Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบเสนอเพื่อรับการประเมิน Best Pratice ปี 2562

แบบเสนอเพื่อรับการประเมิน Best Pratice ปี 2562

Published by dlit_sm037, 2020-05-25 23:33:31

Description: การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส

Search

Read the Text Version

ใบสมคั รเพอื่ รบั รางวลั วธิ กี ารปฏิบตั ทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 ครผู ู้สอนวชิ าสังคมศึกษา ................................................................ ชอ่ื ผู้เสนอ..................................น..า..ย..จ..ิร..พ...ล....ล..วิ ..า......................................................................................... โรงเรยี น/หน่วยงาน.....................โ..ร..ง..เ.ร..ีย...น..ส...ต...ร..ีป..า..ก...พ...น...ัง............................................................................ อาเภอ....................ป..า..ก...พ...น..ัง.................................จงั หวดั ...........น...ค..ร..ศ..ร..ธี..ร..ร..ม...ร.า..ช......................................... โทรศพั ท์.........................................................................โทรสาร.............................................................. โทรศพั ท์มอื ถือ..........0...8..4..1...8..9..8...7..3...2..................................E-mail....j.i.r.a...p..o..n....l.i.w...a..1...@....g..m....a..i.l...c..o...m............. ชอ่ื ผลงาน.ก...า..ร..พ..ัฒ....น...า.บ...ท..เ..ร.ยี...น..อ..เิ..ล..็ก..ท...ร..อ..น..กิ...ส..แ์ ..บ..บ...ม..ปี...ฏ..ิส..มั...พ...นั ..ธ..ใ์..น..ส...ภ..า..พ...แ..ว..ด...ล..อ้ ..ม...ย..บู ..คิ..ว..ติ...ัส............................. ระดับช้นั ( ) มัธยมศึกษาตอนตน้ ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย ขนาดโรงเรยี น ( ) ใหญพ่ ิเศษ ( ) ใหญ่ ( ) กลาง ( ) เล็ก ลงช่อื ผู้นาเสนอ (..............น..า..ย..จ...ริ .พ...ล....ล..วิ..า...............) ตาแหนง่ .............ค...ร.ู..อ..นั ..ด...บั ...ค...ศ....1................ ลงชอ่ื ผ้รู ับรอง (............น..า..ง..จ..ริ ..า..พ..ร.....ร..ตั ..น..ก...ุล..........) ผู้อานวยการโรงเรยี น.............ส..ต..ร..ปี...า..ก..พ...น..งั...................... หมายเหตุ สง่ ใบสมัครไปยงั โรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ นครศรธี รรมราช ภายในวันท่ี ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ และเขา้ รับการประเมนิ พร้อมเสนอผลงานและส่งเอกสาร แบบเสนอขอ ๕ ชดุ ในวันท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ ห้องประชุมลลี าวดี โรงเรยี นเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรนี ครินทร์ นครศรธี รรมราช อาเภอเฉลิมพระเกยี รติ จงั หวดั นครศรีธรรมราช

เกณฑการคดั เลอื กผลงานวิธีการปฏบิ ัตทิ เ่ี ปนเลิศ(Best Practice) 4.1 รายการพจิ ารณา เพ่อื คัดเลือกผลงาน การคัดเลือกผลงานนวัตกรรมมีรายการพิจารณา จานวน 8 รายการ มีคะแนนรวม 100 คะแนน ดังนี้ รายการท่ี 1 ความสาคัญของผลงานนวัตกรรมทนี่ าเสนอ 9 คะแนน รายการท่ี 2 จุดประสงคและเปาหมายของการดาเนินงาน 6 คะแนน รายการท่ี 3 กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนนิ งาน 30 คะแนน รายการท่ี 4 ผลการดาเนนิ การ/ผลสัมฤทธิ/์ ประโยชนทไ่ี ดรับ 30 คะแนน รายการที่ 5 ปัจจยั ความสาเร็จ 6 คะแนน รายการที่ 6 บทเรียนท่ไี ดรับ (Lesson Learned) 9 คะแนน รายการท่ี 7 การเผยแพร/การไดรับการยอมรบั /รางวลั ท่ีไดรับ 6 คะแนน รายการท่ี 8 การนาเสนอผลงาน 4 คะแนน 4.2 เกณฑคุณภาพผลงาน การพิจารณาคะแนนรวมทุกรายการ มเี กณฑคุณภาพผลงาน ดงั น้ี -ผลงานท่ีมคี ณุ ภาพดเี ย่ียม ไดคะแนน ต้งั แต่ 81 -100 คะแนน ไดรบั เหรยี ญทอง -ผลงานทม่ี ีคณุ ภาพดไี ดคะแนนตง้ั แต 60 -80 คะแนน ไดรับเหรียญเงนิ -ผลงานท่มี ีคณุ ภาพพอใชไดคะแนน นอยกวา 60 คะแนน ไดรับเหรยี ญทองแดง 5. เกณฑ์การพจิ ารณาคัดเลอื กผลงานวธิ ีการปฏิบตั ิที่เป็นเลศิ (Best Practice) รายการพิจารณา นา้ หนัก ระดับคุณภาพ คะแนน 1.ความสา้ คญั ของผลงานนวัตกรรมท่ีนา้ เสนอ (9 คะแนน) 1.1ความเป็นมาและสภาพปัญหา 2 ระดบั 3 ระบสุ ภาพปญั หาความตอ้ งการหรือเหตผุ ล ความจาเปน็ ของสงิ่ ที่จะพัฒนาได้ชัดเจน มีการจัดลาดับ ความสาคัญของปัญหา และมีหลักฐานอ้างองิ ระดบั 2 ระบสุ ภาพปัญหาความต้องการหรอื เหตุผล ความจาเป็นของสง่ิ ท่ีจะพฒั นาได้ชดั เจนและมีการจดั ลาดบั ความสาคญั ระดับ 1 ระบุสภาพปญั หาความต้องการหรือเหตผุ ลความเปน็ ของส่งิ ท่จี ะพัฒนาไดช้ ดั เจน 1.2แนวทางการแกป้ ัญหาและพฒั นา 1 ระดับ 3 เสนอแนวทางแก้ปัญหาหรอื การพัฒนาโดยใช้หลักการ ในการออกแบบผลงานทีส่ ัมพันธ์กับปัญหาหรือสงิ่ ที่จะพฒั นา

รายการพิจารณา นา้ หนัก ระดับคณุ ภาพ คะแนน และสอดคล้องกบั ความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายสถานศึกษา และชุมชน ระดบั 2 เสนอแนวทางแกว้ ปัญหาหรอื การพัฒนาโดยใช้ หลกั การในการออกแบบผลงานทส่ี มั พันธ์กับปัญหาหรือสงิ่ ที่จะ พัฒนาและสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและ สถานศึกษา ระดับ 1 เสนอแนวทางแก้ปัญหาหรือการพฒั นาโดยใชห้ ลกั การ ในการออกแบบผลงานที่สัมพันธก์ ับปัญหาหรอื ส่งิ ท่จี ะพฒั นา และสอดคล้องกับความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย 2.จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดา้ เนินงาน (6 คะแนน) 2.1 การกาหนดจดุ ประสงค์และเปา้ หมาย 2 ระดับ 3 กาหนดจุดประสงค์ และเป้าหมายของการดาเนนิ งาน ไดช้ ัดเจนเป็นรูปธรรมทั้งเชิงปรมิ าณและคุณภาพ สอดคล้องกบั สภาพปัญหา และความต้องการของสถานศึกษา และชมุ ชน และสง่ ผลในภาพกว้าง ระดบั 2 กาหนดจดุ ประสงค์และเปา้ หมายของการดาเนนิ งาน ไดช้ ัดเจนเป็นรปู ธรรมทั้งเชงิ ปริมาณและคุณภาพ สอดคล้องกบั สภาพปญั หา และความต้องการของสถานศกึ ษา และชมุ ชน ระดับ 1 กาหนดจดุ ประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน ได้ชัดเจนเปน็ รปู ธรรมทงั้ เชิงปริมาณและคณุ ภาพ สอดคล้องกับ สภาพปญั หา และความตอ้ งการของสถานศกึ ษา 3.กระบวนการผลติ ผลงาน หรือขนั ตอนการดา้ เนินงาน (30 คะแนน) 3.1 การออกแบบนวตั กรรม 4 ระดบั 3 ออกแบบผลงานนวตั กรรมสอดคล้องกบั จุดประสงค์ และเป้าหมาย โดยมีแนวคดิ สาคัญรองรับอย่างสมเหตุสมผล สามารถอา้ งอิงได้ นามาเปน็ พ้ืนฐานในการออกแบบกิจกรรมได้ และทุกกจิ กรรมมีความเช่อื มโยงสอดคล้องกัน

รายการพิจารณา นา้ หนัก ระดบั คณุ ภาพ 3.2 การดาเนนิ งานตามกิจกรรม คะแนน 3.3 ประสิทธิภาพของการดาเนนิ งาน 3.4 การใช้ทรพั ยากร ระดบั 2 ออกแบบผลงานนวัตกรรมสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ และเปา้ หมาย โดยมีแนวคิดสาคัญรองรับอยา่ งสมเหตุสมผล นามาเป็นพ้ืนฐานในการออกแบบกจิ กรรมได้ และทุกกิจกรรมมี ความเช่ือมโยงสอดคล้องกัน ระดับ 1 ออกแบบผลงานนวัตกรรมสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ และเปา้ หมาย โดยมีแนวคิดสาคัญรองรับอยา่ งสมเหตสุ มผล และนามาเป็นพ้นื ฐานในการออกแบบกิจกรรมได้ 2 ระดบั 3 เสนอแนวทางแก้ปัญหาหรือการพัฒนาโดยใช้หลักการ ในการออกแบบผลงานที่สมั พันธ์กบั ปญั หาหรอื สิง่ ที่จะพฒั นา และสอดคลอ้ งกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษา และชมุ ชน ระดบั 2 เสนอแนวทางแก้ปญั หาหรือการพฒั นาโดยใช้หลกั การ ในการออกแบบผลงานที่สมั พันธก์ ับปัญหาหรอื สิง่ ทจ่ี ะพฒั นา และสอดคล้องกับความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย และ สถานศึกษา ระดับ 1 เสนอแนวทางแก้ปัญหาหรือการพัฒนาโดยใชห้ ลกั การ ในการออกแบบผลงานทส่ี ัมพันธ์กบั ปญั หาหรือสิ่งที่จะพัฒนา และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของกลุม่ เปา้ หมาย 3 ระดับ 3 มีกิจกรรมการปฏบิ ตั ิปรากฏชดั เจน เป็นลาดบั ขน้ั ตอน สามารถนาไปปฏิบัติไดจ้ รงิ มีวธิ ีการหรือองค์ความรูใ้ หม่ ที่ ส่งผลต่อเป้าหมายและการพัฒนาอย่างมีคณุ ภาพ ระดบั 2 มีกิจกรรมการปฏิบัติปรากฏชัดเจน เปน็ ลาดับขัน้ ตอน สามารถนาไปปฏิบัติได้จรงิ ส่งผลตอ่ เปา้ หมายและการพัฒนา อย่างมีคุณภาพ ระดบั 1 มกี จิ กรรมการปฏิบัติปรากฏชัดเจน สามารถนาไป ปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ 1 ระดบั 3 ประยุกต์ใชท้ รัพยากรท่มี ีอยู่อย่างเหมาะสม คุ้มค่า

รายการพจิ ารณา นา้ หนัก ระดับคุณภาพ คะแนน สอดคลอ้ งกับบริบทของโรงเรียนหรอื หนว่ ยงาน ระดบั 2 ใชท้ รพั ยากรท่ีมีอยู่อยา่ งเหมาะสม คุ้มค่า สอดคล้อง กบั บรบิ ทของโรงเรียนหรอื หน่วยงาน ระดับ 1 ใชท้ รพั ยากรท่ีมอี ยู่อยา่ งเหมาะสม สอดคล้องกับ บริบทของโรงเรียนหรอื หนว่ ยงาน 4.ผลการดา้ เนนิ การ/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชนท์ ี่ได้รบั (30 คะแนน) 4.1 ผลทีเ่ กดิ ตามจุดประสงค์ 4 ระดบั 3 ผลการปฏบิ ตั ติ ามกจิ กรรมท่ีออกแบบ ครอบคลุมและ เป็นไปตามจดุ ประสงค์ทุกจดุ ประสงค์ โดยมีหลกั ฐานหรือข้อมลู ประกอบ ระดับ 2 ผลการปฏิบตั ิตามกิจกรรมท่ีออกแบบ ครอบคลมุ และ เปน็ ไปตามจดุ ประสงค์บางจดุ ประสงค์ โดยมีหลกั ฐานหรือ ขอ้ มูลประกอบ ระดับ 1 ผลการปฏิบัตติ ามกิจกรรมท่ีออกแบบ ครอบคลมุ และเป็นไปตามจดุ ประสงค์บางจุดประสงค์ โดยไม่มีหลักฐาน หรอื ขอ้ มลู ประกอบ 4.2 ผลสมั ฤทธิข์ องงาน 4 ระดับ 3 แกป้ ัญหาและพฒั นาผเู้ รียนหรือพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาได้ตรงตามจดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมายอยา่ งครบถว้ น โดยมขี ้อมูลทุกส่วนแสดงให้เห็นการเปล่ียนแปลงในทางทีด่ ีขึ้น ระดับ 2 แกป้ ัญหาและพัฒนาผู้เรยี นหรอื พัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาได้ตรงตามจดุ ประสงค์ และเปา้ หมายอย่าง ครบถ้วน โดยมีข้อมลู บางสว่ นแสดงใหเ้ ห็นการเปลยี่ นแปลง ในทางทีด่ ีขน้ึ ระดบั 1 แก้ปัญหาและพฒั นาผู้เรียนหรอื พัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาไดต้ รงตามจดุ ประสงค์ และเป้าหมายบางส่วน โดยมี

