Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่งงานอากาศเกษตรห้วยโป่ง

กลุ่งงานอากาศเกษตรห้วยโป่ง

Description: ข้อมูลสารสนเทศสถานีอุตุนิยมวิทยา

Search

Read the Text Version

ขอ้ มลู สว่ นที่ ๑ นวตั กรรมข้อมลู สารสนเทศสถานอี ุตนุ ยิ มวทิ ยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ เริ่มต้ังสถานอี ตุ นุ ิยมวิทยา (อดีต – ปัจจบุ นั ) ๑. ประวตั สิ ถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา (อดตี – ปัจจบุ ัน) / ภาพถา่ ยสถานีอุตนุ ิยมวิทยา สถานีอตุ นุ ิยมวทิ ยาระยอง กลุ่มงานอากาศเกษตรห้วยโป่ง (HUAIPONG METEOROLOGICAL STATION) อาคารทีท่ าการสถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยาห้วยโป่ง ๑.๑ วันทเี่ ริม่ กอ่ สรา้ งสถานอี ุตนุ ิยมวิทยา ๑.๒ วันที่ / เดอื น / ปี / ทเ่ี รมิ่ ตรวจอากาศ ๑.๓ รายละเอยี ดของการเปล่ยี นแปลงทั้งหมด (ถ้ามี) พรอ้ มอธิบาย , ภาพถา่ ยประกอบ

๒. ครภุ ณั ฑส์ ่งิ ปลกู สร้างภายใน สถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยา (อดตี – ปัจจบุ นั ) / แผนฝังภายในสถานี / พรอ้ มภาพถา่ ยประกอบ ๒.๑ อาคารที่ทาการสถานีอตุ นุ ิยมวิทยาห้วยโป่ง อาคารทที่ าการสถานีอตุ ุนยิ มวิทยาห้วยโป่ง ๒.๒ บ้านพักข้าราชการ จานวน ๓ หลงั หลังที่ ๑ บ้านพกั หวั หนา้ สถานีฯ

หลงั ท่ี ๒ และ ๓ เป็นบา้ นแฝด บา้ นแฝดฝง่ั ขวา บ้านแฝดฝง่ั ซา้ ย

๓. อตั รากาลงั ข้าราชการ (อดตี – ปจั จบุ ัน) ๓.๑ เจ้าพนักงานอตุ นุ ิยมวทิ ยา ระดับอาวโุ ส ไมม่ ี ๓.๒ เจา้ หนักงานอุตุนิยมวทิ ยา ระดับชานาญงาน / ปฏิบัตงิ าน จานวน ๓ อตั รา อัตรากาลงั ขา้ ราชการ (ปัจจบุ นั ) ชอ่ื - สกลุ เร่มิ ปฏิบตั ิงาน – ปัจจบุ นั นายไพชยนต์ ยอดอุดม ๑๕ ก.ย. ๒๕๕๖ นางสาวกมลชนก ดวงแก้วป๋ัน ๑ มิ.ย. ๒๕๕๙ นายวณัฐพงค์ อรณุ า ๑๖ พ.ย. ๒๕๖๑ ๓.๓ ลูกจา้ งประจา/นักการภารโรง ไมม่ ี ๓.๔ ประวัตหิ ัวหนา้ สถานีอุตุนิยมวทิ ยาหว้ ยโป่ง (อดตี – ปัจจบุ นั ) ชอื่ - สกลุ เริม่ ปฏิบตั ิงาน – ปัจจบุ นั นายไพชยนต์ ยอดอดุ ม ปัจจบุ ัน

๔. ผังองคก์ รอัตรากาลงั ของสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา (ในปัจจุบนั ) นายนพรตั น์ ทรพั ยม์ ังสงั ข์ เจา้ พนกั งานอุตุนิยมวิทยาอาวโุ ส ผู้อานวยการสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยาระยอง กลมุ่ งานตรวจอากาศระยอง กล่มุ งานเรดารต์ รวจอากาศ กลมุ่ งานอากาศเกษตรหว้ ยโปง่ จา่ เอกกาพล หาดอ้าน นางณริ ดี วงค์กาจดั ภัย นายไพชยนต์ ยอดอุดม เจา้ พนกั งานอุตนุ ิยมวทิ ยาชานาญงาน เจา้ พนกั งานอตุ ุนิยมวิทยาชานาญงาน เจา้ พนักงานอุตนุ ิยมวทิ ยาชานาญงาน หวั หนา้ กลุ่มงานอากาศเกษตรห้วยโป่ง งง นางสาวกมลชนก ดวงแก้วปัน๋ เจ้าพนกั งานอตุ ุนิยมวทิ ยาปฏิบัติงาน นายรฐั ศิลป์ โกเศยโยธิน นางมันทนา ใจหาญ เจ้าพนักงานอตุ นุ ิยมวิทยาชานาญงาน เจา้ พนกั งานอุตุนิยมวิทยาชานาญงาน นายณัฐพงศ์ อรุณา เจา้ พนักงานอตุ นุ ิยมวิทยาปฏิบตั ิงาน

๕. หนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบของสถานอี ตุ นุ ยิ มวิทยา ๑. ตรวจและบันทึกสารประกอบอุตนุ ิยมวทิ ยา ลกั ษณะลมฟา้ อากาศ และปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ๒. บริการด้านสถิตขิ ้อมูลดา้ นอตุ นุ ยิ มวิทยาแก่บคุ คลทว่ั ไป และหนว่ ยงานราชการตา่ ง ๆ ๓. จัดทารายงานผลการตรวจอากาศ และรวบรวมส่งกรมอตุ นุ ยิ มวิทยา ๔. จัดทาควบคุมบัญชีวสั ดุ และครุภัณฑ์ของสถานอี ุตุนยิ มวทิ ยาระยอง (กลุ่มงานตรวจอากาศเกษตรห้วยโป่ง) ๕. รับและกระจายข่าวพยากรณอ์ ากาศ คาเตือน ข่าวอตุ นุ ิยมวทิ ยา แกส่ ว่ นราชการตา่ ง ๆ และประชาชนทีส่ นใจ ๖. ร่วมมือ ประสานงานกับหนว่ ยราชการ และเอกชนทีข่ อความร่วมมอื ๗. เปน็ วิทยากรบรรยายเกีย่ วกบั เรื่องอตุ นุ ิยมวทิ ยาแกห่ นว่ ยงานตา่ ง ๆ ในเขตพ้นื ทรี่ บั ผดิ ชอบหรือเขตพื้นที่อ่นื ๆ ๖. พนื้ ทร่ี ับผดิ ชอบของสถานอี ุตนุ ยิ มวทิ ยา มพี ื้นที่รบั ผดิ ชอบในเขตตาบลห้วยโป่ง อาเภอเมืองระยอง มี ๕ หมูบ่ ้าน ต่อมามีการแบง่ แยกเป็นตาบล มาบตาพุด ปี ๒๕๑๔ ซงึ่ มีหมทู่ ี่ ๓ และ ๔ บางส่วน

ข้อมูลส่วนท่ี ๒ นวัตกรรมขอ้ มูลสารสนเทศสถานอี ุตุนิยมวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ ๑. ช่อื สถานอี ุตนุ ยิ มวทิ ยา และรายละเอียด อดตี – ปัจจุบัน ๑.๑ ช่อื ภาษาไทย : สถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยาระยอง กลมุ่ งานอากาศเกษตรหว้ ยโปง่ ๑.๒ ชอื่ ภาษาอังกฤษ : Huai Pong Agrometeorological Observations Group ๑.๓ ชอื่ เดมิ สถานีอากาศเกษตรหว้ ยโป่ง ชอ่ื ปจั จบุ ัน สถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยาห้วยโป่ง ๑.๔ เลขประจาสถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยา (WMO) ๔๘๔๗๙ ๑.๕ เลขประจาสถานสี ถานฝี น (Local Rain Station) ๔๗๘๓๐๑ ๑.๖ ประเภทสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยา ตรวจอากาศเกษตรและผิวพนื้ (Surface) ๑.๗ ระยะอ้างองิ หา่ งจากสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยาระยอง อาเภอเมอื งระยอง จังหวัดระยอง ประมาณ ๒๗.๔ กม. ๒. ท่ตี ้ังสถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยา (Location) อดีต – ปัจจุบัน ๒.๑ สถานท่ีต้ังของสถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยาห้วยโปง่ เปน็ อาคาร (เพาะชา) ตง้ั อยู่ภายในศูนย์วจิ ัยพืชไร่ระยอง เลขที่ ๓๒๐ ถนนสขุ มุ วทิ ตาบลห้วยโปง่ อาเภอเมอื งระยอง จงั หวัดระยอง รหัสไปรษณยี ์ ๒๑๑๕๐ ๒.๒ หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๓๘ - ๖๘๑๗๐๑ ๒.๓ E-Mail สถานีอุตนุ ิยมวทิ ยา [email protected] ๒.๔ เว็บไซต์ สถานีอุตุนิยมวทิ ยา - ๒.๕ เนือ้ ทีก่ ่อสร้างสถานี ฯ - ไร่ ๒.๖ แสดงพกิ ดั สถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยา ละติจดู ๑๒° ๔๔' ๐๖'' องศาเหนือ ลองตจิ ดู ๑๐๑° ๐๘' ๐๖'' องศาตะวันออก ๒.๗ ความสงู ของสถานจี ากระดับน้าทะเล ๔๓.๐๐ เมตร ๒.๘ ระยะอา้ งอิง บรเิ วณรอบสถานอี ุตุนยิ มวทิ ยา - สถานอี ุตนุ ิยมวิทยาหว้ ยโปง่ หา่ งจากตวั อาเภอเมอื งระยอง ประมาณ ๒๕.๐ กม. สถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยาระยอง - ห่างจากสถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยาระยอง จังหวดั ระยอง ประมาณ ๓๐.๐ กม.

ศาลจงั หวดั ระยอง - ห่างจากศาลจงั หวดั ระยอง ประมาณ ๑๓.๐ กม. วิทยาลัยสารพัดช่างระยอง - หา่ งจากวทิ ยาลัยสารพัดชา่ งระยอง ประมาณ ๔.๖ กม. ๒.๙ แสดงแผนผงั สถานี และขอบเขตสถานี แผนที่ตัง้ สถานีอุตุนิยมวทิ ยาหว้ ยโปง่

๓. สภาพภมู ปิ ระเทศ (Environment) พรอ้ มคาอธบิ าย / ภาพถ่าย ๓.๑ สภาพภมู ิประเทศ รอบสถานีอุตุนยิ มวทิ ยา / แผนท่ฯี อัตราสว่ น ๑ : ๕๐๐๐ เดมิ เป็นพน้ื ท่ีปา่ ดงดิบ มีผเู้ ขา้ มาอาศยั ทาไร่เล่อื ยลอย ซงึ่ ประชาชนส่วนใหญม่ าจาก ต.เนินพระ ต.ทบั มา พอมีประชาชนมาอยเู่ ป็นจานวนมาก ทางราชการจงึ จดั ตง้ั เปน็ หมูบ่ า้ นและต าบล มี ๕ หม่บู า้ น ต่อมามีการแบ่งแยก เปน็ ตาบลมาบตาพดุ ปี ๒๕๑๔ ซึง่ มหี มูท่ ่ี ๓ และ ๔ บางสว่ น สาหรับช่ือห้วยโป่ง มาจากล าธารเล็กๆ ตน้ น้าจาก หว้ ยมะหาดไหลผ่าน บริเวณทีม่ ีดนิ เคม็ เรยี กว่า ดนิ โป่ง จงึ มชี อ่ื เรียกวา่ หนองโป่ง และปจั จบุ นั เรยี กกันวา่ หว้ ยโปง่ ทศิ เหนือ ตดิ ต่อ ถนนสาย ๓๖ ทิศใต้ ติดต่อ ถนนสายสขุ ุมวทิ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อ อ.เมอื งระยอง ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ต่อ อ.บา้ นฉาง อาณาเขตทศิ เหนอื ติดกับ วดั หว้ ยโปง่ มีระยะทาง ๓.๐ กโิ ลเมตร อาณาเขตทศิ ใต้ ตดิ กบั นคิ มอสุ าหกรรมมาบตาพดุ มรี ะยะทาง ๒.๐ กโิ ลเมตร อาณาเขตทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั ทัณฑสถานเยาวชนห้วยโปง่ มีระยะทาง ๐.๕๐๐ กิโลเมตร อาณาเขตทศิ ตะวนั ตก ติดกับ ศูนยค์ ามลิ เลียนระยอง มรี ะยะทาง ๕.๐ กิโลเมตร ๓.๒ เงาของวตั ถุ หรืออาคาร หรือต้นไม้ ตกกระทบบนสนามอุตนุ ิยมวทิ ยา หรอื ไม่ / กรณีมีเงาตกกระทบให้ เขียนแผนผงั หรือภาพถ่ายประกอบ และอธิบายทศิ ทาง และชว่ งเวลาท่ีตกกระทบ ตามฤดกู าล  ฤดูฝน (ประมาณ ๑๖ พ.ค.- ๑๕ ต.ค.) ภาพถ่าย/พรอ้ มอธิบายฯ  ฤดูหนาว (ประมาณ ๑๖ ต.ค.- ๑๕ ก.พ.) ภาพถา่ ย/พร้อมอธบิ ายฯ  ฤดรู อ้ น (ประมาณ ๑๖ เม.ย.- ๑๕ พ.ค.) ภาพถา่ ย/พร้อมอธบิ ายฯ ๔. สภาพแวดลอ้ มโดยรอบสถานอี ุตนุ ยิ มวิทยา ระยะ ๕ กม. (ปัจจุบัน) / แผนฝงั บรเิ วณรอบสถานี อุตนุ ยิ มวิทยา / ส่งิ ปลูกสร้างต่างๆ / พร้อมภาพถา่ ยประกอบ ๔.๑ ระยะ ๐.๑ - ๐.๕ กม. อธบิ าย ๔.๒ ระยะ ๐.๕ - ๑.๐ กม. อธบิ าย ๔.๓ ระยะ ๑.๐ - ๒.๐ กม. อธบิ าย ๔.๔ ระยะ ๒.๐ – ๓.๐ กม. อธบิ าย ๔.๕ ระยะ ๓.๐ – ๔.๐ กม. อธิบาย ๔.๖ ระยะ ๔.๐ – ๕.๐ กม. อธิบาย

แผนผงั บริเวณรอบสถานอี ุตนุ ยิ มวิทยา (รปู ภาพประกอบ) ๔.๐ – ๕.๐ ๓.๐ – ๔.๐ ๒.๐ – ๓.๐ วดั หว้ ยโป่ ง ๑.๐ – ๒.๐ ๐.๕ – ๑.๐ ศูนยค์ ามลิ เลียนระยอง ๐.๑ - ๐.๕ ทัณฑสถานเยาวชนห้วยโป่ง นิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด อาณาเขตทศิ เหนอื ติดกบั วดั หว้ ยโป่ง มรี ะยะทาง ๓.๐ กิโลเมตร อาณาเขตทศิ ใต้ ติดกับ นคิ มอสุ าหกรรมมาบตาพุด มีระยะทาง ๒.๐ กิโลเมตร อาณาเขตทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั ทัณฑสถานเยาวชนหว้ ยโป่ง มีระยะทาง ๐.๕๐๐ กโิ ลเมตร อาณาเขตทศิ ตะวนั ตก ติดกบั ศนู ยค์ ามลิ เลยี นระยอง มีระยะทาง ๕.๐ กิโลเมตร

ข้อมลู ส่วนที่ ๓ นวตั กรรมขอ้ มูลสารสนเทศสถานีอุตุนิยมวทิ ยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ การตรวจอากาศ (อดตี – ปัจจุบัน) ๑. การตรวจอากาศ ๑.๑ เรม่ิ ทาการตรวจอากาศครง้ั แรก เม่ือ วนั /เดือน/ปี ๑.๒ การตรวจสารประกอบอตุ นุ ยิ มวิทยา อะไรบ้าง / ชนดิ ๑.๓ การตรวจสารประกอบอตุ ุนิยมวทิ ยา สถานอี ุตุนยิ มวทิ ยาหว้ ยโป่ง ทาการตรวจอากาศเกษตรและผวิ พื้นทุกวนั วันละ ๘ เวลา ทกุ ๆ ๓ ชวั่ โมง โดยทาการตรวจเวลา ๐๑.๐๐ , ๐๔.๐๐ , ๐๗.๐๐ , ๑๐.๐๐ , ๑๓.๐๐ , ๑๖.๐๐ , ๑๙.๐๐ และ ๒๒.๐๐ น. และทาการตรวจขอ้ มลู สารประกอบทางอตุ ุนิยมวทิ ยาเกษตรเพ่มิ เติม ในเวลา ๐๗.๐๐ น. และ ๑๓.๐๐ น. ที่ สารประกอบอุตนุ ิยมวทิ ยา เวลา (น.) ๐๑.๐๐ ๐๔.๐๐ ๐๗.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๓.๐๐ ๑๖.๐๐ ๑๙.๐๐ ๒๒.๐๐ ๑ ตรวจวัดความกดอากาศ //////// ๒ ตรวจวดั อณุ หภูมติ ุ้มแหง้ //////// ๓ ตรวจวดั อณุ หภูมิต้มุ เปยี ก //////// ๔ ตรวจวัดอณุ หภูมิสงู สดุ / ๕ ตรวจวดั อณุ หภูมิตา่ สุด / ๖ ตรวจวัดความชนื้ สมั พัทธ์ //////// ๗ ตรวจวดั ทิศทาง/ความเร็วลม / / / / / / / / ๘ ตรวจวัดทัศนวิสยั //////// ๙ ตรวจวัดฝน //////// ๑๐ ตรวจการระเหยของน้า / ๑๑ ตรวจชนดิ เมฆ //////// ๑๒ ตรวจลักษณะคล่ืนลมทะเล ๑๓ ตรวจปรากฏการณ์ธรรมชาติ / / / / / / / /

๒ การตรวจวดั เป้าทศั นวิสยั ของสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยาห้วยโปง่

 ดา้ นทศิ เหนือ  ด้านทศิ ใต้  ด้านทศิ ตะวนั ออก

 ด้านทศิ ตะวนั ตก ๓. เครื่องมอื ตรวจอากาศ ๓.๑ สนามอุตนุ ยิ มวทิ ยา ขนาด ๓๐.๐๐ x ๔๐.๐๐ เมตร สนามตรวจอากาศ สถานีอุตนุ ยิ มวิทยาหว้ ยโปง่ ๓.๒ เครอื่ งมอื ตรวจอากาศ /สูงจากพนื้ ดนิ (Elevation)  ความสงู ของกระปุกปรอทจากระดบั น้าทะเล ๔๕.๑๐ เมตร  ความสงู ของฐานเรอื นเทอรโ์ มมเิ ตอร์ ๑.๒๕ เมตร  ความสงู ของศรลม และเครอ่ื งวัดลม ๑๐.๒๐ เมตร  ความสงู ของปากเครื่องวดั ฝน จากพนื้ ดนิ ๑.๐๐ เมตร  เส้นผ่าศนู ยก์ ลางปากถงั วัดนา้ ฝน (ถังสังกะสีทรงกลม) ๒๐.๒๐ เซนตเิ มตร (๘ น้วิ )

๓.๓ เคร่อื งมอื ตรวจอากาศ ทต่ี ิดต้ังในปจั จุบนั  เรือนเทอร์โมมิเตอร์ (ตสู้ กรนี ) (THERMOMETER SCREEN)  เครอ่ื งวดั อุณหภูมสิ ูงสดุ (MAXIMUM THERMOMETERS) และ เครอ่ื งวดั อุณหภูมิตา่ สดุ (MINIMUM THERMOMETERS)  เคร่อื งวดั อุณหภมู ิ และความชื้นสมั พทั ธอ์ ากาศ (DRY – WET BULB PSYCHROMETER)

 เครือ่ งวัดฝนอตั โนมัติแบบไซฟอน (NATURAL SIPHON RAINGAUGE)  เครอ่ื งวัดฝนแบบแกว้ ตวง (ORDINARY RAINGAUGE)  เครอ่ื งวัดนา้ ระเหย (EVAPORATION A PAN) และ เคร่ืองวดั ระยะทางลม (WIND RUN)

 เทอรโ์ มมิเตอร์สงู สุด – ตา่ สุดลอยน้า (FLOAT MAXIMUM – MINIMUM THERMOMETER)  เครอื่ งวดั ทศิ ทาง และความเรว็ ลม (ANEMOMETER AND WIND VANE)  เครอ่ื งวัดความกดอากาศแบบกราฟราย ๕ วนั (MICROBAROGRAPH)

 เคร่ืองบารโ์ รมิเตอร์ปรอทแบบคิว (KEW BAROMETER)  เครอ่ื งบันทึกความยาวนานแสงแดด (SUNSHINE RECORDER)  เครอ่ื งวัดรงั สดี วงอาทิตย์ (PYRANOMETER)

 เครื่องวัดความชน้ื อากาศแบบถ่ายอากาศ (VENTILATED THERMOMETERS) และ บนั ไดไมโครไคลเมท (MICROCLIMATE STEP)  เครือ่ งวัดอณุ หภมู แิ ละความชน้ื อากาศ (THERMOHYGROGRAPH)

๓.๔ เครอ่ื งมอื ตรวจอากาศ (แสดงรายละเอียด) ที่ เครื่องมอื ตรวจอากาศ ชนดิ /แบบ หมายเลขเคร่อื ง เรมิ่ ใชง้ าน สอบเทียบ ค่า หมาเหตุ เมือ่ Sensitivity (Serial No.) ๑ บาโรมิเตอรป์ รอทแบบควิ Lambrecht No.๓๑๕๑๙ ๑ พ.ค. ๐๘ ๒๔ พ.ค. ๒๕๖๐ ๒ ไมโครบาโรกราฟ ๕ วัน belfort No.๔๗๙ ๑ พ.ค. ๐๘ ๓ เครื่องวดั อุณหภูมแิ ละ No.๑๑๐๒๗๖๗ ความชืน้ อากาศ ๘ วนั lambrecht G๑๖๓ ๑ พ.ค. ๐๘ ๔ ไซโครมิเตอรต์ มุ้ แห้ง ๕ ไซโครมเิ ตอรต์ ุ้มเปียก lambrecht G๑๖๓ ๑ พ.ค. ๐๘ ๖ เทอร์โมมิเตอรส์ ูงสดุ sato casella วศ.๐๙-๑๑- ๑ ม.ิ ย.๓๘ ๗ เทอรโ์ มมิเตอรต์ า่ สดุ คม. ๑๕๑๑ คม. ๔ ม.ี ค. ๕๓ ๘ เคร่ืองวัดฝนแบบแก้วตวง วศ.๐๙-๑๑- ๑๘๖๙ ๑๐ เม.ย. ๙ แก้วตวงวดั น้าฝน ๒๙ No.๙๒/๒๘ ๑๐ เครื่องวดั ฝนอตั โนมตั ิแบบ ๑๔ ก.ย. ไซฟอน No.๓๘๗๕ ๔๑ ๑๑ บนั ไดไมโครไคลเมท ๑ พ.ค. ๐๘ ๑๒ ถาดนา้ ระเหย ๑๓ ตะแรงครอบ วศ.๐๙-๑๑-๓ ๑ พ.ค. ๐๘ ๑๔ เทอร์โมมเิ ตอรส์ งู สุด – คม. ๑ พ.ค. ๐๘ ต่าสุดลอยนา้ เทอรโ์ มมเิ ตอรใ์ ตด้ ินระดับ คม. No.๐๔/๕๑ ๑๐ มิ.ย. ๑๕ ๕ ซม. ๕๑ อต.๖๖๕๐-๐๑๒- ๒๗ ธ.ค. ๑๑-๙๘ ๕๐ วศ.๐๙-๑๑-๔๗๑ ๒๓ ก.พ. ๓๒

เคร่ืองมอื ตรวจอากาศ ชนดิ /แบบ หมายเลขเครือ่ ง เร่มิ ใชง้ าน สอบเทียบ ค่า หมาเหตุ ที่ slap (Serial No.) เมื่อ Sensitivity เทอร์โมมเิ ตอรใ์ ตด้ ินระดบั วศ.๐๙-๑๑-๔๗๑ ๒๓ ก.พ. ๑๖ ๑๐ ซม. ๓๒ วศ.๐๙-๑๑- เทอรโ์ มมเิ ตอรใ์ ตด้ ินระดบั ๒๐๒๑ ๒๘ เม.ย. ๑๗ ๒๐ ซม. ๔๙ วศ.๐๙-๑๑-๑๙๒ เทอรโ์ มมิเตอรใ์ ตด้ นิ ระดับ ๑๔ พ.ค. ๑๘ ๕๐ ซม. วศ.๐๙-๑๑-๑๙๘ ๑๗ ๑๙ เทอรโ์ มมิเตอรใ์ ตด้ ินระดบั วศ.๐๙-๑๑-๓๖๙ ๑๔ พ.ค. ๑๐๐ ซม. ๑๗ อต. ๖๖๕๐- ๒๐ เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ า่ สดุ ยอด ๐๑๒-๑๑-๙๘ ๑๕ ก.พ. หญ้า อต.๖๖๖๕-๐๑๒- ๓๖ ๒๑ เทอร์โมมเิ ตอรส์ งู สดุ – ๑๑-๑๔๐ ๒๗ ธ.ค. ต่าสดุ ลอยนา้ No.๑๑๔๗๑ ๕๐ ๒๒ เครอ่ื งวัดอุณหภูมแิ ละ No.๔๔๙๖๘ ๒๘ ส.ค. ความชนื้ อากาศ ๕๓ เคร่อื งวัดทศิ ทาง และ ๒๒-มิ.ย.- ๒๓ ความเร็วลม ๐๙ ๒๔ เครื่องวดั รงั สีดวงอาทิตย์ ๓.๕ ประวัตกิ ารเปล่ียนแปลงเครื่องมือตรวจอากาศ ตรวจสารประกอบ เครื่องมือตรวจอากาศ หมายเลขเคร่อื ง เร่ิมใช้ เลกิ ใช้ หมายเหตุ อุตุนยิ มวทิ ยา (Serial No.) ตรวจวดั ความกด บาโรมิเตอรป์ รอท อากาศ บาโรกราฟ รายวัน No.๓๑๕๑๙ ๑ พ.ค. ๐๘ บาโรกราฟ ราย ๗ วัน ตรวจวดั อณุ หภูมิ ไซโครมเิ ตอร์ ตมุ้ แห้ง G๑๖๓ ๑ พ.ค. ๐๘ อากาศ ไซโครมิเตอร์ ตุม้ เปยี ก G๑๖๓ ๑ พ.ค. ๐๘ วศ.๐๙-๑๑- ๑ ม.ิ ย.๓๘ ตรวจวดั ความชืน้ เทอร์โมมเิ ตอรส์ ูงสุด ๑๕๑๑ สัมพัทธ์ วศ.๐๙-๑๑- ๔ มี.ค. ๕๓ เทอร์โมมิเตอรต์ า่ สดุ ๑๘๖๙ อต.๖๖๖๕- ๒๘ ส.ค. เทอร์โม–ไฮโกรกราฟ ราย ๗ ๐๑๒-๑๑-๑๔๐ ๕๓ วนั

ตรวจวดั ฝน เครื่องวัดฝนแบบไซฟอน No.๓๘๗๕ ๑ พ.ค. ๐๘ ตรวจวดั ลม No.๙๒/๒๘ ตรวจวดั นา้ ระเหย ถงั วัดฝนแบบแกว้ ตวง ๑๐ เม.ย. ๒๙ เคร่อื งวดั ทิศทาง และความเรว็ ลม ๑ พ.ค. ๐๘ ถาดวดั น้าระเหย เคร่ืองวัดน้าระเหยแบบพิเช่ ๓.๖ การสอบเทียบ / การบารุงรักษา / การส่งซ่อม วนั / เดือน / ปี เครื่องมือตรวจอากาศ ชนดิ /หมายเลข สอบเทยี บ / ค่า รับเครอ่ื งมือ หมายเหตุ บาโรมเิ ตอรป์ รอทแบบควิ บารุงรกั ษา Sensitivity Lambrecht / No.๓๑๕๑๙ สง่ ซ่อม ๒๔ พ.ค. สอบเทียบ ๒๕๖๐ ๒๔ พ.ค. ๒๕๖๐ หมายเหตุ Sensitivity คอื ความไวในการตอบสนองของเครื่องมอื ตรวจวัดทมี่ ตี ่อกระแสไฟฟา้ เต็มสเกล โดยเครอ่ื งมือวดั ต่างชนดิ กันจะมีค่าการตอบสนองไม่เท่ากัน

ขอ้ มลู ส่วนที่ ๔ นวัตกรรมข้อมลู สารสนเทศสถานอี ุตุนิยมวทิ ยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ ลักษณะตามภมู ิศาสตร์ (อดตี – ปจั จุบัน) ๑. ลักษณะอากาศทั่วไป ๑.๑ แบง่ ตามฤดูกาล ฤดูฝน เรมิ่ ตงั้ แต่กลางเดือนพฤษภาคม - เดอื นตุลาคม รวมระยะ ๖ เดือน โดยในเดอื นพฤษภาคม ลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้จะพดั เขา้ มา ฝนกจ็ ะตกมาก ต่อมาในเดอื นมถิ นุ ายน ฝนจะลดปริมาณการตกลงอยา่ ง ชดั เจน ยกเวน้ ทางด้านอาเภอแกลง และก่งิ อาเภอเขาชะเมา ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ฝนกจ็ ะเริม่ ตก และจะตกมากในเดือน สงิ หาคม - กนั ยายน - ตลุ าคม ซงึ่ ฝนทต่ี กมากในชว่ งนี้ กเ็ น่อื งจากได้รบั ลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใตใ้ น อา่ วไทย และ พายุดีเปรสชนั่ ทีไ่ ด้เคลือ่ นตวั มาจากทะเลจนี ใตท้ ีฝ่ ั่งเวยี ดนาม และพดั มาทางทศิ ตะวนั ตกเข้าส่พู ื้นที่ จงั หวัดในภาค ตะวนั ออก ฤดูหนาว เรม่ิ ต้งั แต่เดอื นพฤศจกิ ายน - กุมภาพนั ธ์ รวมระยะเวลา ๔ เดอื น ฤดนู ี้อณุ หภูมิของจงั หวดั ระยอง ไม่ลด ตา่ มากเหมือนภาคอน่ื ๆ เพราะเขตน้ีอยู่ปลายมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ความหนาวเยน็ จงึ ไมล่ ดลง มาก นอกจากน้ี กย็ งั ไดร้ บั ไออุ่นจากทะเล จึงทาใหจ้ ังหวดั ระยอง ไม่หนาวเยน็ มากนกั ฤดรู ้อน เรมิ่ ตั้งแต่ปลายเดอื นกมุ ภาพันธ์ จนถึงปลายเดือนเมษายน ระยะเวลา ๒ เดอื น ระยะน้มี ลี ม ตะวันออกเฉยี ง ใตแ้ ละลมเฉอ่ื ยจากทะเลในตอนบา่ ยพดั มารว่ มกบั ลมตะวันออกเฉยี งใต้ จงึ ทาให้ลมมกี าลังแรงมาก ยงิ่ ขน้ึ ดงั น้ัน ฝง่ั ทะเลระยอง ในระยะเดือนกมุ ภาพนั ธถ์ งึ เดือนเมษายน จงึ มคี ลนื่ ลมค่อนข้างแรงในตอนบ่ายและเยน็ ทาให้อุณหภมู ิ ไม่สงู อากาศจึงไม่ร้อนมากนัก ๑.๒ ลกั ษณะอากาศประจาท้องถ่ิน จงั หวัดระยองมสี ภาพภมู อิ ากาศ แบง่ ออกเปน็ ๒ ลกั ษณะ ดังน้ี ๑. แบบฝนเมอื งรอ้ นเฉพาะฤดู ได้แก่ บรเิ วณทางด้านตะวนั ตกของจังหวดั ระยอง จะมฝี นตกเฉลีย่ ประมาณ ๑,๐๐๐- ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร/ปี บริเวณน้จี ะมสี ภาพทมี่ ชี ว่ งฤดฝู น และฤดูแลง้ ท่ีแตกต่างกนั อยา่ งชัดเจน ๒. แบบมรสุมเขตรอ้ น ในพื้นทดี่ ้านตะวนั ออกของจังหวัดระยอง จะมปี รมิ าณฝนตกมาก และมชี ว่ งแหง้ แล้งสัน้ มี ฝนตกเฉล่ยี ประมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๗๐๐ มลิ ลิเมตร/ปี ๒. พน้ื ทเี่ ส่ยี งภัยธรรมชาติ -

ข้อมลู สว่ นท่ี ๕ นวตั กรรมขอ้ มูลสารสนเทศสถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยาห้วยโป่ง (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ สถานตี รวจวดั ข้อมลู อตุ นุ ิยมวทิ ยา พิเศษ ๑. สถานตี รวจวดั ข้อมลู อตุ นุ ยิ มวิทยาอตั โนมตั ิ / ท่ตี ัง้ / จานวน /คาอธบิ าย/ภาพถ่าย/ แผนทโ่ี ดยสงั เขป ๑.๑ สถานีตรวจอากาศอตั โนมตั ิ (ระบบโทรมาตร)  สถานท่ีตงั้ ของสถานฯี (Location)  เนือ้ ท่กี อ่ สรา้ งสถานีฯ - ตารางเมตร  แสดงพิกดั สถานีตรวจอากาศอตั โนมัติ  ความสงู ของสถานจี ากระดบั นา้ ทะเล (MSL)  สภาพภมู ปิ ระเทศ (Environment) / แผนผงั สถานี /ขอบเขตสถานี (ระบทุ ศิ โดยรอบ) คาอธิบาย/พร้อมภาพถา่ ย/ แผนท่โี ดยสงั เขป  อาณาเขตติดตอ่ ทิศเหนอื  อาณาเขตติดตอ่ ทศิ ใต้  อาณาเขตติดตอ่ ทิศตะวนั ออก  อาณาเขตตดิ ตอ่ ทิศตะวันตก ๑.๒ สถานตี รวจอากาศอตั โนมตั ิ (AWS) / คาอธิบาย/ภาพถา่ ย/ แผนทโี่ ดยสังเขป  สถานทต่ี ง้ั ของสถานีฯ (Location) ตั้งอยู่ภายในศูนยว์ จิ ยั พืชไร่ระยอง เลขท่ี ๓๒๐ ถนนสุขมุ วทิ ตาบลหว้ ยโปง่ อาเภอเมืองระยอง จงั หวดั ระยอง รหัสไปรษณยี ์ ๒๑๑๕๐

 เน้อื ที่ก่อสร้างสถานฯี - ตารางเมตร  แสดงพิกดั สถานตี รวจอากาศอตั โนมตั ิ  ความสงู ของสถานีจากระดบั นา้ ทะเล (MSL)  สภาพภูมิประเทศ (Environment) / แผนผังสถานี /ขอบเขตสถานี (ระบุทิศโดยรอบ) คาอธิบาย พร้อมภาพถา่ ยแผนที่  อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ เหนือ  อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ ใต้  อาณาเขตตดิ ตอ่ ทศิ ตะวันออก  อาณาเขตตดิ ต่อ ทิศตะวนั ตก ๑.๓ สถานตี รวจวดั ฝนอาเภอ/ ทตี่ ้งั / จานวน /คาอธิบาย/ภาพถา่ ย/ แผนที่โดยสงั เขป  สถานทตี่ ั้งของสถานฯี (Location)  เนอ้ื ท่กี ่อสรา้ งสถานฯี - ตารางเมตร  แสดงพิกดั สถานตี รวจอากาศอัตโนมตั ิ  ความสงู ของสถานีจากระดับนา้ ทะเล (MSL)  สภาพภูมิประเทศ (Environment) / แผนผงั สถานี /ขอบเขตสถานี (ระบุทิศโดยรอบ) คาอธิบาย พรอ้ มภาพถา่ ยแผนที่  อาณาเขตตดิ ต่อ ทิศเหนือ  อาณาเขตตดิ ตอ่ ทศิ ใต้  อาณาเขตตดิ ตอ่ ทิศตะวนั ออก  อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ ตะวนั ตก หมายเหตุ : สถานอี ุตนุ ิยมวิทยาระยองเป็นผู้ดแู ลรบั ผดิ ชอบ สถานฝี นอาเภอของจังหวดั ระยอง