Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้งานกูเกิลด็อก กูเกิลชีท และกูเกิลสไลด์

การใช้งานกูเกิลด็อก กูเกิลชีท และกูเกิลสไลด์

Published by Narin. Memeee, 2021-06-10 08:51:56

Description: 1.เพื่อสนับสนุนและจัดสร้างสิ่งแวดล้อมบรรยากาศทางการเรียน แพล็ตฟอร์มสนับสนุนในการสร้างและจำลองสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

1-2 หน่วยที่ 4 การใช้งานกเู กิลดอ็ ก กูเกลิ ชที และกูเกลิ สไลด์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั ที ป่ินทอง

1-3 ชือ่ ณฐั ที ป่ินทอง วุฒิ ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑติ ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หนว่ ยที่เขียน หนว่ ยที่ 4 หน่วยที่ 4 การใชง้ านกูเกิลดอ็ ก กเู กิลชที และกเู กลิ สไลด์ เค้าโครงเน้ือหา ตอนท่ี 1. กูเกลิ ดอ็ ก เรือ่ งที่ 1.1 การใชง้ านกเู กิลด็อก เรอ่ื งที่ 1.2 การพิมพ์บันทึกขอ้ ความพรอ้ มสมาชกิ กลุ่มในรปู แบบออนไลน์ เรอ่ื งที่ 1.3 การพมิ พด์ ว้ ยเสียง เรื่องที่ 1.4 การจัดทำตารางสอนพร้อมปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะในรูปแบบออนไลน์ ตอนท่ี 2. กูเกิลชที เร่อื งที่ 2.1 การใชง้ านกเู กิลชีท เรอ่ื งท่ี 2.2 การสร้างตารางและคำนวณคะแนนผเู้ รียนดว้ ยฟงั กช์ นั สูตรทางคณิตศาสตร์ เรอ่ื งท่ี 2.3 การสรา้ งกราฟสำหรบั แสดงข้อมลู ผูเ้ รียน ตอนที่ 3. กเู กิลสไลด์ เร่อื งที่ 3.1 การใชง้ านกูเกิลสไลด์ เรื่องที่ 3.2 การนำเสนอกราฟทส่ี ร้างจากกูเกลิ ชีทในรปู แบบอนเิ มช่ัน

1-4 กจิ กรรมการฝึกอบรม การฝกึ อบรมใช้กิจกรรมการฝึกอบรมทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ดงั น้ี 1. การบรรยาย (Lecture) 2. กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ (Group Process) 3. การระดมความคดิ (Brain Storming) 4. การฝกึ ปฏบิ ตั โิ ดยการแนะนำ (Guided Practice) ส่ือการเรียนรูป้ ระกอบการฝึกอบรม 1. คมู่ ือการฝกึ อบรม 2. เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ และโปรแกรมการอบรมออนไลน์ 3. ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื ใบงานในรปู แบบออนไลน์ 4. แบบทดสอบหลังเรยี น การประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลจากแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ประเมินผลจากการตอบคำถามในระหวา่ งการอบรม 3. ประเมนิ ผลจากการปฏิบัติตามใบงาน

1-5 ตอนท่ี 1. กูเกลิ ดอ็ ก เรอ่ื งท่ี 1.1 การใช้งานกเู กิลดอ็ ก ใจทิพย์ ณ สงขลา (2561, หน้า 18) กล่าวว่า แพลตฟอร์ม (Platform) หมายถึง กระบวนการ และเทคโนโลยีที่ออกแบบเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพทางการเรียนการสอน แพลตฟอร์มเป็นหลักการใช้ เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน เพื่อสนับสนุนและจัดสร้างสิ่งแวดล้อมบรรยากาศทางการเรี ยน แพลตฟอรม์ สนับสนนุ ในการสรา้ งและจำลองสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอน แนวดจิ ทิ ลั ในระยะแรก คือ ระบบบริหารจดั การเรียนรู้ (Learning Management System : LMS) วิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลง แพลตฟอร์มครั้งสำคัญ ต่อมาคือมุ่งไปสู่การให้บริการที่ตอบสนองเป้าหมายในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดย สนับสนุนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีพื้นที่ส่วนตน สามารถเลือกที่จะติดตั้งแอปพลิเคชัน (Application) เพ่ือ ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้เฉพาะของตน แพลตฟอร์มแต่ละประเภทมีคุณสมบัติที่แตกต่างไป ตามเปา้ หมายการเรียนรู้ ดนัยศักด์ิ กาโร (2562, หนา้ 12) กลา่ วว่า กเู กลิ เอกสาร (Google Docs) เป็นเครือ่ งมอื ที่นำมาใช้ สำหรับจัดการงานด้านเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Word ที่ผู้ใช้งานสามารถใช้ผ่านเว็บบราวเซอร์ รวมถึงการใช้งานหรือทำงานร่วมกันกับบุคคลอื่นในเวลาเดียวกันได้ โดยสามารถเข้าใช้งานได้ท่ี https://docs/google.com กูเกิลด็อกเป็นการให้บริการของกูเกิล ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้โปรแกรมประมวลผลคำ ผู้ใช้งาน ควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานภายในองค์กร จากนั้นจึงนำความสามารถของโปรแกรม ประมวลผลคำมาใชง้ านร่วมด้วย เนื่องจากเป็นโปรแกรมที่ช่วยสร้างเอกสารให้มีความสะดวกและรวดเรว็ เช่น การพมิ พ์จดหมาย บันทึกขอ้ ความ ใบปะหนา้ โทรสาร หรือแบบฟอร์ม โดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม ประมวลผลคำที่ใช้งานกันอย่างแพร่หลายในด้านการศึกษา สามารถแบ่งได้ ดังนี้ การพิมพ์วาระการ ประชมุ การพิมพบ์ นั ทึกข้อความ การพมิ พ์ตาราง และการพมิ พ์เอกสารรายงาน รายวชิ าคน้ คว้าอิสระทาง คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา

1-6 กูเกิลด็อกเป็นแอปพลิเคชันโปรแกรมประมวลผลคำในรูปแบบออนไลน์ผ่านเว็บบราวเซอร์ มีหน้าท่ีช่วยสร้างเอกสารให้มีความสะดวกและรวดเร็ว เช่น การพิมพ์เอกสารราชการ บันทึกข้อความ ใบปะหน้า รายงานการประชุม หรือแบบฟอร์มทว่ั ไป โดยสามารถจัดเก็บในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่าน อินเทอร์เน็ตแทนการใช้กระดาษ ผู้ใช้งานที่มีไอดีของกูเกิลก็จะสามารถเพิ่ม หรือแก้ไขข้อมูลเอกสารท่ี พมิ พไ์ ดผ้ า่ นเวบ็ บราวเซอร์ โดยที่ไม่ตอ้ งพมิ พ์ใหมท่ ้ังหมด ปจั จุบันคณุ สมบตั ิพื้นฐานของกูเกลิ ด็อกนอกจาก จะช่วยในการพิมพ์ ชว่ ยในการแก้ไขขอ้ มูล การควบคุมการแสดงตัวอักษร การจดั รปู แบบหนา้ เอกสาร การ ทำจดหมายเวยี นแลว้ ยังจะช่วยให้ผ้ใู ช้งานพิมพ์ข้อความได้อย่างต่อเน่ืองในทุกสถานท่ีท่ีมีอินเทอร์เน็ตด้วย และสามารถบันทึกไฟลแ์ บบอัตโนมัติเกบ็ ไว้ในรปู ของแฟม้ ข้อมลู คอมพิวเตอร์ สำหรับเครื่องมือช่วยในการ แก้ไขข้อมูลของโปรแกรมประมวลผลคำ เช่น การพิมพ์เพิ่มเติมหรือการพิมพ์ข้อความใหม่ การแทรก ข้อความด้วยเสียงก็สามารถทำได้ โดยโปรแกรมจะทำการร่นคำที่มีอยู่เดิมนั้น ให้เลื่อนไปทางขวามือ เพื่อให้มีช่องว่างสำหรับคำใหม่ และยังมีเครื่องมือที่ช่วยในการค้นหาและแทนที่คำ เพื่อช่วยให้สามารถ แก้ไขคำได้เร็วขึ้น ด้วยการไม่ต้องพิมพ์คำที่ผิดเหมือนกันใหม่ทุกครั้ง โปรแกรมก็จะทำการค้นหาและ แทนที่ให้อย่างอัตโนมัติ มีการควบคุมการแสดงตัวอักษร และการจัดรูปแบบหน้าเอกสารน้ันจะมี ความสามารถในการจัดตัวอักษร และย่อหน้าไดอ้ ยา่ งสวยงาม ทั้งยังกำหนดขนาดและรูปแบบตัวอักษรได้ หลายรูปแบบ และยังมีชุดตวั อักษรให้เลือกหลายรูปแบบผ่านออนไลน์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเลือกใชไ้ ด้ตาม ความพอใจ และตามความเหมาะสมของเอกสาร สว่ นการจัดหน้าเอกสารน้ัน