รายการพจิ ารณา นา้ หนกั ระดับคณุ ภาพ คะแนน ข้อมลู แสดงใหเ้ ห็นการเปลย่ี นแปลง 4.3 ประโยชนท์ ี่ได้รบั 2 ระดบั 3 กระบวนการพฒั นาผลงานนวตั กรรมก่อใหเ้ กิด ประสบการณ์การเรียนรูร้ ว่ มกันทั้งโรงเรยี น ระดบั 2 กระบวนการพฒั นาผลงานนวัตกรรมก่อใหเ้ กิด ประสบการณ์การเรียนรู้รว่ มกันเฉพาะกล่มุ ระดับ 1 กระบวนการพฒั นาผลงานนวัตกรรมก่อให้เกิด ประสบการณ์การเรียนรูร้ ว่ มกันเฉพาะบคุ คล 5. ปัจจัยความสา้ เร็จ (6 คะแนน) 5.1 สิง่ ทีช่ ว่ ยให้งานประสบความสาเรจ็ 2 ระดับ 3 ปจั จัยความสาเรจ็ ท่ีนาเสนอ สอดคล้องกับระบบและ /หรอื วธิ ีการปฏบิ ัติงาน ท่ีเปน็ ผลมาจากการมีสว่ นร่วมของ ผู้เกย่ี วข้องกับการปฏบิ ัติงาน โดยมกี ารพฒั นาผลงานอย่าง ต่อเน่อื งและย่ังยนื ระดับ 2 ปจั จยั ความสาเร็จที่นาเสนอ สอดคล้องกับระบบและ /หรือวิธกี ารปฏิบตั ิงาน ทเ่ี ปน็ ผลมาจากการมีส่วนร่วมของ ผู้เก่ยี วข้องกับการปฏบิ ตั งิ าน ระดับ 1 ปจั จยั ความสาเรจ็ ที่นาเสนอ สอดคล้องกับระบบและ /หรือวธิ ีการปฏิบตั ิงาน 6. บทเรียนทไี่ ดร้ บั (Lesson Learned) (9 คะแนน) 6.1 การระบุข้อมูลท่ไี ดร้ บั จากการผลิต 3 ระดบั 3 มีข้อสรปุ ทีเ่ ปน็ หลักการ สอดคล้องกับผลงานท่ี และการนาผลงานไปใช้ นาเสนอมกี ารแสดงข้อสังเกต/ขอ้ เสนอแนะ และข้อควรระวงั ในการนาผลงานไปประยุกตใ์ ช้ รวมทั้งแนวทางการพฒั นา เพิ่มเติมให้ประสบความสาเร็จมากย่ิงข้นึ ระดบั 2 มีข้อสรุปทเี่ ป็นหลกั การ สอดคล้องกบั ผลงานท่ี นาเสนอมีการแสดงข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ และข้อควรระวงั

รายการพจิ ารณา น้าหนัก ระดับคุณภาพ คะแนน ในการนาผลงานไปประยุกต์ใช้ ระดบั 1 มีข้อสรุปท่ีเปน็ หลักการ สอดคลอ้ งกบั ผลงานท่ี นาเสนอมกี ารแสดงข้อสังเกต/ขอ้ เสนอแนะ ในการนาผลงาน ไปประยุกตใ์ ช้ 7. การเผยแพร่/การยอมรับ/รางวัลทไ่ี ด้รับ (6 คะแนน) 7.1 การเผยแพร่ 1 ระดับ 3 มีร่องรอยหลกั ฐานการเผยแพร่ มีการนาไปใชท้ ั้งใน และนอกโรงเรยี น ระดบั 2 มรี ่องรอยหลักฐานการเผยแพร่ มกี ารนาไปใช้ภายใน โรงเรียน ระดบั 1 มรี อ่ งรอยหลกั ฐานการเผยแพร่ มีการนาไปใช้เฉพาะ กลุ่ม 8. การน้าเสนอผลงาน (4 คะแนน) 8.1 ขน้ั ตอนการนาเสนอและหลักฐาน 4 ระดบั 4 มีการนาเสนอเปน็ ขั้นตอน ชัดเจน ครอบคลมุ ทุก ประกอบการนาเสนอ ประเดน็ และตอบคาถามได้ถูกต้องตามหลกั วิชาการมเี อกสาร/ หลกั ฐานประกอบการนาเสนอท่สี อดคล้องสัมพนั ธก์ นั ระดับ 3 มีการนาเสนอเป็นข้ันตอน ชัดเจน ครอบคลมุ บาง ประเด็น และตอบคาถามได้ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการมีเอกสาร/ หลักฐานประกอบการนาเสนอท่สี อดคล้องสัมพันธ์กนั ระดบั 2 มีการนาเสนอเปน็ ขั้นตอน ตอบคาถามได้ถกู ต้องบาง คาถาม มเี อกสาร/หลกั ฐานประกอบการนาเสนอทีส่ อดคล้อง สัมพนั ธ์กัน ระดับ 1 มีการนาเสนอแตไ่ ม่เปน็ ขั้นตอน ตอบคาถามได้ถูกต้อง บางคาถาม มีเอกสาร/หลักฐานประกอบการนาเสนอแต่ไม่ สมบรู ณ์

** หมายเหตุ ท้ังนี้ในรายการพจิ ารณา ขอ้ ท่ี 8 การนาเสนอผลงาน นน้ั ใหเ้ ป็นดลุ ยพนิ ิจของประธาน ศนู ยหรอื ประธานคณะกรรมการแตละคณะว่าประสงค์จดั ให้มกี ารนาเสนอหรือไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามความเหมาะสม

แบบเสนอเพือ่ รับรางวัลวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) ระดับเขตพืน้ ที่ ปกี ารศึกษา 2562 สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 12 ชือ่ ผสู้ ง่ ประกวด นายจริ พล ลิวา ประเภท ข้าราชการครแู ละครอู ัตราจ้าง โรงเรียน/ศูนยพ์ ฒั นาวิชาการ สตรปี ากพนัง ช่ือผลงาน การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อม ยบู ิควิตสั 1. ความสาคัญของผลงาน 1.1 ความสาคัญสภาพปญั หา ปจั จุบันสังคมโลกเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 อันเป็นยุคของการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ในทุกด้าน รวมทั้งทางด้านการศึกษา ผู้เรียนในปัจจุบันเป็นเยาวชนในศตวรรษที่ 21 การ จัดการศึกษาจึงต้องสอดคล้องกับการสร้างทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการศึกษา การปรับตัวเพื่อเรียนรู้ส่ิงใหม่ ใช้ทักษะในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ อย่างมีสติ มีเหตุผล มีวิจารณญาณ รู้เท่าทันเหตุการณ์ โดยวิธีการที่ดีท่ีสุดคือ การจัดการ ศึกษาท่เี ตรยี มความพรอ้ มในดา้ นทจ่ี าเปน็ สาหรบั ผเู้ รียน เพ่ือให้เป็นกาลังสาคญั ทมี่ คี ุณค่าของ สงั คมในศตวรรษที่ 211 สอดคล้องกับ พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 25532 ได้กล่าวถึงอุดมการณ์และหลักการของการจัดการศึกษาตลอดชีวิต3 เพ่ือพัฒนา สงั คมไทยให้เป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาท่ีเท่าเทียมกนั โดยเนน้ ให้ 1 วิจารณ์ พาณิช. (2556). ครุเพ่ือศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. กรุงเทพมหานคร : มลู นิธิสยามกัม มาจล. 2 กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ไข เพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว. 3 ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับ ท่ี 3 ) พ.ศ. 2553. (2553, 22 กรกฎาคม) ราชกจิ จานเุ บกษา เล่มท่ี 127 ตอนท่ี 45 ก. 1 – 3. 1

ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนาตนเองอย่างเต็มศกั ยภาพและเป็นไปตามธรรมชาติ มีความคิดริเร่ิม สรา้ งสรรค์ และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชวี ิต จากท่ีกลา่ วมาขา้ งต้น สอดคล้องกับ แนวโยบายของนายกรัฐมนตรี พลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา ในการขับเคล่ือนการดาเนินงานทางการศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการท่ี มุง่ เน้นให้มีการใช้สื่อการเรียนการสอน กระตุ้นผู้เรียนเพ่ือสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียน มีการนาระบบการติดต่อส่ือสารที่เก่ียวกับข้อมูลข่าวสารโดยใช้เทคโนโลยี (ICT: Information Communication Technology) เข้ามาใช้ในการจดั การเรียนการรูอ้ ย่างเป็น รูปธรรมและกว้างขวาง และ ดาเนินการจัดการเรยี นการสอน โดยเชื่อมนั่ ในแนวคิดที่วา่ การ เรียนไม่ใช่เพื่อการสอบ แต่เรียนให้ได้ทักษะชีวิตสามารถอยู่ในโลกยุคไร้พรมแดนได้4 นอกจากนั้นประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษาทาให้การเรียนการสอนและการจัด การศึกษาช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางยิ่งข้ึน รวดเร็วข้ึน ได้เห็นและได้ สมั ผสั กับส่ิงท่ีเรยี นไดอ้ ย่างเขา้ ใจมากย่ิงขน้ึ 5 ท้ังนี้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในปัจจุบัน ส่งผลให้ผู้เรียนและผู้สอนเกิดการเปลี่ยนท้ังด้านชีวิต ความเป็นอยู่ แนวคิด ค่านิยมท่ี เปลย่ี นแปลงแตกต่างกนั ออกไป ผเู้ รียนมีเสรีภาพท่ีจะเลือกรบั สื่อที่สอดคลอ้ งกบั รูปแบบชวี ิต และรสนยิ มของตนเองไดม้ ากขึน้ และในเชงิ การจัดการเรียนรู้เครือข่ายขอ้ มูลขา่ วสารตา่ งๆ ท่ี มีประสทิ ธภิ าพเพ่ิมมากข้ึนนาไปสู่การสร้างรูปแบบการเรยี นรดู้ ้วยตนเองที่เข้ามาเสริมระบบ การเรยี นรูแ้ บบด้งั เดมิ ดังนัน้ การเรียนรอู้ ยู่กบั บ้าน หรือการทางานผ่านเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และสื่อการเรียนรู้ในลักษณะสาเร็จรูปต่างๆ มีความชัดเจนและมีบทบาทเพิ่มมากข้ึนใน ปัจจบุ นั 6 4 สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). กรอบทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 – 2554 ที่สอดคล้องกับแผนการศึกษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2545-2559. 5 อุบลรัตน์ สุนทรกลมั พ.์ (2542). การศึกษาเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยใช้ชุดการเรียนกับการเรียนแบบปกติ . กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. บัณฑติ วทิ ยาลัย. 6 อรวิชย์ ถ่ินนุกูล. (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบชาญฉลาด วิชา สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เร่ือง ภูมิลักษณ์ภาคใต้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. สงขลา : มหาวทิ ยาลัยทักษิณ. 2

การพัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ ถือเปน็ เครื่องมือสาคัญท่ีอยู่ในกระบวนการจดั การเรียนรู้ เน่ืองจาก ส่ือการเรยี นรู้เป็นเคร่ืองมอื สาหรับผู้สอนที่จะทาใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี ระบบ มปี ระสิทธิภาพและมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเป็นไปตามที่กาหนดเปา้ หมายไว้ และส่ือ การเรยี นรู้ยังเป็นเครือ่ งมือท่ีชว่ ยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ซับซอ้ นได้ในระยะเวลาอัน สน้ั สามารถช่วยให้เกดิ ความคดิ รวบยอดไดอ้ ย่างรวดเร็วและถูกต้อง โดยเฉพาะสือ่ การเรยี นรู้ ท่เี ขา้ ถึงได้งา่ ย เร้าความสนใจ ดึงดดู ผูเ้ รยี นให้อยู่กับบทเรยี นได้7 ซ่ึงคอมพวิ เตอร์ สมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตในยุคปจั จุบันเป็นส่ือท่ีผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ง่ายและได้รับความนยิ มไม่วา่ จะ อยใู่ นรูปแบบใด เชน่ สื่อการสินผ่านระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ บทเรยี นออนไลน์ผ่านระบบ วดี ีโอออนดมี านด์ (Video on Demand) บทเรยี นอิเล็กทรอนิกสผ์ า่ นระบบอนิ เทอรเ์ น็ต เป็น ต้น เนื่องจากสื่อการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นโปรแกรมการ จัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพวิ เตอรเ์ ป็นสอ่ื ชว่ ยถา่ ยโยงความร้ไู ปสู่ผ้เู รยี น8 จากท่ีมาและความสาคัญดังกล่าว พบว่าการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันมีปัญหาคือ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า โดยวดั จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O- NET) ปีการศึกษา 2560 ในทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรตู้ ่ากวา่ ร้อยละ 50 ทง้ั ส้ินได้แก่ กลมุ่ สาระ การเรียนรู้ภาษาไทย มคี า่ เฉล่ยี ท่ี 49.25 กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา มคี ่าเฉลยี่ ท่ี 34.70 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ มีค่าเฉล่ียที่ 28.31 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลยี่ ท่ี 24.53 และกล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ มคี ่าเฉลยี่ ที่ 29.37 โดยมคี า่ เฉล่ยี ท่ี ร้อยละ 23.609 โดยจากการศึกษาพบว่าปญั หาสว่ นหนึง่ เกิดจากผู้สอนไมม่ ีเทคนคิ การสอนท่ี เร้าความสนใจผู้เรียน สื่อการเรียนรู้ไม่เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จาก 7 กิดานันท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . 8 วุฒิชัย ประสานทอง. (2543). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นวัตกรรมเพื่อการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร. วี เจ พรนิ้ ตง้ิ . 9 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2561). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. 3

