการพัฒนา และการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ การจัดทําร่างแผนพัฒนา ในการจดั ทํารา่ งแผนพัฒนา ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบล เมอื งพัทยา และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นอ่นื ที่มีกฎหมายจัดตั้ง นําปญั หาความตอ้ งการจากแผนพัฒนา หมู่บ้านหรือแผนชุมชน ท่ีเกินศักยภาพของหมู่บ้านหรือชุมชน ที่จะดําเนินการเองได้มาพิจารณาบรรจุไว้ ในแผนพัฒนา แต่หากเกินศักยภาพของเทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบลเมืองพัทยา และองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งให้เสนอปัญหา ความต้องการไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด และให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดนํามาพิจารณาบรรจุไว้ในแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ตามอาํ นาจหน้าที่” ขอ้ ๖ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๖ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทํา แผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ ๗ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๗ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทํา แผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน “ขอ้ ๑๗ การจัดทําแผนพฒั นาทอ้ งถ่ินสี่ปี ใหด้ ําเนนิ การตามข้นั ตอน ดังนี้ (๑) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นจัดประชุมประชาคมท้องถิ่น ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือแจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถ่ิน รับทราบปัญหา ความต้องการ ประเด็น การพัฒนา และประเด็นที่เกี่ยวข้องตลอดจนความช่วยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพ พ้ืนที่เพ่ือนํามากําหนดแนวทางการจัดทําแผนพัฒนาท้องถ่ินสี่ปี โดยให้นําข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา จากหน่วยงานต่าง ๆ และข้อมูลในแผนพัฒนาหมู่บ้านหรือแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทํา แผนพัฒนาทอ้ งถิ่นส่ปี ี (๒) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น รวบรวมแนวทางและข้อมูล นาํ มาวเิ คราะห์เพื่อจัดทํารา่ งแผนพัฒนาทอ้ งถิน่ สปี่ ีแลว้ เสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถ่ิน (๓) คณะกรรมการพฒั นาทอ้ งถิ่นพจิ ารณารา่ งแผนพัฒนาท้องถิน่ สีป่ เี พ่ือเสนอผู้บรหิ ารท้องถ่นิ 25 IN_ok.indd 25 2/10/2562 13:28:28

เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๑๘ ง หน้า ๕ ๒๘ กนั ยายน ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา (๔) ผู้บริหารท้องถ่ินพิจารณาอนุมัติร่างแผนพัฒนาท้องถ่ินสี่ปี และประกาศใช้แผนพัฒนา ท้องถ่นิ สี่ปี เพ่ือให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล สําหรับองค์การ บริหารส่วนตําบลให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอร่างแผนพัฒนาท้องถ่ินส่ีปีต่อสภาองค์การบริหารส่วนตําบล เพ่ือให้ความเห็นชอบก่อน แลว้ ผู้บรหิ ารทอ้ งถน่ิ จงึ พจิ ารณาอนมุ ัติและประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถน่ิ สปี่ ตี อ่ ไป” ขอ้ ๘ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๘ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทํา แผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใชค้ วามต่อไปน้แี ทน “ข้อ ๑๘ แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี กรณีเทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบล เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืนที่มีกฎหมายจัดตั้ง ให้จัดทําหรือทบทวนให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม ก่อนปีงบประมาณถดั ไป กรณีองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้จัดทําหรือทบทวนให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน ก่อนปงี บประมาณถัดไป ให้นายอําเภอมอี ํานาจขยายเวลาการจัดทําหรอื ทบทวนแผนพัฒนาท้องถ่ินส่ีปีขององค์การบริหาร สว่ นตาํ บล นอกจากวรรคสามให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอํานาจขยายเวลาการจัดทําหรือทบทวนแผนพัฒนา ท้องถ่นิ สีป่ ี ในกรณขี องเทศบาลตาํ บลผวู้ า่ ราชการจังหวดั อาจมอบอาํ นาจใหน้ ายอาํ เภอก็ได้ ในกรณีมีการขยายเวลาการจัดทําหรือทบทวนแผนพัฒนาท้องถ่ินสี่ปีตามวรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหา้ แลว้ ให้จังหวัดแจ้งใหก้ ระทรวงมหาดไทยทราบ” ข้อ ๙ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒๒ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทํา แผนพัฒนาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใ้ ช้ความต่อไปนแ้ี ทน “ข้อ ๒๒ เพื่อประโยชน์ของประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอาจเพิ่มเติมหรือเปล่ียนแปลง แผนพัฒนาทอ้ งถ่ินสี่ปไี ด้ โดยใหด้ ําเนินการตามข้ันตอน ดงั นี้ (๑) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาท้องถ่ินจัดทําร่างแผนพัฒนาท้องถ่ิน สป่ี ีท่เี พมิ่ เติมหรอื เปลี่ยนแปลงพรอ้ มเหตุผลและความจําเปน็ เสนอคณะกรรมการพัฒนาทอ้ งถ่นิ (๒) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประชาคมท้องถ่ินพิจารณาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ทเ่ี พิม่ เติมหรือเปล่ียนแปลงเพ่อื เสนอผู้บริหารทอ้ งถ่นิ (๓) ผู้บริหารท้องถ่ินพิจารณาอนุมัติร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นส่ีปีท่ีเพ่ิมเติมหรือเปล่ียนแปลงและ ประกาศใชแ้ ผนพฒั นาท้องถน่ิ สี่ปที เี่ พมิ่ เตมิ หรอื เปลย่ี นแปลง 26 IN_ok.indd 26 2/10/2562 13:28:28

เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๒๑๘ ง หนา้ ๖ ๒๘ กนั ยายน ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา เพ่ือให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล สําหรับองค์การ บริหารส่วนตําบลให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นส่ีปีที่เพ่ิมเติมหรือเปลี่ยนแปลงต่อ สภาองค์การบริหารส่วนตําบลเพ่ือให้ความเห็นชอบก่อนแล้วผู้บริหารท้องถ่ินจึงพิจารณาอนุมัติ และประกาศใช้ตอ่ ไป” ในกรณีแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีมีระยะเวลาการใช้บังคับเหลืออยู่ไม่ถึงหน่ึงร้อยแปดสิบวัน ไมใ่ ห้ดําเนนิ การเพมิ่ เตมิ หรือเปลย่ี นแปลง ขอ้ ๑๐ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒๓ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทํา แผนพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ ๑๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒๕ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทํา แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปน้ีแทน “ข้อ ๒๕ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนาท้องถ่ินส่ีปีเป็นกรอบในการจัดทํา งบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และงบประมาณจากเงินสะสมในช่วง ของแผนนั้น รวมทั้งวางแนวทางเพื่อให้มีการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามโครงการพัฒนาที่กําหนดไว้ ในแผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ ส่ีป”ี ข้อ ๑๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒๗ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทํา แผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนีแ้ ทน “ข้อ ๒๗ แผนการดําเนินงานให้จัดทําให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีประกาศใช้ งบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบประมาณจากเงินสะสม หรือได้รับแจ้ง แผนงานและโครงการจากหน่วยราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่น ๆ ท่ตี อ้ งดําเนนิ การในพืน้ ทีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในปีงบประมาณนนั้ การขยายเวลาการจดั ทําและการแกไ้ ขแผนการดําเนินงานเป็นอํานาจของผบู้ ริหารท้องถนิ่ ” ข้อ ๑๓ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของข้อ ๒๙ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การจัดทําแผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน “(๓) รายงานผลและเสนอความเห็นซ่ึงได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาต่อผู้บริหารท้องถ่ิน เพ่ือให้ผู้บริหารท้องถ่ินเสนอต่อสภาท้องถ่ิน และคณะกรรมการพัฒนาท้องถ่ิน พร้อมท้ังประกาศผล การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถ่ินทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวัน นับแต่วันรายงานผลและเสนอความเห็นดังกล่าวและต้องปิดประกาศไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละสองคร้งั ภายในเดอื นเมษายนและภายในเดอื นตุลาคมของทกุ ปี” ขอ้ ๑๔ ให้ยกเลิกความใน (๕) ของข้อ ๓๐ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน 27 IN_ok.indd 27 2/10/2562 13:28:29