1-7 ตอนท่ี 1. กูเกลิ ด็อก เรื่องที่ 1.2 การพิมพบ์ นั ทกึ ขอ้ ความพร้อมสมาชกิ กลุ่มในรปู แบบออนไลน์ นภาลัย สุวรรณธาดา (2560, หน้า 8) กล่าวว่า หนังสือราชการ หมายถึง เอกสารที่เป็นหลักฐาน ทางราชการ ซึง่ ได้แก่ เอกสาร 6 ประเภท ดังนี้ 1. หนังสือท่มี ีไปมาระหว่างส่วนราชการ 2. หนงั สอื ทีส่ ่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอน่ื ๆ ทไ่ี มใ่ ช่ส่วนราชการ หรือทีม่ ไี ปถึงบคุ คลภายนอก 3. หนังสอื ท่ีหนว่ ยงานอืน่ ใดซ่ึงไม่ใช่สว่ นราชการ หรอื ทีบ่ คุ คลภายนอกมมี าถงึ สว่ นราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจดั ทำขน้ึ เพื่อเปน็ หลกั ฐานในราชการ 5. เอกสารท่ที างราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรอื ขอ้ บังคบั 6. ข้อมูลขา่ วสารหรือหนังสือทีไ่ ด้รับจากระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 (2548, หนา้ 4) ไดใ้ หค้ วามหมาย ของหนังสือภายใน คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือติดต่อ ภายในระหว่างกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใช้กระดาษบันทึกข้อความ และให้จัดทำตาม แบบที่ 2 ทา้ ยระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ด ดังนี้ 1. ส่วนราชการ ใหล้ งชอื่ ส่วนราชการเจ้าของเร่อื ง หรือหน่วยงานท่อี อกหนงั สอื โดยมรี ายละเอียด พอสมควร โดยปกติถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมข้ึนไป ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเร่อื ง ทั้งระดับกรมและกอง ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับต่ำกว่ากรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการ เจ้าของเร่ืองเพียงระดบั กอง หรือสว่ นราชการเจา้ ของเรอื่ งพร้อมทัง้ หมายเลขโทรศัพท์ (ถา้ ม)ี 2. ที่ ให้ลงรหสั ตวั พยัญชนะและเลขประจำของเจ้าของเรื่อง ตามที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 1 ทับ เลขทะเบียนหนังสือส่ง สำหรับหนังสือของคณะกรรมการให้กำหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิ่มขึน้ ได้ตามความ จำเปน็ 3. วนั ท่ี ให้ลงตัวเลขของวันท่ี ชือ่ เตม็ ของเดือน และตัวเลขของปีพทุ ธศักราชท่ีออกหนังสือ 4. เรื่อง ให้ลงเรื่องย่อที่เป็นใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่เป็นหนังสือต่อเนื่อง โดยปกตใิ ห้ลงเร่ืองของหนังสอื ฉบับเดมิ

1-8 5. คำขึ้นต้น ให้ใช้คำขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือตามตารางการใช้คำขึ้นต้นสรรพนาม และ คำลงท้าย ที่กำหนดไวใ้ นภาคผนวก 2 แล้วลงตำแหนง่ ของผู้ที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณที ี่มีถงึ ตวั บุคคลไมเ่ ก่ียวกบั ตำแหน่งหนา้ ท่ี 6. ขอ้ ความ ใหล้ งสาระสำคญั ของเร่ืองให้ชัดเจนและเขา้ ใจง่าย หากมีความประสงค์หลายประการ ให้แยกเปน็ ขอ้ ๆ ใหก้ รณีทม่ี ีการอ้างถึงหนังสือทเี่ คยมีติดตอ่ กันหรอื มสี ิง่ ท่ีส่งมาด้วย ใหร้ ะบุไวใ้ นข้อนี้ 7. ลงชื่อและตำแหน่ง ใหป้ ฏิบัติตามขอ้ 11.10 และข้อ 11.11 โดยอนุโลม โดยการพิมพ์หนังสือภายในตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ในรูปแบบคอมพิวเตอร์นั้น ได้มีหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/ว 164 ลงวันที่ 13 กันยายน 2553 เรื่อง คำอธิบายการพิมพ์หนังสือราชการภาษาไทยดว้ ยโปรแกรมการพิมพ์ใน เครื่องคอมพิวเตอร์และตัวอย่างการพิมพ์ ความว่า ตามหนังสือที่อ้างถึงสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ แจ้งมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2553 ซึ่งเห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยดำเนินการ ติดตัง้ รปู แบบตัวพิมพ์ (ฟอนต)์ สารบรรณ และรูปแบบตัวพมิ พ์ (ฟอนต)์ อ่ืน ๆ ทัง้ หมดจำนวน 13 รูปแบบ ตัวพิมพ์ของสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟแวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) และกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา เพิ่มเข้าไปในระบบปฏิบัติการ Thai OS และใช้รูปแบบตัวพิมพ์ดังกล่าวแทนรูปแบบตัวพิมพ์เดิม เพื่อให้เอกสารของส่วนราชการเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน ไม่มีปัญหาละเมิดลิขสิทธิ์และไม่ขึ้นกับ ระบบปฏิบัตกิ ารใดระบบหนึง่ ตามทกี่ ระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารไดเ้ สนอ สำหรบั คำอธิบายการพมิ พห์ นังสือราชการภาษาไทยด้วยโปรแกรมการพิมพใ์ นเครื่องคอมพิวเตอร์ น้ันในส่วนของการพมิ พห์ นังสอื ภายใน ไดม้ กี ารกำหนดรายละเอยี ด ดังนี้ 1. สว่ นหัวของแบบบนั ทกึ ขอ้ ความกำหนดขนาดตวั อักษร ดงั นี้ 1.1 บันทึกข้อความ พิมพ์ด้วยตัวอักษรตัวหนา ขนาด 29 พอยท์ และปรับค่าระยะ บรรทัดจาก 1 เทา่ เปน็ ค่าแน่นอน (Exactly) 35 พอยท์ 1.2 คำวา่ ส่วนราชการ วนั ท่ี เรอ่ื ง พมิ พด์ ว้ ยอกั ษรตัวหนาขนาด 20 พอยท์ 2. การพิมพ์คำขึ้นต้น ให้มีระยะบรรทัดห่างจากเรื่องเท่ากับระยะบรรทัดปกติ และเพิ่มค่าก่อน หน้าอีก 6 พอยท์ (1 Enter + Before 6pt) 3. การพิมพ์ข้อความภาคเหตุ ภาคความประสงค์ ภาคสรุป และการย่อหน้า ให้ถือปฏิบัติ เชน่ เดียวกับการพมิ พห์ นงั สอื ภายนอก 4. การพิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของหนังสือ ให้เว้นระยะบรรทัดการพิมพ์ 3 บรรทัดจากภาคสรุป (4 Enter)

1-9 การสรา้ งเอกสารกูเกลิ ด็อกใหม่ 1.2.1 การสร้างเอกสารกูเกิลด็อกใหม่ เริ่มต้นให้นักศึกษาเข้าเว็บไซต์ docs.google.com โดย เข้าสรู่ ะบบผ่านอเี มลของกูเกิล จากน้ันเลอื กเทมเพลทเปน็ Blank เนื่องจากต้องการสร้างเป็นหนา้ กระดาษ ว่างเพ่อื รองรับการทำงานโดยพมิ พ์หนงั สอื ภายใน หรอื บนั ทึกขอ้ ความ

1-10 1.2.2 จากนั้นในหน้าเอกสารว่าง ให้นักศึกษาตรวจสอบการตั้งค่าหน้ากระดาษ โดยคลิกที่เมนู File > Page setup จะปรากฎภาพดังหวั ข้อ 1.2.3 1.2.3 กำหนดค่าหน้ากระดาษ โดยกำหนดตัวเลข ดังน้ี Top = 1.5 Bottom = 1.5 Left = 3 Right = 2

1-11 1.2.4 ทำการเพิ่มภาพครุฑลงไปบนบริเวณด้านบนซ้ายของหน้าเอกสาร เลือกที่เมนู Insert > Image > Upload form computer จากน้ันค้นหารูปภาพภายในเครื่องคอมพวิ เตอร์ หากมีภาพอยแู่ ลว้ 1.2.5 ในกรณีท่นี กั ศกึ ษาตอ้ งการนำภาพจากอินเทอรเ์ นต็ มาใช้ ให้เลือกท่ปี มุ่ By URL แทน

1-12 1.2.6 ให้นักศกึ ษากรอกขอ้ มูลตามลิงกร์ ปู ภาพดงั นี้ เพ่อื นำภาพเขา้ มายงั ไฟล์ http://edu.rru.ac.th/files/logo.jpg 1.2.7 ภาพครฑุ จะปรากฎ

1-13 1.2.8 นักศึกษาต้องปรับแก้ไขขนาดของภาพครุฑ ให้เป็นไปตามเกณฑ์ คือ ความสูง 1.5 ซ.ม. โดยการคลกิ ขวา เลือก Size & rotation แล้วกำหนดขนาด 1.2.9 กำหนดขนาดดงั น้ี Height = 1.5

1-14 1.2.10 ในหน้ากระดาษที่กำหนด ยังไม่มีการตั้งค่าระยะห่างระหว่างบรรทัด โดยตามเกณฑ์ต้อง อยทู่ รี่ ะยะเทา่ กับ 1 หรือ Single ใหน้ กั ศึกษาคลิกท่ีสญั ลกั ษณ์นี้ แลว้ เลือก Single ดงั ภาพ 1.2.11 กำหนดการจัดวางครุฑ ให้อยูท่ างด้านซา้ ยของหน้ากระดาษ โดยคลกิ ขวาทีภ่ าพแล้วเลือก Adjustments ไปทางดา้ นซา้ ย

1-15 1.2.12 จากนั้นใหก้ ำหนดให้ภาพครุฑอยู่ดา้ นบนของข้อความ โดยการเลอื ก Image options ใน ส่วนของ Text wrapping เปน็ In front of text 1.2.13 เมื่อได้ครุฑตามขนาดที่ต้องการแล้ว ให้นักศึกษาเพิ่มข้อความ “บันทึกข้อความ” โดย กำหนดให้อยู่ตรงกึ่งกลางของหนา้ กระดาษ