การที่ผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย และใช้สื่อการสอนแบบล้าสมัย10 ไม่สามารถดึงดูด ความสนใจของผเู้ รยี นได้ อีกทั้งยังไม่ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ทาให้ ผู้เรียนขาดความสนใจในบทเรียน ซ่ึงสอดล้องกับ สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คาด้วง11 ท่ีกล่าวถึง ลักษะของเด็กไทยในศตวรรษท่ี 21 ท่ีขาดทักษะการคิดวิเคราะห์โดย จากผลการประเมิน คุณภาพสถานภายนอกศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานรอบแรก รอบสอง และรอบสาม โดย สานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) (สมศ.) พบว่า มี โรงเรยี นเพยี ง 18 โรงเรียน เท่าน้ันท่ีผ่านการประเมนิ ในมาตรฐานที่ 4 ดา้ นคณุ ภาพการคิดใน ระดับพอใช้ และยังพบว่า นักเรียนทั้งประเทศมีปัญหาทางด้านกระบวนการคิดวิเคราะห์12 และยังสอดคล้องกับ ปรวัน แพทยานนท์13 ได้กล่าวถึง กระบวนการจัดการศึกษาเพ่ือ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวของผู้เรียนในเชิงความคิดและพฤติกรรมว่า ต้องเกิดจาก กระบวนการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ตามที่ระบุในวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ โดย เปา้ หมายคือ เพื่อให้เกิดเปน็ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต คอื เรยี นเป็น คิดเป็น อยรู่ ่วมกับผูอ้ ่นื ได้ใน ที่สุด และ พรทิพย์ อุดร14 กล่าวถึงการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ไว้ว่า การ เลือกวิธีการสอนทดี่ ี ทีส่ ามารถสรา้ งประสบการณใ์ ห้กบั ผูเ้ รยี นไดน้ นั้ ต้องสามารถทาใหผ้ ู้เรียน 10 ถวิล อรัญเวศ. (2550). รายงานสาเหตุที่ผู้เรียนมีผลการสอบ O-NET ต่า และแนวทางการ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน. นครราชสีมา : สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 4. 11 สนุ ทรสั ส์ เพชรรักษค์ าดว้ ง. (2559). รูปแบบการบริหารเชงิ กลยุทธ์เพ่ือพัฒนาทกั ษะการคิด ของ นักเรยี นในศตวรรษที่ 21. นครศรธี รรมราช : สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครศรีธรรมราช. 12 สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2557). รายงานการประเมินคุณภาพ ภายนอกของสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ด.ี 13 ปรวัน แพทยานนท์. (2556). การพัฒนาส่ือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ : การคัดเลือกนักแสดงกับ งานภาพยนตร์. กรุงเทพมหานคร : วิทยาลัยนวัตกรรมส่ือสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วโิ รฒ. 14 พรทิพย์ อุดร. (2550). ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และ ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเรียนด้วย วิธีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD. พระนครศรอี ยธุ ยา. บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา. 4

ได้เกดิ การฝึกหดั และแกป้ ัญหาได้ด้วยตนเอง ผ่านการเสาะแสวงหาความรู้ และพัฒนาตอ่ ยอด ซ่ึงจะเกิดได้ด้วยการที่ผู้สอนปรับเปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะของ ผเู้ รยี นใหไ้ ด้คณุ ภาพตามเกณฑ์ทห่ี ลักสูตรกาหนดน้นั เอง จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นไดม้ ีนักวชิ าการและหน่วยงานทางการศึกษาไดน้ าเสนอ แนวทางการแก้ไขปัญหาไว้หลากหลายแนวทางเช่น สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 1215 ไดก้ ล่าวถึงการแนวทางแก้ไขปญั หาผเู้ รียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ตา่ ไวโ้ ดยสรุปคอื ผ้สู อนตอ้ งปรบั การสอนเปน็ วิธีการท่ีหลากหลาย ทนั ยคุ ทนั เหตุการณ์ สรา้ ง สือ่ ที่สามารถเขา้ ถงึ ผู้เรียนในยุคปจั จบุ ันได้ เพื่อสร้างความเข้าใจและแรงจูงใจในบทเรียน ซ่ึง สอดคล้องกับ นวลนดา สงวนวงษ์ทอง16 เก่ียวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้เพ่ือยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรียน ถึงการใช้ส่ือสารสนเทศและเทคโนโลยีในการเรียนการ สอนน้ันสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ โดยเฉพาะในยุคที่ ขอ้ มูลข่าวสารและทรัพยากรทางความรู้มอี ยูม่ ากมายในอนิ เทอร์เนต ซึง่ เปน็ ไปในทางเดียวกบั อรวิชย์ ถิ่นนุกูล17 เก่ียวกับวิธกี ารท่ีจะช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพท่ีดีข้ึน โดยการนาเอาเทคโนโลยีทางการศึกษามาประยุกต์ใช้ คือ การนาเอานวัตกรรมมาช่วยให้ ผูเ้ รียนเข้าใจบทเรียนได้ชัดเจนมากย่ิงขึ้น โดยการใช้ส่ือการสอนที่ทันสมัยเข้ามาช่วยในการ แก้ไขปัญหา ช่วยใหผ้ ู้เรียนที่มคี วามสามารถแตกต่างกันบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ในการเรยี น ทาให้ ผู้เรียนมีความรู้ที่ลึกซ้ึง เข้าใจ และรับรู้เรื่องราวได้ตลอดต่อเนื่อง สร้างเจคติที่ดีแก่ผู้เรียน และส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนเกิดความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ กระตนุ้ ใหเ้ กิดทักษะการคิดวิเคราะห์ และ 15 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12.(2561). รายงานข้อมูลนักเรียน ระบบการ จดั เก็บขอ้ มูลนกั เรียนรายบุคคล (Data Management Center). นครศรีธรรมราช : สานักงาน เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 12. 16 นวลนดา สงวนวงษ์ทอง. (2547). “Web Quest” ใน วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิต พัฒนบริ หารศาสตร.์ 17 อรวิชย์ ถนิ่ นุกลู . (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบชาญฉลาด วิชา สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เร่ือง ภูมิลักษณ์ภาคใต้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. สงขลา : มหาวทิ ยาลัยทักษิณ. 5

สอดคล้องกับ นภดล ผู้มจี รรยา และ ปณติ า วรรณพริ ุณ18 กล่าวถึง การจัดการเรียนการสอน โดยใช้ระบบที่เสริมศักยภาพทางการเรียน หรือ สแคฟโฟล์คดิง (Scaffolding) คือการใช้ วิธีการที่ มีผู้เรียนและผู้สอนช่วยกันสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยผู้ท่ีมี ความสามารถสูงกว่าเป็นผู้ท่ีรับหน้าที่ช่วยเหลือผู้อ่ืนให้งานสาเร็จลุล่วงไปได้ โดยได้มีการ เส น อ แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ผ่ า น เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ แ บ บ ยู บิ ค วิ ตั ส (Ubiquitous Learning) ซงึ่ เป็นรูปแบบการจัดการเรยี นรทู้ ผ่ี ู้เรียนสามารถเรียนรไู้ ดท้ กุ ที่ทุก เวลา โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา แท็บแล็ต หรือแม้กระทั้งสมาร์ทโฟน เพ่ือเป็น เครอื่ งมอื ในการเรยี นรู้ ตลอดจนเพอื่ สนับสนนุ และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้รายบคุ คลให้เกิดข้ึน ซ่ึง สอดคล้องกับ เอกชัย เนาวนิช และ ปริตา วรรณพิรุณ19 กล่าวถึง การจดั การเรียนการสอน U-Learning ที่ใช้งานผา่ นเครอื่ งมือสื่อสารหรอื คอมพิวเตอร์พกพา โดยใช้เทคโนโลยีดิจิตอล เพอ่ื สนับสนุนการทางานร่วมกนั นนั้ เป็นช่องทางเลือกหรือทางเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ ไดจ้ ากทกุ ท่ี ทุกเวลาลดช่องว่างและขอ้ จากัดในชน้ั เรียนปกติได้ ซงึ่ สอดคลอ้ งกับ ดวงเดอื น ณ นคร20 ที่กล่าวถึง การนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มาใช้ในการ จัดการเรยี นการสอน เพ่อื สร้างระบบการมีปฏสิ มั พนั ธแ์ บบโต้ตอบ ทาให้ผเู้ รียนสนกุ สนานไป กับกิจกรรมการเรยี นการสอน ไม่รูส้ ึกเบ่ือหน่าย โดยอาศัยแนวคิดทฤษฏีการตอบสนองต่อส่ิง เร้า มาใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน ซึ่งสอดคล้องกับ มนต์ชัย เทียนทอง21 กล่าวถึง การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนแบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านระบบเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ ว่า การออกแบบข้ันตอนการจดั การเรียนรใู้ หผ้ เู้ รียนสามารถสบื ค้นข้อมูลไดอ้ ย่าง 18 นภดล ผู้มีจรรยา และ ปรติ า วรรณพริ ุณ. (2556). การพัฒนารูปแบบการจดั สภาพแวดล้อมการ เรียนรู้แบบยูยิควิตัส โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก เพื่อพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษา ระดบั ปรญิ ญาบณั ฑิต. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . 19 เอกชัย เนาวนิช และ ปณิตา วรรณพิรุณ. (2555). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบ ผสมผสานฯ” ใน วารสารวิทยบริการ ปีที่ 23 ฉบับท่ี 3 กันยายน-ธันวาคม 2555. สงขลา : มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์. 20 ดวงเดือน ณ นคร. (2557). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่าย เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก. นครศรีธรรมราช : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช. 21 มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์สาหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ ชว่ ยสอน. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 6

ไม่จากัดเวลา สถานที่ โดยมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ซึ่งสามารถทาให้ผเู้ รยี นได้เรียนรดู้ ้วย ตนเองอยา่ งสะดวก สามารถฝึกทาแบบฝึกหัดในระบบอินเตอร์เนต็ ศกึ ษาเน้ือหา ซ่งึ เป็นการ ประเมินตนเองในด้านความก้าวหน้าทางการเรียน ซ่ึงเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหา ความ สนใจในชั้นเรียนของผเู้ รยี นได้เปน็ อยา่ งดี 1.2 แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา จากแนวทางข้างต้น แนวทางท่ีคาดว่าจะสามารถแก้ไขปัญหาได้คือ การพัฒนา บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส เน่ืองจากการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถนามาเป็น เคร่ืองมือในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนได้ โดยเม่ือนามาพัฒนาใน ลักษณะของ บทเรียนยบู คิ วิตัส (U-Learning) ซง่ึ หมายถงึ การเรียนรบู้ นเครือ่ งมอื สอ่ื สารท่ใี ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการท่ีสามารถพกพาได้สะดวก เช่น สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต หรอื คอมพิวเตอร์พกพา ซ่ึงสามารถทาให้เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้ทุกหนแห่งและทุกเวลา โดยผา่ นการเชื่อมต่อเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต (นวพรรษ เพชรมณี, 2553, 34-35) ซ่ึงการเรียน แบบยูบิคิวตัส นั้นมีข้อดีคือ 1) ผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้โดยตรง รวมท้ังการ ถ่ายทอดประสบการณ์ตรงร่วมกัน 2) ใช้พ้ืนที่ไม่มากเนื่องจากคอมพิวเตอร์แบบพกพา สามารถเช่ือมต่อด้วยระบบไร้สาย 3) สะดวกต่อการนาพกติดตัวไปไหนมาไหน เม่ือ เปรียบเทียบกับหนังสือแบบเดิม 4) การเรียนแบบยูบิคิวตัส เกิดขึ้นได้ง่ายและตลอดเวลา ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ศึกษาร่วมกันกับเพื่อนร่วมช้ันเรียน ทาแบบฝึกหัด ทดสอบ ได้ ตลอดเวลา 5) ช่วยกระตุ้นความสนใจโดยเฉพาะผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีอยู่ ในช่วงวัยรุ่น ท่สี นใจอุปกรณส์ ่อื สารในมือคอ่ นขา้ งมาก 6) เปน็ การเรยี นร้แู บบเวลาจรงิ (Real Time) เน้ือหาบทเรียนมีความยืดหยุ่นของบทเรียน ทาให้การรับรู้ข้อมูลทันสมัย ทันต่อ เหตกุ ารณ์ สอดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จบุ ันมากกวา่ ซง่ึ จะทาใหผ้ ูเ้ รียนสามารถพฒั นาทักษะ การคิดวิเคราะห์และสามารถยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตไิ ด้ ในท่ีสุด 7