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๑๘ ง หนา้ ๗ ๒๘ กนั ยายน ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา “(๕) ผู้บริหารท้องถ่ินเสนอผลการติดตามและประเมินผลต่อสภาท้องถิ่น และคณะกรรมการ พัฒนาท้องถิ่น พร้อมท้ังประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบ ในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการติดตามและประเมินผลดังกล่าว และต้องปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละสองครั้งภายในเดือนเมษายน และภายในเดอื นตุลาคมของทกุ ป”ี ขอ้ ๑๕ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี แผนการดําเนินงาน การติดตาม และประเมินผลแผนพฒั นา ทีม่ อี ยู่เดิมหรอื ดาํ เนินการกอ่ นวันท่ีระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ ให้มีผลใช้บังคับได้ ตอ่ ไปจนกวา่ จะมีแผนพัฒนาทอ้ งถิ่นส่ปี ี ประกาศ ณ วันท่ี ๒๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ พลเอก อนพุ งษ์ เผ่าจนิ ดา รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย 28 IN_ok.indd 28 2/10/2562 13:28:29

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๔๖ ง ราชกหจิ นจ้าานุเ๑บกษา ๓ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการจัดทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2561 โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔8 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการจัดทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2559 ให้เปน็ ปจั จุบัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติ กาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบยี บไว้ ดงั น้ี ขอ้ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาของ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561” ขอ้ ๒ ระเบียบนีใ้ หใ้ ช้บงั คบั ตัง้ แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป ขอ้ ๓ ให้แก้ไขคาว่า “แผนพัฒนาท้องถิ่นส่ีปี” เป็น “แผนพัฒนาท้องถ่ิน” และแก้ไขคาว่า “แผนพัฒนา” เป็น “แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน” ในระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพฒั นา ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔8 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการจดั ทาแผนพัฒนาขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2559 ทกุ แหง่ ขอ้ ๔ ให้ยกเลิกบทนิยามของคาว่า “หัวหน้าส่วนการบริหารที่มีหน้าท่ีจัดทาแผน” “พนักงานสว่ นทอ้ งถิน่ ” “โครงการพฒั นา” ในข้อ 4 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจัดทา แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2548 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการจัดทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2559 และใหใ้ ช้ความ ตอ่ ไปนแ้ี ทน “หัวหน้าส่วนการบริหารท่ีมีหน้าท่ีจัดทาแผน” หมายความว่า ผู้อานวยการสานัก หัวหน้าสานัก ผู้อานวยการกองขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือตาแหน่งที่เรียกช่ืออย่างอื่นซ่ึงเทียบเท่าตาแหน่ง ดงั กล่าว “พนักงานส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล พนักงานเมืองพัทยา พนักงานส่วนตาบล และพนักงานหรือข้าราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่น ทม่ี ีกฎหมายจัดต้ัง “โครงการพฒั นา” หมายความวา่ โครงการทด่ี าเนนิ การจัดทาบรกิ ารสาธารณะ และกิจกรรม สาธารณะเพอ่ื ให้การพัฒนาบรรลุตามวสิ ัยทัศนท์ ก่ี าหนดไว้ ข้อ 5 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 8 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การจัดทาแผนพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2548 และใหใ้ ช้ความต่อไปน้ีแทน 29 IN_ok.indd 29 2/10/2562 13:28:29

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๒๔๖ ง ราชกหิจนจ้าานุเ๒บกษา ๓ ตุลาคม ๒๕๖๑ “กรรมการตาม (3) (๔) (๕) และ (6) ให้มีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับ การคัดเลอื กอีกก็ได้” ขอ้ 6 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 9 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การจดั ทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2548 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน “กรรมการตาม (๓) ใหม้ ีวาระอยู่ในตาแหนง่ คราวละส่ปี ีและอาจได้รับการคัดเลอื กอีกก็ได้” ขอ้ 7 ให้ยกเลิกความในข้อ 14 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา แผนพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ พ.ศ. 2548 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน “ขอ้ ๑๔ ผทู้ รงคุณวุฒิมวี าระอยใู่ นตาแหนง่ คราวละส่ีปีและอาจได้รบั การคัดเลอื กอกี กไ็ ด้” ขอ้ ๘ ให้เพ่ิมความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ 21 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดั ทาแผนพัฒนาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2548 “เมื่อผู้บริหารท้องถิ่นได้เห็นชอบแผนพัฒนาท้องถ่ินท่ีแก้ไขแล้ว ให้ปิดประกาศให้ประชาชน ทราบโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับแต่วันท่ีผู้บริหารท้องถ่ินเห็นชอบ พร้อมทั้งแจ้งสภาท้องถิ่น อาเภอ และจงั หวัดทราบดว้ ย” ข้อ ๙ ให้ยกเลิกความในข้อ 22 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการจดั ทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2559 และใหใ้ ช้ความ ต่อไปนี้แทน “ข้อ ๒๒ เพ่ือประโยชน์ของประชาชน การเพิ่มเติมแผนพัฒนาท้องถ่ิน ให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นดาเนินการตามขน้ั ตอน ดงั น้ี (๑) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นจัดทาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น ทเ่ี พม่ิ เติมพร้อมเหตุผลและความจาเป็นเสนอคณะกรรมการพัฒนาทอ้ งถนิ่ (๒) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประชาคมท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น ทีเ่ พมิ่ เตมิ สาหรับองค์การบรหิ ารส่วนตาบลให้สง่ รา่ งแผนพัฒนาท้องถนิ่ ที่เพิม่ เตมิ ให้สภาองค์การบริหาร ส่วนตาบลพิจารณาตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 ดว้ ย เม่ือแผนพัฒนาท้องถิ่นท่ีเพิ่มเติมได้รับความเห็นชอบแล้ว ให้ส่งแผนพัฒนาท้องถิ่นดังกล่าว ใหผ้ ู้บรหิ ารทอ้ งถ่ินประกาศใช้ พร้อมท้ังปดิ ประกาศให้ประชาชนทราบโดยเปิดเผยไมน่ ้อยกว่าสามสบิ วัน นบั แตว่ นั ทผ่ี ู้บริหารทอ้ งถ่นิ ประกาศใช้” ข้อ ๑๐ ให้เพม่ิ ความตอ่ ไปนเ้ี ปน็ ข้อ ๒๒/๑ และขอ้ ๒๒/๒ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2548 IN_ok.indd 30 30 2/10/2562 13:28:29

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๒๔๖ ง ราชกหิจนจ้าานุเ๓บกษา ๓ ตุลาคม ๒๕๖๑ “ข้อ ๒๒/๑ เพื่อประโยชนข์ องประชาชน การเปล่ียนแปลงแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น ใหเ้ ปน็ อานาจ ของคณะกรรมการพัฒนาท้องถ่ิน สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบลให้ส่งร่างแผนพัฒนาท้องถ่ิน ทเ่ี ปลยี่ นแปลงให้สภาองค์การบริหารส่วนตาบลพิจารณาตามมาตรา 46 แหง่ พระราชบัญญตั สิ ภาตาบล และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 ด้วย เมื่อแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ ตามวรรคหน่ึงไดร้ บั ความเหน็ ชอบแลว้ ใหส้ ่งแผนพัฒนาท้องถ่นิ ดังกล่าว ใหผ้ บู้ รหิ ารทอ้ งถิ่นประกาศใช้ พร้อมทั้งปิดประกาศให้ประชาชนทราบโดยเปิดเผยไมน่ ้อยกว่าสามสิบวัน นบั แต่วันทผ่ี ูบ้ รหิ ารท้องถ่นิ ประกาศใช้” “ข้อ ๒๒/๒ ในกรณีการเพิ่มเติมหรือเปล่ียนแปลงแผนพัฒนาท้องถิ่นท่ีเกี่ยวกับโครงการ พระราชดาริ งานพระราชพิธี รฐั พิธี นโยบายรัฐบาล และนโยบายกระทรวงมหาดไทย ให้เปน็ อานาจ ของผู้บริหารท้องถ่ิน สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบลให้ส่งร่างแผนพัฒนาท้องถ่ินท่ีเพ่ิมเติมหรือ เปลี่ยนแปลงให้สภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบลพิจารณาตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบล และองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 ด้วย และเมื่อแผนพัฒนาท้องถ่ินที่เพ่ิมเติมหรือ เปลย่ี นแปลงไดร้ บั ความเหน็ ชอบแล้ว ให้ปดิ ประกาศใหป้ ระชาชนทราบโดยเปดิ เผยไมน่ อ้ ยกวา่ สามสิบวนั นบั แต่วันที่ได้รบั ความเห็นชอบการเพิ่มเตมิ หรอื เปล่ียนแปลงแผนพฒั นาท้องถิ่นดงั กลา่ ว” ข้อ ๑1 ให้ยกเลิกความในวรรคสามของข้อ 28 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. 2548 และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน “กรรมการตาม (1) (2) (3) (4) และ (5) ให้มีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละส่ีปีและ อาจไดร้ ับการคัดเลือกอกี ก็ได้” ข้อ ๑2 ให้ยกเลิกความใน (๓) ของข้อ 29 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2559 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน “(๓) รายงานผลและเสนอความเหน็ ซงึ่ ได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถนิ่ ต่อ ผบู้ ริหารทอ้ งถ่นิ เพือ่ ใหผ้ ู้บรหิ ารทอ้ งถิ่นเสนอตอ่ สภาทอ้ งถิ่น และคณะกรรมการพฒั นาทอ้ งถ่ิน พรอ้ มท้ัง ประกาศผลการตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนพัฒนาท้องถ่ินให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในทีเ่ ปดิ เผยภายใน สิบห้าวันนับแต่วันรายงานผลและเสนอความเห็นดังกล่าว และต้องปิดประกาศไว้เป็นระยะเวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ สามสบิ วันโดยอย่างนอ้ ยปีละหนงึ่ ครัง้ ภายในเดอื นธนั วาคมของทกุ ปี” ข้อ ๑3 ให้ยกเลิกความใน (5) ของข้อ 30 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2559 และให้ใชค้ วามต่อไปน้แี ทน 31 IN_ok.indd 31 2/10/2562 13:28:30

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๔๖ ง ราชกหจิ นจ้าานุเ๔บกษา ๓ ตลุ าคม ๒๕๖๑ “(5) ผบู้ ริหารท้องถ่ินเสนอผลการติดตามและประเมินผลต่อสภาท้องถ่ิน และคณะกรรมการ พัฒนาท้องถ่ิน พร้อมท้ังประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถ่ิน ให้ประชาชน ใน ท้ อ ง ถิ่ น ท ร า บ ใน ท่ี เปิ ด เผ ย ภ า ย ใน สิ บ ห้ า วั น นั บ แ ต่ วั น ท่ี ผู้ บ ริ ห า ร ท้ อ ง ถิ่ น เส น อ ผ ล ก า ร ติ ด ต า ม และประเมินผลดังกล่าว และต้องปิดประกาศไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวันโดยอย่างน้อย ปลี ะหนงึ่ ครั้งภายในเดอื นธันวาคมของทกุ ปี” ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ พลเอก อนพุ งษ์ เผา่ จนิ ดา รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย 32 IN_ok.indd 32 2/10/2562 13:28:30

พระราชบัญญัติ ลกั ษณะปกครองทอ งที่ พระพุทธศกั ราช ๒๔๕๗ (แกไขเพ่มิ เตมิ ถงึ ปจ จบุ ัน) มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวดํารัสเหนือเกลาฯ ใหประกาศทราบท่ัวกันวา เม่ือในรัชกาลแหงสมเด็จพระบรมชนกนาถ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหต้ังพระราชบัญญัติลักษณะ ปกครองทองที่ขึ้นเมื่อพระพุทธศักราช ๒๔๔๐ และไดใชพระราชบัญญัติน้ันเปนแบบแผนวิธีปกครอง ท่ัวพระราชอาณาจักรอันอยูภายนอกจังหวัดกรุงเทพฯ มาจนบัดน้ีพระราชบัญญัติอื่นๆ อันเน่ืองดวยวิธี ปกครองราษฎร ซงึ่ ต้งั ขน้ึ ภายหลงั ตอมา ไดยดึ พระราชบัญญตั ิลกั ษณะปกครองทองที่นี้เปนหลักอีกเปนอันมาก เพราะฉะนั้นพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองท่ี นับวาเปนพระราชบัญญัติสําคัญในการปกครอง พระราชอาณาจักรอยา งหนึ่ง ตั้งแตไดตราพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองท่ี ในพระพุทธศักราช ๒๔๔๐ มา วิธีปกครองพระราชอาณาจักรไดจัดการเปล่ียนแปลงดําเนินมาโดยลําดับหลายอยาง ทรงพระราชดําริเห็นวา ถงึ เวลาอนั สมควรท่จี ะแกไ ขพระราชบญั ญตั ิลกั ษณะปกครองทองท่ีใหตรงกบั วิธีการปกครองท่เี ปนอยทู กุ วนั น้ี จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหแกไขพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ รัตนโกสินทรศก ๑๑๖ ของเดิมแหงใดที่ยังใชไดใหคงไว แหงใดท่ีเกาเกินกวาวิธีปกครองทุกวันนี้ก็แกไขใหตรงกับเวลา รวบรวม ตราเปน พระราชบัญญตั ิไวสบื ไปดังน้ี หมวด ๑ วา ดวยนามและการใชพระราชบญั ญัติ มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีใหเรียกวา “พระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ พระพุทธศกั ราช ๒๔๕๗” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ต้ังแตวันประกาศแลวใหใชท่ัวทุกมณฑล เวนแตในจังหวัด กรุงเทพฯ ช้ันใน และเมื่อใชพระราชบัญญัตินี้แลวใหยกเลิกพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ รตั นโกสินทรศก ๑๑๖ เสยี ใชพ ระราชบัญญตั ินแี้ ทนสืบไป (ไดม ีประกาศลงวนั ที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๕๘ ใหใ ช พ.ร.บ. นีใ้ นเขตชัน้ ในกรุงเทพฯ) 33 IN_ok.indd 33 2/10/2562 13:28:30

- ๒- มาตรา ๓ บรรดาพระราชกําหนดกฎหมายแตกอน บทใดขอความขัดกับพระราชบัญญัตินี้ ใหย กเลิกกฎหมายบทนั้นตัง้ แตวันทไ่ี ดใชพระราชบญั ญตั นิ ี้ไป การยกเลิกตาํ แหนง กํานนั ผใู หญบ า น แพทยป ระจําตาํ บล สารวัตรกํานนั และผูชว ยผูใหญบ า น จะกระทํามิได (เพ่ิมเตมิ ความวรรคสองของมาตรา ๓ โดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ.ลักษณะปกครองทองที่ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๒) มาตรา ๔ อํานาจหนาที่สมุหเทศาภิบาล ซ่ึงกลาวตอไปในพระราชบัญญัติน้ีสวนในมณฑล กรุงเทพฯ ใหเปนอํานาจและหนาที่ของเสนาบดีกระทรวงนครบาลหรือขาราชการผูใหญในกระทรวงนครบาล ซ่ึงเสนาบดีกระทรวงนครบาลจะไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหมีอํานาจหนาที่เฉพาะการน้ันๆ อีกประการหนึ่งความที่กลาวตอไปในพระราชบัญญัติน้ี แหงใดมีใจความวา สมุหเทศาภิบาลจะทําไดดวย อนมุ ัติของเสนาบดีใจความอนั นี้ไมต องใชในสวนมณฑลกรุงเทพฯ เพราะหนาท่ีสมุหเทศาภิบาลและเสนาบดี ในสวนมณฑลกรุงเทพฯ รวมอยใู นตาํ แหนง เสนาบดีกระทรวงนครบาล (เม่ือไดประกาศรวมกระทรวงนครบาลกับกระทรวงมหาดไทยเขาดวยกันเปนกระทรวงเดียวเรียกวา กระทรวงมหาดไทยแลวไดตง้ั ตําแหนง สมุหพระนครบาลทําหนา ทีท่ าํ นองสมุหเทศาภิบาล ตอมาตําแหนงเหลานี้ไดลมเลิกไป โดย พ.ร.บ. วาดวยระเบียบราชการบรหิ ารแหงราชอาณาจกั ร พ.ศ. ๒๔๗๖ อํานาจหนา ทีต่ กไปอยูแ กข า หลวงประจาํ จงั หวัด) มาตรา ๕ ใหเ สนาบดผี บู ัญชาการปกครองทอ งทมี่ ีอาํ นาจที่จะตั้งกฎขอบังคับสําหรับจัดการ ใหเ ปน ไปตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ถาและกฎน้ันไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตและประกาศในหนังสือ ราชกจิ จานเุ บกษาแลวกใ็ หถ อื วา เปน เหมอื นสว นหนึ่งในพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา ๖ ในการที่จะกําหนดเขตหมูบานและตําบลทั้งปวงในหัวเมืองใด ใหผูวาราชการเมือง น้ันเม่ือไดอนุมัติของสมุหเทศาภิบาลแลว มีอํานาจท่ีจะกําหนดไดและการท่ีจะกําหนดเขตอําเภอนั้น ก็ใหสมุหเทศาภิบาลมีอํานาจที่จะกําหนดได เม่ือไดรับอนุมัติของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยแลวฉะนั้น สวนมณฑลกรุงเทพฯ เสนาบดีกระทรวงนครบาลกาํ หนดไดเด็ดขาด หมวด ๒ วาดวยวธิ ีอธิบายศัพททใ่ี ชในพระราชบญั ญตั ิ มาตรา ๗ ศพั ทว า “บาน” และ “เจาบา น” ซงึ่ กลาวในพระราชบัญญัตินใี้ หพ ึงเขาใจดงั นี้ ขอ ๑ ศัพทวา “บาน” น้ันหมายความวา เรือนหลังเดียวก็ตาม หลายหลังก็ตาม ซึ่งอยูในเขต ท่มี ีเจา ของเปน อสิ ระสวนหน่ึงนบั ในพระราชบัญญตั ินว้ี าบา นหนง่ึ หองแถว และแพ หรือเรือชําซ่ึงจอดประจํา อยูที่ใด ถามีเจาของหรือผูเชาครอบครองเปนอิสระตางหากหองหนึ่ง หลังหนึ่ง ลําหนึ่ง หรือหมูหนึ่ง ในเจาของหรือผูเชา คนหน่งึ นนั้ กน็ ับวาบานหนึง่ เหมือนกัน ขอ ๒ ศัพทวา “เจาบาน” น้ันหมายความวา ผูอยูปกครองบานซ่ึงไดวามาแลวในขอกอน จะครอบครองดวยเปนเจาของก็ตาม ดวยเปนผูเชาก็ตาม ดวยเปนผูอาศัยโดยชอบดวยกฎหมายก็ตาม นับ ตามพระราชบญั ญัตนิ ว้ี า เปนเจา บาน ขอ ๓ วัด โรงพยาบาล โรงทหาร โรงเรียน เรือนจํา ท่ีทําการไปรษณีย สถานีรถไฟ สถานที่ ตา ง ๆ ของรัฐบาล อยูในความปกครองของหัวหนาในทน่ี ั้นไมนับเปนบานตามพระราชบัญญัตนิ ี้ 34 IN_ok.indd 34 2/10/2562 13:28:30

-๓- หมวด ๓ วาดวยลักษณะปกครองหมูบา น ตอน ๑ การตง้ั หมบู า น มาตรา ๘ บานหลายบานอยูในทองที่อันหน่ึงซ่ึงควรอยูในความปกครองอันเดียวกันได ใหจัดเปนหมูบานหน่ึง ลักษณะท่ีกําหนดหมูบานตามพระราชบัญญัตินี้ใหถือความสะดวกแกการปกครอง เปนประมาณ คอื ขอ ๑ ถาเปนที่มีคนอยูรวมกันมาก ถึงจํานวนบานนอย ใหถือเอาจํานวนคนเปนสําคัญ ประมาณราว ๒๐๐ คน เปนหมบู า นหนง่ึ ขอ ๒ ถาเปนที่ผูคนตั้งบานเรือนอยูหางไกลกัน ถึงจํานวนคนจะนอย ถาและจํานวนบาน ไมต ํา่ กวา ๕ บา นแลว จะจัดเปนหมบู านหนง่ึ กไ็ ด ตอน ๒ การแตงตง้ั ผใู หญบาน ผชู วยผใู หญบา น การออกจากตาํ แหนงของผูใหญบาน และผชู วยผใู หญบ าน (ช่ือของตอน ๒ เดิมยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๓ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖) มาตรา ๙ ในหมูบานหนึ่งใหมีผูใหญบานคนหนึ่งและมีผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง หมบู านละสองคน เวน แตหมูบ า นใดมีความจาํ เปน ตองมมี ากกวา สองคน ใหขออนมุ ตั กิ ระทรวงมหาดไทย ในหมูบานใด ผวู า ราชการจงั หวดั เหน็ สมควรใหมีผูช วยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ ก็ให มไี ดตามจาํ นวนท่กี ระทรวงมหาดไทยจะเห็นสมควร ผูใหญบานจะไดรับเงินเดือน แตมิใชจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือน สวนผูชวย ผูใหญบานฝายรักษาความสงบและผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง จะไดรับเงินตอบแทนตามท่ี กระทรวงมหาดไทยกําหนด (ความในมาตรา ๙ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐ และขอ ๑ แหง ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๕) มาตรา ๑๐ ผใู หญบา นมีอํานาจหนา ท่ีปกครองบรรดาราษฎรที่อยูในเขตหมบู าน (ความในมาตรา ๑๐ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖) 35 IN_ok.indd 35 2/10/2562 13:28:31

-๔- มาตรา ๑๑ ราษฎรผูมีสิทธิเลือกผูใหญบานตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดงั ตอไปนี้ (๑) มสี ญั ชาตไิ ทยและมอี ายไุ มต า่ํ กวาสบิ แปดปบริบูรณใ นวนั ที่ ๑ มกราคม ของปท่ีมีการเลือก (๒) ไมเ ปนภิกษุ สามเณร นักพรต หรอื นกั บวช (๓) ไมเปน คนวิกลจรติ หรือจติ ฟน เฟอ นไมสมประกอบ (๔) มีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูประจํา และมีชื่อในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการ ทะเบยี นราษฎร ในหมูบ า นนน้ั ตดิ ตอกนั มาแลว ไมนอยกวาสามเดอื นจนถงึ วนั เลอื ก (ความในมาตรา ๑๑ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ มาตรา ๓ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๘๙ มาตรา ๓ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๓๕ ความในมาตรา ๑๑ (๑) ยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๓ พ.ร.บ. ลักษณะปกครอง ทองท่ี (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. ลกั ษณะปกครองทองที่ (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑) มาตรา ๑๒ ผูท่ีจะไดรับเลือกเปนผูใหญบานตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดงั ตอไปน้ี (๑) มีสญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด (๒) อายไุ มต่าํ กวาย่สี ิบหา ปบริบูรณในวนั รบั เลอื ก (๓) มีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูเปนประจําและมีชื่อในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการ ทะเบยี นราษฎรในหมูบา นนั้นติดตอ กนั มาแลว ไมน อ ยกวา สองปจนถึงวนั เลือกและเปน ผทู ี่ประกอบอาชพี เปน หลักฐาน (๔) เปนผเู ลอื่ มใสในการปกครองตามรฐั ธรรมนญู ดว ยความบริสุทธใิ์ จ (๕) ไมเปน ภกิ ษุ สามเณร นักพรต หรอื นกั บวช (๖) ไมเปนผูมีรางกายทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได วิกลจริต จิตฟนเฟอน ไมสมประกอบ ติดยาเสพติดใหโทษ หรือเปนโรคตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยประกาศกําหนด ในราชกจิ จานุเบกษา (๗) ไมเปนสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ขาราชการการเมือง ขา ราชการประจํา พนักงาน เจาหนาที่ หรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ หรือของรัฐวิสาหกิจ หรือขององคกร ปกครองสวนทองถนิ่ หรือลูกจางของสวนราชการ หรือลูกจา งของเอกชนซ่งึ มีหนา ทที่ ํางานประจํา (๘) ไมเปน ผมู ีอิทธิพลหรือเสยี ช่ือในทางพาลหรอื ทางทจุ ริต หรือเสอ่ื มเสยี ในทางศีลธรรม (๙) ไมเปนผูเคยถูกใหออก ปลดออก หรือไลออกจากราชการ หนวยงานของรัฐ รฐั วสิ าหกจิ หรือองคกรปกครองสว นทองถิ่น เพราะทุจริตตอหนาท่ี และยังไมพนกําหนดเวลาสิบปนับแตวัน ถกู ใหออก ปลดออก หรอื ไลออก (๑๐) ไมเปนผูเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุด เวนแตเปนโทษสําหรับ ความผิดที่ไดก ระทาํ โดยประมาท หรือความผิดลหโุ ทษ และยังไมพนกาํ หนดเวลาสิบปน บั แตวันพนโทษ IN_ok.indd 36 36 2/10/2562 13:28:31

-๕- (๑๑) ไมเปนผูเคยตองคําพิพากษาถึงท่ีสุดวากระทําผิดเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยปาไม กฎหมายวาดวยปาสงวนแหงชาติ กฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสัตวปา กฎหมายวาดวยอุทยาน แหง ชาติ กฎหมายวา ดวยศลุ กากร กฎหมายวา ดว ยอาวุธปน เครอ่ื งกระสนุ ปน วตั ถรุ ะเบิด ดอกไมเพลงิ และสิ่งเทียมอาวุธปน ในฐานความผิดเก่ียวกับอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดท่ีนายทะเบียนไม อาจออกใบอนุญาตใหได กฎหมายวา ดว ยท่ดี ิน ในฐานความผดิ เกี่ยวกบั ทีส่ าธารณประโยชน กฎหมายวา ดว ย ยาเสพติด กฎหมายวาดวยการเลือกตั้ง และกฎหมายวาดวยการพนัน ในฐานความผิดเปนเจามือหรือ เจาสํานกั (๑๒) ไมเปนผูเคยถูกใหออกจากตําแหนงตามมาตรา ๑๔ (๖) หรือ (๗) และยังไมพน กาํ หนดเวลาสิบปน บั แตวันถกู ใหออก (๑๓) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากตําแหนงกํานัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล หรือผูชวยผูใหญบาน ตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน และยังไมพน กาํ หนดเวลาสิบปนบั แตวันถกู ใหออก ปลดออก หรือไลอ อก (๑๔) มีพ้ืนความรูไมต่ํากวาการศึกษาภาคบังคับ หรือที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบไมต่ํา กวาการศึกษาภาคบังคับ เวนแตในทองที่ใดไมอาจเลือกผูมีพ้ืนความรูดังกลาวได ผูวาราชการจังหวัดโดย อนุมัตริ ฐั มนตรวี าการกระทรวงมหาดไทย อาจประกาศในราชกิจจานุเบกษายกเวน หรือผอนผันได (๑๕) ไมเปนผูอยูในระหวางเสียสิทธิในกรณีท่ีไมไปใชสิทธิเลือกตั้งหรือถูกเพิกถอน สิทธิเลอื กต้ัง (ความในมาตรา ๑๒ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย มาตรา ๔ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหเพ่ิมเติม มาตรา ๑๒ (๑๕) โดยมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ. ลกั ษณะปกครองทอ งที่ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑) มาตรา ๑๓ การเลือกผูใหญบานตองเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และใหกระทําโดย วธิ ลี ับ ทงั้ น้ี ตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารทีก่ ระทรวงมหาดไทยกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เพอื่ ประโยชนใ นการเลอื กผูใหญบา น ใหม ีคณะกรรมการคณะหนึ่งซง่ึ นายอําเภอแตงต้ังจาก เจาหนาที่ของรัฐไมเกินสามคน และราษฎรผูมีสิทธิเลือกผูใหญบานในหมูบาน ซึ่งเปนท่ียอมรับนับถือของ ราษฎรในหมูบานจํานวนไมนอยกวาสี่คนแตไมเกินเจ็ดคน เพื่อทําหนาท่ีตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะ ตองหามของผสู มัครรบั เลอื กเปน ผูใหญบา น การแตงตั้งกรรมการ วิธีการเลือกประธานคณะกรรมการ และวิธีการตรวจสอบตามวรรคสอง ใหเปนไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการท่กี ระทรวงมหาดไทยกําหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เมื่อราษฎรสวนใหญเลือกผูใดเปนผูใหญบานแลว ใหนายอําเภอออกคําสั่งเพ่ือแตงตั้งและ ใหถือวาผูน้ันเปนผูใหญบานนับแตวันที่ไดรับแตงตั้ง ในกรณีท่ีผูรับเลือกมีคะแนนเสียงเทากัน ใหใชวิธี จับฉลาก ทั้งน้ี เมื่อนายอําเภอไดมีคําส่ังแตงต้ังผูใหญบานแลวใหรายงานใหผูวาราชการจังหวัดเพ่ือออก หนังสอื สําคัญใหไวเปน หลกั ฐาน 37 IN_ok.indd 37 2/10/2562 13:28:32

-๖- ในกรณีที่มีการคัดคานวาผูซึ่งไดรับเลือกเปนผูใหญบานตามวรรคส่ีไดรับเลือกมาโดย ไมส ุจริตและเท่ียงธรรม ใหนายอําเภอดําเนินการสอบสวน และถาผลการสอบสวนไดความตามท่ีมีผูคัดคาน ใหรายงานผวู าราชการจังหวดั และใหผ ูวา ราชการจังหวัดส่ังใหพนจากตําแหนงโดยเร็ว ท้ังน้ี ภายในเกาสิบวัน นับแตวนั ที่นายอาํ เภอมคี าํ สงั่ แตง ต้ัง การพนจากตําแหนงของผูใหญบานตามวรรคหา ไมกระทบกระเทือนกิจการที่ผูใหญบาน ไดก ระทําลงไปในขณะท่ดี ํารงตําแหนง (ความในมาตรา ๑๓ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๔๘๙ เพิ่มเติมวรรคหา โดยมาตรา ๕ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑) มาตรา ๑๔ ผูใหญบ า นตอ งพนจากตาํ แหนงดว ยเหตุใดเหตุหนงึ่ ดงั ตอไปน้ี (๑) มอี ายุครบหกสิบป (๒) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒ เวนแตในกรณีท่ีไดรับอนุญาต จากผูวาราชการจังหวัดใหลาอุปสมบทหรือบรรพชาตามประเพณี มิใหถือวามีลักษณะตองหามตาม มาตรา ๑๒ (๕) (๓) ตาย (๔) ไดร บั อนุญาตจากนายอาํ เภอใหล าออก (๕) หมูบานท่ีปกครองถูกยุบ (๖) เมื่อราษฎรผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๑ ในหมูบานนั้น จํานวนไมนอยกวาก่ึงหน่ึงของราษฎรผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๑ ท้ังหมด เขาชื่อ กันขอใหอ อกจากตําแหนง ในกรณเี ชนนั้นใหนายอาํ เภอสง่ั ใหพ นจากตาํ แหนง (๗) ผูวาราชการจังหวัดสั่งใหพนจากตําแหนง เมื่อไดรับรายงานการสอบสวนของ นายอาํ เภอวา บกพรองในหนาท่ี หรือประพฤตติ นไมเ หมาะสมกบั ตําแหนง (๘) ไปเสียจากหมูบานที่ตนปกครองติดตอกันเกินสามเดือน เวนแตเมื่อมีเหตุอันสมควร และไดรบั อนญุ าตจากนายอาํ เภอ (๙) ขาดการประชุมประจําเดือนของกํานัน ผูใหญบานท่ีนายอําเภอเรียกประชุมสามครั้ง ติดตอกนั โดยไมม เี หตุอนั ควร (๑๐) ถูกปลดออกหรือไลออกจากตําแหนง เน่อื งจากกระทําความผดิ วนิ ยั อยางรา ยแรง (๑๑) ไมผ า นการประเมินผลการปฏิบัติหนา ที่ ซ่งึ ตอ งทําอยางนอยทกุ หาปนับแตวันที่ไดรับ การแตง ต้งั ทั้งนี้ ตามหลกั เกณฑแ ละวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในกรณีท่ีผูใหญบานพนจากตําแหนงตาม (๘) ใหนายอําเภอรายงานใหผูวาราชการจังหวัด ทราบโดยเรว็ ดว ย 38 IN_ok.indd 38 2/10/2562 13:28:32

-๗- หลักเกณฑและวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดตาม (๑๑) ตองกําหนดใหราษฎร ในหมบู า นมสี วนรวมในการประเมนิ ผลการปฏิบัติหนาทข่ี องผใู หญบ านดว ย (ความในมาตรา ๑๔ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ (ฉบับท่ี ๘) พ.ศ. ๒๕๓๒ เพ่ิมเติม (๑ ทวิ) โดยมาตรา ๖ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๕ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทอ งท่ี (ฉบบั ท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑) มาตรา ๑๕ ผใู หญบ านและกาํ นันทอ งทรี่ วมกันพิจารณาคัดเลือกราษฎรซึ่งมีคุณสมบัติตาม มาตรา ๑๖ เปน ผชู ว ยผใู หญบานฝายปกครองและผชู ว ยผูใ หญบา นฝายรกั ษาความสงบ (ความในมาตรา ๑๕ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ และ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐) มาตรา ๑๖ ผูมีสิทธิจะไดรับคัดเลือกเปนผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง หรือผูชวย ผูใหญบา นฝา ยรักษาความสงบ ตอ งมคี ณุ สมบัตแิ ละไมมีลกั ษณะตอ งหามตามมาตรา ๑๒ (ความในมาตรา ๑๖ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๘๙ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐ และมาตรา ๕ (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒) มาตรา ๑๗ เมือ่ ผูใ ดไดรบั คัดเลอื กเปนผูชวยผใู หญบานฝา ยปกครองหรอื ผชู ว ยผใู หญบาน ฝายรักษาความสงบ ใหกํานันรายงานไปยังนายอําเภอเพ่ือออกหนังสือสําคัญไวเปนหลักฐานและใหถือวาผูน้ัน เปนผูชวยผูใหญบานฝายปกครองหรือผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบตั้งแตวันท่ีนายอําเภอ ออกหนงั สอื สําคัญ (ความในมาตรา ๑๗ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๔๘๙ และ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐) มาตรา ๑๗ ทวิ ในหมูบานใดมีผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ ผูวาราชการจังหวัด จะแตงต้ังใหผูชวยผูใหญบานฝายปกครองเปนผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบอีกตําแหนงหน่ึงก็ได สวนเงนิ คาตอบแทนใหเ ปนไปตามทกี่ ระทรวงมหาดไทยกาํ หนด (ความในมาตรา ๑๗ ทวิ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐ และประกาศของคณะปฏวิ ัตฉิ บับท่ี ๑๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๕) มาตรา ๑๘ ผูชวยผูใหญบานฝายปกครองและผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบอยูใน ตําแหนงคราวละหา ป นอกจากออกจากตําแหนงตามวาระ ผูชวยผูใหญบานฝายปกครองและผูชวยผูใหญบาน ฝายรักษาความสงบตองออกจากตําแหนงเพราะขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒ หรือ เพราะเหตุเชน เดยี วกบั ทีผ่ ูใหญบานตองออกจากตาํ แหนง ตามมาตรา ๑๔ (๒) ถงึ (๗) ถาตําแหนงผูชวยผูใหญบานฝายปกครองหรือผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบวางลง ใหมีการคัดเลือกผูชวยผูใหญบานฝายปกครองหรือผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบแทน และใหนํา ความในมาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ มาใชบงั คบั โดยอนุโลม ผูซ ึง่ ไดร บั คัดเลือกตามวรรคสามอยูในตําแหนง ตามวาระของผซู งึ่ ตนแทน เมื่อผูใหญบ า นตองออกจากตาํ แหนงไมวาดว ยเหตุใด ใหผูชวยผูใหญบานฝายปกครองและ ผูชวยผูใ หญบา นฝา ยรกั ษาความสงบตอ งออกจากตําแหนง ดว ย (ความในมาตรา ๑๘ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐ และมาตรา ๖ (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒) 39 IN_ok.indd 39 2/10/2562 13:28:33

-๘- มาตรา ๑๙ เม่อื ปรากฏเหตุอยางใดอยา งหนง่ึ ดังตอ ไปน้ี ใหเ ลือกผใู หญบา นขึ้นใหม (๑) กรณีที่หมูบานใดมีจํานวนราษฎรเพิ่มขึ้นไมวาดวยเหตุใดก็ตาม เมื่อกํานันและ ผูใหญบานในตําบลนั้นปรึกษากันเห็นวา จํานวนราษฎรนั้นเกินกวาความสามารถของผูใหญบานคนเดียว จะดูแลปกครองใหเรียบรอยได ใหกํานันรายงานตอนายอําเภอเพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นไปยังผูวา ราชการจังหวัด ในกรณีที่ผูวาราชการจังหวัดเห็นสมควร ใหตั้งหมูบานขึ้นใหมและเลือกผูใหญบานเพ่ิมเติม ขึ้นใหมได (๒) กรณีที่ผูใหญบานของหมูบานใดวางลง ใหเลือกผูใหญบานภายในกําหนดสามสิบวัน นบั แตว ันทีผ่ ูใหญบ านของหมูบา นนน้ั วา งลง ในกรณีท่ีมีความจําเปนไมอาจจัดใหมีการเลือกผูใหญบานภายในกําหนดตาม (๒) ได ใหผูวาราชการจังหวัดขยายเวลาออกไปไดเทาท่ีจําเปน และในระหวางท่ียังมิไดมีการเลือกผูใหญบาน ผูวาราชการจังหวัดจะแตงต้ังผูใหญบานในตําบลนั้นคนหนึ่งเปนผูรักษาการแทนผูใหญบาน หรือจะแตงตั้ง บุคคลผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒ เปนผูรักษาการผูใหญบานจนกวาจะมี การเลอื กผใู หญบา นก็ได (ความในขอ ๒ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๔๘๖ และมาตรา ๖ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทอ งท่ี (ฉบบั ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑) มาตรา ๒๐ เมื่อผูใหญบานตองออกจากตําแหนงดวยเหตุประการใด ๆ เปนหนาที่ของ กาํ นนั นายตําบลน้ัน จะตองเรียกหมายต้ังและสํามะโนครัวทะเบียนบัญชีท่ีไดทําข้ึนไวในหนาท่ีผูใหญบานน้ัน คืนมารักษาไว เม่ือผูใดรับตําแหนงเปนผูใหญบานแทน ก็ใหมอบสํามะโนครัวและทะเบียนบัญชีทั้งปวงให แตหมายต้ังนั้นกํานันตองรีบสงใหกรมการอําเภอ อน่ึงการที่จะเรียกคืนหมายตั้งและสํามะโนครัวทะเบียน บัญชีที่ไดกลาวมาในขอ นี้ ถาขดั ของประการใดกํานนั ตองรีบแจงความตอกรมการอําเภอ มาตรา ๒๑ ถาผใู หญบา นคนใดจะทาํ การในหนา ทไ่ี มไดใ นคร้งั หนง่ึ คราวหน่ึงใหม อบหนา ท่ี ใหแกผูชวยผูใหญบานฝายปกครองคนใดคนหนึ่งเปนผูรักษาการแทนจนกวาผูใหญบานน้ันจะทําการใน หนาท่ีได และรายงานใหกํานันทราบ ถาการมอบหนาที่น้ันเกินกวาสิบหาวัน ใหกํานันรายงานใหนายอําเภอ ทราบดวย (ความในมาตรา ๒๑ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๙ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐) ตอน ๓ การตง้ั หมบู า นชัว่ คราว มาตรา ๒๒ ถาในทองที่อําเภอใดมีราษฎรไปตั้งชุมนุมทําการหาเลี้ยงชีพแตในบางฤดู ถาและจํานวนราษฎรซ่ึงไปตั้งทําการอยูมากพอสมควรจะจัดเปนหมูบานไดตามพระราชบัญญัติลักษณะ ปกครองทอ งทเ่ี พอ่ื ความสะดวกแกการปกครอง ก็ใหน ายอาํ เภอประชุมราษฎรในหมูน้ันเลือกวาที่ผูใหญบาน คนหนง่ึ หรอื หลายคนตามควรแกก ําหนดทวี่ าไวในพระราชบญั ญัตลิ ักษณะปกครองทองทีน่ ี้ IN_ok.indd 40 40 2/10/2562 13:28:33

-๙- มาตรา ๒๓ ผูซ่ึงสมควรจะเปนวาท่ีผูใหญบานตามมาตรา ๒๒ ตองมีคุณสมบัติและไมมี ลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒ (๑) (๒) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) (๑๒) (๑๓) และ (๑๔) (ความในมาตรา ๒๓ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๗ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒) มาตรา ๒๔ ผูใหญบานเชนนี้ใหเรียกวา วาท่ีผูใหญบาน เพราะเหตุที่เปนตําแหนงช่ัวครั้ง หนึ่งคราวหนึ่งแตมีอํานาจและหนาที่เทาผูใหญบานทุกประการ ถาราษฎรเลือกผูหนึ่งผูใดอันสมควรจะวาที่ ผใู หญบา นได กใ็ หร ายงานขอหมายตงั้ ตอ ผูว า ราชการเมือง มาตรา ๒๕ หมายตั้งวาที่ผูใหญบานนี้ใหผูวาราชการเมืองทําหมายพิเศษตั้ง เพื่อให ปรากฏวาผูน้ันวาท่ีผูใหญบานตั้งแตเดือนน้ันเพียงเดือนน้ันเปนที่สุด ตามกําหนดฤดูกาลท่ีราษฎรจะต้ัง ชมุ นมุ กันอยูใ นท่ีนน้ั เมอื่ ราษฎรอพยพแยกยายกนั ไปแลว ก็ใหเ ปน อนั สิ้นตําแหนงและหนาที่ เมื่อถึงฤดูใหม กใ็ หเ ลอื กต้ังใหมอ กี ทุกคราวไป มาตรา ๒๖ หมูบานท่ีจัดขึ้นชั่วคราวนี้ ใหรวมอยูในกํานันนายตําบลซ่ึงไดวากลาวทองท่ีนั้น แตเดิม เวนไวแตถาทองที่เปนทองที่ปาเปลี่ยวหางไกลจากกํานัน เมื่อมีจํานวนคนท่ีไปต้ังอยูมากผูวาราชการ เมืองเหน็ จําเปน จะตอ งมกี ํานนั ขนึ้ ตา งหาก ก็ใหเลือกและตั้งวาท่ีกํานันไดโดยทํานองต้ังวาที่ผูใหญบานตามที่ ไดกลาวมาแลว ตอน ๔ หนา ทีแ่ ละอาํ นาจของผใู หญบ านและผูชว ยผูใหญบ า น (ความซึ่งเปนช่ือของตอน ๔ ถูกยกเลิกและใชความใหมแทนแลวโดยมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.บ.ลักษณะ ปกครองทอ งท่ี (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ.๒๕๑๐) มาตรา ๒๗ ผูใหญบานทําหนาท่ีชวยเหลือนายอําเภอในการปฏิบัติหนาที่และเปนหัวหนา ราษฎรในหมูบานของตน และมอี ํานาจหนา ที่ดงั ตอ ไปน้ีดว ย (๑) อํานวยความเปนธรรมและดูแลรักษาความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยใหแก ราษฎรในหมูบาน (๒) สรา งความสมานฉันทและความสามัคคีใหเ กิดขึ้นในหมูบา น รวมท้ังสงเสริมวัฒนธรรม และประเพณีในทองที่ (๓) ประสานหรืออํานวยความสะดวกแกราษฎรในหมูบานในการติดตอหรือรับบริการกับ สว นราชการ หนว ยงานของรัฐ หรอื องคก รปกครองสว นทอ งถิ่น (๔) รับฟงปญหาและนําความเดือดรอน ทุกขสุขและความตองการที่จําเปนของราษฎร ในหมูบาน แจงตอสวนราชการ หนวยงานของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นที่เก่ียวของ เพอื่ ใหก ารแกไ ขหรือชวยเหลอื (๕) ใหการสนับสนุน สงเสริม และอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติหนาท่ีหรือการ ใหบ รกิ ารของสวนราชการ หนวยงานของรฐั หรือองคก รปกครองสว นทอ งถิ่น 41 IN_ok.indd 41 2/10/2562 13:28:34

- ๑๐ - (๖) ควบคุมดูแลราษฎรในหมูบานใหปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายหรือระเบียบแบบแผน ของทางราชการ โดยกระทาํ ตนใหเ ปน ตวั อยา งแกราษฎรตามทท่ี างราชการไดแนะนาํ (๗) อบรมหรือชี้แจงใหราษฎรมีความรูความเขาใจในขอราชการ กฎหมาย หรือระเบียบ แบบแผนของทางราชการ ในการนี้ สามารถเรยี กราษฎรมาประชุมไดต ามสมควร (๘) แจงใหราษฎรใหความชวยเหลือในกิจการสาธารณประโยชนเพื่อบําบัดปดปอง ภยนั ตรายสาธารณะอันมมี าโดยฉุกเฉิน รวมตลอดท้งั การชวยเหลือบรรเทาทุกขแ กผ ูประสบภัย (๙) จัดใหมีการประชุมราษฎรและคณะกรรมการหมูบานเปนประจําอยางนอยเดือนละ หนง่ึ คร้ัง (๑๐) ปฏบิ ัติตามคาํ สง่ั ของกํานันหรือทางราชการและรายงานเหตุการณที่ไมปกติซ่ึงเกิดข้ึน ในหมบู า นใหก าํ นันทราบ พรอมทั้งรายงานตอ นายอําเภอดวย (๑๑) ปฏิบัติตามภารกิจหรืองานอ่ืนตามกฎหมายหรือระเบียบแบบแผนของทางราชการ หรอื ตามทีก่ ระทรวง ทบวง กรม หนว ยงานอ่ืนของรัฐ ผวู า ราชการจงั หวัด หรือนายอาํ เภอมอบหมาย (ความในมาตรา ๒๗ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๗ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑) มาตรา ๒๘ ผใู หญบานมหี นาที่และอาํ นาจในการทีเ่ กี่ยวดว ยความอาญาดังตอไปนี้ คอื ขอ ๑ เม่ือทราบขาววามีการกระทําผิดกฎหมายเกิดข้ึน หรือสงสัยวาไดเกิดข้ึนในหมูบาน ของตน ตอ งแจง ความตอกาํ นันนายตาํ บลใหท ราบ ขอ ๒ เม่ือทราบขาววามีการกระทําผิดกฎหมายเกิดขึ้น หรือสงสัยวาไดเกิดข้ึนในหมูบานที่ ใกลเ คียง ตองแจงความตอ ผใู หญบ า นหมูบา นนน้ั ใหท ราบ ขอ ๓ เม่ือตรวจพบของกลางท่ีผูที่กระทําผิดกฎหมายมีอยูก็ดี หรือสิ่งของที่สงสัยวาไดมา โดยการกระทําผิดกฎหมาย หรือเปนสิ่งของสําหรับใชในการกระทําผิดกฎหมายก็ดี ใหจับสิ่งของน้ันไวและ รบี นําสง ตอกาํ นนั นายตาํ บล ขอ ๔ เมื่อปรากฏวาผูใดกําลังกระทําผิดกฎหมายก็ดี หรือมีเหตุควรสงสัยวา เปนผูที่ได กระทําผดิ กฎหมายกด็ ี ใหจ ับตวั ผูนั้นไวแ ละรบี นําสง ตอกํานันนายตําบล ขอ ๕ ถามีหมายหรือมีคําสั่งตามหนาที่ราชการ ใหจับผูใดในหมูบานนั้น เปนหนาที่ของ ผูใหญบ านทจ่ี ะจับผนู ้นั และรบี สงตอกาํ นัน หรือกรมการอาํ เภอตามสมควร ขอ ๖ เมื่อเจาพนักงานผูมีหนาที่ออกหมายสั่งใหคนหรือใหยึด ผูใหญบานตองจัดการให เปนไปตามหมาย มาตรา ๒๘ ทวิ ผูชวยผูใหญบานฝา ยปกครองมีอํานาจหนา ท่ีดงั ตอไปน้ี (๑) ชวยเหลือผูใหญบานปฏิบัติกิจการตามอํานาจหนาท่ีของผูใหญบานเทาที่ไดรับ มอบหมายจากผูใ หญบ านใหก ระทํา (๒) เสนอขอแนะนาํ และใหค าํ ปรกึ ษาตอ ผใู หญบา น ในกิจการท่ีผูใ หญบา นมอี าํ นาจหนาที่ ผชู ว ยผูใ หญบ า นฝายรักษาความสงบมีอํานาจหนา ทด่ี ังตอ ไปนี้ (๑) ตรวจตรารักษาความสงบเรียบรอ ยภายในหมบู า น 42 IN_ok.indd 42 2/10/2562 13:28:34

- ๑๑ - (๒) ถารูเห็นหรือทราบวาเหตุการณอันใดเกิดข้ึนหรือจะเกิดขึ้นในหมูบานเก่ียวกับความ สงบเรยี บรอย ใหน ําความแจงตอ ผใู หญบาน ถาเหตุการณตามวรรคหนึ่งเกิดข้ึนหรือจะเกิดข้ึนในหมูบานใกลเคียง ใหนําความแจงตอ ผูใหญบานในทองท่นี ั้นและรายงานใหผ ใู หญบานของตนทราบ (๓) ถา มคี นจรเขา มาในหมบู า นและสงสัยวา ไมไ ดมาโดยสจุ รติ ใหน าํ ตวั สงผใู หญบาน (๔) เมื่อมีเหตุรายเกิดขึ้นในหมูบาน ตองระงับเหตุ ปราบปราม ติดตามจับผูรายโดยเต็ม กาํ ลัง (๕) เม่ือตรวจพบหรือตามจับไดสิ่งของใดที่มีไวเปนความผิดหรือไดใชหรือมีไวเพ่ือใชใน การกระทาํ ความผิดหรือไดมาโดยการกระทาํ ความผิด ใหร บี นําสง ผใู หญบ าน (๖) เม่ือมีเหตุอันควรสงสัยวาผูใดไดกระทําความผิดและกําลังจะหลบหนีใหควบคุมตัวสง ผูใหญบา น (๗) ปฏบิ ัติตามคาํ สง่ั ของผใู หญบาน ซึ่งสง่ั การโดยชอบดว ยกฎหมาย (ความในมาตรา ๒๘ ทวิ บัญญัติเพิ่มโดยมาตรา ๗ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับท่ี๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ ตอมาถูกยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๑๑ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐) มาตรา ๒๘ ตรี ในหมูบานหนึ่งใหมีคณะกรรมการหมูบานประกอบดวย ผูใหญบาน เปนประธาน ผูชวยผูใหญบาน สมาชิกสภาองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่มีภูมิลําเนาในหมูบาน ผูนําหรือ ผูแทนกลุมหรือองคกรในหมูบาน เปนกรรมการหมูบานโดยตําแหนง และกรรมการหมูบานผูทรงคุณวุฒิ ซ่ึงนายอําเภอแตงต้ังจากผูซ่ึงราษฎรในหมูบานเลือกเปนกรรมการหมูบานผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมนอยกวา สองคน แตไ มเกนิ สิบคน คณะกรรมการหมูบานมีหนาที่ชวยเหลือ แนะนํา และใหคําปรึกษาแกผูใหญบาน เก่ียวกับ กิจการอันเปนอํานาจหนาที่ผูใหญบาน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนตามกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผน ของทางราชการ หรือที่นายอาํ เภอมอบหมาย หรอื ทีผ่ ูใหญบานรอ งขอ ใหคณะกรรมการหมูบานเปนองคกรหลักท่ีรับผิดชอบในการบูรณาการจัดทําแผนพัฒนา หมบู าน และบรหิ ารจัดการกจิ กรรมทดี่ าํ เนนิ งานในหมบู านรวมกบั องคกรอื่นทุกภาคสวน ผูนําหรือผูแทนกลุมหรือองคกรใดจะมีสิทธิเปนกรรมการหมูบานตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไป ตามหลักเกณฑท่กี ระทรวงมหาดไทยกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา กรรมการหมูบานผทู รงคณุ วฒุ ติ องมีคณุ สมบัตเิ ชนเดียวกบั ผูมสี ิทธเิ ลือกผูใ หญบ า น วิธีการเลือกและการแตงต้ัง วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ และการปฏิบัติหนาที่ การประชุม และการวินิจฉัยช้ีขาด ของคณะกรรมการหมูบานใหเปนไป ตามหลกั เกณฑและวิธกี ารที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา คาใชจายในการจัดประชุมคณะกรรมการหมูบาน ใหกระทรวงมหาดไทยจายเปนเงิน อุดหนุน ใหตามหลกั เกณฑท่กี ระทรวงมหาดไทยกาํ หนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั (ความในมาตรา ๒๘ ตรี ถูกยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครอง ทองที่ (ฉบบั ที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๑) 43 IN_ok.indd 43 2/10/2562 13:28:35

- ๑๒ - มาตรา ๒๘ จัตวา ในการปฏิบตั ิหนาที่เก่ียวกบั การรกั ษาความสงบเรียบรอ ย ใหผูใหญบาน และผชู ว ยผูใหญบ า นฝา ยรักษาความสงบใชอาวุธปน ของทางราชการได การเกบ็ รกั ษาและการใชอาวธุ ปนใหเ ปน ไปตามขอ บังคบั ของกระทรวงมหาดไทย (ความในมาตรา ๒๘ จัตวา บัญญัติเพ่ิมโดยมาตรา ๑๓ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖) หมวด ๔ วาดว ยลกั ษณะปกครองตาํ บล ตอน ๑ การตง้ั ตําบล มาตรา ๒๙ หลายหมูบานรวมกันราว ๒๐ หมูบาน ใหจัดเปนตําบลหนึ่ง และเมื่อ สมุหเทศาภิบาลเห็นชอบดวยแลว ใหผูวาราชการเมืองกําหนดหมายเขตตําบลน้ันใหทราบไดโดยชัดวา เพียงใดทุกดาน ถาที่หมายเขตไมมีลําหวย, หนอง, คลอง, บึง, บาง หรือส่ิงใดเปนสําคัญก็ใหจัดใหมีหลัก ปก หมายเขตไวเ ปนสาํ คัญ มาตรา ๒๙ ทวิ ในตําบลหนึ่งใหมีกํานันคนหนึ่ง มีอํานาจหนาที่ปกครองราษฎรที่อยูใน เขตตําบลนัน้ กาํ นนั จะไดร ับเงนิ เดือนแตม ใิ ชจากเงินงบประมาณประเภทเงนิ เดือน ในตําบลหนึ่งใหมีคณะกรรมการตําบลคณะหนึ่ง มีหนาท่ีเสนอขอแนะนําและใหคําปรึกษา ตอกาํ นันเกีย่ วกับกิจการทีจ่ ะปฏบิ ตั ติ ามอํานาจหนาที่ของกํานัน คณะกรรมการตําบลประกอบดวยกํานันทองท่ี ผูใหญบานทุกหมูบานในตําบล และแพทย ประจําตําบล เปนกรรมการตําบลโดยตําแหนง และครูประชาบาลในตําบลหน่ึงคน กรรมการหมูบาน ผูทรงคุณวุฒิหมูบานละหน่ึงคน เปนกรรมการตําบลผูทรงคุณวุฒิ โดยนายอําเภอเปนผูคัดเลือกแลวรายงาน ไปยังผูวาราชการจังหวัด เพื่อออกหนังสือสําคัญใหไวเปนหลักฐานและใหถือวาผูนั้นเปนกรรมการตําบล ผทู รงคุณวฒุ ติ ้งั แตว นั ที่ผวู าราชการจงั หวดั ออกหนังสอื สําคญั กรรมการตําบลผทู รงคณุ วฒุ ิอยใู นตําแหนงคราวละหาป นอกจากออกจากตําแหนงตามวาระ กรรมการตําบลผูทรงคุณวุฒิตองออกจากตําแหนง เพราะพนจากตําแหนงครูประชาบาลหรอื กรรมการหมูบา นผูทรงคณุ วฒุ ิ ถาตําแหนงกรรมการตําบลผูทรงคุณวุฒิวางลง ใหมีการคัดเลือกขึ้นแทนใหเต็มตําแหนง ท่วี า งและใหอ ยูในตําแหนง ตามวาระของผซู ึ่งตนแทน 44 IN_ok.indd 44 2/10/2562 13:28:35

- ๑๓ - การคัดเลือกกรรมการตําบลผูทรงคุณวุฒิข้ึนแทนตําแหนงที่วาง ใหกระทําภายในหกสิบวัน นับแตวันท่ีตําแหนงน้ันวาง ถาตําแหนงน้ันวางลงกอนถึงกําหนดออกตามวาระไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน จะไมคัดเลือกขน้ึ แทนกไ็ ด (ความในมาตรา ๒๙ ทวิ บัญญัติเพ่ิมโดยมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ ตอมาถูกยกเลิกและใชความใหมแทนแลวโดยมาตรา ๑๔ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐) มาตรา ๒๙ ตรี ในการประชุมคณะกรรมการตาํ บล ตองมกี รรมการตาํ บลมาประชุมไมนอย กวากึ่งจํานวน จึงจะเปนองคประชุม ใหกํานันเปนประธาน การวินิจฉัยชี้ขาดใหถือเสียงขางมาก ถาคะแนน เสยี งเทากันใหประธานออกเสยี งอีกเสยี งหน่ึงเปนเสียงชี้ขาด (ความในมาตรา ๒๙ ตรี บัญญัติเพ่ิมโดยมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๔๘๖ ตอมาถูกยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๑๕ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐) ตอน ๒ การตง้ั กาํ นนั และกํานนั ออกจากตาํ แหนง มาตรา ๓๐ ใหนายอําเภอเปนประธานประชุมผูใหญบานในตําบลนั้น เพื่อปรึกษาหารือ คัดเลือกผูใหญบานคนหน่ึงในตําบลน้ันข้ึนเปนกํานัน เมื่อผูใหญบานท่ีมาประชุมเห็นชอบคัดเลือกผูใดแลว ใหนายอาํ เภอคัดเลือกผูนน้ั เปนกํานนั ในกรณีท่ีมีผูสมควรไดรับการคัดเลือกเปนกํานันมากกวาหน่ึงคน ใหนายอําเภอจัดใหมี การออกเสียงลงคะแนน เม่ือผูใหญบานคนใดไดรับคะแนนเสียงสูงสุดใหนายอําเภอคัดเลือกผูน้ันเปนกํานัน ในกรณที ่ีไดร ับคะแนนเสียงเทากนั ใหใ ชวธิ จี บั สลาก การลงคะแนนตองเปนไปโดยสุจริตและเท่ียงธรรม และใหกระทําโดยวิธีลับตามหลักเกณฑ และวธิ กี ารท่กี ระทรวงมหาดไทยกาํ หนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือคัดเลือกผูใดเปนกํานันตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแลว ใหนายอําเภอรายงานไปยัง ผวู าราชการจงั หวดั เพือ่ ออกหนงั สอื สําคญั ใหไวเปนหลกั ฐาน การประชุมผูใหญบานตามวรรคหนึ่งตองมีผูใหญบานมาประชุมไมนอยกวากึ่งหน่ึงของ จํานวนผูใหญบา นทงั้ หมดทม่ี อี ยูในตาํ บลน้นั จึงเปน องคประชมุ ใหน ําบทบัญญตั ิในวรรคหา และวรรคหกของมาตรา ๑๓ มาใชบังคับกับการเลือกกํานันดวย โดยอนุโลม (ความในมาตรา ๓๐ ยกเลิกและใชความใหมแทนโดย มาตรา ๙ แหง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองท่ี (ฉบบั ท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑) 45 IN_ok.indd 45 2/10/2562 13:28:36