1-16 1.2.14 เพมิ่ แบบตวั อักษร (ฟอนต์) โดยเลอื ก More fonts 1.2.15 จากนน้ั พมิ พ์คำคน้ หาวา่ Sarabun

1-17 ตอนที่ 1. กเู กลิ ดอ็ ก เรอ่ื งที่ 1.3 การพิมพด์ ้วยเสยี ง 1.3.1 ในขน้ั ตอนการพิมพด์ ว้ ยเสยี ง ให้นกั ศกึ ษาเลอื กทเ่ี มนู Tools จากน้นั แล้วเลือกคำวา่ Voice typing เพื่อเริ่มตน้ พิมพ์ด้วยเสียง โดยที่นกั ศึกษาตอ้ งมีไมคโ์ ครโฟนท่ีพร้อมใชง้ านด้วย

1-18 1.3.2 จากนั้นให้นักศึกษาพิมพ์ข้อความด้วยเสียง ตามเนื้อหาที่ปรากฎในภาพ โดยให้ฝึกจัดวาง ตำแหน่งของข้อความ ตามรปู แบบที่กำหนด

1-19 ตอนที่ 1. กเู กลิ ดอ็ ก เรื่องที่ 1.4 การจัดทำตารางสอนพร้อมปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะใน รปู แบบออนไลน์ 1.4.1 การจัดทำตารางสอนพร้อมปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะในรปู แบบออนไลน์ ในส่วนนี้จะเป็น การทำตารางสอนโดยนำข้อมูลตัวอย่างจากรายวิชาเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา กลุ่มเรียน 6200312601 ปีการศกึ ษา 2/2563 โดยสามารถเขา้ ดภู าพขนาดใหญไ่ ดท้ ่ีลิงก์ http://ce.rru.ac.th/time-table/

1-20 1.4.2 เริ่มต้นโดยการสร้างเอกสารใหม่ คลิกทีเ่ มนู File > New > Document 1.4.3 จากนน้ั ทดลองกรอกขอ้ มลู จากเวบ็ ไซต์ http://ce.rru.ac.th/time-table/ 1.4.4 ซ่ึงจะมกี ารนำขอ้ ความเฉพาะสว่ นของรายวิชามาทดลอง ดังรปู

1-21 1.4.5 เรม่ิ ต้นเพม่ิ ตาราง โดยคลกิ ท่ีเมนู Insert > Table > เลอื กตารางขนาด 8 x 10 1.4.6 จะไดต้ ารางเพิ่มข้นึ มา ดังภาพทป่ี รากฎ

1-22 1.4.7 ให้นักศกึ ษากรอกขอ้ มลู โดยคำนงึ ถงึ ขอ้ ความหลงั จากท่ตี ้องทำการผสานเซลลแ์ ล้วด้วย

1-23 1.4.8 โดยตารางสอนควรทำเป็นลักษณะแนวนอน นักศึกษาจึงจำเป็นต้องปรับค่าหน้ากระดาษ ดว้ ย โดยคลิกทเี่ มนู File > Page setup 1.4.9 จากนัน้ กำหนดรปู แบบกระดาษเปน็ แนวนอน โดยเลอื ก Orientation เปน็ Landscape

1-24 1.4.10 ทำการผสานเซลลข์ องตาราง โดยเลือกตารางทต่ี ้องการเชื่อม จากนนั้ คลกิ ท่ปี มุ่ Merge cells 1.4.11 ใหน้ กั ศกึ ษาผสานเซลล์ใหค้ รบ ใหต้ ารางมีลักษณะดงั ภาพ

1-25 1.4.12 ใหน้ กั ศึกษากรอกข้อมลู ใหค้ รบ ให้ตารางมลี กั ษณะดงั ภาพ 1.4.13 ในกรณีท่ีตอ้ งการแชรง์ าน หรือตารางนีใ้ ห้ผู้อ่ืนสามารถเขา้ มาร่วมแก้ไขงานได้ด้วยให้คลิก ที่ปุ่ม Share แลว้ เลือก

1-26 1.4.14 ใหเ้ ลอื กบุคคลท่ีอยใู่ นกล่มุ ของนักศึกษา โดยการพิมพ์ชือ่ หรืออีเมลได้

1-27 1.4.15 หากนกั ศึกษาต้องการคอมเมนท์ข้อความใหส้ มาชิกในกลมุ่ ได้ทราบ ให้คลกิ ขวาที่ตำแหน่ง ที่ต้องการ แล้วเลือกคำสั่ง Comment จากนั้นก็จะมีกล่องข้อความปรากฎ ให้นักศึกษากรอกข้อความท่ี ตอ้ งการคอมเมนท์ 1.4.16 ข้อความจะไปปรากฎในตำแหนง่ นั้น