ผู้เรยี นในระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลายในประเทศไทยมีจานวน 2,088,027 คน22 โดย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 (นครศรีธรรมราช-พัทลุง) มีจานวน 29,329 คน23 โดย มีปัญหาในหลายๆ ด้าน และปัญหาหนึ่งที่น่าวิตกกังวลคือ ด้าน ผลสัมฤทธ์ิทางการทดสอบระดับชาติต่ากว่าร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม24 โดยผู้วจิ ัยมีความ คาดหวังว่า กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จากการจัดการแก้ไขปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการ ทดสอบระดับชาติ ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จะสามารถแกไ้ ขปัญหาผู้เรียนขาดความสนใจ ในบทเรียน และนาไปสู่การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาตไิ ด้สาเรจ็ จากปัญหาดงั กล่าวข้างต้นผูว้ ิจยั จึงมีความสนใจท่ีจะ พฒั นาบทเรยี นอิเล็กทรอนิกส์ แบบมีปฏสิ ัมพันธใ์ นสภาพแวดล้อมยูบิควิตสั โดยบทเรียนยูบิควติ ัสดังกล่าวสามารถนาไปใช้ ในการแก้ไขปัญหาผู้เรียนขาดความสนใจในบทเรียน ผู้สอนขาดเทคนิคการสอนที่เร้าความ สนใจผู้เรียน สื่อการเรียนรู้ไม่เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งส่งผลไปสู่ การทผี่ ้เู รียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและมผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ในทกุ กลุ่มสาระรายวชิ าตา่ กวา่ ร้อยละ 5024 2. จุดประสงค์และเป้าหมาย 2.1 เพื่อศึกษาองค์ประกอบของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบคิ วิตัส 2.2 เพอ่ื พัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนกิ สแ์ บบมปี ฏิสัมพันธใ์ นสภาพแวดล้อมยบู คิ วิตัส 22 สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). รายงานจานวนนักเรียน นิสิต นักศึกษา ในสถานศึกษาของ รัฐบ าลแ ละเอ กชน จาแ น กตามชั้น แล ะระดับ การศึกษ า ปีการศึกษ า 2550-2560. กรุงเทพมหานคร : สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาต.ิ 23 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12.(2561). รายงานข้อมูลนักเรียน ระบบการ จดั เก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (Data Management Center). นครศรีธรรมราช : สานักงาน เขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต 12. 24 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2561). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ. 8

2.3 เพื่อประเมินประสิทธิผลของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส 3. กระบวนการผลติ ผลงานหรอื ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน การวจิ ัยเร่ือง การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏสิ ัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิ ควติ สั มีข้ันตอนการดาเนินงานวจิ ัย ตามลาดับดงั น้ี 3.1 การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม การวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกสแ์ บบมปี ฏิสมั พนั ธ์ในสภาพแวดลอ้ ม ยูบิควิตัส ได้ดาเนินการออกแบบผลงาน/นวัตกรรม โดยยึดหลักการจัดการความคิด สร้างสรรค์ของกิลฟอร์ด และการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเพียเจย์ โดยเลือกกลุ่ม ตวั อย่างเปน็ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ จากนกั เรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นสตรปี าก พนัง อาเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชโดยได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3.2 การดาเนนิ งานตามกจิ กรรม (วงจร PDCA) 1. ขั้นเตรยี มการ (Plan) ศึกษา องคป์ ระกอบบทเรยี นอิเลก็ ทรอนกิ ส์แบบมีปฏิสัมพนั ธ์ในสภาพแวดล้อมยู บิควิตัส โดยผู้วิจัยแบ่งขั้นตอนการดาเนินงานวิจัยในระยะที่ 1 ออกเป็น 2 ขั้นตอน ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร (Documentary Study) และ การถอดความรู้จากแนว ปฏิบัติที่เป็นเลศิ (Best Practice) โดยในระยะท่ี 1 ผู้วิจัยสามารถออกแบบกรอบแนวคดิ การ วิจัย ร่างรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมแบบยูบิควิตัส เอกสารคู่มือการจัดการเรียนรบู้ นบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ สาหรับผู้เรียน และสาหรับผู้สอน ได้ ข้ันตอนท่ี 1 ศึกษาเอกสาร (Documentary Study) ศึกษาตารา เอกสาร งานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง ซึ่งผ้วู ิจัยได้สงั เคราะห เอกสารการจดั การเรยี นร้ตู ามแนวทางทฤษฏีคอน สตรัคติวิสต์ ความหมายของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางคอนสตรัคติวิสต์ แนวคิดทฤษฎี การจัดการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมแบบยูบิควิตัส การใช้งาน Google Application การ 9

พัฒนาระบบสารสนเทศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเอกสารและงานวิจัยต่างๆ โดยใช้ เครื่องมือคอื แบบสงั เคราะห์เอกสาร เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผูว้ จิ ัยใชแ้ บบสังเคราะหเ์ อกสารและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง เป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล โดยผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างตารางสังเคราะห์เอกสาร ตารางสรุป องคป์ ระกอบหลกั ตารางสรปุ องค์ประกอบยอ่ ยเพ่ือเปน็ เคร่อื งมือในการศกึ ษาวจิ ยั การสร้างเครอื่ งมือและการตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ ผวู้ ิจัยได้ดาเนินการตามขัน้ ตอนดงั ต่อไปน้ี 1. แบบสังเคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง 1.1 ศึกษาหลักการในการสร้างแบบสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยท่ี เก่ยี วขอ้ ง 1.2 ดาเนินการสร้างตารางสังเคราะห์เอกสาร ตารางสรุปองค์ประกอบหลัก ตารางสรุปองคป์ ระกอบยอ่ ยเพ่อื เปน็ เครื่องมือในการศกึ ษาวิจัย 1.3 ดาเนินการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องตามตารางสังเคราะห์ เอกสารทีก่ าหนด 1.4 สรุปผลการสังเคราะห์เอกสารโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาผลงานแนวปฏิบัติที่เปน็ เลิศ (Best Practice) จากผ้สู อนดา้ น การจัดการเรียนร้ดู ้วยสังคมเครือข่ายออนไลน์ การใช้ส่ือมัลติมีเดีย และสื่อสารสนเทศแบบมี ปฏิสัมพันธ์ โดยใช้เคร่ืองมือคือ แบบบันทึกการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) ร่วมกบั การใช้คาถามแบบปลายเปดิ (Open Ended Question) กลมุ่ ตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่างท่ีใชใ้ นถอดความรู้จากผูส้ อนทีม่ ีผลงานแนวปฏิบัติทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) คร้ังน้ีคือ ผู้สอนซ่ึงใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ หรือใช้ส่ือมัลติมีเดีย หรือสื่อ สารสนเทศแบบมีปฏิสมั พนั ธ์ เพือ่ จดั การเรียนรู้ จานวน 5 คน ซ่ึงได้มาจากวิธกี ารเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) โดยมีหลักเกณฑใ์ นการเลอื กโดยกาหนดคณุ สมบัติ ดังนี้ 10

1. มีประสบการณ์ในการจดั การเรียนรู้ผ่านเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ หรือการใช้ สื่อมลั ตมิ ีเดีย หรือสอ่ื สารสนเทศแบบมปี ฏสิ มั พนั ธ์ ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี 2. ไดร้ ับรางวลั ด้านการพัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาระดบั สานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา หรือระดบั ภาค หรอื ระดบั ชาติ ไมน่ ้อยกวา่ 2 รางวัล 3. มีประสบการณ์เปน็ วทิ ยากรด้านการใช้เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ หรอื การใช้สื่อ มลั ตมิ เี ดยี หรือส่อื สารสนเทศแบบมปี ฏสิ ัมพันธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ 5 ปี 4. ผู้ใหข้ อ้ มูลสัมภาษณย์ ินดีให้ความร่วมมอื ในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู การถอดความรู้จากผสู้ อนทมี่ ีผลงานแนวปฏิบัติที่เป็นเลศิ (Best Practice) คร้ัง นีม้ ีประเดน็ ในการถอดความรดู้ ังน้ี 1. องค์ประกอบของบทเรยี นอิเลก็ ทรอนกิ ส์ มลี ักษณะอย่างไร 2. การพฒั นาบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ น มีกระบวนการและการใชง้ านอย่างไร 3. ผลการใชบ้ ทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ สใ์ น ตรงตามวตั ถุประสงค์หรือไมอ่ ยา่ งไร 4. ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ใน มอี ะไรบ้าง เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผูว้ ิจัยใช้ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสรา้ ง (Structured Interview) ร่วมกับการ สอดแทรกหัวข้อสนทนาท่ีมีลักษณะคาถามแบบปลายเปิด (Open Ended Question) กับ ผสู้ อนที่มีผลงานด้านการจัดการเรยี นรูใ้ นลักษณะการใช้เครอื ข่ายออนไลน์และสื่อมัลติมีเดีย ในระดับ Best Practice ทั้งในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค หรือระดับชาติ เพ่ือให้ผู้ตอบแบบสอบถามสามารถแสดงแนวคิดและวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีได้อย่าง หลากหลาย สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ หลากหลายรูปแบบและวิธีการ การใช้คาถามปลายเปิดจึงเป็นเครื่องมือที่เหมาะสมกับการ เก็บรวมรวมข้อมูลจากสัมภาษณ์ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการส่ือมัลติมีเดียท่ี นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ดา้ นประโยชนท์ ไี่ ด้รบั และข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ มากท่สี ุด การสร้างเคร่อื งมือและการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมอื ผวู้ จิ ัยได้ดาเนินการตามข้ันตอนดงั ต่อไปน้ี 11

1. แบบสมั ภาษณ์ผสู้ อนท่มี ีผลการแนวปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practice) ในดา้ น การจัดการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมออนไลน์ การใช้ส่ือมัลติมีเดียและส่ือสารสนเทศแบบมี ปฏสิ ัมพันธ์ 1.1 ศึกษาหลักการในการสรา้ งแบบสัมภาษณ์แบบมโี ครงสร้าง 1.2 วิเคราะห์ เน้ือหา เพื่อกาหนดกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสัมภาษณ์ แบบมโี ครงสรา้ ง 1.3 จัดทาแบบสมั ภาษณ์แบบมโี ครงสรา้ งตามประเดน็ 1.4 นาแบบสัมภาษณ์ที่ปรับปรุงแล้วไปสัมภาษณ์ ผู้สอนที่มีผลงานแนว ปฏิบัติทีเ่ ป็นเลิศดา้ นการจัดการเรยี นร้ดู ้วยเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ การใช้สื่อมัลติมีเดยี และ ส่ือสารสนเทศแบบมปี ฏิสมั พนั ธ์ ตามแบบการสมั ภาษณ์แบบมโี ครงสร้าง 1.5 สรุปผลการสัมภาษณ์โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้วจิ ัยใช้ผลจากการสังเคราะห์เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้องในระยะท่ี 1 ตอน ที่ 1 มาเป็นขอ้ มลู ในการถอดความรู้จากผสู้ อนที่มีผลงานแนวปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศโดยผู้วจิ ัยเก็บ ข้อมูลด้วยตนเองจากการสัมภาษณ์ ผู้สอนท่ีมีประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนรู้ด้วย เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ การใช้สื่อมลั ติมเี ดีย และสอื่ สารสนเทศแบบมีปฏสิ มั พนั ธ์ จานวน 5 คน การวิเคราะหข์ อ้ มลู ในการวิเคราะห์ข้อมูลระยะท่ี 1 น้ี ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการ วิเคราะห์เน้ือหาทั้งจากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง รวมท้ังจากการสัมภาษณ์ ผู้สอนที่มีประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมออนไลน์ การใช้สื่อ มัลติมเี ดีย และสือ่ สารสนเทศแบบมปี ฏสิ มั พันธ์ โดยมีข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นามาจัดแยกประเด็น และจดั หมวดหมู่ตามวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 2. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ผู้สอนท่ีมีผลงานแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการ จัดการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมออนไลน์ การใช้สื่อมัลติมีเดีย และสื่อสารสนเทศแบบมี 12

ปฏิสัมพนั ธ์ จานวน 5 คน โดยดาเนินการวิเคราะห์เน้ือหาการนาขอ้ มูลเบ้ืองต้นมาวเิ คราะห์ แยกประเภทหาข้อสรุป 3. นาข้อสรุป ร่างรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส มาเป็นแนวทางพน้ื ฐานในการพัฒนาบทเรยี นอิเล็กทรอนิกสแ์ บบมี ปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดลอ้ มยบู คิ วิตสั ตอ่ ไป 2. ขน้ั ดาเนนิ การ (Do) การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โดยผู้วิจัยแบ่งข้ันออกการดาเนินงานวิจัย ออกเป็น 2 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การร่าง รูปแบบบทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ สฯ์ 2) หาประสิทธภิ าพของบทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ สฯ์ โดยการหา คา่ ความสอดคล้อง (IOC) และ 3) ทดลองรูปแบบโดยหาค่าประสิทธภิ าพ (E1/E2) ค่าความ เช่ือมั่น (Reliability) ค่า t-test และประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนโดยใช้ค่าเฉล่ีย ( ) และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) กอ่ นการนาไปใชจ้ ริง โดยในระยะที่ 2 ผูว้ จิ ยั สามารถพฒั นา บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส ที่สมบูรณ์ได้และ วิเคราะห์หาค่าประสิทธภิ าพของบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ดงั กลา่ วได้ ข้ันตอนท่ี 1 นาผลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องและผลการถอด ความรู้จากแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในระยะที่ 1 มาออกแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ โดยให้ ผู้เช่ียวชาญประเมินจานวน 5 ท่าน เพื่อหาความสอดคล้องของร่างรูปแบบ และปรับปรุง บทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ฯ ตามรูปแบบทพ่ี ฒั นาข้ึน และใหผ้ ู้เชยี่ วชาญประเมินจานวน 5 ท่าน เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจัยใช้ แบบประเมนิ บทเรยี นอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏสิ ัมพนั ธ์ในสภาพแวดล้อม ยบู ิควิตัส โดยเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยนี้ผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน ซ่ึง ได้มาจากเลือกเจาะจง (Purposive Selection) โดยผู้เช่ียวชาญแต่ละท่านจะตรวจสอบท้ัง ระบบของเคร่อื งมือในการศึกษาวจิ ัย การสร้างเครอื่ งมือและการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ ผวู้ จิ ยั ได้ดาเนนิ การตามขน้ั ตอนตอ่ ไปนี้ 13

1. แบบประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควติ ัส 1.1 นาผลจากการศึกษาในระยะท่ี 1 มาสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏสิ ัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควติ สั 1.2 ดาเนินการสร้างแบบประเมินการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส ใน 5 ประเด็น ได้แก่ รูปแบบการพัฒนาบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ฯ ระบบบริหารจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย ระบบการติดต่อสื่อสาร เนื้อหา บทเรยี น การวดั และประเมนิ ผล และขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ โดยจัดพิมพ์ในระบบ Google Form 1.3 ผู้วิจัยนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิ ควิตัส พร้อมแบบประเมนิ บทเรียน ท่สี ร้างข้ึนใน Google Form ไปเสนอผู้เชี่ยวชาญท่ีมีวุฒิ ทางการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาโท มีประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อมัลติมีเดีย ออนไลน์ สื่อสารสนเทศแบบมีปฏิสัมพันธ์ รวมทงั้ ส่ือสังคมออนไลน์ ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี จานวน 2 ท่าน ผูเ้ ช่ียวชาญที่มีวุฒิทางการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาโท มีความเชีย่ วชาญ ชานาญด้าน การพัฒนานวัตกรรมเพ่ือการศึกษา ไม่น้อยกว่า 5 ปี จานวน 2 ทา่ น และผู้เชี่ยวชาญท่ีมีวุฒิ ทางการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาโท มีความเช่ียวชาญด้านการวัดและประเมินผลทางการ ศกึ ษา ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี จานวน 1 ท่าน รวม ผู้เชี่ยวชาญท้ังส้ิน 5 ท่าน เพื่อตรวจหาคุณภาพ ด้านความเท่ียงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) และความเท่ียงตรงตามเน้ือหา (Content Validity) ให้ครอบคลุมรายละเอียดในแต่ละด้าน โดยผู้เชี่ยวชาญทุกท่านจะ ประเมินรูปแบบ (Model) การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยบู คิ วิตัส เพื่อพฒั นาทักษะการคดิ วเิ คราะห์ สาหรบั ผ้เู รยี น ตลอดท้ังโครงสร้าง ของการบริหารจัดการการเรียนรู้ รูปแบบของแบบทดสอบ (Format) การใช้ภาษา (Wording) ให้เหมาะสมถูกต้อง ได้ตรวจพิจารณาและให้ค่าคะแนน เพ่ือหาค่าดัชนีความ สอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) เป็นรายข้อ โดยกาหนดให้ค่า คะแนนดงั นี้ +1 เม่อื แนใ่ จว่ามีความสอดคล้องเหมาะสมกบั รปู แบบทพี่ ัฒนา 0 เม่อื ไมแ่ นใ่ จวา่ มีความสอดคล้องเหมาะสมกับรปู แบบท่พี ฒั นา -1 เมอ่ื แนใ่ จวา่ ไมส่ อดคล้องเหมาะสมกับรูปแบบทพ่ี ฒั นา 14

1.4 เม่ือได้ผลการพิจารณาจากผู้เช่ียวชาญ ผู้วิจัยคัดเลือกประเด็นที่มีค่าดัชนี ความสอดคล้องตั้งแต่ 0.6 ข้ึนไปมาใช้สาหรับบางประเด็นที่ผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะเพ่ิมเติม ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ ชัดเจนยิ่งข้ึน แล้วเลือกประเด็นที่ทาให้ รูปแบบ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส มีค่าความเท่ียงสูงไว้ พฒั นาเปน็ บทเรียนอิเล็กทรอนิกสฯ์ ท่ีใชง้ านได้จริงตอ่ ไป การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ผู้วจิ ัยกาหนดเป้าหมายการดาเนนิ การคอื การสรา้ งบทเรียนอิเล็กทรอนิกสแ์ บบ มปี ฏสิ มั พนั ธ์ในสภาพแวดล้อมยบู ิควิตสั โดยในครง้ั นี้ ผู้วจิ ยั เก็บข้อมูลโดยการใชแ้ บบประเมิน บทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์แบบมปี ฏสิ มั พันธ์ในสภาพแวดล้อมยบู ิควิตัส โดยมีข้นั ตอนดงั นี้ 1.1 ตดิ ตอ่ ประสานกับผู้เช่ียวชาญประเมินเคร่ืองมือวิจยั จานวน 5 ท่าน ท่ไี ด้มา จากวธิ ีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 1.2 นาบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์แบบมีปฏิสมั พันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควติ ัสและ แบบประเมินบทเรียน ที่จัดพิมพ์โดยใช้ Google Form เสนอให้ผู้เช่ียวชาญ 5 ท่านประเมิน โดยผู้วิจัยใช้การเก็บข้อมูลแบบออนไลน์ผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตและเป็นผู้เก็บข้อมูลด้วย ตนเอง โดยให้ผู้เชีย่ วชาญประเมินด้วยตนเองผ่านสมาร์ตโฟนหรืออปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์พกพา ประเภทอื่นและตรวจสอบผลการประเมินในระบบออนไลน์จาก Google Sheet ทันทีที่ ประเมินเสร็จ 1.3 ผู้วจิ ยั นาผลการประเมินบทเรียน มาวเิ คราะหค์ ่าความสอดคล้อง และนาไป พฒั นาบทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์แบบมีปฏสิ มั พันธ์ในสภาพแวดลอ้ มยบู ิควิตัสต่อไป 1.4 ผู้วิจัยนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิ ควิตัส และแบบประเมินบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกสฯ์ ที่จัดพิมพ์โดยใช้ Google Form เสนอให้ ผู้เช่ียวชาญ 5 ท่านประเมินอีกครั้ง โดยผู้วิจัยใช้การเก็บข้อมูลแบบออนไลน์ผ่านเครือข่าย อนิ เทอร์เนต็ และเปน็ ผเู้ ก็บขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง โดยใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญประเมนิ ดว้ ยตนเองผ่านสมาร์ต โฟนหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาประเภทอื่นและตรวจสอบผลการประเมินในระบบ ออนไลน์จาก Google Sheet ทันทีที่ประเมนิ เสร็จ 1.5 ผู้วิจัยส่งหนงั สือขอบคุณในการให้ความร่วมมือไปยังผูเ้ ช่ียวชาญ 15

การวเิ คราะหข์ ้อมลู 1. ข้อมูลที่ได้จากแบบประเมิน บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมแบบยูบิควิตัส 5 ด้านโดย วิเคราะห์หาค่าความสอดคล้องระหว่าง องค์ประกอบของบทเรียน กับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (Index of Item-Objective Congruence หรือ IOC) โดยมีเกณฑ์การตัดสินค่า IOC ถ้ามีค่า 0.6 ขึ้นไปแสดงว่าประเด็น น้ันมีความเหมาะสมตรงตามเนื้อหาที่กาหนด โดยได้ค่า IOC เท่ากับ 0.9 หมายถึง มีความ เหมาะสม สามารถพฒั นาเป็นบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกสโ์ ดยใช้ Google Application เป็นฐาน ได้ 2. ข้อมูลท่ีได้จากแบบประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส และข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ผู้วิจัยนามาวิเคราะห์โดยการสรุปเป็นเชิง พรรณนา สถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. การตรวจสอบความเท่ียงตรงของเน้ือหา โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เป็นเกณฑ์ระหว่างประเด็นที่กาหนดกับวัตถปุ ระสงค์ (ลว้ น สายยศ และอังคณา สาย ยศ, 2539, 43-53) โดยใช้สตู ร IOC แทน ดชั นีความสอดคล้องระหวา่ งประเด็นทก่ี าหนดกับวัตถปุ ระสงค์ แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเหน็ ของผเู้ ช่ียวชาญท้ังหมด N แทน จานวนผเู้ ชย่ี วชาญ มคี วามเหน็ ว่าเหมาะสม ให้คะแนน +1 มคี วามเหน็ ว่าไม่แนใ่ จ ให้คะแนน 0 มีความเหน็ วา่ ไม่เหมาะสม ใหค้ ะแนน -1 ขั้นตอนท่ี 2 นาบทเรียนอเิ ล็กทรอนกิ สฯ์ ทผ่ี า่ นการประเมนิ โดยผเู้ ชย่ี วชาญจานวน 5 ท่านแล้ว ไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลอง นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรี ปากพนงั จานวน 30 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เพ่ือตรวจสอบหาประสทิ ธิภาพ 16

กลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนสตรี ปากพนัง จานวน 30 คน ซ่งึ ได้มาจากวธิ ีการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Selection) โดย มีหลักเกณฑ์ในการเลอื กดังน้ี 1. มีนกั เรยี นไมน่ ้อยกว่า 30 คน ซึง่ ตรงกบั หลักการเลอื ก 2. นักเรยี นในห้องเรียนเป็นนักเรียนท่คี ละความสามารถทั้งนักเรียนเกง่ ปานกลาง และอ่อน 3. ครผู สู้ อนในสถานศึกษาใหค้ วามยินดีในการดาเนนิ การวิจัย 4. นกั เรียนได้ใหค้ วามร่วมมือในการจัดเก็บขอ้ มลู เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในระยะที่ 2 ขน้ั ตอนที่ 2 มดี ังนี้ 1. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โดยใช้ เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา ส23105 ประวัตศิ าสตร์ 6 เปน็ กรณีศึกษาเพอื่ ทดลองหาคา่ ประสิทธภิ าพของบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ฯ ที่พฒั นาขึน้ โดยกาหนดคา่ ท่ีตอ้ งการวิเคราะห์ดังนี้ 1.1 คา่ ประสิทธภิ าพของบทเรยี น (E1/E2) ตามเกณฑ์ที่ 80/80 1.2 ค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนเรียนหลงั เรียนโดยใช้สถิติที (t- test) 1.3 คา่ ความเชอ่ื มั่น (Reliability) ของบทเรยี นอิเลก็ ทรอนกิ สฯ์ 2. แบบประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่พัฒนาขึ้น โดยกาหนดค่าที่ต้องการ วเิ คราะห์ดงั นี้ 2.1 ค่าความเท่ียงตรง (IOC) ของแบบประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนกิ ส์ 3. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่ พัฒนาข้นึ โดยกาหนดคา่ ทตี่ ้องการวิเคราะห์ ดังนี้ 3.1 ค่าความเชื่อม่ันของแบบประเมินความพงึ พอใจของผู้เรียนที่มีตอ่ บทเรียน อิเล็กทรอนิกสฯ์ 3.2 คา่ เฉลย่ี ( ) และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 17

4. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้สอนที่มีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่ พัฒนาข้ึน โดยวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินความพึงพอใจของผู้สอนท่ีมีต่อ บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯ การสรา้ งเคร่ืองมอื และการตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมอื ผู้วิจยั ได้ดาเนนิ การตามขัน้ ตอนต่อไปนี้ 1. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โดยใช้ เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา ส23105 ประวัติศาสตร์ 6 เปน็ กรณีศึกษาเพอื่ ทดลองหาค่าประสิทธิภาพของบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ฯ ซงึ่ กาหนดขนั้ ตอนการสรา้ งเครื่องมือดงั น้ี 1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระ การเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ท่ี ส 4.2 ม4-6/1-3 เร่ือง สถานการณค์ วามขัดแยง้ ของโลกในศตวรรษท่ี 21 1.2 ดาเนินการบรรจเุ น้อื หาบทเรียนจานวน 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ ระยะเวลา 15 คาบเรียน ลงในบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส ทพ่ี ัฒนาขนึ้ 1.2 ดาเนินการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน จานวน 30 ข้อ และ บรรจุแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรยี นลงในบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ฯ ที่พฒั นาขึ้น 1.3 ดาเนนิ การออกแบบและจัดทาภาระงานท่ีมอบหมายใหน้ กั เรียนทาระหวา่ ง เรยี น จานวน 3 ภาระงาน และบรรจลุ งในบทเรียนอิเล็กทรอนกิ ส์ฯ ท่ีพัฒนาข้ึน 1.4 ผู้สอนตรวจสอบความเช่ือมโยงและความต่อเนื่องของบทเรียนเล็กทรอ นกิ สฯ์ ตลอดท้งั ระบบเพอื่ หาข้อบกพร่องและดาเนนิ การแกไ้ ข 2. แบบประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิค วติ สั 2.1 นาผลจากประเมินรปู แบบ (Model) บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบมีปฏสิ ัมพันธ์ ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส มาสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ โดยใช้ Google Application เป็นฐานในการพัฒนา 2.2 ดาเนินการสร้างแบบประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส ใน 4 ประเด็น ได้แก่ การประเมินระบบด้าน LMS การประเมิน 18

ระบบด้าน Communication การประเมินระบบด้าน Content การประเมินระบบด้าน Evaluation และขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ 2.3 นาแบบประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ เพื่อตรวจหาค่าคุณภาพด้านความ เที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) และความเท่ียงตรงด้านเน้ือหา (Content Validity) ให้ครอบคลุมรายละเอียดในแต่ละด้าน รูปแบบของการสัมภาษณ์ (Format) การ ใช้ภาษา (Wording) ใหเ้ หมาะสมถูกต้องตามกรอบคาถามที่กาหนดไว้ 2.4 ผู้วิจัยนาบทเรยี นอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบมีปฏิสมั พันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส พร้อมแบบประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่สร้างข้ึนใน Google Form ไปเสนอ ผู้เช่ียวชาญจานวน 5 ท่าน เพื่อตรวจหาคุณภาพด้านความเท่ียงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) และความเที่ยงตรงตามเน้ือหา (Content Validity) ให้ครอบคลุม รายละเอียดในแต่ละด้าน โดยผู้เชี่ยวชาญทุกท่านจะประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดลอ้ มยูบิควิตัส ตลอดทั้งโครงสร้างของการบริหารจัดการการเรียนรู้ รูปแบบของแบบทดสอบ (Format) การใช้ภาษา (Wording) ให้เหมาะสมถูกต้อง ได้ตรวจ พิจารณาและให้ค่าคะแนน เพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) เปน็ รายขอ้ โดยกาหนดใหค้ ่าคะแนนดงั นี้ +1 เมื่อแนใ่ จวา่ มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั บทเรยี นอิเลก็ ทรอนิกสท์ ่พี ฒั นา 0 เมื่อไม่แน่ใจว่ามีความสอดคล้องเหมาะสมกับบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ท่ี พัฒนา -1 เมื่อแนใ่ จว่าไม่สอดคล้องเหมาะสมกบั บทเรยี นอเิ ลก็ ทรอนิกส์ท่ีพฒั นา 2.6 เมอื่ ไดผ้ ลการพิจารณาจากผเู้ ชี่ยวชาญ ผู้วิจัยคดั เลือกประเด็นท่มี ีค่าดชั นคี วาม สอดคลอ้ งตั้งแต่ 0.6 ข้ึนไปมาใชส้ าหรบั บางประเด็นที่ผู้เช่ียวชาญเสนอแนะเพิ่มเตมิ ผู้วจิ ยั ได้ ปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ ชัดเจนยิ่งข้ึน แล้วเลือก ประเด็นท่ีทาให้ บทเรียน อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์แบบมปี ฏสิ มั พันธใ์ นสภาพแวดลอ้ มยูบิควิตสั มีค่าความเท่ยี งสงู ไว้ นามาใช้เป็น เคร่อื งมอื สาหรบั เก็บข้อมลู ต่อไป 3. แบบประเมินความพึงพอใจต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดลอ้ มยบู ิควิตัส ผวู้ จิ ัยได้ดาเนินการตามข้ันตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 ศกึ ษาหลักการในการสร้างแบบประเมนิ ความพึงพอใจ 19

3.2 วเิ คราะห์ประเดน็ ในการใช้งานบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์แบบมีปฏิสัมพันธใ์ น สภาพแวดล้อมยบู ิควติ ัส ตามการพัฒนาบทเรยี นอิเล็กทรอนิกส์ในระยะที่ 2 ตอนท่ี 1 ที่ผา่ น การประเมินโดยผ้เู ชย่ี วชาญแลว้ เพ่อื ให้ได้ประเด็นทเ่ี หมาะสมต่อการประเมนิ ความพึงพอใจ 3.3 จัดทาแบบประเมินความพึงพอใจต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏสิ มั พนั ธ์ในสภาพแวดล้อมยูบคิ วติ สั 3.4 เม่อื ผูเ้ รียนเข้าใชง้ านการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรยี นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์แบบมี ปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัสเสร็จส้ินแล้ว ผู้วิจัยให้ผู้เรียนทาการประเมินความพึง พอใจต่อบทเรยี นอิเล็กทรอนิกส์ฯ ผ่านระบบ Google Form และบนั ทึกขอ้ มูลด้วย Google Sheet เพ่อื นาไปสู่การวิเคราะหข์ ้อมลู ต่อไป การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล กาหนดเป้าหมายการดาเนินการคือ การทดลองการใช้ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ แบบมีปฏสิ ัมพันธใ์ นสภาพแวดล้อมยูบคิ วิตสั ท่ีสรา้ งข้ึน โดยในคร้ังนี้ ผ้วู ิจัยเกบ็ ข้อมลู จากการ ใช้แบบประเมินบทเรยี นอิเลก็ ทรอนิกส์แบบมีปฏิสมั พนั ธใ์ นสภาพแวดลอ้ มยบู คิ วิตัส สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล 1. การหาค่าประสิทธิภาพของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัสในกลุ่มทดลอง จานวนผู้เรียน 30 คน ท่ีเป็นตัวแทนของประชากร กลุ่มตัวอย่าง ดาเนินการหาประสิทธิภาพของบทเรียนเสร็จแล้วปรับปรุงให้ดีข้ึนจากการนา ข้อมูลมาวิเคราะห์ เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้สูตร E1/E2 และมีเกณ ฑ์ ค่า ประสิทธภิ าพท่ี 80/80 ดังนี้ เมือ่ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ E2 แทน ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์ X1 แทน คะแนนของแบบฝกึ หัด 20

X2 แทน คะแนนของแบบทดสอบ A แทน คะแนนเตม็ ของแบบฝกึ หัด B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบ N แทน จานวนผู้เรียน 2. วิเคราะห์หาประสิทธิผลของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โดยวิธีทางสถิติโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนมาเปรียบเทียบโดยการ ทดสอบคา่ ที (t-test) โดยใช้สูตร ดังน้ี t = , df = n-1 เมื่อ t = ค่าสถติ ิ t D = ผลต่างระหว่างขอ้ มูลแตล่ ะคู่ D2 = จานวนกาลงั สองของผลตา่ งระหว่างข้อมูลแต่ละคู่ n = จานวนคู่ของขอ้ มูล (หรอื เปน็ จานวนคน) df = องศาหรอื ช้ันความเปน็ อสิ ระ 3. วเิ คราะห์ความเช่ือม่นั (Reliability) ตามวิธกี ารของ คูเดอร์ รชิ าร์ดสนั (Kuder Richardson Method) ของบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสมั พันธ์ในสภาพแวดลอ้ มยูบิค วติ สั โดยมกี ารใช้คะแนนเป็นระบบ 0-1 คอื ตอบถกู ได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน โดย ใชส้ ตู ร KR-20 ดังนี้ KR-20 = ค่าความเช่อื มนั่ ของแบบทดสอบ K= จานวนขอ้ สอบ P= สดั ส่วนของผ้ทู าถูกหารดว้ ยจานวนคนสอบทั้งหมด q= สดั สว่ นของผู้ผดิ ในข้อหน่งึ ๆ หรือ 1-p S2 = คะแนนความแปรปรวนของแบบทดสอบ 21

โดย S2 = 4. การหาคา่ ความพงึ พอใจต่อบทเรียนอิเล็กทรอนกิ ส์แบบมปี ฏิสมั พันธ์ใน สภาพแวดล้อมยบู คิ วิตสั โดยใช้สถิตไิ ด้แก่ คา่ เฉลยี่ ( ) และ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. ขั้นตรวจสอบและประเมินผลการพฒั นางาน (Check) ป ร ะ เมิ น ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ก า ร ใช้ บ ท เรี ย น อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ บ บ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ใ น สภาพแวดลอ้ มยูบคิ วิตัส ขั้นตอนท่ี 1 นาบทเรยี นอิเล็กทรอนิกส์แบบมปี ฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิค วิตัส ไปใช้จริงกับผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ การงานอาชีพและ เทคโนโลยี และภาษาไทย สงั กดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 12 จานวน 5 คน โดยคละกัน เพื่อประเมนิ ประสิทธิผลผลการใช้บทเรียนอิเล็กทรอนกิ ส์แบบมีปฏสิ ัมพันธ์ ในสภาพแวดลอ้ มแบบยบู ิควติ ัส การปฏบิ ัตกิ ารใช้บทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ สฯ์ ทพ่ี ฒั นาขึน้ 1. การนาบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์แบบมปี ฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยบู ิควิตัส ไป ใช้จริงผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ ภาษาไทย สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 12 จานวน 5 คน โดยคละกนั 2. ผ้วู จิ ัยดาเนนิ การใช้ บทเรยี นอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ บบมีปฏิสัมพนั ธ์ในสภาพแวดล้อม ยบู ิควติ ัส 3. เขียนรายงานสรุปผลการดาเนินงานเพ่ือให้ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏสิ มั พันธ์ในสภาพแวดลอ้ มยบู คิ วติ ัส สามารถนาใชแ้ ละเผยแพร่ได้ วิธกี ารดาเนนิ การวิจยั ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง บ ท เรี ย น อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ บ บ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตสั ดาเนินการดังน้ี 1. ขออนุญาตผู้บริหารโรงเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ขออนุญาตเก็บขอ้ มลู เพ่ือการวิจยั 22

2. ให้ผู้สอนที่นาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ไปใช้ ทาความเข้าใจคู่มือการใช้งาน บทเรยี นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯ 3. ให้ผู้สอนที่นาบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ฯ ไปใช้ ดาเนินการบรรจุเน้ือหาบทเรียน ภาระงาน แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตาม มาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และรายวิชาที่นาไปใช้ลงในบทเรียน อเิ ล็กทรอนิกสฯ์ 4. ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้ ใช้เวลาในการจัดกจิ กรรมการ เรยี นรู้ 15 ช่ัวโมง 5. ทดสอบหลังเรียน (Pre - Test) เมอ่ื สิ้นสุดการทดลอง โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผล สัมฤทธ์ิทางการเรียน ชุดเดียวกันกับการทดสอบก่อนเรียนเรียน จานวน 30 ข้อ เพ่ือ เปรียบเทียบผลการใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E1/E2) และนาค่าคะแนนระหว่างเรียนมา ประกอบเพ่อื หาค่า t-test 6. ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนทีมีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ประชากร และกลุ่มตวั อย่าง ประชากร ได้แก่ ผู้เรียนและผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา ในสังกัดสานักงานเขต พนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1. ผสู้ อนที่นาบทเรยี นอิเล็กทรอนกิ ส์แบบมีปฏสิ ัมพนั ธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควติ ัส ไปใช้ในรายวชิ าท่ีรับผดิ ชอบจานวน 5 คนใน 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ซงึ่ ไดม้ าจากวธิ ีการเลือก แบบเจาะจงโดยมีหลักเกณฑใ์ นการเลือกคอื 1.1 เป็นผู้สอนในสงั กัดสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 12 1.2 มคี วามสนใจและมีความพร้อมด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทีใ่ ช้ในการจดั การ เรียนรผู้ ่านบทเรยี นอิเลก็ ทรอนิกส์ 1.3 เป็นผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีความแตกต่างกันในเชิงลักษณะ รายวชิ า 2. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษา โรงเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาในสังกัดสานักงานเขต พนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ปีการศึกษา 2561 จานวน 30 คน ไดม้ าโดยการเลือก 23

แบบเจาะจง (Purposive Selection) ใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบฝึกทกั ษะ แลว้ จึงทา แบบทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบฉบับเดิมอีกครั้ง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน แบบประเมินความพึงใจของผู้เรียนต่อ การใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส แผนการจัดการ เรียนรู้การจัดการเรียนรู้บทเรยี นอิเล็กทรอนิกส์ฯ ดาเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ารอ้ ยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่า t- test และคา่ ความเชอ่ื ม่ัน (Reliability) เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั 1. บทเรียนอิเล็กทรอนกิ สแ์ บบมีปฏิสมั พนั ธ์ในสภาพแวดลอ้ มยบู ิควติ ัส 2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผ้เู รียนท่ีใช้ บทเรยี นอิเลก็ ทรอนิกส์ แบบมีปฏิสมั พนั ธ์ในสภาพแวดลอ้ มยบู ิควติ ัส 3. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่ใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏิสัมพนั ธ์ในสภาพแวดลอ้ มยบู ิควติ ัส 4. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้สอนต่อการนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏิสมั พนั ธใ์ นสภาพแวดลอ้ มยูบิควิตสั 5. คู่มือสาหรับผู้เรียน คู่มือสาหรับผู้สอนและแผนการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์แบบมปี ฏสิ มั พันธใ์ นสภาพแวดล้อมยูบคิ วติ สั การกาหนดแผนการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ท่ีใช้แบบแผน One Group Pretest Posttest Design ซง่ึ มแี บบแผนการวิจยั ดังนี้ ตารางท่ี 1 แสดงแบบแผนการวิจัย ทดลอง สอบหลงั X T2 สอบก่อน E T1 24

สญั ลกั ษณท์ ีใ่ ช้ในแบบแผนการวิจยั E แทน กลุม่ ตวั อย่างทท่ี าการวจิ ัย X แทน การจัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้บทเรยี นอิเล็กทรอนกิ ส์แบบมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ ในสภาพแวดล้อมยบู คิ วติ ัส T1 แทน การทดสอบก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ แบบมีปฏสิ มั พนั ธ์ในสภาพแวดลอ้ มยบู ิควิตสั T2 แทน การทดสอบหลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรยี นอิเลก็ ทรอนกิ สแ์ บบ มปี ฏสิ มั พันธ์ในสภาพแวดล้อมยบู ิควติ สั การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผูว้ ิจัยไดด้ าเนนิ การจัดกจิ กรรมรู้เรียนโดยใช้การถา่ ยทอดให้ผู้สอนจานวน 5 คนนา บทเรยี นอิเลก็ ทรอนิกส์ฯ ทีพ่ ัฒนาขึ้นไปใช้ โดยใช้ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ซึ่งได้ ดาเนินตามข้ันตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ชี้แจงทาความเข้าใจกับผู้สอนก่อนเริ่มการใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส เก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ บทบาทของผู้เรียนเป้าหมายของการเรียน จุดประสงค์ของการเรียนและวิธีการวัดผลและ ประเมินผล 2. ให้ผู้สอนดาเนินการจัดทาเนื้อหาสาระการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละ สาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 และมอบหมายให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ในบทเรียนท่ีผู้สอนกาหนดขึ้นก่อนจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ ซง่ึ เป็นแบบทดสอบปรนยั ชนดิ 4 ตัวเลอื ก จานวน 30 ข้อ 3. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ รวมท้ังภาระ งานทีม่ อบหมายให้ผูเ้ รียนทาตามท่ีผู้สอนออกแบบดว้ ยตนเอง โดยใช้บทเรยี นอิเล็กทรอนกิ ส์ แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส ตามวันเวลาที่ได้ขออนุญาตกับทางโรงเรียนไว้ ใชเ้ วลาในการจัดกิจกรรม 15 ช่วั โมง 4. หลังจากเสร็จสิ้นการจัดการเรียนรู้แล้ว ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 30 ข้อ ซึ่งเปน็ แบบทดสอบฉบบั เดียวกันกบั แบบทดสอบก่อนเรียน 5. สอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏสิ มั พนั ธใ์ นสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส 25

6. สอบถามความพึงพอใจของผู้สอนที่มีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏสิ ัมพนั ธใ์ นสภาพแวดล้อมยบู คิ วติ สั 7. ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลผลการทดสอบการเรียนหลังเรียน ผล คะแนนของภาระงานระหว่างเรียน ผลการประเมินความพึงพอใจทั้งผู้เรียนและผู้สอน เพื่อ นามาใชอ้ ภปิ รายผลการวิจยั การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์หาประสิทธิผลของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โดยวิธีทางสถิติโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า E1/E2 และคะแนนการวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นมาเปรียบเทยี บ โดยการทดสอบคา่ ที (t-test) 2. วิเคราะห์หาระดับความพึงพอใจของผู้เรียนต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏิสัมพันธใ์ นสภาพแวดล้อมยูบิควิตสั โดยใช้สถิติพื้นฐาน ที่การหาคา่ เฉลีย่ ( ) และค่าส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) และแปลค่าเฉลี่ยเป็นระดับความพึงพอใจ เปรียบเทียบเกณฑ์การ แปลความหมายที่ตั้งไว้แล้วสรุปว่า ความพึงพอใจอยู่ในระดับใด การแปลผลของ แบบสอบถามเป็นแบบสารวจรายข้อ โดยถือเกณฑใ์ นการแปลความหมายของคะแนนเฉล่ีย ดงั น้ี การแปลผลคา่ คะแนนระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจระดับมากทสี่ ุด คา่ เฉล่ยี 3.50 – 4.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจระดับมาก ค่าเฉล่ยี 2.50 – 3.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจระดับปานกลาง คา่ เฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจระดับน้อย คา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด 3. วิเคราะห์หาระดับความพึงพอใจของผู้สอนต่อการนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัสไปใช้ โดยใช้สถิติพ้ืนฐาน ท่ีการหาค่าเฉล่ีย ( ) และคา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และแปลคา่ เฉลย่ี เปน็ ระดบั ความพงึ พอใจ เปรียบเทยี บ เกณฑ์การแปลความหมายท่ีตั้งไวแ้ ล้วสรุปว่า ความพึงพอใจอยู่ในระดับใด การแปลผลของ แบบสอบถามเป็นแบบสารวจรายข้อ โดยถือเกณฑใ์ นการแปลความหมายของคะแนนเฉล่ีย ดังน้ี 26

การแปลผลคา่ คะแนนระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลีย่ 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจระดบั มากทส่ี ดุ ค่าเฉลยี่ 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจระดบั มาก คา่ เฉล่ยี 2.50 – 3.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจระดบั ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจระดับนอ้ ย ค่าเฉลีย่ 1.00 – 1.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจระดบั น้อยทส่ี ุด จากขั้นตอนการศึกษาประสิทธิผลบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยบู คิ วิตสั 4. ขนั้ สรปุ และรายงาน (Action) สรุปผลการดาเนินการวิจัยการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ ในสภาพแวดล้อมยูบคิ วติ ัส โรงเรยี นสตรปี ากพนงั และรายงานผลการใช้นวัตกรรมดงั กลา่ ว 3.3 ประสทิ ธิภาพของการดาเนินงาน จากการดาเนินงานวิจัย การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดลอ้ มยูบิควิตัส โรงเรียนสตรปี ากพนัง มีประเด็นในเรื่องของประสิทธิภาพของการ ดาเนินงานทีค่ วรนามาอภปิ รายคือ 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดลอ้ มยบู ิควิตสั สรุปความวา่ การจดั การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 สอ่ื สารเรยี นรตู้ ้องมี ความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของผเู้ รียนโดยตอ้ งตอบสนองการพัฒนาตนเองตามที่ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานกาหนดไว้ และสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะใน ศตวรรษที่ 21 ซึ่งบทเรยี นอิเล็กทรอนิกสแ์ บบมีปฏิสัมพนั ธ์ในสภาพแวดลอ้ มยบู ิควติ สั เป็นสื่อ การเรียนรู้ท่ีมีความเหมาะสม และสอดคล้องกับผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เนื่องจากเป็นการ ส่ ง เ ส ริ ม ให้ ผู้ เรี ย น เกิ ด ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ ได้ ด้ ว ย ต น เ อ ง ต า ม แ น ว คิ ด ค อ น ส ต รั ค ติ วิ ส ม์ (Constructivism) ผา่ นการเรียนรูบ้ นระบบของ Google Application ซึ่งมีความครอบคลมุ เคร่ืองมือในการจดั การเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย ซึ่งเป็นองค์ประกอบของบทเรยี นอเิ ล็กทรอนิกส์ แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส ได้แก่ 1) ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้บน เครือข่าย (LMS : Learning Management System) ผ่าน Google Site เป็นเครื่องมือใน การเผยแพรบ่ ทเรยี นอเิ ลก็ ทรอนิกส์ฯ Google Form เปน็ เครือ่ งมอื ในการลงทะเบยี นสาหรับ 27

ผู้เรยี น และ Google Sheet เป็นเคร่ืองมือในการบันทึกฐานข้อมูลของผู้เรียน 2) ระบบการ ติดต่อส่ือสาร (Communication) โดยใช้ Google Mail ในการส่งงานของผู้เรียนและ ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หรือผู้เรียนกับผู้เรียน และ Web Board ในการ ติดต่อส่ือสารระหวา่ งกนั แบบ Non-Real Time 3) ระบบเนอ้ื หาบทเรียน (Content) โดยใช้ Google Doc เพ่ือนาเสนอเน้ือหาบทเรียนแบบยาว Google Slide เพื่อนาเสนอเน้ือหา บทเรียนแบบย่อ และ YouTube เพ่ือนาเสนอภาพ เสียง และส่ือประสมให้กับผู้เรียน 4) ระบบการวัดและประเมินผล (Evaluation) โดยใช้ Google Form ในการทาแบบทดสอบ กอ่ นเรียน หลงั เรียน รวมท้ังแบบประเมินความพึงพอใจสาหรบั ผ้เู รียน และ Google Sheet ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ต่างๆ เช่น คา่ คะแนนของผู้เรียน เปน็ ต้น ภาพที่ 1 BOND Model 2. ผลการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิ ควิตสั สรุปความไดว้ ่า 2.1 ผลการออกแบบรูปแบบการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนกิ สฯ์ ผู้วจิ ยั ได้สรา้ ง รูปแบบ (Model) บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ โดยแบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้บนเครอื ข่าย (LMS : Learning Management System) 2) ระบบการตดิ ต่อส่อื สาร (Communication) 3) ระบบเน้ือหาบทเรยี น (Content) 4) ระบบ 28

การวัดและประเมินผล (Evaluation) โดยแต่ละองค์ประกอบทางานสัมพันธ์เก่ียวเนื่องกัน เปน็ ระบบ โดยมีคา่ คะแนน IOC จากการประเมนิ รปู แบบ เท่ากบั 0.91 สามารถนารูปแบบไป พัฒนาบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกสฯ์ ได้ ภาพที่ 2 ผงั ลาดบั งานตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ U-Learning 2.2 ผลการพัฒ นาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ผู้วิจัยได้พัฒ นาบทเรียน อเิ ล็กทรอนิกส์ฯ และกาหนดขน้ั ตอนในการจดั การเรียนรู้ดังนี้ เริม่ ต้นด้วยผู้เรียนใช้ Google Account ในการลงทะเบียนเรียนผ่านระบบบริหารจัดการการเรยี นรู้ และเข้าสู่บทเรียนใช้ กรณีศึกษาเป็นรายวิชาประวัติศาสตร์สากล 1 ส32101 เริ่มต้นศึกษาวัตถุประสงค์ของการ 29

เรียนรู้ ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเร่อื งที่ 1 สงครามโลกครง้ั ที่ 1 ระบบจะแสดงค่าคะแนนการ ทดสอบก่อนเรียน และผู้เรียนเข้าศึกษาบทเรียนที่ 1 เร่ืองสงครามโลกครั้งท่ี 1 ผู้เรียนทา ภาระงานสง่ ในระบบ ทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเรื่องที่ 1 สงครามโลกคร้งั ที่ 1 ถา้ ผู้เรียนมกี าร ทดสอบหลังเรยี นสงู กว่าร้อยละ 80 สามารถเข้าศึกษาบทเรยี นท่ี 2 เรื่องสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ได้ โดยเร่ิมต้นที่ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเร่ืองท่ี 2 สงครามโลกครั้งที่ 2 ก่อนเข้าศึกษา บทเรียนที่ 2 แต่ถ้าต่ากว่าร้อยละ 80 ให้ผู้เรียนทาการศึกษาบทเรียนที่ 1 เรื่องสงครามโลก ครั้งที่ 1 ใหมอ่ ีกคร้ัง เมื่อผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนที่ 2 และศกึ ษาบทเรียนท่ี 2 เร่ือง สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 เสร็จส้ินแล้วให้ผู้เรยี นทาภาระงานสง่ ในระบบ และทาแบบทดสอบหลัง เรียนท่ี 2 เร่ืองสงครามโลกคร้ังท่ี 2 โดยถ้าค่าคะแนนผ่านร้อยละ 80 ก็สามารถไปทา แบบทดสอบก่อนเรียนที่ 3 เร่ืองการแก้ปัญหาความขัดแย้งได้ หลังจากทาแบบทดสอบก่อน เรียนท่ี 3 แล้ว ให้ผู้เรียนเข้าศึกษาเร่ืองการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ทาภาระงานส่ง และทา แบบทดสอบหลงั เรยี นที่ 3 เรื่องการแก้ปญั หาความขัดแยง้ และเมอ่ื ผูเ้ รยี นมคี า่ คะแนนสูงกวา่ รอ้ ยละ 80 ให้ผู้เรยี นทาแบบประเมินความพึงพอใจต่อบทเรยี นอิเล็กทรอนิกส์ฯ ซึ่งผ่านการ ประเมินโดยผเู้ ชยี่ วชายและมคี ่าคะแนน IOC เท่ากับ 0.90 สามารถนาบทเรยี นอิเล็กทรอนกิ ส์ ไปทดลองกบั ผ้เู รียนเพอื่ หาประสิทธิภาพของบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกสต์ ่อไป 2.3 ผลหาค่าประสิทธิภาพของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัสสาหรับผู้เรียน ในกลุ่มทดลอง พบว่า มีค่าการพัฒนาของคะแนนที่ เพิ่มขึ้นเฉล่ีย 7.93 คะแนน และเมื่อประเมินค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีกาหนด 80/80 พบวา่ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 83.08/85.56 เป็นไปตามเกณฑ์ท่ี กาหนด และเมือ่ เปรียบเทยี บระหวา่ งคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรียน (t-test) พบว่า คะแนน สอบหลังเรียนของผู้เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่า บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ดังกล่าว มีความเหมาะสม สามารถพัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะห์ ของผู้เรยี นตามที่หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานกาหนดไวไ้ ด้ 3. ผลการประเมินประสิทธิผลของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดล้อมยบู คิ วิตสั เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับผู้เรยี น สรุปความไดว้ ่า 3.1 ผลการทดสอบก่อนเรยี นหลังเรยี นในกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ผลคะแนนเฉล่ีย หลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรยี น โดยมคี ่าการพฒั นาของคะแนนที่เพม่ิ ขึ้นเฉล่ีย 30

3.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรยี นอิเลก็ ทรอนิกสฯ์ มี ระดับความพึงพอใจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และมีความพึงพอใจ เป็นรายข้ออยู่ในระดับ มากทสี่ ุด 1 ขอ้ คอื ข้อ 2 ฉนั ชอบเนอ้ื หาในบทเรียน U-Learning ที่เรียนแล้วเขา้ ใจง่าย และ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากอีก 19 ข้อ สรุปได้ว่า ผู้เรียนท่ีเรียนโดยใช้บทเรียน อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯ มีระดบั ความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดบั มาก 3.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้สอนท่ีมีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ พบว่า มีระดบั ความพึงพอใจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และมคี วามพงึ พอใจ เปน็ รายข้ออยใู่ น ระดับมากที่สุด 4 ข้อ คือ ข้อท่ี 2 บทเรียน U-Learning มีความสมบูรณ์ของการเช่ือมโยง ภาพและตัวอักษร ข้อท่ี 8 การใช้สีของตัวอักษร ข้อที่ 14 การเช่อื มโยงมีความสะดวก ข้อท่ี 16 บทเรียน U-Learning มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เช่น กระดานข่าว การ โต้ตอบแบบ Real Time และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากอีก 15 ข้อ สรุปไดว้ ่า ผู้สอนท่ี นาบทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ฯ ไปใช้ มีระดบั ความพงึ พอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3.4 การใช้ทรัพยากร การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โรงเรยี นสตรปี ากพนัง ใช้ทรพั ยากรแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ทรัพยากรในการสร้างบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ฯ และ ทรัพยากรในการวิจัย ซึ่งเป็นทรัพยากรท่ีได้รับการสนับสนุนจาก โรงเรยี นสตรปี ากพนงั ทั้งส้นิ 4. ผลการดาเนินงาน/ผลสัมฤทธ/ิ์ ประโยชนท์ ่ไี ด้รับ 4.1 ผลทเ่ี กดิ ตามจุดประสงค์ 4.1.1 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โรงเรยี นสตรีปากพนัง ที่ผวู้ ิจัยได้สร้างและพัฒนาขึน้ มีประสทิ ธิภาพ 83.08/85.56 ซ่ึงสูงกว่า เกณฑ์ 80/80 ท่ตี ง้ั ไว้ 4.1.2 ค่าการพั ฒ น าของบ ท เรียน อิ เล็กท รอ นิ กส์แบ บ มีป ฏิ สัมพั น ธ์ใน สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โรงเรียนสตรีปากพนัง มีค่าการพัฒนาของคะแนนท่ีเพิ่มข้ึนเฉล่ีย 7.93 คะแนนน้ันคอื ผเู้ รียนมีความรู้เพมิ่ ขนึ้ หลงั การศกึ ษาด้วยบทเรยี นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯ 31

4.1.3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างเรียนของผู้เรียนที่ใช้บทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัส โรงเรียนสตรีปากพนัง เปรียบเทียบระหว่าง คะแนนกอ่ นเรียนและหลงั เรียน (t-test) พบวา่ คะแนนสอบหลงั เรยี นของผูเ้ รยี นสูงกว่าก่อน เรยี นอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .05 4.1.4 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ มี ระดับความพึงพอใจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และมีความพึงพอใจ เป็นรายข้ออยู่ในระดับ มากทสี่ ดุ 1 ข้อ คอื ข้อ 2 ฉันชอบเนือ้ หาในบทเรยี น U-Learning ที่เรยี นแลว้ เขา้ ใจง่าย และ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากอีก 19 ข้อ สรุปได้ว่า ผู้เรียนที่เรียนโดยใช้บทเรียน อเิ ลก็ ทรอนิกส์ฯ มรี ะดับความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดบั มาก 4.1.5 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้สอนที่มีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ พบว่า มีระดบั ความพึงพอใจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และมคี วามพงึ พอใจ เปน็ รายข้ออยใู่ น ระดับมากท่ีสุด 4 ข้อ คือ ข้อท่ี 2 บทเรียน U-Learning มีความสมบูรณ์ของการเช่ือมโยง ภาพและตวั อักษร ข้อที่ 8 การใช้สีของตัวอักษร ข้อที่ 14 การเชอื่ มโยงมีความสะดวก ข้อที่ 16 บทเรียน U-Learning มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เช่น กระดานข่าว การ โต้ตอบแบบ Real Time และมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มากอกี 15 ข้อ สรุปได้ว่า ผสู้ อนท่ี นาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ไปใช้ มรี ะดับความพึงพอใจโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก 4.2 ผลสัมฤทธ์ิของงาน 4.2.1 ผู้วิจัยสามารถพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดลอ้ มยูบิควติ สั โรงเรียนสตรีปากพนงั และนาไปใชเ้ พอื่ ให้เกิดประโยชนแ์ กผ่ เู้ รยี นได้ อย่างเต็มศักยภาพ ลดปัญหาเร่ืองการเบ่ือหน่ายชั้นเรียน และรายวิชาเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4.3 ประโยชน์ท่ไี ด้รบั 4.3.1 ได้พัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ในสภาพแวดล้อมยูบิ ควิตัส โรงเรียนสตรปี ากพนังเพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรอื ร้น เอาใจใส่ ลดความเบื่อหน่าย ชั้นเรยี นและรายวชิ าเรียน รวมทัง้ มีผลสมั ฤทธิ์ในทางการเรียนเพ่ิมข้นึ 32

5. ปัจจยั ความสาเร็จ 5.1 ปัจจัยภายใน ความร่วมมือของผู้เรียน คณะครูและผู้บริหารโรงเรียนสตรีปาก พนัง ที่ให้ได้ให้ความร่วมมือในการวิจัย ส่งเสริม และพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมี ปฏิสัมพนั ธใ์ นสภาพแวดลอ้ มยูบคิ วติ สั โรงเรยี นสตรีปากพนัง มาโดยตลอด 5.2 ปัจจัยภายนอก การศึกษาสืบค้นและค้นคว้าจากเอกสารประกอบการเรียน งานวิจัยทเี่ กีย่ วข้อง การให้คาปรกึ ษาจากผู้มีประสบการณใ์ นการวจิ ัยและการสนบั สนนุ จากผู้ ทมี่ ีสว่ นเกี่ยวข้องทกุ ส่วน 6. บทเรียนทไี่ ดร้ บั ปรับคุณภาพมุ่งพฒั นาต่อไป 6.1 บทเรียนท่ีไดร้ บั 6.1.1 การจัดทาเอกสารประกอบการเรยี นฯ 6.1.1.1 ควรมีการจัดลาดับเนื้อหาให้สอดคล้องต่อเน่ืองกันมากขึ้น และ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ตลอดจนกจิ กรรมฝึกทกั ษะจากงา่ ยไปยาก เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถ เรยี นรูจ้ ากการศึกษาและคิดสรปุ ความได้ดว้ ยตนเอง 6.1.1.2 การนาเสนอเนื้อหาในแตล่ ะช่วงควรกะทัดรัด และใช้เวลาไม่ นานในการศกึ ษาจนเกนิ ไป 6.1.1.3 ภาพทน่ี ามาใชป้ ระกอบในบทเรยี นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ฯ ควรเลือก ใหเ้ หมะสมกบั วัยวฒุ ขิ องผู้เรยี น เพ่ือป้องกันการเบื่อหน่ายของผเู้ รียนทไ่ี ด้รบั สง่ิ เรา้ จากภาพท่ี ไมส่ อดคลอ้ งกบั วยั ของผเู้ รยี น 6.1.2 ปรบั คณุ ภาพมงุ่ พัฒนาตอ่ ไป 6.1.2.1 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลการวจิ ัยไปใช้มีดงั นี้ 1) นารูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน สภาพแวดลอ้ มยบู ิควติ สั เพอ่ื พฒั นาทักษะการคดิ วเิ คราะหส์ าหรับผ้เู รยี นไปใช้กบั รายวิชาอ่นื ๆ ตอ่ ไป 2) ผูส้ อนอาจจะปรับปรุงเพม่ิ เติม Application ใหม่ทีม่ กี าร พฒั นาตามยุคสมยั ได้ 6.1.2.2 ข้อเสนอแนะสาหรบั การวจิ ัยครงั้ ตอ่ ไป มดี งั นี้ 33

1) การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน ลักษณะของแอปพลิเคช่ันในสมาร์ตโฟน ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้โดยดาวน์โหลด แอปพลเิ คชั่นมา และจัดการเรยี นรู้บนสมารต์ โฟน หรือแท็บเเลต็ ไดท้ ุกท่ที กุ เวลา 2) การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน ลักษณะเอกสารประกอบการเรียนท่ีใช้เทคโนโลยี AR เข้ามาดาเนินการในการสร้าง ความสมั พันธ์ระหวา่ งผู้เรียนกบั ผสู้ อน 3) การพัฒนาทบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์ใน ลักษณะ AR Camera ผา่ นการสรา้ ง Mark Point ตามวสั ดุ หรอื พน้ื ที่ หรือภาพต่างๆ และให้ ผูเ้ รียนเขา้ ถึงบทเรียนผ่านการใชง้ านรว่ มกับสมารต์ โฟนและเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ 6.1.3 ข้อควรพึงระวัง 6.1.3.1 การอ้างอิงท่ีมาของภาพและข้อมูลต่างๆ ควรปฏิบัติอย่าง เคร่งครดั และรัดกมุ เพอ่ื ป้องกันขอ้ บกพร่องในเรื่องการละเมิดลขิ สทิ ธ์ทิ างปัญญา 7. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรบั /รางวัลทีไ่ ดร้ ับ 7.1 การเผยแพร่ ผวู้ ิจยั ไดร้ ับเกียรติให้ไปเป็นวิทยากร บรรยายเร่อื ง การจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่าย บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ Google Application เป็นฐานในการพัฒนา ในช่วงปี การศึกษา 2561- 2562 ณ โรงเรยี นวิทยาศาสตร์จฬุ าภรณร์ าชวทิ ยาลัย และ นารูปแบบการ จดั การเรียนรู้โดนใช้สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ไปจัดการเรียนรูเ้ พอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ณ โรงเรยี นกลั ยาณศี รีธรรมราช ตามหลกั ฐานแนบ 34

ภาพท่ี 3 หนงั สือเชญิ วิทยากรจาก โรงเรยี นวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณร์ าชวทิ ยาลยั 35

ภาพที่ 4 การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ Google Application ภาพท่ี 5 การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร Google Application 36

ภาพท่ี 6 หนงั สือเชญิ วทิ ยากรจากโรงเรยี นกลั ยาณศี รีธรรมราช 37

7.2 รางวลั ทไ่ี ด้รับ ภาพท่ี 7 รางวลั ระดับเหรยี ญทอง รองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 2 กจิ กรรม นวัตกรรมทางการศกึ ษา ศตวรรษที่ 21 ครูผ้สู อน ม.ปลาย สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ระดับช้นั ม.4-ม.6 งานมหกรรมวชิ าการ “อภิวฒั น์การเรียนรู้ สศู่ ตวรรษท่ี 21” 38

ภาพที่ 8 รางวัลเหรียญทองชนะเลศิ ประเภทครผู สู้ อนดเี ดน่ กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย สถานศกึ ษาขนาดเล็ก งานมหกรรม วิชาการมัธยมศกึ ษา ครัง้ ที่ 26 ประจาปีการศกึ ษา 2559 39

ภาพที่ 9 รางวัลเหรียญทองชนะเลศิ ประเภทครผู สู้ อนดเี ดน่ กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย สถานศกึ ษาขนาดเล็ก งานมหกรรม วิชาการมัธยมศกึ ษา ครัง้ ที่ 27 ประจาปีการศกึ ษา 2560 40

ภาพที่ 10 รางวัลเหรียญทองชนะเลศิ ประเภทครูผสู้ อนดเี ดน่ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สถานศึกษาขนาดเลก็ งาน มหกรรมวชิ าการมธั ยมศกึ ษา คร้ังที่ 28 ประจาปกี ารศึกษา 2561 ลงชื่อ นายจริ พล ลิวา ผู้เสนอ ( ครูอันดับ คศ.๑ ) สตรีปากพนงั ตาแหน่ง โรงเรียน ลงชอ่ื ผรู้ ับรอง (นางจริ าพร รตั นกุล) ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรยี น สตรปี ากพนัง 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook