ค�ำ น�ำ คู่มือการปฏิบัติงานเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดความรู้อย่างหน่ึงเปรียบเสมือน แผนที่บอกเส้นทางการท�ำงานท่ีมีจุดเร่ิมต้น และสิ้นสุดของกระบวนการ โดยระบุถึง ขั้นตอนและรายละเอียดของกระบวนการต่างๆ ขององค์กรและวิธีควบคุมกระบวนการนั้น ซึ่งจัดท�ำขึ้นส�ำหรับลักษณะงานที่ซับซ้อน มีหลายขั้นตอนและเกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน หลายคน ลดความขดั แยง้ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ในการทำ� งาน นอกจากนกี้ ารจดั ทำ� คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ าน ยังเอ้ือให้ได้งานมีคุณภาพตามที่ก�ำหนด ผู้ปฏิบัติงานไม่เกิดความสับสน และสามารถ ปฏิบัติงานแทนกันได้ ช่วยลดการตอบค�ำถาม ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน ลดข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นระบบ และช่วยเสริมสร้างความม่ันใจ ในการปฏบิ ตั งิ าน การปฏิบัติงาน “การโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด” เป็นภารกิจที่ส�ำคัญ อยา่ งหนึง่ ในการบรหิ ารราชการบคุ ลากรจ�ำเป็นตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจนโยบายกฎระเบียบ หลกั เกณฑต์ า่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและแนวทางการปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญตั กิ ารจดั ซอื้ จดั จา้ ง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ดังน้ัน เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้บุคลากรในการ ขับเคลื่อนนโยบายการบริหารสินทรัพย์ของรัฐให้ไปสู่การปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้จัดท�ำกระบวนการ ขั้นตอน การโอนสินทรัพย์ของ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด แนวทางแก้ไขปัญหา รวมทั้งรวบรวมหลักเกณฑ์ระเบียบกฎหมาย หนังสือสั่งการ และข้อหารือที่เก่ียวข้อง เพื่อใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหา และพัฒนาการบริหารงานในเรื่อง การโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ท้ังนี้ การโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้รับการขยายเวลาการยกเว้น การปฏบิ ัติตามระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการจดั ซ้ือจดั จ้างและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กรณกี ารโอนครภุ ณั ฑท์ ม่ี คี ณุ ภาพดี โดยใหด้ ำ� เนนิ การแลว้ เสรจ็ ภายในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จงึ ไดม้ ีการปรบั ปรงุ คมู่ อื การโอนสินทรัพยข์ องจงั หวดั และกลุ่มจงั หวัดท้ังระเบยี บ หนังสือเวยี น หนังสือหารือ และกระบวนการ ขนั้ ตอนการดำ� เนินงานใหเ้ ป็นปจั จบุ ัน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยหวังว่าคู่มือการปฏิบัติงานเรื่องการโอนสินทรัพย์ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเล่มนี้จะอ�ำนวยประโยชน์ให้กับบุคลากรในสังกัดกระทรวง มหาดไทย ท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเพื่อเป็นคู่มือการปฏิบัติงานในการขับเคล่ือน นโยบายการบริหารสินทรัพย์ให้มีคุณภาพ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพ่อื ส่งเสรมิ การท�ำงานแบบมอื อาชีพ (นายฉตั รชยั พรหมเลศิ ) 1 ปลดั กระทรวงมหาดไทย คมู่ อื การโอนสินทรัพยข์ องจังหวดั และกล่มุ จงั หวดั 1
สารบญั 3 บทท่ี 1 บทน�ำ 9 บทที่ 2 แนวทางการรบั รสู้ นิ ทรัพย์ในระบบ GFMIS ในกรณี ที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ 21 บทที่ 3 ขน้ั ตอนการโอนสินทรัพย์กรณีครุภณั ฑ์ “กลมุ่ จังหวดั ” 41 บทที่ 4 การขอขน้ึ ทะเบยี น การสง่ คืนกรณีทีด่ ิน อาคาร และอปุ กรณ์ “กลุ่มจังหวดั ” 49 บทที่ 5 ข้นั ตอนการโอนสนิ ทรัพย์กรณคี รุภัณฑ์ “จังหวดั ” 65 บทท่ี 6 การขอขน้ึ ทะเบยี น การส่งคนื กรณที ี่ดนิ อาคาร และอปุ กรณ์ “จงั หวัด” 73 บทท่ี 7 ประเดน็ ปัญหา อุปสรรคในการปฏบิ ตั ิงานและแนวทาง การแก้ไขปญั หา 79 บทท่ี 8 ระเบยี บ กฎหมาย หนงั สอื สัง่ การและขอ้ หารอื ที่เก่ียวข้อง 81 ภาคผนวก 101 ท่ปี รึกษา/คณะผู้จดั ท�ำ 2 ค่มู ือการโอนสินทรัพยข์ องจงั หวัดและกลมุ่ จงั หวัด 2
บทท่ี 1 บทน�ำ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2550 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ได้ก�ำหนดให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัด จัดท�ำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เพื่อการพัฒนาพ้ืนที่ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั และแกไ้ ขปญั หาในพนื้ ที่ โดยจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณท่ีสามารถย่ืนค�ำขอจัดต้ัง งบประมาณได้ เมอื่ จงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั มกี ารแปลงแผนพฒั นาไปสแู่ ผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจ�ำปี จึงเกิดสินทรัพย์ท่ีได้มาจากการใช้จ่ายเงินงบประมาณของจังหวัด และกลมุ่ จงั หวดั ประกอบดว้ ย พสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ ทดี่ นิ และสง่ิ กอ่ สรา้ งสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการใชจ้ า่ ยงบประมาณนน้ั จะตอ้ งมหี นว่ ยงานบรหิ ารจดั การ และใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้นตามวัตถุประสงค์ของการใช้จ่ายงบประมาณ รวมถงึ มกี ารซอ่ มแซมบำ� รงุ รกั ษาสนิ ทรพั ยใ์ หอ้ ยใู่ นสภาพทพี่ รอ้ มใชง้ านเสมอ และกอ่ ให้ เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ดงั นน้ั เพอ่ื ใหส้ นิ ทรพั ยท์ ไ่ี ดม้ าจากการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณรายจา่ ย ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดสามารถใช้งานและเกิดประโยชน์สูงสุด มีหน่วยงานที่ดูแล ค่มู อื การโอนสินทรัพยข์ องจังหวัดและกลุม่ จงั หวดั 3
รับผิดชอบสินทรัพย์อย่างชัดเจน กระทรวงมหาดไทยจึงขออนุมัติยกเว้นการปฏิบัติ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดสามารถจ�ำหน่ายพัสดุโดยการ โอนพัสดุที่มีคุณภาพดีและยังสามารถใช้งานได้ ซึ่งเป็นพัสดุท่ีได้รับหรือเกิดข้ึนจาก การใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้กับส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอ่ืน ซ่ึงมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ ได้เป็น กรณีเฉพาะราย ท้ังนี้ การโอนพัสดุจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริหารงานจังหวัดแบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) และคณะกรรมการบริหารงานกลมุ่ จงั หวดั แบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) และส�ำหรับในกรณีที่ดินและส่ิงปลูกสร้าง กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ได้ก�ำหนดแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยท่ีราชพัสดุ กรณีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดมีความประสงค์โอนให้ส่วนราชการอื่น หน่วยงาน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมาย บัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ โดยจะกระท�ำได้ ในลักษณะเปลี่ยนแปลงผู้ใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ ในสนิ ทรพั ยอ์ ยา่ งสงู สดุ และสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาจงั หวดั และแผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยจึงได้จัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงานการโอน สินทรัพย์ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด กรณีครุภัณฑ์ เพื่อแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานโอน สินทรัพย์ที่ได้รับการยกเว้นตามระเบียบ และการขึ้นทะเบียน การส่งคืนที่ราชพัสดุ การเปลยี่ นแปลงผเู้ ขา้ ใชป้ ระโยชนท์ รี่ าชพสั ดขุ องจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั ใชเ้ ปน็ แนวทาง ปฏิบัติให้สามารถด�ำเนินการเป็นแนวทางเดียวกัน มีความเข้าใจ และปฏิบัติได้ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารของกฎกระทรวง และระเบยี บตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้การด�ำเนินการโอนสินทรัพย์ให้เป็นไปตามระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการของกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และเป็นแนวทางให้บุคลากร เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานรับทราบและเข้าใจข้ันตอนการด�ำเนินการโอนสินทรัพย์ 4 คูม่ อื การโอนสินทรัพยข์ องจังหวดั และกลุม่ จังหวัด
ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด กรณีครุภัณฑ์ ให้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานอย่างมี ประสทิ ธิภาพ 2. เพื่อให้การเปล่ียนแปลงผู้ใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุเป็นไปตามกฎกระทรวง ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บ�ำรุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์ เก่ียวกับท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และระเบียบ ข้อบังคับที่เก่ียวข้อง เป็นแนวทางให้ บุคลากร เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติได้รับทราบและเข้าใจข้ันตอนการด�ำเนินการการขึ้น ทะเบียน ส่งคืนท่ีราชพัสดุของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน อยา่ งมีประสิทธิภาพ ขอบเขตการทำ� งาน 1. การโอนสนิ ทรพั ย์ กรณคี รภุ ณั ฑ์ จงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั ตามทค่ี ณะกรรมการ วินิจฉัยปัญหาการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (กวจ.) ยกเว้นการปฏิบัติ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ในกรณีท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดสามารถจ�ำหน่ายพัสดุโดยการโอนพัสดุ ท่ีมีคุณภาพดีและยังสามารถใช้งานได้ ให้กับส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยระเบยี บบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ หนว่ ยงานอนื่ ซงึ่ มกี ฎหมายบญั ญตั ใิ หม้ ฐี านะ เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ โดยให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดด�ำเนินการ โอนพัสดคุ ุณภาพดใี ห้แล้วเสรจ็ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 25621 แต่เน่ืองจากพัสดุ ครุภัณฑ์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดมีเป็นจ�ำนวนมาก กระทรวงมหาดไทยจึงขอขยายเวลาการอนุมัติยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวง การคลังวา่ ด้วยการจัดซื้อจัดจ้างฯ ซงึ่ คณะกรรมการวนิ จิ ฉัยฯ ไดอ้ นมุ ตั ขิ ยายระยะเวลา การยกเวน้ การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บฯ ใหแ้ กจ่ งั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั โดยจะตอ้ งดำ� เนนิ การ โอนสินทรัพย์ซึ่งเป็นพัสดุท่ีมีคุณภาพดีและยังสามารถใช้งานได้ให้กับหน่วยงานของรัฐ ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 25642 1หนงั สอื กระทรวงการคลงั ดว่ นทสี่ ดุ ท่ี กค(กวจ) 0405.2/049986 ลงวนั ที่ 13 พฤศจกิ ายน 2561 เรอื่ ง การขออนมุ ตั ยิ กเวน้ การปฏบิ ตั ิ ตามระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการจัดซือ้ จดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 กรณกี ารโอนครุภัณฑท์ ี่มคี ณุ ภาพดี 2หนังสอื กระทรวงการคลงั ดว่ นทสี่ ดุ ท่ี กค(กวจ) 0405.3/25542 ลงวนั ท่ี 5 มิถุนายน 2563 เร่ือง การขอขยายเวลาการอนมุ ตั ิ ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กรณีการโอน ครภุ ัณฑท์ ี่มีคณุ ภาพดี คมู่ ือการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจังหวดั และกลุม่ จงั หวดั 5
ท้ังน้ี เม่ือสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่มี ความประสงค์จะโอนพัสดุคุณภาพดี จะต้องด�ำเนินการขออนุมัติยกเว้นหรือผ่อนผัน ไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ ซ่ึงต้องชี้แจงเหตุผลและความจ�ำเป็นพร้อมเอกสารหลักฐาน ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งตอ่ คณะกรรมการวนิ ิจฉยั ฯ เพอื่ ประกอบการพิจารณาเปน็ รายกรณี ๆ ไป 2. การขึ้นทะเบียน การส่งคืนท่ีราชพัสดุของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ในกรณี ที่จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะเปล่ียนแปลงผู้ใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุ ให้ส่วนราชการอ่ืน หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นซ่ึงมี กฎหมายบญั ญตั ใิ หม้ ฐี านะเปน็ ราชการบรหิ ารสว่ นทอ้ งถนิ่ หรอื รฐั วสิ าหกจิ เปน็ หนว่ ยงาน ท่ีขอใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่ได้รับหรือเกิดขึ้นจากการใช้จ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายของจังหวดั และกลุ่มจงั หวดั ค�ำจ�ำกัดความ 1. กลุ่มจังหวัด หมายถึง กลุ่มจังหวัดในฐานะที่เป็นส่วนราชการตาม กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ โดยมีจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด เปน็ ผู้ดำ� เนินการและรบั ผดิ ชอบในการจัดทำ� บญั ชขี องกลุ่มจังหวัด 2. จงั หวดั ผเู้ บกิ แทน หมายถงึ จงั หวดั ในฐานะทเี่ ปน็ สว่ นราชการตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยวิธกี ารงบประมาณ โดยมีสำ� นักงานจงั หวดั ปฏิบัตงิ านในนามจังหวัด 3. หน่วยด�ำเนินโครงการ หมายถึง ส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานท่ีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะ เป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ และมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ ท่ีเป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการด�ำเนินโครงการตามแผนพัฒนา/แผนปฏิบัติราชการ ประจ�ำปี ของจังหวดั และกล่มุ จงั หวัด 4. หน่วยงานรับโอน หมายถึง ส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วย ระเบยี บบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ หนว่ ยงานทก่ี ฎหมายบญั ญตั ใิ หม้ ฐี านะเปน็ ราชการ บรหิ ารส่วนท้องถ่นิ และรัฐวิสาหกจิ เป็นหน่วยงานทมี่ ีอ�ำนาจหน้าที่ และบรหิ ารจดั การ สนิ ทรพั ย์ ใชป้ ระโยชน์ ดแู ลบำ� รงุ รกั ษา สนิ ทรพั ยอ์ นั เกดิ จากเงนิ งบประมาณของจงั หวดั / กลมุ่ จงั หวัดให้เกดิ ประโยชน์ 6 คูม่ ือการโอนสินทรัพยข์ องจงั หวัดและกล่มุ จังหวดั
5. สินทรัพย์ หมายถึง ทรัพยากรท่ีอยู่ในความควบคุมของหน่วยงาน ซึ่งเป็น ผลจากเหตุการณ์ในอดีต และคาดว่าจะท�ำให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต แก่หนว่ ยงาน และสนิ ทรัพย์มีมูลค่าขั้นตำ่� ต้งั แต่ 5,000 บาทขึ้นไป และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปน็ ต้นไป การรบั รใู้ นสนิ ทรัพย์มีมลู คา่ ขัน้ ตำ่� 10,000 บาทข้นึ ไป รวมถึง ครุภณั ฑ์โดยสภาพ 6. สนิ ทรพั ยถ์ าวร หมายถงึ สนิ ทรพั ยอ์ นั มลี กั ษณะคงทนทใ่ี ชใ้ นการดำ� เนนิ งาน และใชไ้ ดน้ านกวา่ 1 รอบระยะเวลาการด�ำเนนิ งานตามปกติ มไิ ด้มไี วเ้ พ่ือขาย 7. ทร่ี าชพสั ดุ ไดแ้ ก่ อสงั หารมิ ทรพั ยท์ เี่ ปน็ ของแผน่ ดนิ ทกุ ชนดิ /ทดี่ นิ สงวนหรอื หวงหา้ มไว้เพื่อประโยชน์ของแผน่ ดนิ และทางราชการตามที่กฎหมายก�ำหนด ข้อจ�ำกดั คู่มือปฏิบัติงานโอนทรัพย์สิน กรณีครุภัณฑ์ และการข้ึนทะเบียน การส่งคืน กรณีท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ท่ีราชพัสดุของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ก�ำหนดข้ึน ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏิบตั ใิ นการโอนสนิ ทรัพยต์ ามแนวทางท่กี รมบัญชีกลางก�ำหนด และกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธกี ารปกครอง ดแู ล บำ� รุงรักษาใช้ และจดั หา ประโยชน์เกยี่ วกบั ท่รี าชพัสดุ พ.ศ. 2545 (ฉบบั ปรับปรุง) เพื่อใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีผ้ปู ฏบิ ัติงาน ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเจ้าของงบประมาณ ใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานด้าน การโอนสินทรัพย์ กรณีครุภัณฑ์ และการขึ้นทะเบียน การส่งคืน กรณีที่ดิน อาคาร และอปุ กรณท์ รี่ าชพสั ดุ หากมกี ารปรบั ปรงุ ระเบยี บหรอื หลกั เกณฑ์ หรอื แนวทางวธิ ปี ฏบิ ตั ิ ในการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจังหวดั และกลุ่มจังหวัด หรือการขึน้ ทะเบยี น ส่งคืนทร่ี าชพสั ดุ มีผลให้ตอ้ งปรบั ปรงุ ค่มู อื การปฏบิ ตั ิใหส้ อดคล้องกบั ระเบยี บ หลักเกณฑ์ หรือวธิ ปี ฏิบตั ิ ทไ่ี ดเ้ ปลีย่ นแปลงตอ่ ไป ค่มู อื การโอนสินทรัพยข์ องจังหวัดและกลมุ่ จังหวัด 7
8 ค่มู ือการโอนสนิ ทรัพยข์ องจงั หวัดและกล่มุ จังหวดั 8
บทที่ 2 แนวทางการรับรูส้ ินทรพั ย์ ในระบบ GFMIS ในกรณี ท่ดี นิ อาคาร และอุปกรณ์ การบันทึกบัญชีสินทรัพย์ของหน่วยงานในระบบ GFMIS ใช้เป็นวิธีการบันทึก และควบคุมสินทรัพย์ในภาพรวมของหน่วยงาน เพ่ือให้สามารถรับรู้สินทรัพย์เป็น รายตัว เมื่อมีการได้มาของสินทรัพย์จากการจัดซื้อจัดจ้าง การรับบริจาคสินทรัพย์ และการรับโอน ท้ังน้ีกระบวนการโอนสินทรัพย์ในกรณีครุภัณฑ์ และกรณีที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ซ่ึงมีรายละเอียดของกระบวนการรับรู้สินทรัพย์ มีหลักการและนโยบายการบัญชี ตามท่ีกรมบัญชีกลางก�ำหนดไว้ คู่มือฉบับน้ีรวบรวม แนวทางการบันทึกสินทรัพย์เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติให้เป็น แนวทางเดยี วกนั ตามหนงั สอื กรมบญั ชกี ลาง ที่ กค 0423.3/ว 254 ลงวนั ท่ี 16 กรกฎาคม 2556 หนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0410.3/ว 43 ลงวันที่ 29 มกราคม 2562 และหนังสอื กรมบญั ชกี ลาง ท่ี กค 0410.3/ว 81 ลงวนั ท่ี 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 คู่มอื การโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลมุ่ จังหวดั 9
หลกั การและนโยบายการบญั ชี การรับรูร้ ายการครภุ ณั ฑ์ ท่ีดิน อาคาร และอปุ กรณ์ ท่ดี ิน อาคารและอุปกรณป์ ระเภทครุภณั ฑ์ จะมลี ักษณะคงทนถาวร มอี ายุ การใช้งานยืนนาน เมื่อช�ำรุดเสียหายสามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้ดังเดิม โดยสภาพ เมอื่ ใชแ้ ลว้ ไมส่ นิ้ เปลอื งหมดไป ไมแ่ ปรสภาพหรอื ไมเ่ ปลยี่ นสภาพไปในระยะเวลาอนั สน้ั และสามารถวัดมูลคา่ ต้นทนุ หรือมลู ค่ายุตธิ รรมของสินทรัพยไ์ ด้ เกณฑม์ ูลค่าข้ันต่�ำการรบั รู้ มูลค่าตน้ ทนุ ของทีด่ ิน อาคาร และอปุ กรณท์ ี่ได้มาจะนบั มลู คา่ ณ วันที่ได้รบั สนิ ทรพั ยน์ นั้ มา (วนั ทต่ี รวจรบั สนิ ทรพั ย)์ ทง้ั นก้ี ำ� หนดมลู คา่ ขนั้ ตำ่� ในการรบั รรู้ ายการทด่ี นิ อาคาร และอุปกรณ์ในบัญชีของหน่วยงานเฉพาะที่มีมูลค่าขั้นต่�ำต้ังแต่ 10,000 บาท ข้ึนไป*** ซึ่งเป็นมูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ท่ีเกิดข้ึนจากการจัดหาสินทรัพย์นั้น รวมถงึ คา่ ใชจ้ ่ายในการทำ� ใหส้ ินทรพั ยน์ ้ันอยใู่ นสภาพพร้อมใช้งานครัง้ แรก *** กรณีสินทรัพย์มีมูลคา่ ตำ่� กวา่ 10,000 บาท และมีอายกุ ารใชง้ านของสนิ ทรพั ยน์ น้ั เกนิ กว่า 1 ปี ใหร้ บั รู้เป็นค่าใช้จ่ายในช่อื บญั ชี “ค่าครภุ ณั ฑ์มูลค่าต่ำ� กวา่ เกณฑ์” พร้อมทั้งจดั ทำ� ทะเบยี นคุมสินทรพั ยไ์ ว้เพือ่ ใช้ในการควบคมุ และตรวจสอบ การรบั รู้รายการจากการจัดซอื้ จดั จ้าง 1) กรณีสัญญาการจัดซ้ือจัดจ้างมีสินทรัพย์หลายประเภท ให้พิจารณา จัดหมวดหมู่ และใช้วัตถุประสงค์ของการใช้งานสินทรัพย์หมวดต่าง ๆ เป็นหลัก พ้ืนฐานในการพจิ ารณา • สินทรัพย์ท่ีต้องใช้งานร่วมกัน เป็นส่วนประกอบของสินทรัพย์ เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ หากแยกออกจากกนั จะทำ� ใหส้ ินทรัพยไ์ มอ่ าจใช้งานได้ หรอื แปรสภาพไป ตัวอยา่ ง: ลิฟท์ทไ่ี ด้มาพรอ้ มกับการสร้างอาคาร ระบบสาธารณปู โภคตา่ ง ๆ ของอาคาร ใหร้ บั ร้เู ปน็ สนิ ทรพั ย์ย่อยของอาคาร เพื่อใชใ้ นการควบคุมและตรวจสอบ 10 คูม่ ือการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจังหวดั และกล่มุ จังหวัด
• กรณีครุภัณฑ์ติดมากับอาคาร ที่สามารถเคล่ือนย้ายได้ และน�ำไป ใช้งานท่ีอ่ืนได้ตามปกติ ให้รับรู้เป็นสินทรัพย์ตามประเภทน้ัน ๆ ไม่ต้องบันทึก เปน็ สินทรัพยย์ ่อยของอาคาร ตวั อย่าง: เครอื่ งปรบั อากาศ พดั ลมระบายอากาศ ท่ีอยู่ภายในอาคารนนั้ ถือวา่ ไม่เปน็ สนิ ทรัพยท์ ต่ี อ้ งใชป้ ระกอบกบั ตัวอาคาร ใหจ้ �ำแนกตามประเภทของสินทรพั ย์ ตวั อย่างการจดั ประเภทสนิ ทรพั ย์ ประเภทสินทรัพย ์ รายการ 1. อาคารถาวร บ้านพกั อาศยั ชน้ั เดียว บ้านพักอาศัยสองช้นั ห้องแถวไมท้ ว่ั ไป ตกึ แถวทวั่ ไป อาคารอื่นๆ 2. อาคารชว่ั คราว/โรงเรอื น โรงเก็บรถ อาคารเก็บของกลาง อาคารจอดรถยนต์ ท่พี ักชว่ั คราว เรือนเพาะชำ� คมู่ ือการโอนสินทรัพยข์ องจงั หวดั และกลมุ่ จังหวัด 11
ประเภทสินทรัพย ์ รายการ 3. สิง่ กอ่ สรา้ ง รว้ั คอนกรีต - ผนงั อฐิ บล็อก ใชค้ อนกรีตเสริมเหลก็ หรือโครงสรา้ งเหล็ก สระวา่ ยน้�ำ เป็นสว่ นประกอบหลกั ลานคอนกรตี ถนน (ไม่ใชส่ าธารณประโยชน)์ ใชไ้ ม้หรอื วัสดอุ นื่ ๆ เป็นสว่ นประกอบหลกั รั้วลวดหนาม ร้ัวสังกะสี รั้วตาข่าย รั้วไม้ 4. ครุภัณฑส์ ำ� นักงาน เคร่ืองโทรสาร เคร่ืองถา่ ยเอกสาร เครอ่ื งปรับอากาศ โทรศัพท์ โตะ๊ ทำ� งาน 5. ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนสง่ รถยนตน์ ัง่ รถบรรทุก รถโดยสาร รถจักรยานยนต์ เรอื 12 คมู่ อื การโอนสนิ ทรัพยข์ องจังหวดั และกลุ่มจงั หวัด
ประเภทสนิ ทรพั ย ์ รายการ 6. ครภุ ัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ เครือ่ งรับส่งวิทยุ เครอ่ื งก�ำเนดิ ไฟฟ้า ไมโครโฟน เครื่องเล่นวีซดี /ี ดีวีดี เครอ่ื งชาร์จแบตเตอร่ี 7. ครุภณั ฑโ์ ฆษณาและเผยแพร่ โทรทศั น์ จอภาพ เครอ่ื งมลั ตมิ ีเดียโปรเจคเตอร์ 8. ครุภัณฑก์ ารเกษตร เครื่องพน่ ยา เครือ่ งมอื และอุปกรณ์ เคร่อื งสูบน�้ำ เครอื่ งชัง่ ตู้เกบ็ เมลด็ พันธุ์ เครอ่ื งจักรกล รถไถ รถแทรกเตอร์ เคร่อื งสขี า้ ว เครื่องตัดหญ้า คมู่ ือการโอนสินทรัพยข์ องจงั หวดั และกล่มุ จังหวดั 13
ประเภทสนิ ทรพั ย์ รายการ 9. ครุภณั ฑ์โรงงาน ถังเก็บเชอ้ื เพลิง เครือ่ งมอื และอุปกรณ์ หัวเชือ่ มแก๊ส เลอื่ ย เครื่องจกั รกล เคร่อื งพิมพล์ าย แทน่ พิมพ์ เครอ่ื งตีตราและอัดแบบ เครือ่ งพับและม้วนเหล็ก 10. ครุภัณฑก์ ่อสร้าง ท่อจ่ายน�ำ้ หัวดับเพลงิ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ รอก สว่านเจาะเหล็ก เครอ่ื งเชือ่ มโลหะ เครอ่ื งจักรกล เครื่องผสมคอนกรีต 11. ครภุ ัณฑส์ ำ� รวจ รถตักดิน เคร่อื งกลึง กล้องสอ่ งทางไกล เคร่ืองเจาะส�ำรวจ กลอ้ งวดั มมุ 14 คมู่ อื การโอนสินทรัพยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจังหวดั
ประเภทสนิ ทรัพย ์ รายการ 12. ครุภัณฑก์ ารแพทย์และวทิ ยาศาสตร์ เครื่องเอกซเรย์ เครอื่ งกรอฟัน เครอ่ื งช่วยหายใจ เครื่องวดั อณุ หภูมิ 13. ครุภัณฑ์คอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ เครอ่ื งพิมพ์ สแกนเนอร์ เครื่องสำ� รองไฟ 14. ครภุ ณั ฑ์การศกึ ษา จกั ร เชน่ จกั รธรรมดา จกั รทำ� ลวดลาย เปน็ ต้น หนุ่ จ�ำลอง โต๊ะนักเรยี น 15. ครภุ ัณฑง์ านบ้านงานครัว ตูเ้ ยน็ เตาแกส๊ เครื่องซกั ผา้ 16. ครุภณั ฑ์กีฬา/กายภาพ จักรยานออกกำ� ลงั กาย เหล็กยกนำ�้ หนัก บาร์คู่ คมู่ อื การโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลมุ่ จงั หวัด 15
ประเภทสนิ ทรพั ย์ รายการ 17. ครุภณั ฑ์ดนตรี/นาฏศลิ ป์ ศรี ษะโขนละคร เครือ่ งแตง่ กาย ชุดแสดงโขนละคร เครื่องดนตรตี ่างๆ 18. ครุภัณฑ์อาวุธ ปนื ปืนลูกซอง ปืนพก 19. ครุภณั ฑ์สนาม เต็นท์ ถุงนอน เตียงสนาม 20. สนิ ทรพั ยโ์ ครงสรา้ งพ้ืนฐาน ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง สะพานคอนกรตี เสริมเหล็ก เข่อื นดนิ เขอ่ื นปนู อ่างเกบ็ น้�ำ หมายเหตุ : การพิจารณาสิ่งของที่จัดเป็นวัสดุและครุภัณฑ์ตามหลักการจ�ำแนก ประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ สามารถดูเพ่ิมเติมได้ท่ี หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ นร 0704/ว 37 ลงวนั ท่ี 6 มกราคม 2559 เรือ่ งแนวทางการพจิ ารณาสง่ิ ของทีจ่ ดั เปน็ วสั ดุและครภุ ัณฑ์ตามหลักการจ�ำแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ 16 คูม่ ือการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลมุ่ จงั หวัด
2) กรณีจัดซ้อื จัดจ้างจากประเภทเงนิ หลายประเภท การพิจารณาการรับรู้รายการท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ จากประเภทเงิน ท่ีใช้ในการจัดหาสินทรัพย์ โดยมีเกณฑ์ว่าใช้เงินประเภทใดมากกว่าให้บันทึก เป็นสินทรัพย์หลัก และประเภทเงินรองลงมาให้บันทึกเป็นสินทรัพย์ย่อยภายใต้ สินทรัพย์หลัก โดยบันทึกสินทรัพย์ให้ระบุศูนย์ต้นทุน และหน่วยงานเบิกจ่ายของ หน่วยงานที่ไดร้ บั ประโยชน์ การรบั รตู้ น้ ทนุ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายหลงั การรบั รรู้ ายการทดี่ นิ อาคาร และอปุ กรณ์ 1) ต้นทุนท่ีเกิดจากการซ่อมบ�ำรุงท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ ให้บันทึก เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าบัญชีรายการท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ ต้นทุนซ่อมบ�ำรุง ตอ้ งรวมกบั ตน้ ทนุ หลกั ดว้ ย และใหร้ บั รเู้ ปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในบญั ชี คา่ ซอ่ มแซมและบำ� รงุ รกั ษา 2) ตน้ ทนุ ทเี่ กดิ จากการเปลย่ี นแทน ใหบ้ นั ทกึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของมลู คา่ บญั ชี รายการท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ ทั้งน้ีต้องตัดมูลค่าของสินทรัพย์ท่ีเปล่ียนออกไป ตามหลกั การของการตัดรายการตามเงอ่ื นไขท่ีวา่ หน่วยงานคาดวา่ จะไมไ่ ดร้ ับประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจหรือว่าศักยภาพในอนาคต ทั้งน้ีต้องบันทึกต้นทุนของการเปลี่ยนแทน สว่ นประกอบดว้ ย 3) ต้นทุนท่ีเกิดจากการปรับปรุง เป็นรายจ่ายเพื่อให้สินทรัพย์มีคุณภาพ หรือมปี ระสิทธภิ าพดขี ้ึนกวา่ เดิม หรอื มีอายกุ ารใหป้ ระโยชนน์ านกวา่ เดิม การปรับปรุง เปน็ การเปลยี่ นแทนโดยสนิ ทรพั ยใ์ หมม่ ลี กั ษณะแตกตา่ งจากสนิ ทรพั ยเ์ กา่ จงึ ตอ้ งบนั ทกึ รายจ่ายการปรบั ปรงุ เป็นสินทรัพย์ดว้ ย 4) ต้นทุนท่ีเกิดจากการตรวจสอบสภาพครั้งใหญ่ การตรวจสอบครั้งใหญ่ อาจเป็นตามระยะท่ีก�ำหนด เพื่อค้นหาส่ิงผิดปกติที่อาจเกิดข้ึน หากมีการเปลี่ยน อุปกรณ์แทน เพ่ือให้ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สามารถใช้งานได้อย่างต่อเน่ือง ต้องบันทึกรับรู้มูลค่าเป็นส่วนหน่ึงของบัญชีรายการท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ ทั้งนี้ต้องตัดมูลค่าตามบัญชีท่ีคงเหลือของต้นทุนการตรวจสอบสภาพครั้งใหญ่ ในคร้งั ก่อนด้วย 5) ต้นทุนท่ีเกิดจากการต่อเติม รายจ่ายที่จ่ายไปเพื่อต่อเติมสินทรัพย์เดิม ให้มีการขยายหรอื เพ่มิ เติมจากเดมิ ใหบ้ ันทกึ เปน็ สินทรพั ยข์ องหนว่ ยงานด้วย คูม่ อื การโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั 17
คา่ เสอื่ มราคา ค่าเส่ือมราคา คือ การปันส่วนจ�ำนวนท่ีคิดค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ อย่างมีระบบตลอดอายุการใช้งานให้เกิดประโยชน์ของสินทรัพย์นั้น3 โดยหน่วยงาน สามารถก�ำหนดอายุการใช้งานโดยเทียบเคียงกับตารางการก�ำหนดอายุการใช้งาน และอัตราค่าเส่ือมราคาสินทรัพย์ถาวรตามที่กรมบัญชีกลางก�ำหนด และขึ้นอยู่กับ ดลุ ยพนิ จิ ของหนว่ ยงาน หน่วยงานต้องคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนประกอบของรายการท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละส่วนแยกจากกัน เช่น การคิดค่าเส่ือมของอาคาร ลิฟท์ และเครอื่ งปรับอากาศภายในอาคารแยกตา่ งกนั การกำ� หนดอายกุ ารใชป้ ระโยชนข์ องสินทรพั ย์ เพ่ือการก�ำหนดค่าเสือ่ ม จะตอ้ ง ค�ำนึงถึงปัจจยั 4 ดังน้ี 1) ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั จากการใชส้ นิ ทรพั ย์ 2) การช�ำรุดเสียหายทางกายภาพท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากปัจจัยต่างๆ ในการ ด�ำเนินงาน เช่น จ�ำนวนผลัดในการใช้ และแผนการซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษา รวมท้ัง การดแู ลและบ�ำรุงรักษาสินทรพั ย์ 3) ความล้าสมัยทางด้านเทคนิคหรือทางพาณิชย์ซ่ึงเกิดจากการเปล่ียนแปลง หรือการปรับปรุงการผลิต หรือเกิดจากการเปล่ียนแปลงความต้องการในสินค้า หรอื บริการ 4) ข้อก�ำหนดทางกฎหมายหรือข้อจ�ำกัดอ่ืนท่ีคล้ายคลึงในการใช้สินทรัพย์ เพ่ือให้หน่วยงานใช้ในการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่มีไว้ใช้ในปัจจุบัน ให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งานจริง โดยพิจารณาจากประเภทสินทรัพย์ อายุการใช้ ประโยชน์ และอัตราค่าเส่ือมราคา 3มาตรฐานการบัญชภี าครฐั ฉบบั ที่ 17 เรอ่ื ง ที่ดนิ อาคาร และอปุ กรณ์ ตามประกาศกระทรวงการคลงั เรื่อง มาตรฐานการบญั ชี ภาครฐั และนโยบายการบญั ชภี าครฐั พ.ศ. 2561 เมือ่ วันที่ 5 กันยายน 2561, 175 4เรื่องเดยี วกัน, 189 18 คมู่ ือการโอนสนิ ทรัพยข์ องจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
ประเภทสินทรัพย์ อายุการใชป้ ระโยชน์ อตั ราคา่ เสื่อมราคา/ปี (ปี) (ร้อยละ) อย่างต่�ำ อย่างสูง อยา่ งตำ�่ อยา่ งสูง 1. อาคารถาวร 15 40 2.5 6.5 2. อาคารชัว่ คราว/โรงเรอื น 8 15 6.5 12.5 3. ส่ิงก่อสรา้ ง 3.1 ใชค้ อนกรีตเสรมิ เหล็ก 15 25 4 6.5 หรือโครงเหลก็ เป็นส่วน ประกอบหลกั 3.2 ใช้ไม้หรอื วสั ดุอ่นื ๆ 5 15 6.5 20 เป็นสว่ นประกอบหลัก 4. ครภุ ณั ฑ์สำ� นักงาน 3 12 8 33 5. ครภุ ณั ฑย์ านพาหนะและขนสง่ 5 30 3 20 6. ครภุ ณั ฑไ์ ฟฟา้ และวิทยุ (ยกเวน้ 5 10 10 20 เครื่องกำ� เนิด ไฟฟ้า ให้มอี ายุ ใช้งาน 15 - 20 ปี) 7. ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ 5 10 10 20 8. ครุภัณฑก์ ารเกษตร 8.1 เครือ่ งมือและอุปกรณ์ 2 5 20 50 8.2 เครอ่ื งจกั รกล 3 10 10 33 9. ครุภัณฑ์โรงงาน 9.1 เครื่องมือและอปุ กรณ์ 2 5 20 50 9.2 เครอื่ งจักรกล 3 10 10 33 10. ครภุ ัณฑ์ก่อสรา้ ง 10.1 เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ 2 5 20 50 10.2 เคร่ืองจกั รกล 3 10 10 33 11. ครภุ ณั ฑส์ ำ� รวจ 5 10 10 20 12. ครุภัณฑก์ ารแพทย์ 5 15 6.5 20 และวิทยาศาสตร์ 13. ครภุ ัณฑ์คอมพวิ เตอร์ 3 5 20 33 คูม่ ือการโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลุ่มจังหวัด 19
ประเภทสนิ ทรพั ย์ อายุการใชป้ ระโยชน์ อัตราค่าเสอื่ มราคา/ปี 14. ครุภณั ฑ์การศกึ ษา (ปี) (รอ้ ยละ) 15. ครุภัณฑ์งานบา้ นงานครวั 16. ครุภัณฑ์กฬี า/กายภาพ อยา่ งตำ่� อยา่ งสงู อยา่ งตำ่� อย่างสงู 17. ครุภัณฑ์ดนตรี/นาฏศิลป์ 2 5 20 50 18. ครภุ ัณฑอ์ าวธุ 2 5 20 50 19. ครภุ ัณฑ์สนาม 2 5 20 50 20. สินทรัพย์โครงสร้างพ้นื ฐาน 2 5 20 50 20.1 ถนนคอนกรตี 5 10 10 20 20.2 ถนนลาดยาง 2 5 20 50 20.3 สะพานคอนกรีต เสรมิ เหลก็ 10 20 5 10 20.4 เข่ือนดนิ 3 10 10 33 20.5 เข่ือนปูน 20 50 2 5 20.6 อ่างเก็บนำ�้ 21. ครุภณั ฑ์อ่นื 20 50 2 5 22. สินทรัพยไ์ ม่มตี ัวตน 50 80 1.25 2 30 80 1.25 3 2 15 6.5 50 2 20 5 50 สินทรัพย์ท่ีมีลักษณะในภาครัฐ ได้แก่ สินทรัพย์มรดกทาง วัฒนธรรม สินทรัพย์เฉพาะทางการทหาร โดยให้รับรู้สินทรัพย์ มรดกทางวัฒนธรรมเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในช่อื บญั ชี “คา่ ใชจ้ ่ายอ่ืน” สนิ ทรพั ยท์ างการทหารเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในชอื่ บญั ชี “คา่ ใชจ้ า่ ย ในการรักษาความมั่นคงของประเทศ” และจัดท�ำทะเบียน คุมสนิ ทรัพย์ไวเ้ พ่อื ใช้ในการควบคมุ และตรวจสอบ หมายเหตุ : วิธีการบันทึกบัญชีสามารถดูรายละเอียดค�ำสั่งงานได้ที่คู่มือการบัญชี ภาครฐั เรอื่ งทด่ี นิ อาคาร และอปุ กรณ์ ตามหนงั สอื กระทรวงการคลงั ที่ กค 0410.3/ว 43 ลงวันที่ 29 มกราคม 2562 20 คู่มือการโอนสนิ ทรัพยข์ องจงั หวัดและกลมุ่ จังหวัด
บทที่ 3 ข้ันตอนการโอนสนิ ทรพั ย์ กรณีครุภณั ฑ์ “กลมุ่ จงั หวดั ” การบันทึกบัญชีโอนสินทรัพย์ของกลุ่มจังหวัดในฐานะผู้โอนให้กับหน่วยงาน ของรัฐ กรมบัญชีกลางได้ก�ำหนดแนวทางการบันทึกบัญชีการโอนสินทรัพย์ของ กลุ่มจังหวัด จ�ำแนกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. การโอนให้สว่ นราชการ 2. การโอนให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ 3. การโอนให้รัฐวสิ าหกจิ คมู่ อื ฉบับน้ีสรปุ ข้นั ตอนการโอนสนิ ทรัพยข์ องกลุ่มจงั หวดั กรณีครภุ ัณฑ์ เพอื่ ใช้ เป็นแนวทางการปฏิบัติ โดยมีแนวทางการปฏิบัติการโอนสินทรัพย์ของกลุ่มจังหวัด ใหก้ ับหน่วยงานรับโอน ดงั น้ี หนว่ ยงานรับโอนทใี่ ชร้ ะบบ GFMIS (Government Fiscal Management Information System) คู่มอื การโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด 21
หน่วยงานรับโอนท่ีไม่ใช้ระบบ GFMIS (Government Fiscal Management Information System) 3.1 การโอนสนิ ทรัพยข์ องกล่มุ จังหวดั กรณคี รุภัณฑ์ ให้หน่วยงานรบั โอน ทใ่ี ชร้ ะบบ GFMIS (Government Fiscal Management Information System) กรมบัญชีกลางได้ก�ำหนดแนวปฏิบัติทางบัญชีเก่ียวกับเงินงบประมาณ รายจ่ายของกลุ่มจังหวัด ในระบบ GFMIS โดยกลุ่มจังหวัดเจ้าของเงินงบประมาณ มอบหมายให้จังหวัดที่ด�ำเนินโครงการ ในฐานะท่ีเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่า ด้วยวิธีงบประมาณเป็นผู้เบิกเงินแทนในนามกลุ่มจังหวัด โดยจังหวัดผู้เบิกเงินแทน กลุ่มจังหวัดเสมือนเป็นเจ้าของงบประมาณ สินทรัพย์ที่ได้จัดหาโดยใช้เงินงบประมาณ รายจ่ายประจ�ำปีของกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัด ซ่ึงเป็นผู้เบิกแทนบันทึกสินทรัพย์ของกลุ่มจังหวัด แ ล ะ โ อ น สิ น ท รั พ ย ์ ก ลั บ ไ ป ยั ง ก ลุ ่ ม จั ง ห วั ด ซ่ึงเป็นเจ้าของเงินงบประมาณ โดยมีขั้นตอน กระบวนการ ดังนี้ กลุ่มจังหวัดน�ำเร่ืองการโอนสินทรัพย์ให้หน่วยงานรับโอน เสนอท่ีประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารงานกลุ่มจังหวดั แบบบรู ณาการ START (ก.บ.ก.) (1) กลุ่มจังหวัดแจ้งให้จังหวัดผู้เบิกแทน ส�ำรวจสินทรัพย์ที่ได้มาจาก การใชจ้ ่ายเงินงบประมาณของกลุ่มจังหวดั (2) จังหวัดผู้เบิกแทนแจ้งให้หน่วยด�ำเนินโครงการท่ีได้รับงบประมาณ จากกลมุ่ จังหวดั ส�ำรวจสนิ ทรัพยท์ ่ีไดม้ าจากการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณของกล่มุ จงั หวัด (3) กลุ่มจังหวัดจัดท�ำรายการสินทรัพย์ท่ีจะท�ำการโอนให้กับหน่วยงาน รับโอน พร้อมทั้งเสนอรายการสินทรัพย์นั้นให้คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) เห็นชอบการโอนสนิ ทรัพยใ์ ห้แกห่ น่วยงานรับโอน ผ้รู บั ผดิ ชอบ**: กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/กลุ่มงานยุทธศาสตร์และ ขอ้ มลู เพอ่ื การพัฒนาจงั หวัด/กลมุ่ งานอำ� นวยการ 22 คมู่ ือการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวดั และกลมุ่ จังหวัด
1STEP จังหวัดผู้เบิกแทนบันทึกบัญชีสินทรัพย์ในระบบ GFMIS ก่อนการโอนสินทรัพย์ให้กลุ่มจังหวัดกรณีที่จังหวัดผู้เบิกแทน ยังไม่มกี ารบันทกึ บัญชฯี 1.1 จังหวัดผู้เบิกแทนได้รับงบประมาณในระบบ GFMIS และเบิกจ่าย งบประมาณตามแผนงาน/โครงการของกลมุ่ จังหวัด 1.2 เจา้ หนา้ ทกี่ ารเงนิ ของจงั หวดั ผเู้ บกิ แทนรบั รสู้ นิ ทรพั ยข์ องกลมุ่ จงั หวดั ซึ่งเป็นเจ้าของงบประมาณ โดยสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ พร้อมทั้งบันทึกล้างบัญชี พกั สนิ ทรพั ยเ์ พอื่ รบั รเู้ ปน็ สนิ ทรพั ยใ์ นระบบ GFMIS จากนนั้ ใหป้ ระมวลผลคา่ เสอื่ มราคา หลังจากรับรู้สินทรัพย์แล้ว หากจังหวัดผู้เบิกแทนยังไม่มีการบันทึกรับรู้เป็นสินทรัพย์ รายตัว จะส่งผลให้มีบัญชีพักสินทรัพย์คงค้างอยู่ในระบบ GFMIS หรืออาจเกิดจาก การจัดซื้อหรือจัดหาผิดพลาดและบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย ให้จังหวัดผู้เบิกแทนปรับปรุง บญั ช/ี ดำ� เนนิ การรบั รบู้ นั ทกึ เปน็ สนิ ทรพั ยร์ ายตวั ใหแ้ ลว้ เสรจ็ จงึ สามารถดำ� เนนิ การโอน สนิ ทรัพย์ได้ (หนงั สือกรมบัญชกี ลาง ที่ กค 0423.3/ว198 ลงวันท่ี 11 มถิ นุ ายน 2553) 1.3 หลักการของกระบวนงานการสร้างข้อมูลเพ่ือรับรู้สินทรัพย์ข้ันต้น มี 6 คำ� สั่งหลัก ประกอบด้วย ล�ำดบั ท ี่ กระบวนงาน คำ� ส่งั งาน 1 2 การสรา้ งข้อมลู หลกั สนิ ทรัพย์ AS01 3 การสรา้ งข้อมลู หลักสินทรัพย์ยอ่ ย AS11 4 การแก้ไขข้อมลู หลกั สนิ ทรพั ย ์ AS02 5 การแสดงขอ้ มลู หลกั สนิ ทรัพย ์ AS03 6 การบลอ็ กขอ้ มูลหลกั สนิ ทรพั ย์ AS05 บันทึกรับสนิ ทรัพยจ์ ากรายการคงค้าง F-04 7 บัญชีพักรับสินทรัพย์ การประมวลผลค่าเสื่อมราคาของ ZAFAB 8 สินทรพั ย์ ตรวจสอบมลู ค่าค่าเสือ่ มราคาจาก AW01N รายงานสินทรพั ย์รายตัว คูม่ อื การโอนสนิ ทรัพยข์ องจงั หวัดและกล่มุ จังหวดั 23
การสรา้ งขอ้ มลู สนิ ทรพั ยห์ ลกั ใชค้ ำ� สงั่ งาน AS01 โดยตอ้ งระบปุ ระเภทของ สนิ ทรพั ย์ รหสั หน่วยงาน และจำ� นวนสินทรพั ยท์ มี่ เี หมือนกนั (กรณีมีจ�ำนวนสินทรัพย์ มากกว่า 1 รายการ) จากน้ันให้ระบคุ ำ� อธบิ ายสินทรัพย์ (กรอกรายละเอยี ดสนิ ทรพั ย)์ ระบปุ รมิ าณและหนว่ ยนบั ของสนิ ทรพั ย์ รหสั ผขู้ าย (ถา้ มี จาก PO) รายละเอยี ดครภุ ณั ฑ์ รหสั แหลง่ ของเงิน (จาก PO) รหสั งบประมาณ (จาก PO) รหัสกิจกรรมหลัก (จาก PO) และอายุการใชง้ านของสนิ ทรัพย์เพ่อื ใชใ้ นการค�ำนวณคา่ เสื่อมราคา การกำ� หนดบนั ทกึ สนิ ทรพั ย์ย่อย เปน็ การบันทกึ สินทรัพย์ทีต่ ้องใชร้ ว่ มกบั สนิ ทรพั ยห์ ลกั หากแยกออกจากกนั จะไมส่ ามารถใชง้ านไดห้ รอื วธิ กี ารไดม้ าของสนิ ทรพั ย์ ตามท่ีระเบียบพัสดุฯ ก�ำหนด อีกท้ังยังเป็นวิธีการล้างสินทรัพย์ท่ีได้มาในปีก่อน ๆ ซง่ึ จะต้องสร้างสินทรพั ย์ยอ่ ยส�ำหรบั การคำ� นวณค่าเสือ่ มของปที ีผ่ า่ น ๆ มา ตัวอย่าง : อุปกรณต์ อ่ พว่ งคอมพวิ เตอร์ มูลค่าไมถ่ ึง 10,000 บาท แต่หาก บันทึกอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์บันทึกรับรู้สินทรัพย์เป็นรายการเดียว และใช้เกณฑ์รับรู้สินทรัพย์เป็นมูลค่ารวม สามารถบันทึกทรัพย์สินหลักคอมพิวเตอร์ 1 ชุด และสนิ ทรัพย์ย่อยเป็นอปุ กรณต์ อ่ พว่ งของคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้ 1.4 หลักการและนโยบายในการบันทึกสินทรัพย์ การรับรู้สินทรัพย์ ที่มีมูลค่าขั้นต่�ำตั้งแต่ 10,000 บาทเป็นต้นไป ให้ถือปฏิบัติส�ำหรับสินทรัพย์ที่ได้มา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปน็ ต้นไป หากเป็นสง่ิ มีชีวติ เช่น โค กระบอื ไก่ ฯลฯ ทไี่ ด้มาจากการทำ� โครงการ ให้บันทึกรับรู้ในระบบ GFMIS เป็น “ค่าใช้จ่ายอ่ืน” เนื่องจากกรมบัญชีกลางยังไม่มี การก�ำหนดสินทรัพย์ท่ีมีชีวิตไว้ในมาตรฐานบัญชีภาครัฐ แต่ทั้งน้ีการโอนสินทรัพย์ ท่ีมีชีวิตให้ท�ำหลักฐานการโอนสินทรัพย์ตามแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง และจัดท�ำ ทะเบียนคุมสินทรัพย์ โดยบันทึกสินทรัพย์เป็นสิ่งมีชีวิต จ�ำนวนสัตว์ มูลค่าของสัตว์ และมูลค่ารวม เพอื่ เก็บเปน็ หลักฐานการโอนสินทรัพยร์ ะหวา่ งหนว่ ยงาน การนับอายุการใช้งานของสินทรัพย์ ในกรณีที่ 1 สินทรัพย์ได้มาก่อน วันท่ี 15 ของเดอื นใหน้ ับอายุสินทรัพยเ์ ป็น 1 เดอื น และกรณีท่ี 2 สนิ ทรพั ยท์ ี่ไดม้ าหลงั วันที่ 15 ของเดือน ให้ปัดเศษทงิ้ นบั รวมเปน็ ของเดอื นถดั ไป 1.5 กรณจี ดั ซอ้ื ครภุ ณั ฑป์ ระเภทเดยี วกนั และจำ� นวนมากในคราวเดยี วกนั ให้สร้างรหัสสินทรัพย์เท่ากับจ�ำนวนของสินทรัพย์ท่ีจัดซ้ือ (1 รหัสสินทรัพย์ เท่ากับ สินทรัพย์ 1 หน่วย) เชน่ จดั ซ้ือเรือ 10 ล�ำ สรา้ งรหสั สินทรัพย์ 10 รหสั ตามจำ� นวนของ สนิ ทรพั ยท์ ่ีไดม้ า ผรู้ บั ผดิ ชอบ** : กลุ่มงานอ�ำนวยการ 24 คู่มอื การโอนสินทรพั ยข์ องจังหวัดและกลุ่มจังหวดั
2STEP จังหวดั ผ้เู บกิ แทนแจ้งรายละเอยี ดสนิ ทรัพยใ์ หก้ ลมุ่ จังหวัด 2.1 จังหวัดผู้เบิกแทนรวบรวมรายการ รายละเอียดสินทรัพย์และ เลขที่สินทรพั ย์ทบ่ี นั ทึกรับรใู้ นระบบ GFMIS 2.2 จังหวัดผู้เบิกแทนแจ้งให้กลุ่มจังหวัดทราบ ตามแบบฟอร์มของ กรมบญั ชกี ลาง5 โดยมีรายละเอยี ดประกอบรายงานสินทรพั ยร์ ายตัว ประกอบดว้ ย (1) วนั ทไ่ี ด้รับสินทรัพย์ (2) รหัสสนิ ทรพั ยใ์ นระบบ GFMIS (3) ชอื่ และรายการสินทรัพย์ (4) ราคาทนุ วนั ที่ไดม้ า (5) ค่าเส่อื มราคาสะสม (6) ราคาตามบญั ชี 2.3 จงั หวดั ผเู้ บกิ แทนทำ� แบบรายละเอยี ดการโอนสนิ ทรพั ยต์ ามแบบฟอรม์ ของกรมบญั ชีกลาง จำ� นวน 3 ฉบบั 2.4 ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ผเู้ บกิ แทนลงนามในแบบฟอรม์ ของกรมบญั ชกี ลาง ในส่วนของผโู้ อน (จงั หวดั ผูเ้ บกิ แทนโอนใหก้ ลุม่ จังหวดั ) 2.5 จงั หวดั ผเู้ บกิ แทนดำ� เนนิ การสง่ แบบฟอรม์ ฯ ใหก้ ลมุ่ จงั หวดั กรอกขอ้ มลู รายละเอยี ดสินทรพั ย์ ผ้รู บั ผดิ ชอบ** : กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มงาน อ�ำนวยการ 5แบบฟอร์มของกรมบัญชกี ลาง ตามหนงั สือกระทรวงการคลงั ที่ กค 0423.3/ว 254 ลงวนั ท่ี 16 กรกฎาคม 2556 คมู่ อื การโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลุม่ จังหวดั 25
3STEP กล่มุ จังหวดั สร้างรหัสสนิ ทรัพย์ในระบบ GFMIS 3.1 กลุ่มจังหวัดสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ในระบบ GFMIS (ให้ระบุ การใช้งานที่เหลือ) และกรอกข้อมูลรายละเอียดในแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง โดยสินทรัพย์แต่ละรายการต้องอยู่ในบรรทัดเดียวกันกับรหัสสินทรัพย์ของจังหวัด ผ้เู บิกแทน 3.2 กลุ่มจังหวัดเสนอหัวหน้ากลุ่มจังหวัดลงนามในแบบฟอร์มของ กรมบัญชีกลาง ในสว่ นของผูร้ บั โอน (จังหวัดผเู้ บิกแทนโอนให้กลุ่มจังหวดั ) 3.3 กลุ่มจังหวัดจัดส่งรายละเอียดตามแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง ใหจ้ ังหวัดผู้เบกิ แทนตรวจสอบรายละเอยี ด ผู้รบั ผิดชอบ** : กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตรก์ ลมุ่ จงั หวัด 4STEP จังหวัดผู้เบิกแทนแจ้งรายละเอียดสินทรัพย์ตามแบบฟอร์ม กรมบญั ชกี ลาง จังหวัดผู้เบิกแทนจัดท�ำหนังสือพร้อมส่งแบบรายละเอียดการโอน สินทรัพย์ท่ีกรอกข้อมูลแล้วทั้ง 3 ฉบับ ไปยังกรมบัญชีกลาง (ส�ำนักมาตรฐาน ด้านการบัญชีภาครัฐ) เพื่อให้กรมบัญชีกลางด�ำเนินการโอนสินทรัพย์จากจังหวัด ผู้เบิกแทนให้กลมุ่ จงั หวัดในระบบ GFMIS ผรู้ ับผิดชอบ** : กล่มุ งานอ�ำนวยการ 5STEP กรมบัญชีกลางบันทึกการโอนสินทรัพย์จากจังหวัดผู้เบิกแทน ให้กลุม่ จงั หวดั ในระบบ GFMIS 5.1 กรมบัญชีกลางด�ำเนินการบันทึกการโอนสินทรัพย์ระหว่างจังหวัด ผ้เู บิกแทนให้แกก่ ลมุ่ จงั หวัด ในระบบ GFMIS 26 คู่มือการโอนสนิ ทรัพยข์ องจงั หวัดและกลุม่ จงั หวดั
5.2 กรมบญั ชกี ลางสง่ หนงั สอื แจง้ จงั หวดั ผเู้ บกิ แทน (ผโู้ อน) เพอื่ ตรวจสอบ ความถูกต้องของการบันทึกโอนสินทรัพย์จากรายงานสินทรัพย์รายตัว (AW01N) รายงานบัญชีแยกประเภทท่ัวไปบัญชีพักหักล้างการโอนสินทรัพย์ (FBL3N) พร้อมท้ัง วิธีการปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการโอนสินทรัพย์ เพื่อให้จังหวัดเบิกแทน (ผู้โอน) บันทกึ ปรับปรุงบญั ชี 5.3 กรมบัญชีกลางส่งหนังสือแจ้งกลุ่มจังหวัด (ผู้รับโอน) เพ่ือตรวจสอบ ความถูกต้องของการบันทึกโอนสินทรัพย์จากรายงานสินทรัพย์รายตัว (AW01N) รายงานบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไปบญั ชพี กั หกั ลา้ งการรบั โอนสนิ ทรพั ย์ (FBL3N) พรอ้ มทง้ั วิธีการปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการรับโอนสินทรัพย์ เพื่อให้กลุ่มจังหวัด (ผู้รับโอน) บนั ทกึ ปรับปรงุ บัญชี ผรู้ ับผิดชอบ** : กรมบัญชีกลาง 6STEP จังหวัดผู้เบิกแทนบันทึกปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการโอน สนิ ทรัพย์ จังหวัดผู้เบิกแทนบันทึกปรับปรุงบัญชี ตามค�ำสั่งงาน ZGL_JV ล้างบัญชีพักหักล้างการโอนสินทรัพย์ โดยให้ระบุวันผ่านรายการวันเดียวกับท่ี กรมบัญชีกลางบันทึก (กรมบัญชีกลางระบุวันท่ีมาให้) เพ่ือรับรู้การโอนสินทรัพย์ ให้กลมุ่ จังหวดั เรยี บรอ้ ยแล้ว ผรู้ บั ผิดชอบ** : กลมุ่ งานอำ� นวยการ 7STEP กลุ่มจังหวัดบันทึกปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการรับโอน สนิ ทรพั ย์ กลุ่มจังหวัดบันทึกปรับปรุงบัญชี ตามค�ำสั่งงาน F-04 ประเภทเอกสาร JV ล้างบัญชีพักหักล้างการรับโอนสินทรัพย์ โดยให้ระบุวันผ่านรายการวันเดียวกับ ท่ีกรมบัญชีกลางบันทึก (กรมบัญชีกลางระบุวันท่ีมาให้) เพื่อรับรู้สินทรัพย์ท่ีได้จาก การรับโอนจากจังหวดั ผเู้ บิกแทนเรียบรอ้ ยแลว้ ผู้รับผดิ ชอบ** : กลุ่มงานบริหารยทุ ธศาสตรก์ ล่มุ จังหวดั คมู่ อื การโอนสนิ ทรัพยข์ องจังหวัดและกลุม่ จังหวดั 27
8STEP กลุ่มจังหวัดแจ้งให้หน่วยงานรับโอนทราบเก่ียวกับรายการ และรายละเอียดของสนิ ทรพั ยท์ ่จี ะโอน 8.1 กลุ่มจังหวัดแจ้งให้หน่วยงานรับโอนทราบ ตามแบบฟอร์มของ กรมบัญชกี ลาง6 โดยมีรายละเอียดประกอบการรายงานสนิ ทรัพย์รายตัว ประกอบด้วย (1) วนั ทไ่ี ด้รับสนิ ทรัพย์ (2) รหสั สินทรัพย์ในระบบ GFMIS (3) ช่อื และรายการสินทรัพย์ (4) ราคาทุนวนั ท่ไี ด้มา (5) ค่าเส่ือมราคาสะสม (6) ราคาตามบัญชี 8.2 กลมุ่ จังหวดั จดั ทำ� แบบฟอรม์ ของกรมบญั ชีกลาง จำ� นวน 3 ฉบบั 8.3 หัวหน้ากลุ่มจังหวัดลงนามในแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง ในส่วน ของผโู้ อน (กลมุ่ จังหวัดโอนใหส้ ว่ นราชการ) ผู้รบั ผดิ ชอบ** : กลมุ่ งานบริหารยทุ ธศาสตรก์ ลมุ่ จังหวัด 9STEP หนว่ ยงานรับโอนสรา้ งรหัสสินทรัพยใ์ นระบบ GFMIS 9.1 หน่วยงานรบั โอนสรา้ งข้อมลู หลักสินทรัพยใ์ นระบบ GFMIS (ใหร้ ะบุ การใช้งานที่เหลือ) (ทั้งน้ี ในการสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ข้างต้นขึ้นอยู่กับอ�ำนาจ ในการด�ำเนินการของหน่วยงานรับโอนว่ามีการมอบอ�ำนาจให้ส่วนภูมิภาคด�ำเนินการ หรอื ไม่ หากไมม่ กี ารมอบอำ� นาจการดำ� เนนิ การดงั กลา่ วตอ้ งสง่ ใหก้ รมเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การ) และกรอกข้อมูลรายละเอียดตามแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง โดยสินทรัพย์ แต่ละรายการตอ้ งอยใู่ นบรรทัดเดยี วกันกบั รหสั สนิ ทรัพย์ของกลมุ่ จงั หวัด 9.2 หน่วยงานรับโอนเสนอให้ผู้มีอ�ำนาจลงนามในแบบฟอร์มของ กรมบัญชีกลาง ในสว่ นของผรู้ บั โอน (กลุ่มจังหวดั โอนใหส้ ่วนราชการ) ผูร้ บั ผดิ ชอบ** : หนว่ ยงานรบั โอน 6แบบฟอร์มของกรมบญั ชกี ลาง ตามหนังสอื กระทรวงการคลัง ท่ี กค 0423.3/ว 254 ลงวนั ที่ 16 กรกฎาคม 2556 28 คู่มอื การโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลุม่ จังหวัด
10STEP หน่วยงานผู้รับโอนแจ้งให้กลุ่มจังหวัดรับทราบรหัสสินทรัพย์ ทจี่ ะรับโอนในระบบ GFMIS หน่วยงานรับโอนจัดท�ำหนังสือพร้อมส่งรายละเอียดตามแบบฟอร์มของ กรมบญั ชีกลางส่งให้กลุม่ จังหวัดเพอ่ื ตรวจสอบและดำ� เนนิ การต่อไป ผ้รู ับผดิ ชอบ** : หน่วยงานรบั โอน 11STEP กลุ่มจังหวัดแจ้งรายละเอียดการโอนสินทรัพย์ไปยัง กรมบัญชีกลาง กลุ่มจังหวัดจัดท�ำหนังสือพร้อมส่งรายละเอียดการโอนสินทรัพย์ ทกี่ รอกขอ้ มลู แลว้ ทงั้ 3 ฉบบั ไปยงั กรมบญั ชกี ลาง (สำ� นกั มาตรฐานดา้ นการบญั ชภี าครฐั ) เพ่ือกรมบัญชีกลางด�ำเนินการโอนสินทรัพย์จากกลุ่มจังหวัดให้ส่วนราชการ ในระบบ GFMIS ผูร้ ับผดิ ชอบ** : กลุม่ งานบริหารยทุ ธศาสตร์กลมุ่ จงั หวัด 12STEP กรมบัญชีกลางบันทึกการโอนสินทรัพย์จากกลุ่มจังหวัด ให้ส่วนราชการในระบบ GFMIS 12.1 กรมบัญชีกลางด�ำเนินการบันทึกการโอนสินทรัพย์ระหว่าง กลมุ่ จังหวัดให้สว่ นราชการ ในระบบ GFMIS 12.2 กรมบัญชีกลางส่งหนังสือแจ้งกลุ่มจังหวัด (ผู้โอน) เพ่ือตรวจสอบ ความถูกต้องของการบันทึกโอนสินทรัพย์จากรายงานสินทรัพย์รายตัว (AW01N) รายงานบัญชีแยกประเภทท่ัวไปบัญชีพักหักล้างการโอนสินทรัพย์ (FBL3N) พร้อมท้ัง วิธีการปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการโอนสินทรัพย์ เพ่ือให้กลุ่มจังหวัด (ผู้โอน) บันทึก ปรับปรงุ บัญชี คู่มอื การโอนสินทรัพยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจงั หวดั 29
12.3 กรมบญั ชกี ลางสง่ หนงั สอื แจง้ สว่ นราชการ (ผรู้ บั โอน) เพอื่ ตรวจสอบ ความถูกต้องของการบันทึกโอนสินทรัพย์จากรายงานสินทรัพย์รายตัว (AW01N) รายงานบัญชีแยกประเภททั่วไปบัญชีพักหักล้างการรับโอนสินทรัพย์ (FBL3N) พร้อมท้ังวิธีการปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการรับโอนสินทรัพย์ เพ่ือให้ส่วนราชการ (ผู้รบั โอน) บนั ทึกปรับปรงุ บัญชี ผู้รบั ผดิ ชอบ** : กรมบัญชีกลาง 13STEP กลุ่มจังหวัด (ผู้โอน) บันทึกปรับปรุงบัญชีพักหักล้าง การโอนสินทรพั ย์ กลุ่มจังหวัด (ผู้โอน) บันทึกปรับปรุงบัญชี ตามค�ำสั่งงาน ZGL_JV ล้างบัญชีพักหักล้างการโอนสินทรัพย์ โดยให้ระบุวันผ่านรายการวันเดียวกับท่ี กรมบัญชีกลางบันทึก (กรมบัญชีกลางระบุวันท่ีมาให้) เพ่ือรับรู้การโอนสินทรัพย์ ให้หน่วยงานรับโอนเรยี บร้อยแล้ว ผรู้ บั ผิดชอบ** : กล่มุ งานบริหารยุทธศาสตร์กล่มุ จงั หวัด 14STEP หน่วยงานรับโอนบันทึกปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการรับ โอนสินทรัพย์ หน่วยงาน (ผู้รับโอน) บันทึกปรับปรุงบัญชี ตามค�ำส่ังงาน F-04 ประเภทเอกสาร JV ล้างบัญชีพักหักล้างการรับโอนสินทรัพย์ โดยให้ระบุวัน ผ่านรายการวันเดียวกับท่ีกรมบัญชีกลางบันทึก (กรมบัญชีกลางได้ระบุวันที่มาให้) เพือ่ รับรู้สนิ ทรพั ย์ทร่ี ับโอนจากกลุ่มจังหวดั เรยี บร้อยแล้ว ผรู้ ับผดิ ชอบ** : หน่วยงานรบั โอน 30 คมู่ อื การโอนสนิ ทรัพยข์ องจงั หวดั และกลุ่มจังหวัด
คู่มอื การโอนสนิ ทรัพยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จังหวัด 31
3.2 การโอนสนิ ทรัพย์ของกลมุ่ จังหวดั กรณีครภุ ณั ฑ์ ให้หนว่ ยงานรบั โอน ท่ไี มใ่ ช้ระบบ GFMIS (Government Fiscal Management Information System) กลุ่มจังหวัดน�ำเร่ืองการโอนสินทรัพย์ให้หน่วยงานรับโอน เสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ START (ก.บ.ก.) (1) กลุ่มจังหวัดแจ้งให้จังหวัดผู้เบิกแทน ส�ำรวจสินทรัพย์ที่ได้มาจาก การใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณของกลมุ่ จงั หวัด (2) จังหวัดผู้เบิกแทนแจ้งให้หน่วยด�ำเนินโครงการท่ีได้รับงบประมาณ จากกลุ่มจังหวัด สำ� รวจสินทรัพยท์ ไี่ ด้มาจากการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณของกลมุ่ จงั หวัด (3) กลุ่มจังหวัดจัดท�ำรายการสินทรัพย์ท่ีจะท�ำการโอนให้กับหน่วยงาน รับโอน พร้อมท้ังเสนอรายการสินทรัพย์น้ันให้คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) เห็นชอบการโอนสนิ ทรัพยใ์ หแ้ ก่หน่วยงานรับโอน ผ้รู บั ผดิ ชอบ** : กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/กลุ่มงานยุทธศาสตร์และ ข้อมลู เพื่อการพฒั นาจงั หวดั /กลุม่ งานอำ� นวยการ 1STEP จังหวัดผู้เบิกแทนบันทึกบัญชีสินทรัพย์ในระบบ GFMIS ก่อนการโอนสินทรัพย์ให้กลุ่มจังหวัดกรณีท่ีจังหวัดผู้เบิกแทน ยงั ไมม่ กี ารบันทึกบญั ชีฯ 1.1 จังหวัดผู้เบิกแทนได้รับงบประมาณในระบบ GFMIS และเบิกจ่าย งบประมาณตามแผนงาน/โครงการของกลุ่มจงั หวดั 1.2 เจา้ หนา้ ทกี่ ารเงนิ ของจงั หวดั ผเู้ บกิ แทนรบั รสู้ นิ ทรพั ยข์ องกลมุ่ จงั หวดั ซ่ึงเป็นเจ้าของงบประมาณ โดยสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ พร้อมทั้งบันทึกล้างบัญชี พักสินทรัพย์เพ่ือรับรู้เป็นสินทรัพย์ในระบบ GFMIS จากนั้นให้ประมวลผลค่าเส่ือม ราคาหลังจากรับรู้สินทรัพย์แล้ว หากจังหวัดผู้เบิกแทนยังไม่มีการบันทึกรับรู้ เป็นสินทรัพย์รายตัว จะส่งผลให้มีบัญชีพักสินทรัพย์คงค้างอยู่ในระบบ GFMIS หรือ อาจเกดิ จากการจดั ซอ้ื หรอื จดั หาผดิ พลาดและบนั ทกึ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย ใหจ้ งั หวดั ผเู้ บกิ แทน 32 คมู่ ือการโอนสินทรพั ยข์ องจังหวัดและกลุม่ จงั หวดั
ปรับปรุงบัญชี/ด�ำเนินการรับรู้บันทึกเป็นสินทรัพย์รายตัวให้แล้วเสร็จ จึงสามารถ ด�ำเนินการโอนสินทรัพย์ได้ (หนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0423.3/ว 198 ลงวันท่ี 11 มถิ ุนายน 2553) 1.3 หลักการของกระบวนงานการสร้างข้อมูลเพ่ือรับรู้สินทรัพย์ขั้นต้น มี 6 ค�ำสั่งหลัก ประกอบดว้ ย ลำ� ดับท ี่ กระบวนงาน ค�ำสั่งงาน 1 2 การสรา้ งข้อมูลหลักสินทรัพย ์ AS01 3 การสร้างข้อมลู หลักสนิ ทรพั ย์ย่อย AS11 4 การแกไ้ ขขอ้ มูลหลักสนิ ทรัพย์ AS02 5 การแสดงขอ้ มลู หลักสินทรพั ย ์ AS03 6 การบล็อกขอ้ มลู หลกั สนิ ทรัพย ์ AS05 บนั ทกึ รับสินทรัพย์จากรายการคงค้าง F-04 7 บญั ชีพักรับสินทรัพย์ การประมวลผลค่าเสื่อมราคาของ ZAFAB 8 สนิ ทรัพย์ ตรวจสอบมูลคา่ ค่าเส่ือมราคาจาก AW01N รายงานสนิ ทรัพย์รายตวั การสรา้ งขอ้ มลู สนิ ทรพั ยห์ ลกั ใชค้ ำ� สง่ั งาน AS01 โดยตอ้ งระบปุ ระเภทของ สนิ ทรพั ย์ รหัสหน่วยงาน และจ�ำนวนสนิ ทรพั ย์ท่มี ีเหมือนกัน (กรณีมีจ�ำนวนสินทรพั ย์ มากกวา่ 1 รายการ) จากนัน้ ใหร้ ะบุคำ� อธิบายสินทรัพย์ (กรอกรายละเอียดสินทรัพย)์ ระบปุ รมิ าณและหนว่ ยนบั ของสนิ ทรพั ย์ รหสั ผขู้ าย (ถา้ มี จาก PO) รายละเอยี ดครภุ ณั ฑ์ รหัสแหลง่ ของเงนิ (จาก PO) รหัสงบประมาณ (จาก PO) รหัสกิจกรรมหลกั (จาก PO) และอายุการใชง้ านของสินทรพั ย์เพือ่ ใชใ้ นการคำ� นวณค่าเสอ่ื มราคา การกำ� หนดบนั ทกึ สนิ ทรัพย์ยอ่ ย เป็นการบันทกึ สนิ ทรัพยท์ ี่ต้องใช้รว่ มกบั สนิ ทรพั ยห์ ลกั หากแยกออกจากกนั จะไมส่ ามารถใชง้ านไดห้ รอื วธิ กี ารไดม้ าของสนิ ทรพั ย์ ตามที่ระเบียบพัสดุฯ ก�ำหนด อีกทั้งยังเป็นวิธีการล้างสินทรัพย์ที่ได้มาในปีก่อน ๆ ซึง่ จะต้องสรา้ งสินทรพั ยย์ อ่ ยสำ� หรับการค�ำนวณค่าเสือ่ มของปที ี่ผ่าน ๆ มา คู่มือการโอนสนิ ทรัพยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จงั หวดั 33
ตัวอย่าง : อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ มูลค่าไม่ถึง 10,000 บาท แต่หากบันทึกอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์บันทึกรับรู้สินทรัพย์เป็นรายการเดียว และใช้เกณฑ์รับรู้สินทรัพย์เป็นมูลค่ารวม สามารถบันทึกสินทรัพย์หลักคอมพิวเตอร์ 1 ชดุ และสนิ ทรพั ยย์ อ่ ยเปน็ อุปกรณ์ตอ่ พว่ งของคอมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น 1.4 หลักการและนโยบายในการบันทึกสินทรัพย์ การรับรู้สินทรัพย์ที่มี มูลค่าขั้นต�่ำต้ังแต่ 10,000 บาทเป็นต้นไป ให้ถือปฏิบัติส�ำหรับสินทรัพย์ท่ีได้มา ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป หากเป็นสงิ่ มชี วี ิต เช่น โค กระบือ ไก่ ฯลฯ ทไ่ี ดม้ าจากการท�ำโครงการ ให้บันทึกรับรู้ในระบบ GFMIS เป็น “ค่าใช้จ่ายอื่น” เน่ืองจากกรมบัญชีกลางยังไม่มี การก�ำหนดสินทรัพย์ที่มีชีวิตไว้ในมาตรฐานบัญชีภาครัฐ แต่ทั้งนี้การโอนสินทรัพย์ ท่ีมีชีวิตให้ท�ำหลักฐานการโอนสินทรัพย์ตามแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง และจัดท�ำ ทะเบียนคุมสินทรัพย์ โดยบันทึกสินทรัพย์เป็นสิ่งมีชีวิต จ�ำนวนสัตว์ มูลค่าของสัตว์ และมูลค่ารวม เพื่อเกบ็ เปน็ หลกั ฐานการโอนสินทรพั ยร์ ะหวา่ งหนว่ ยงาน การนับอายกุ ารใช้งานของสนิ ทรพั ย์ ในกรณที ี่ 1 สินทรพั ยไ์ ดม้ าก่อนวันท่ี 15 ของเดอื นใหน้ ับอายสุ ินทรัพยเ์ ป็น 1 เดอื น และกรณีที่ 2 สนิ ทรพั ย์ที่ได้มาหลังวันท่ี 15 ของเดือน ใหป้ ดั เศษท้งิ นบั รวมเป็นของเดอื นถดั ไป 1.5 กรณจี ดั ซอื้ ครภุ ณั ฑป์ ระเภทเดยี วกนั และจำ� นวนมากในคราวเดยี วกนั ให้สร้างรหัสสินทรัพย์เท่ากับจ�ำนวนของสินทรัพย์ที่จัดซ้ือ (1 รหัสสินทรัพย์ เท่ากับ สนิ ทรพั ย์ 1 หนว่ ย) เช่น จัดซอ้ื เรอื 10 ล�ำ สรา้ งรหัสสินทรพั ย์ 10 รหสั ตามจำ� นวนของ สนิ ทรพั ยท์ ไ่ี ด้มา ผู้รบั ผิดชอบ** : กลุ่มงานอ�ำนวยการ 2STEP จังหวัดผู้เบิกแทนแจ้งรายละเอียดสินทรัพยใ์ หก้ ลุ่มจงั หวดั 2.1 จังหวัดผู้เบิกแทนรวบรวมรายการ รายละเอียดสินทรัพย์และเลขที่ สนิ ทรพั ย์ที่บนั ทึกรับรู้ในระบบ GFMIS 34 คู่มอื การโอนสนิ ทรพั ยข์ องจังหวดั และกลุม่ จงั หวัด
2.2 จังหวัดผู้เบิกแทนแจ้งให้กลุ่มจังหวัดทราบ ตามแบบฟอร์มของ กรมบัญชีกลาง7 โดยมรี ายละเอียดประกอบรายงานสินทรัพย์รายตวั ประกอบด้วย (1) วนั ทไี่ ด้รบั สินทรัพย์ (2) รหสั สนิ ทรพั ย์ในระบบ GFMIS (3) ชอ่ื และรายการสินทรพั ย์ (4) ราคาทนุ วันทไ่ี ด้มา (5) คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (6) ราคาตามบญั ชี 2.3 จงั หวดั ผเู้ บกิ แทนทำ� แบบรายละเอยี ดการโอนสนิ ทรพั ยต์ ามแบบฟอรม์ ของกรมบัญชกี ลาง จ�ำนวน 3 ฉบับ 2.4 ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ผเู้ บกิ แทนลงนามในแบบฟอรม์ ของกรมบญั ชกี ลาง ในส่วนของผ้โู อน (จังหวัดผเู้ บิกแทนโอนใหก้ ลมุ่ จังหวัด) 2.5 จงั หวดั ผเู้ บกิ แทนดำ� เนนิ การสง่ แบบฟอรม์ ฯ ใหก้ ลมุ่ จงั หวดั กรอกขอ้ มลู รายละเอียดสินทรพั ย์ ผูร้ บั ผดิ ชอบ** : กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มงาน อ�ำนวยการ 3STEP กลมุ่ จงั หวดั สรา้ งรหัสสนิ ทรพั ยใ์ นระบบ GFMIS 3.1 กลุ่มจังหวัดสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ในระบบ GFMIS (ให้ระบุ การใช้งานท่ีเหลือ) และกรอกข้อมูลรายละเอียดในแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง โดยสินทรัพย์แต่ละรายการต้องอยู่ในบรรทัดเดียวกันกับรหัสสินทรัพย์ของจังหวัด ผู้เบิกแทน 3.2 กลุ่มจังหวัดเสนอหัวหน้ากลุ่มจังหวัดลงนามในแบบฟอร์มของ กรมบัญชกี ลาง ในส่วนของผรู้ บั โอน (จงั หวัดผเู้ บิกแทนโอนให้กลุม่ จงั หวดั ) 7แบบฟอรม์ ของกรมบัญชีกลาง ตามหนังสอื กระทรวงการคลัง ที่ กค 0423.3/ว 254 ลงวนั ที่ 16 กรกฎาคม 2556 ค่มู อื การโอนสินทรัพยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจังหวดั 35
3.3 กลุ่มจังหวัดจัดส่งรายละเอียดตามแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง ใหจ้ งั หวัดผู้เบิกแทนตรวจสอบรายละเอียด ผูร้ บั ผิดชอบ** : กลมุ่ งานบรหิ ารยุทธศาสตร์กลมุ่ จงั หวัด 4STEP จังหวัดผู้เบิกแทนแจ้งรายละเอียดสินทรัพย์ตามแบบฟอร์ม กรมบญั ชีกลาง จงั หวดั ผเู้ บกิ แทนจดั ทำ� หนงั สอื พรอ้ มสง่ แบบรายละเอยี ดการโอนสนิ ทรพั ย์ ท่ีกรอกข้อมูลแล้วทั้ง 3 ฉบับ ไปยังกรมบัญชีกลาง (ส�ำนักมาตรฐานด้านการบัญชี ภาครัฐ) เพ่ือให้กรมบัญชีกลางด�ำเนินการโอนสินทรัพย์จากจังหวัดผู้เบิกแทน ใหก้ ล่มุ จงั หวดั ในระบบ GFMIS ผรู้ บั ผิดชอบ** : กลุ่มงานอำ� นวยการ 5STEP กรมบัญชีกลางบันทึกการโอนสินทรัพย์จากจังหวัด ผูเ้ บิกแทนใหก้ ลมุ่ จงั หวดั ในระบบ GFMIS 5.1 กรมบัญชีกลางด�ำเนินการบันทึกการโอนสินทรัพย์ระหว่างจังหวัด ผู้เบิกแทนใหแ้ ก่กลมุ่ จังหวดั ในระบบ GFMIS 5.2 กรมบญั ชกี ลางสง่ หนงั สอื แจง้ จงั หวดั ผเู้ บกิ แทน (ผโู้ อน) เพอ่ื ตรวจสอบ ความถูกต้องของการบันทึกโอนสินทรัพย์จากรายงานสินทรัพย์รายตัว (AW01N) รายงานบัญชีแยกประเภททั่วไปบัญชีพักหักล้างการโอนสินทรัพย์ (FBL3N) พร้อมท้ัง วิธีการปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการโอนสินทรัพย์ เพ่ือให้จังหวัดเบิกแทน (ผู้โอน) บนั ทึกปรับปรงุ บัญชี 5.3 กรมบัญชีกลางส่งหนังสือแจ้งกลุ่มจังหวัด (ผู้รับโอน) เพื่อตรวจสอบ ความถูกต้องของการบันทึกโอนสินทรัพย์จากรายงานสินทรัพย์รายตัว (AW01N) รายงานบัญชีแยกประเภททั่วไปบัญชีพักหักล้างการรับโอนสินทรัพย์ (FBL3N) พร้อมทั้งวิธีการปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการรับโอนสินทรัพย์ เพื่อให้กลุ่มจังหวัด (ผู้รบั โอน) บนั ทกึ ปรบั ปรงุ บญั ชี ผรู้ ับผิดชอบ** : กรมบัญชีกลาง 36 คมู่ อื การโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวดั และกล่มุ จงั หวัด
6STEP จังหวัดผู้เบิกแทนบันทึกปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการโอน สินทรัพย์ จงั หวัดผ้เู บกิ แทนบันทึกปรบั ปรงุ บัญชี ตามคำ� สงั่ งาน ZGL_JV ล้างบญั ชี พกั หกั ลา้ งการโอนสนิ ทรพั ย์ โดยใหร้ ะบวุ นั ผา่ นรายการวนั เดยี วกบั ทกี่ รมบญั ชกี ลางบนั ทกึ (กรมบัญชกี ลางระบุวนั ท่มี าให)้ เพ่อื รับรกู้ ารโอนสนิ ทรพั ยใ์ ห้กล่มุ จงั หวดั เรยี บร้อยแลว้ ผู้รับผิดชอบ** : กลุ่มงานอ�ำนวยการ 7STEP กลุ่มจังหวัดบันทึกปรับปรุงบัญชีพักหักล้างการรับโอน สินทรพั ย์ กลุม่ จังหวัดบนั ทึกปรับปรุงบญั ชี ตามคำ� สงั่ งาน F-04 ประเภทเอกสาร JV ล้างบัญชีพักหักล้างการรับโอนสินทรัพย์ โดยให้ระบุวันผ่านรายการวันเดียวกับที่ กรมบัญชีกลางบันทึก (กรมบัญชีกลางระบุวันที่มาให้) เพื่อรับรู้สินทรัพย์ที่ได้จาก การรบั โอนจากจังหวดั ผูเ้ บกิ แทนเรียบรอ้ ยแล้ว ผู้รับผดิ ชอบ** : กลมุ่ งานบริหารยทุ ธศาสตรก์ ลุ่มจงั หวดั 8STEP กลุ่มจังหวัดแจ้งให้หน่วยงานรับโอนทราบเกี่ยวกับรายการ และรายละเอยี ดของสินทรัพยท์ ี่จะโอน 8.1 กลุ่มจังหวัดแจ้งให้หน่วยงานรับโอนทราบ ตามแบบฟอร์มของ กรมบัญชีกลาง8 โดยมีรายละเอียดประกอบการรายงานสินทรพั ย์รายตวั ประกอบด้วย (1) วันทไ่ี ดร้ ับสินทรัพย์ (2) รหสั สินทรัพยใ์ นระบบ GFMIS (3) ชือ่ และรายการสินทรพั ย์ (4) ราคาทุนวนั ทไี่ ด้มา 8แบบฟอรม์ ของกรมบญั ชกี ลาง ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0423.3/ว 254 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 คูม่ ือการโอนสินทรัพยข์ องจังหวดั และกลุม่ จงั หวดั 37
(5) ค่าเสอื่ มราคาสะสม (6) ราคาตามบัญชี 8.2 กลมุ่ จงั หวดั จดั ทำ� แบบฟอร์มของกรมบัญชกี ลาง จำ� นวน 3 ฉบบั 8.3 หัวหน้ากลุ่มจังหวัดลงนามในแบบฟอร์มของกรมบัญชีกลาง ในส่วนของผูโ้ อน (กลมุ่ จงั หวัดโอนใหส้ ว่ นราชการ) ผรู้ บั ผดิ ชอบ** : กลุ่มงานบรหิ ารยทุ ธศาสตรก์ ลมุ่ จงั หวัด 9STEP หนว่ ยงานรบั โอนรับสนิ ทรัพย์ หน่วยงานรับโอนสินทรัพย์ด�ำเนินการสร้างรหัสสินทรัพย์ตามแนวทาง การปฏิบัติตามระบบบัญชีของหน่วยงาน เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กรอกข้อมูลในแบบรายละเอียดการโอนสินทรัพย์ที่กลุ่มจังหวัดส่งให้ พร้อมทั้งเก็บไว้ เปน็ หลกั ฐานระหวา่ งกนั จำ� นวน 1 ชดุ (ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจดั ซอื้ จัดจ้างและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 สว่ นที่ 4 การจ�ำหนา่ ยพสั ดขุ อ้ 215 (3)) ผ้รู บั ผดิ ชอบ** : หนว่ ยงานรับโอน 10STEP หนว่ ยงานรบั โอนแจง้ ใหก้ ลมุ่ จงั หวดั ทราบเมอ่ื รบั โอนสนิ ทรพั ย์ เสรจ็ สน้ิ หนว่ ยงานรบั โอนทำ� หนงั สอื แจง้ เลขรหสั สนิ ทรพั ยท์ รี่ บั ไวซ้ งึ่ มรี ายละเอยี ด สินทรพั ย์ตรงกบั สนิ ทรัพยข์ องกลุม่ จังหวัดเพอื่ ให้กลมุ่ จงั หวดั บันทกึ ลงในระบบ GFMIS ผรู้ บั ผิดชอบ** : หน่วยงานรับโอน 38 คมู่ อื การโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวัด
11STEP กลมุ่ จงั หวดั ตดั จำ� หนา่ ยสนิ ทรพั ยอ์ อกจากระบบสนิ ทรพั ยถ์ าวร ของกลมุ่ จงั หวัดในระบบ GFMIS 11.1 กลุ่มจังหวัดบันทึกการโอนสินทรัพย์ให้หน่วยงานรับโอน โดยตัดจ�ำหน่าย ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0423.3/ว 254 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 เรื่อง แนวทางการบันทึกบัญชีการโอนสินทรัพย์ของจังหวัด และกลุ่มจงั หวดั หนา้ 10 ขอ้ 2.2 11.2 กลุ่มจังหวัดบันทึกปรับปรุงล้างบัญชีค่าจ�ำหน่ายสินทรัพย์เพื่อรับรู้ ค่าใช้จ่ายอดุ หนุน ผู้รับผดิ ชอบ** : กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กล่มุ จังหวดั หมายเหตุ : 1. **กรณีการมอบหมายกลุ่มงานฯ รับผิดชอบในส�ำนักงานจังหวัด เป็นการก�ำหนดภารกิจตามหน้าที่ความรับผิดชอบ ท้ังนี้ หัวหน้าหน่วยงาน อาจมอบหมายได้ตามดลุ ยพนิ ิจ 2. วธิ กี ารบนั ทกึ การโอนสนิ ทรพั ยข์ องกลมุ่ จงั หวดั สามารถดรู ายละเอยี ด ค�ำสั่งในระบบ GFMIS ได้ที่แนวทางการบันทึกบัญชีการโอนสินทรัพย์ของ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค 0423.3/ว 254 ลงวนั ท่ี 16 กรกฎาคม 2556 3. ดูรายละเอียดการเบิกจ่ายเงินแทนกันระหว่างจังหวัดผู้เบิกแทน กับกลุ่มจังหวัดได้ที่ คู่มือปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับเงินงบประมาณรายจ่ายของ กลุ่มจังหวัดในระบบ GFMIS ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0423.3/ ว 198 ลงวนั ที่ 11 มิถุนายน 2553 ค่มู อื การโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จังหวัด 39
40 ค่มู ือการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวดั และกล่มุ จังหวดั
บทท่ี 4 การขอขึน้ ทะเบยี น การสง่ คนื กรณที ี่ดิน อาคาร และอปุ กรณ์ “กล่มุ จังหวัด” ตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บ�ำรุงรักษา ใช้ และจดั หาประโยชนเ์ กย่ี วกบั ทร่ี าชพสั ดุ พ.ศ. 2545 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ของกรมธนารกั ษ์ กระทรวงการคลังที่ราชพัสดุมีกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในที่ราชพัสดุ บรรดาที่ราชพัสดุที่กระทรวง ทบวง กรมใดได้มาจากการเวนคืนหรือการแลกเปล่ียน หรือโดยประการใด ให้กระทรวงการคลังเข้าถือครองกรรมสิทธ์ิในท่ีราชพัสดุนั้น ยกเว้นท่ีดินท่ีได้มาจากการเวนคืนเพื่อเกษตรกรรม กรณีเงินงบประมาณของจังหวัด หรือกลุ่มจังหวัดไปใช้เพื่อให้ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ไม่มีกฎหมายยกเว้นเฉพาะ อสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว จึงตกเป็นกรรมสิทธ์ิของกระทรวงการคลัง ตามนัยมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2562 จังหวัด/กลุ่มจังหวัดจะโอนท่ีดินและส่ิง กอ่ สรา้ งทเี่ ปน็ ทขี่ องราชพสั ดใุ หแ้ กห่ นว่ ยงานอนื่ ในลกั ษณะการโอนกรรมสทิ ธไ์ิ มส่ ามารถ กระท�ำได้ เนื่องจากที่ราชพัสดุเป็นกรรมสิทธ์ิของกระทรวงการคลัง แต่จะกระท�ำได้ คู่มอื การโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด 41
โดยการเปลย่ี นแปลงผใู้ ชป้ ระโยชนท์ รี่ าชพสั ดเุ ทา่ นนั้ กรมธนารกั ษจ์ งึ ไดก้ ำ� หนดแนวทาง ปฏิบัติในการเปล่ยี นแปลงผู้เขา้ ใช้ประโยชน์ในท่ีราชพสั ดุ อันเกิดจากรายจ่ายท่เี ปน็ เงิน งบประมาณของกลุม่ จงั หวัด ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อันเป็นสินทรัพย์ที่เกิดจากการด�ำเนินโครงการ ตามแผนพัฒนา/แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปี กลุ่มจังหวัดจะต้องท�ำการโอนสินทรัพย์ ท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ในระบบ GFMIS ให้กับหน่วยงานรับโอนตามกรณีครุภัณฑ์ และการเปลีย่ นแปลงผู้เขา้ ใชป้ ระโยชน์มขี น้ั ตอนปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ กลุ่มจังหวัดน�ำเรื่องการเปลี่ยนแปลงผู้ใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุ ของกลมุ่ จงั หวดั เสนอทป่ี ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารงานกลมุ่ จงั หวดั START แบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) กลุ่มจังหวัดมีสถานะทางกฎหมายเป็นเพียงผู้ใช้ประโยชน์ในที่ดิน และส่ิงก่อสร้างในที่ราชพัสดุ หากมีความประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงผู้ใช้ประโยชน์ ในทด่ี ิน อาคาร ส่ิงปลกู สร้างให้กบั สว่ นราชการอนื่ ควรนำ� เร่ืองดังกลา่ วเสนอท่ีประชมุ คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) เพ่ือขอความเห็นชอบ ซง่ึ ขน้ั ตอนนส้ี ามารถท�ำคู่ขนานกับการขอข้นึ ทะเบียนท่รี าชพัสดุในข้อ 2 ทั้งน้ี ในกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บ�ำรุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 (ฉบับปรับปรุง) มิได้ก�ำหนดการเปล่ียนแปลงผู้ใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุ ในการนี้กรมบัญชีกลางได้ตอบ ขอ้ หารอื เกยี่ วกับแนวทางการบนั ทกึ บญั ชกี ารโอนสินทรพั ย์ของจังหวัดและกลมุ่ จงั หวดั ตามหนังสอื กระทรวงการคลัง ที่ กค 0410.3/21218 ลงวันท่ี 17 พฤษภาคม 2562 เร่ือง การหารือเก่ียวกับแนวทางการบันทึกบัญชีการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและ กลุม่ จงั หวดั 9 ผรู้ ับผดิ ชอบ** : กลมุ่ งานบรหิ ารยุทธศาสตร์กล่มุ จงั หวดั 9หนงั สอื การหารือระหวา่ งกลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน 2 กับกรมบัญชกี ลาง สามารถดูท่ีภาคผนวก 42 คู่มอื การโอนสนิ ทรพั ยข์ องจังหวัดและกลุ่มจงั หวดั
1STEP กลุ่มจังหวัดมอบอ�ำนาจการขึ้นทะเบียนการส่งคืนที่ราชพัสดุ ให้จังหวดั ท่ีต้งั ของหน่วยดำ� เนินโครงการ หัวหน้ากลุ่มจังหวัดมอบอ�ำนาจการข้ึนทะเบียน และการส่งคืน ที่ราชพัสดุให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดในจังหวัดท่ีมีการด�ำเนินโครงการตามแผนพัฒนา/ แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ� ปี เพอ่ื ดำ� เนนิ การขนึ้ ทะเบยี นและสง่ คนื ทรี่ าชพสั ดใุ นนามของ กลุ่มจังหวัด ต่อส�ำนักงานธนารักษ์พื้นท่ี ในกรณี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตามแผนงาน/โครงการของกลมุ่ จงั หวัด ไดด้ �ำเนินการเสร็จสน้ิ แลว้ ผู้รับผิดชอบ** : กลุ่มงานบริหารยทุ ธศาสตรก์ ลมุ่ จังหวดั 2STEP จังหวัดท่ีตั้งของหน่วยด�ำเนินโครงการมอบอ�ำนาจ การขึน้ ทะเบียนทีร่ าชพสั ดใุ ห้หนว่ ยด�ำเนินโครงการ การขึ้นทะเบยี นทรี่ าชพัสดุ คือ ทร่ี าชพสั ดุ หรอื อาคาร ส่ิงก่อสร้าง ท่ยี งั ไม่ได้ส�ำรวจรายการเพ่ือขึ้นทะเบียนกับกรมธนารักษ์ จึงต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์ หรือส�ำนักงานธนารักษ์พื้นท่ีท�ำการส�ำรวจท่ีราชพัสดุเพื่อข้ึนทะเบียน ท้ังน้ี ให้หัวหน้า ส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานที่ใช้ที่ราชพัสดุส�ำรวจรายการท่ีดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยตอ้ งแจ้งขอขนึ้ ทะเบียนกบั ส�ำนักงานธนารักษ์พืน้ ที่ ภายใน 30 วนั นับตงั้ แต่ไดม้ า หรอื ปลูกสรา้ งแล้วเสรจ็ คมู่ ือการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด 43
ผู้ว่าราชการจังหวัดในจังหวัดท่ีมีการด�ำเนินโครงการตามแผนพัฒนา/ แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปี มอบอ�ำนาจให้หน่วยด�ำเนินโครงการไปขึ้นทะเบียน และส่งคืนท่ีราชพัสดุกับส�ำนักงานธนารักษ์พื้นที่ เพ่ือท�ำการข้ึนทะเบียนท่ีราชพัสดุ ของกล่มุ จงั หวดั และเปลี่ยนแปลงผูใ้ ช้ประโยชนท์ ่รี าชพัสดตุ อ่ ไป ผู้รับผิดชอบ** : กลมุ่ งานยทุ ธศาสตรแ์ ละข้อมลู เพอ่ื การพัฒนาจังหวดั 3STEP หน่วยด�ำเนินโครงการขึ้นทะเบียนท่ีราชพัสดุกับส�ำนักงาน ธนารกั ษพ์ น้ื ท่ี หน่วยด�ำเนินโครงการขอขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุกับส�ำนักงานธนารักษ์ พนื้ ที่โดยด�ำเนนิ การดงั น้ี 3.1 แบบฟอร์มการข้นึ ทะเบยี นที่ราชพสั ดุ (1) การข้นึ ทะเบยี นทีด่ นิ ใช้แบบฟอรม์ ทร.03 (แบบส�ำรวจรายการ ที่ดินขึน้ ทะเบยี นที่ราชพัสด)ุ (2) การข้ึนทะเบียนอาคาร/ส่ิงปลูกสร้าง ใช้แบบฟอร์ม ทร.04 (แบบส�ำรวจรายการอาคาร/สิง่ ปลกู สร้างข้ึนทะเบยี นทรี่ าชพัสดุ) (3) การขึ้นทะเบียนอาคาร/ส่ิงปลูกสร้างท่ีปลูกอยู่บนท่ีดินท่ีไม่ใช่ ท่ีราชพัสดุ ให้ใช้แบบฟอร์ม ทร.05 (แบบส�ำรวจรายการอาคาร/ส่ิงปลูกสร้างของรัฐ ท่ีปลกู อยู่บนทดี่ นิ ที่มิใชท่ ร่ี าชพัสด)ุ หากมสี งิ่ ปลกู สรา้ งทเ่ี ปน็ ทร่ี าชพสั ดทุ ย่ี งั ไมไ่ ดข้ นึ้ ทะเบยี น หนว่ ยดำ� เนนิ โครงการตอ้ งสำ� รวจรายการสงิ่ ปลกู สร้างท่ีเกดิ ข้นึ จากแผนงาน/โครงการ แล้วน�ำส่งขน้ึ ทะเบยี นทรี่ าชพสั ดดุ ้วย เอกสารประกอบการนำ� ส่งขน้ึ ทะเบยี น (1) แบบฟอร์มการนำ� ส่งขนึ้ ทะเบียนในแต่ละกรณตี ามข้างตน้ (2) เอกสารหลักฐานการได้มา หรือหนังสือส�ำคัญแสดงกรรมสิทธ์ิ หรอื เอกสารหลักฐานแสดงการได้รับงบประมาณหรือบริจาค (3) แผนท่ีสังเขปทต่ี ้งั ทดี่ ินและหรอื อาคารสิ่งปลูกสร้าง 44 คูม่ ือการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวดั และกลุ่มจังหวดั
(4) หลักฐานการอนุญาตให้ใช้/ให้เช่าที่ดิน (กรณีเป็นอาคาร/ สิง่ ปลกู สร้างของรัฐทปี่ ลกู อยบู่ นท่ีดนิ ทมี่ ิใชท่ ร่ี าชพสั ดุ) (ถา้ มี) 3.2 หน่วยด�ำเนินโครงการแจ้งต่อส�ำนักงานธนารักษ์พ้ืนท่ี โดย “ให้กลุ่มจังหวัดเป็นผู้ใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุน้ัน” เน่ืองจากที่ดิน อาคาร และ อปุ กรณ์ เป็นสนิ ทรพั ย์ท่ีเกิดจากใช้จา่ ยเงินงบประมาณของกล่มุ จงั หวัด 3.3 หน่วยด�ำเนินโครงการส�ำรวจรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เพอื่ ใหก้ ลมุ่ จงั หวดั ทำ� การโอนสนิ ทรพั ยอ์ นั เกดิ จากการดำ� เนนิ โครงการตามแผนพฒั นา/ แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของกลุ่มจังหวัดในระบบ GFMIS ให้แก่หน่วยงานรับโอน ซ่งึ ข้ันตอนการโอนสินทรัพยด์ �ำเนินการเชน่ เดียวกับการโอนสินทรัพย์ กรณคี รุภัณฑ์ ผรู้ บั ผดิ ชอบ** : หน่วยดำ� เนนิ โครงการ 4STEP ส�ำนกั งานธนารักษ์พ้ืนทดี่ �ำเนินการขึ้นทะเบียน ส�ำนักงานธนารักษ์พื้นท่ีรับขึ้นทะเบียนและส่งส�ำเนาทะเบียนที่ราชพัสดุ ใหผ้ ใู้ ช้ (กลุม่ จงั หวดั ) ผู้รบั ผดิ ชอบ** : สำ� นกั งานธนารักษพ์ ื้นที่ 5STEP หน่วยดำ� เนินโครงการส่งคนื ทร่ี าชพัสดุ หน่วยด�ำเนินโครงการส่งคืนที่ราชพัสดุให้กับส�ำนักงานธนารักษ์พื้นท่ี โดยชี้แจงเหตุผลและความจ�ำเป็นในการโอนสิทธิการใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุให้กับ หน่วยงานรับโอน และแสดงความประสงค์ให้หน่วยงานใดเป็นผู้เข้าใช้ประโยชน์ ทั้งนี้ เอกสารการขอสง่ คนื ท่รี าชพัสดุ ประกอบดว้ ย (1) การแจง้ ขอส่งคนื ใหใ้ ชแ้ บบส่งคนื ที่ราชพสั ดุ (แบบ ทบ.6) (2) แผนที่แสดงบริเวณที่ราชพัสดุท่ีขอส่งคืนให้ครบถ้วน และแจ้งส่งคืน ใหก้ บั สำ� นักงานธนารักษพ์ ืน้ ท่ี คู่มอื การโอนสินทรพั ยข์ องจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 45
หมายเหตุ : 1. ท่ีราชพัสดุที่จะส่งคืนมีการบุกรุกหรือมีผู้ละเมิดท่ีราชพัสดุ หน่วย ดำ� เนินโครงการจะตอ้ งดำ� เนนิ การกับผ้บู ุกรกุ หรือผลู้ ะเมิดก่อนสง่ คืนที่ราชพัสดุ 2. ขนั้ ตอนการส่งคืนที่ราชพัสดุให้กบั ส�ำนกั งานธนารักษพ์ ื้นท่ี ข้นั ตอนนี้ สามารถดำ� เนนิ การพรอ้ มกับการขอข้นึ ทะเบยี นท่รี าชพสั ดุ ผู้รับผิดชอบ** : หน่วยดำ� เนินโครงการ 6STEP ส�ำนักงานธนารกั ษร์ ับคนื ท่ีราชพัสดุ ส�ำนักงานธนารักษ์พื้นท่ีจะรับคืนโดยจะพิจารณาความเหมาะสม และแจ้งให้หน่วยด�ำเนินโครงการแต่งตั้งผู้แทนเพื่อด�ำเนินการส่งมอบท่ีราชพัสดุ และประสานนัดหมายวันเวลาในการส่งมอบ-รับมอบ โดยการส่งคืนที่ราชพัสดุจะถือ เสร็จสิ้นสมบูรณ์ต่อเม่ือกรมธนารักษ์หรือผู้แทนของกรมธนารักษ์ได้รับมอบท่ีราชพัสดุ ตามแบบสง่ มอบ-รับมอบท่ีราชพสั ดุ (แบบ ทบ.10) ผ้รู บั ผดิ ชอบ** : ส�ำนกั งานธนารักษ์พนื้ ที่ 7STEP หนว่ ยงานผรู้ บั โอนขอใชพ้ น้ื ทรี่ าชพสั ดกุ บั สำ� นกั งานธนารกั ษพ์ น้ื ที่ 7.1 หน่วยงานรับโอนย่ืนความประสงค์ขอใช้พื้นที่ราชพัสดุต่อ ผู้ว่าราชการจังหวัดในจังหวัดน้ันๆ พร้อมทั้งแจ้งเหตุผลและความจ�ำเป็นในการขอใช้ ที่ราชพัสดุนั้นเมื่อได้รับความยินยอมจากผู้ว่าราชการจังหวัดแล้ว ให้ท�ำความตกลงกับ ส�ำนักงานธนารักษ์พื้นที่ เม่ือได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์แล้วจึงจะเข้าใช้ประโยชน์ ในท่ีราชพสั ดุนัน้ 7.2 รัฐวิสาหกิจไม่สามารถขอใช้ที่ราชพัสดุได้ จะต้องด�ำเนินการ ในลกั ษณะขอเชา่ ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจดั หาประโยชนใ์ นทร่ี าชพสั ดุ พ.ศ. 2552 ตามหนงั สอื กระทรวงการคลงั ท่ี กค. 0304/5584 ลงวนั ท่ี 23 เมษายน 2555 ผรู้ ับผดิ ชอบ** : หน่วยงานรบั โอน 46 คูม่ ือการโอนสนิ ทรัพยข์ องจงั หวัดและกลุม่ จังหวดั
8STEP ส�ำนักงานธนารักษ์อนุญาตให้ใช้ท่ีราชพัสดุแก่หน่วยงาน รับโอน ส�ำนักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีอนุญาตให้หน่วยงานรับโอนใช้พ้ืนท่ีราชพัสดุ เป็นไปเพ่ือประโยชน์แก่ทางราชการ หากต้องการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ เป็นอย่างอื่นจากที่ได้รับอนุญาต จะต้องท�ำหนังสือแจ้งขอเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ต่อส�ำนักงานธนารักษ์พื้นท่ี ซ่ึงต้องลงนามโดยหัวหน้าส่วนราชการ ระดบั กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ หรอื ผู้ทีไ่ ด้รับมอบอ�ำนาจจาก สว่ นราชการดงั กล่าว กรณี การให้เอกชนหรือรัฐวิสาหกิจเข้าใช้พื้นที่จะต้องขออนุญาต ต่อกรมธนารักษ์หรือผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วแต่กรณี และต้องท�ำสัญญาการจัดเช่ากับ กรมธนารกั ษ์ เพ่ือนำ� ส่งค่าเชา่ สถานท่ีดงั กล่าวเป็นรายไดข้ องกรมธนารกั ษ์ ผูร้ บั ผิดชอบ** : ส�ำนักงานธนารกั ษพ์ ้นื ที่ หมายเหตุ : 1. **กรณีการมอบหมายกลุ่มงานฯ รับผิดชอบในส�ำนักงานจังหวัด เป็นการก�ำหนดภารกิจตามหน้าท่ีความรับผิดชอบ ทั้งนี้ หัวหน้าหน่วยงาน อาจมอบหมายได้ตามดลุ ยพนิ ิจ 2. การขอใช้ การข้ึนทะเบียน การส่งคืนที่ราชพัสดุ เป็นกระบวนการ ปฏบิ ตั ิตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารปกครอง ดูแล บำ� รงุ รักษา ใช้และจัดหาประโยชน์เก่ียวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 (ฉบับปรับปรุง) ของกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลงั 3. รายละเอียดการขอใช้ ขึ้นทะเบียน การส่งคืน ได้ที่คู่มือการใช้ท่ี ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ แหลง่ อา้ งองิ : www.treasury.go.th คมู่ ือการโอนสินทรัพยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจงั หวัด 47
48 ค่มู ือการโอนสนิ ทรพั ยข์ องจงั หวดั และกล่มุ จังหวดั
บทที่ 5 ขนั้ ตอนการโอนสินทรพั ย์ กรณคี รภุ ณั ฑ์ “จังหวดั ” การบันทึกบัญชีโอนสินทรัพย์ของจังหวัดในฐานะผู้โอนให้กับหน่วยงานของรัฐ กรมบัญชีกลางได้ก�ำหนดแนวทางการบันทึกบัญชีการโอนสินทรัพย์ของจังหวัด จำ� แนกเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี 1. การโอนให้สว่ นราชการ 2. การโอนใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 3. การโอนใหร้ ฐั วิสาหกจิ คู่มือฉบับนี้สรุปข้ันตอนการโอนสินทรัพย์ของจังหวัด กรณีครุภัณฑ์ เพ่ือใช้ เป็นแนวทางการปฏิบัติ โดยมีแนวทางการปฏิบัติการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดให้กับ หน่วยงานรับโอน ดงั นี้ หน่วยงานรับโอนท่ใี ชร้ ะบบ GFMIS (Government Fiscal Management Information System) คูม่ ือการโอนสนิ ทรัพยข์ องจังหวดั และกลุม่ จงั หวัด 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104