1-28 ตอนที่ 2. กูเกิลชที เรื่องท่ี 2.1 การใช้งานกูเกิลชที ดนัยศักดิ์ กาโร (2562, หน้า 14) กล่าวว่า กูเกิลชีต (Google Sheets) เป็นเครื่องมือที่นำมาใช้ สำหรบั จดั การงานดา้ นตารางคำนวณท่ีมลี ักษณะคลา้ ยกับ Microsoft Excel ทผ่ี ู้ใช้งานสามารถใช้ผ่านเว็บ บราวเซอร์ รวมถึงการใช้งานหรือทำงานร่วมกันกบั บคุ คลอืน่ ในเวลาเดียวกนั ได้ โดยสามารถเข้าใช้งานได้ท่ี https://sheets.google.com กูเกิลชีทเป็นโปรแกรมที่อำนวยความสะดวกในการทำงานเกี่ยวกับการพิมพ์งานตาราง หรือการ คำนวณข้อมูล การทำงานมีลักษณะคล้ายกับโปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซล ซึ่งจะมีแถบเครื่องมือหลาย ประเภทและมีคุณลักษณะใหม่ที่สามารถชว่ ยสรา้ งงานได้อย่างมีประสิทธิอย่างรวดเร็ว ลักษณะทั่วไปของ โปรแกรมตารางคำนวณ หรือโปรแกรมสเปรดชีต จะเป็นโปรแกรมที่อำนวยความสะดวกในการทำงาน เกี่ยวกับการคำนวณข้อมูล แสดง ข้อมูลในลักษณะเป็นคอลัมน์ หรือเป็นช่องตาราง ซึ่งสามารถบันทึก ขอ้ มลู โดยส่วนมากเป็นข้อมลู ตัวเลขลงในตารางส่ีเหลี่ยมท่แี บ่งออกเปน็ ช่องเล็กจำนวนมาก เรียกวา่ เซลล์ พร้อมทงั้ สามารถใส่สูตรลงในเซลล์บางเซลล์เพื่อใหโ้ ปรแกรมทำการคำนวณหาผลลัพธ์จากข้อมูลในตาราง ได้ง่าย ตั้งแต่คณิตศาสตร์ข้ันพืน้ ฐานไปจนถึงสูตรการคำนวณผลการเรียนของผู้เรยี นทีซ่ ับซ้อน นอกจากนี้ ยังสามารถนำข้อมูลมาหาคา่ มากสดุ ค่านอ้ ยสดุ คา่ เฉลีย่ พรอ้ มแสดงผลในรูปของกราฟได้อีกด้วย ซึ่งจะมี ความเหมาะสมในเรอ่ื งของการจัดกลมุ่ ขอ้ มลู วิเคราะหข์ อ้ มลู สร้างรายงาน และสรา้ งแผนภมู ิไดอ้ ีกดว้ ย

1-29 ตอนที่ 2. กเู กลิ ชีท เรื่องที่ 2.2 การสร้างตารางและคำนวณคะแนนผู้เรียนด้วยฟังก์ชันสูตร ทางคณติ ศาสตร์ การสร้างเอกสารกูเกิลชที ใหม่ 2.2.1 เร่มิ ต้นสรา้ งเอกสารกเู กลิ ชที โดยคลิก File > New ในลกั ษณะเดยี วกันกบั กเู กิลด็อก

1-30 2.2.2 เมอ่ื ไดห้ น้าเอกสารแลว้ ใหน้ ักศกึ ษาพมิ พข์ ้อความ ดังภาพทป่ี รากฎ 2.2.3 จากนั้นให้ปรับรูปแบบการแสดงผลของข้อความ โดยให้แสดงเป็นแนวตั้งหันขวา โดยการ คลกิ ที่เมนดู งั ภาพ 2.2.4 ให้นักศึกษาทำให้ครบทกุ เซลล์ ดังภาพ

1-31 2.2.5 ในกรณีทช่ี อ่ งมีความกว้างเกินไป ใหล้ ดขนาดของช่องได้ โดยคลิกเลือกช่องท่ีต้องการ แล้ว คลกิ ขวา เลอื ก Resize (โดย columns E-K จะเป็นชอ่ งที่ไดเ้ ลอื กไว)้ กำหนดใหม้ ขี นาดชอ่ ง 30

1-32 2.2.6 ให้นักศึกษากรอกข้อมูลตัวอย่าง เป็นรายชื่อผู้เรยี น ตามภาพที่กำหนดให้ โดยนำข้อมูลมา จากเอกสารภาคผนวก ซึ่งต้องกรอกข้อมูลตามช่องให้ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการใส่ผิดช่องเพราะจะทำให้ไม่ สามารถคำนวณสูตรฟังกช์ ันได้

1-33 2.2.7 ในช่องรวม (หมายถึงคะแนนรวมทั้งหมด) ให้นักศึกษาเลือกใช้คำสั่งฟังก์ชัน SUM โดยให้ เลือกช่องที่ต้องการใช้งาน จากนั้นคลิกทเ่ี คร่อื งหมาย E ดงั ภาพ แลว้ เลือก SUM 2.2.8 เมื่อปรากฏกล่องดังภาพ ให้เลือกช่วงของตัวเลขที่ต้องการนำมาคำนวณ โดยให้นักศึกษา กำหนดช่วงเปน็ E3:I3

1-34 2.2.9 จากน้นั ให้นกั ศึกษาเลอื กเครอ่ื งมอื ตาราง เพอื่ ใสเ่ ส้นขอบของตาราง

1-35 2.2.10 จากนั้นจะเป็นการเพิ่มค่าช่วงของคะแนนและเกรดของผู้เรียน โดยให้พิมพ์ข้อมูลคะแนน ในตารางชอ่ ง N และเกรดในตารางชอ่ ง O ดังภาพ 2.2.11 จากนั้นใหก้ รอกขอ้ มลู ดังภาพ

1-36 2.2.12 เมื่อข้อมูลตัวอักษรเกรด และคะแนน ครบแล้ว ให้นักศึกษาไปยังช่อง K3 แล้วพิมพ์ ฟังก์ชันนี้ ลงไป เพอ่ื ใหส้ ตู รมผี ลใชง้ าน หากพิมพถ์ ูกตอ้ งจะมีตวั อกั ษร A ปรากฎ ดังภาพ =IF(J3>=$N$3,\"A\",IF(J3>=$N$4,\"B+\",IF(J3>=$N$5,\"B\",IF(J3>=$N$6,\"C+\",IF(J3> =$N$7,\"C\",IF(J3>=$N$8,\"D+\",IF(J3>=$N$9,\"D\",IF(J3>=$N$10,\"F\",\"FE\"))))))))

1-37 2.2.13 ให้นักศึกษาคัดลอกสูตร โดยการเลือกเครื่องหมายสัญลักษณ + บริเวณมุมขวาของช่อง K3 แล้วลากยาวลงมาจนครบทกุ ช่องด้านล่าง

1-38 2.2.14 ถัดมา จะเป็นการใส่ค่าน้ำหนักของเกรด โดยให้นักศึกษาเลือกช่อง L3 จากนั้นกรอก ฟงั กช์ ัน =IF(K3=\"A\",4,IF(K3=\"B+\",3.5,IF(K3=\"B\",3,IF(K3=\"C+\",2.5,IF(K3=\"C\",2,IF(K3=\"D+ \",1.5,IF(K3=\"D\",1,0)))))))

1-39 2.2.15 ให้นักศึกษาคัดลอกสูตร โดยการเลือกเครื่องหมายสัญลักษณ + บริเวณมุมขวาของช่อง L3 แล้วลากยาวลงมาจนครบทกุ ช่องด้านล่าง

1-40 2.2.16 ให้นกั ศกึ ษาเพ่ิมช่อง Q และ R โดยพมิ พ์ขอ้ มูลตามภาพท่ปี รากฎ 2.2.17 จากนัน้ ใหใ้ สฟ่ งั ก์ชันเพือ่ นับจำนวน ในช่อง R3 ใสส่ ตู รนบั จำนวนเกรด =COUNTIF($K$3:$K$29,\"=A\") และใหใ้ ส่ช่องท่เี หลอื โดยเปลี่ยนเป็น B+ ด้วย

1-41 2.2.18 เม่อื ได้ขอ้ มูลครบถ้วนแลว้ ใหใ้ ส่ฟงั ก์ชัน ค่าน้ำหนกั ค่าสูงสดุ ค่าต่ำสดุ และค่าเฉล่ยี 2.2.19 ให้ไปยงั ชอ่ ง P13 แล้วพมิ พ์ฟงั กช์ ันใสส่ ูตรหาค่านำ้ หนกั รวมกลุ่มเรียน =SUM(L3:L29)/R11

1-42 2.2.20 หากขอ้ ความผดิ พลาดปรากฎ #DIV/0! ใหน้ กั ศกึ ษากรอกข้อมูลในช่องท่ีเหลือให้ครบด้วย แล้วในช่องสุดท้าย ให้หาผลรวมด้วยการใชฟ้ งั ก์ชนั SUM ด้วย โดยการพิมพใ์ นชอ่ ง R11 ดงั ภาพ 2.2.21 การหาค่ามากสุด ในช่อง P14 ใสส่ ตู รหาคา่ คะแนนมากสุด =MAX(J3:J29)

1-43 2.2.22 การหาค่าน้อยสดุ ในช่อง P15 ใส่สูตรหาค่าคะแนนนอ้ ยสุด =MIN(J3:J29) 2.2.23 การหาค่าเฉล่ยี ในชอ่ ง P16 ใส่สูตรหาค่าคะแนนเฉลี่ย =AVERAGE(J3:J29)

1-44 2.2.24 เม่ือได้ขอ้ มลู ครบถว้ น จะปรากฎดงั ภาพ

1-45 ตอนท่ี 2. กเู กลิ ชีท เรือ่ งที่ 2.3 การสรา้ งกราฟสำหรับแสดงข้อมลู ผู้เรยี น 2.3.1 เริ่มต้นสร้างกราฟสำหรับแสดงข้อมูลผูเ้ รียน โดยให้นักศึกษา เลือกช่วงของข้อมูล จากน้ัน คลิกทีเ่ มนู Insert > Chart

1-46 2.3.2 เมือ่ เลอื กกราฟตามความเหมาะสมไดแ้ ล้ว ขอ้ มลู กราฟท่เี ปน็ ลกั ษณะรูปภาพ กจ็ ะปรากฎ

1-47 ตอนที่ 3. กูเกลิ สไลด์ เรือ่ งท่ี 3.1 การใช้งานกเู กลิ สไลด์ ดนัยศักดิ์ กาโร (2562, หน้า 13) กล่าววา่ กูเกิลสไลด์ (Google Slides) เป็นเครือ่ งมือท่ีนำมาใช้ สำหรับจัดการงานด้านการนำเสนอที่มีลักษณะคล้ายกับ Microsoft PowerPoint ที่ผู้ใช้งานสามารถใช้ ผ่านเว็บบราวเซอร์ รวมถงึ การใชง้ านหรอื ทำงานร่วมกนั กับบุคคลอืน่ ในเวลาเดียวกนั ได้ โดยสามารถเข้าใช้ งานไดท้ ี่ https://slides.google.com กูเกิลสไลด์โปรแกรมการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบออนไลน์ผ่านเว็บบราวเซอร์ ช่วยให้ผู้ใช้งาน จัดเตรียมเอกสารที่จำเป็นต้องใช้ในการนำเสนอข้อมูล เช่น สไลด์นำเสนอผลงาน นำเสนอรายงาน นำเสนอผลการวิจัย หรือใช้ประกอบการเรียนการสอน หากจะต้องเตรียมเอกสารเหล่านี้ด้วยกระดาษ ทั้งหมดก็จะต้องเตรียมงานในปริมาณที่ค่อนข้างมากซ่ึงเป็นการสิ้นเปลืองเวลา และไม่เหมาะกับยุคสมัย ถึงแมใ้ นปจั จุบันจะมีการจัดทำดว้ ยไฟล์นำเสนอผลงาน เช่น ผา่ นโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พ้อย ก็ฌ ยังไม่สามารถใช้งานได้ในบางโอกาสหรือสถานที่ เช่น สถานที่จัดงานไม่มีโปรแกรมดังกล่าวติดตั้งอยู่ เนอื่ งจากลิขสิทธ์ิของโปรแกรม ดงั นนั้ การนำเสนอข้อมลู ในปจั จุบนั จึงนิยมใช้โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล ผ่านเว็บบราวเวอร์ออนไลน์แทน ซึ่งกูเกิลสไลด์ก็เป็นแอปพลิเคชันที่ช่วยในการนำเสนอข้อมูลที่มีการใช้ งานที่งาน มีเครื่องมือใช้งานปรับเปลี่ยนไม่มากนัก มีเพียงการเพิ่มเติมส่วนการช่วยเหลือแนะนำ เพื่อให้ ผู้ใช้สามารถใช้งานได้สะดวกรวดเร็วขึ้น เพิ่มความสามารถในการนำเสนอข้อมูลแบบสื่อประสม ที่มีทั้ง ข้อความ กราฟิก เสียง วีดิทัศน์ และกราฟ นอกจากนี้ ยังสามารถทำงานร่วมกับโปรแกรมอื่นได้ เช่น ความสามารถในการดึงขอ้ มลู จากกเู กิลด็อกและกเู กิลชที เขา้ มาใช้งานร่วมกนั ได้

1-48 การสรา้ งเอกสารกูเกลิ สไลด์ใหม่ 3.1.1 เริ่มต้นสร้างเอกสารกูเกิลสไลด์ โดยการคลิกที่ File > New > Presentation จากนั้นให้ นักศึกษาเลอื กหนา้ รูปแบบของเอกสารได้ตามความสนใจ โดยในส่วนนี้ จะเน้นยำ้ ในเรื่องของการนำข้อมูล กราฟที่ได้จากในขัน้ ตอนการใช้งานกเู กลิ ชีทมาใช้งาน ซง่ึ จะเปน็ การนำเสนอผลงานในรปู แบบกราฟ

1-49 3.1.2 ให้ทำการเพิ่มกราฟ โดยคลิกที่เมนู Insert > Chart > From Sheets 3.1.3 เมื่อพบหน้าต่างให้เพิ่มกราฟ ให้คลิกเลือกกราฟที่ได้สร้างไว้ แล้วคลิกเลือกกล่อง Link to spreadsheet และกด Enter

1-50 3.1.4 เมอ่ื กราฟท่ีเลือกไว้มาปรากฎในหน้าเอกสารแล้ว ใหน้ กั ศกึ ษาคลิกเพื่อทดลองปรับตำแหน่ง การจัดวาง หรอื คลกิ เพ่อื ทดลองนำเสนองานดูได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook