Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย

วิจัย

Published by ptr.tk601, 2021-09-21 17:35:51

Description: วิจัยชั้นเรียนภาคเรียนที่ 1

Search

Read the Text Version

1. ชอ่ื เรอ่ื งวจิ ยั ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี น บ้านหลุก อ.แมท่ ะ จ.ลำปาง ดว้ ยเทคนคิ วิธกี ารสอนแบบหอ้ งเรียนกลับด้าน 2. ผวู้ จิ ัย ชือ่ นายภทั ร นามสกุล ตนั๋ แก้ว รหัสนกั ศกึ ษา 60181550113 สาขาวชิ า คอมพวิ เตอร์ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ลำปาง 3. ระยะเวลาทที่ ำวจิ ัย ภาคเรียนท1ี่ ปกี ารศึกษา2564 4. ความเปน็ มาและเหตุผลของปญั หา การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประเด็นสำคัญของครูยุคใหม่ ต้องไม่เน้นที่ “การสอนแต่ทำ หน้าที่สร้างแรงบันดาลใจให้เกิดขึ้นในตัวของผู้เรียน เน้นการออกแบบกระบวนการเรียนรู้เป็นผู้ ชี้แนะ การเรียนรู้ (Coaching) ในด้านเนื้อหาสาระสำคัญที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21 จะยึด หลัก 3Rs ประกอบด้วย การอ่าน การเขียน และมีความรอบรู้ในด้านคณิตศาสตร์ (Reading , Writing and Arithmetic) และหลัก 4Cs ประกอบด้วย การคิดและวเิ คราะหแ์ ละการแก้ปัญหาการตดิ ต่อสื่อสาร ความคิดสร ้าง สร ร ค์ ( Creativity and Innovation , Critical Thinking and Problem Solving , Communication and Collaboration) ความคิดสรา้ งสรรค์เปน็ สง่ิ ที่สังคมตอ้ งการนำมาใช้สรา้ งสัมพันธ์ กันในระหว่างสิ่งต่างๆ และใช้ในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนของสภาพแวดล้อมของมนุษย์ ซึ่งในการจัด การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาประชากรใหม้ ีคณุ ภาพน้ัน ความคิดสร้างสรรค์นับเปน็ จุดหมายหลกั ของหลักสตู รการ เรียนการสอนทุกระดับ ซึ่งในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมตลอดจน ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสื่อสารและก่อให้เกิดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้นมาอย่าง มากมาย และ ตอ่ เน่ืองทำให้บุคคลทม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งกับการเรยี นการสอนตอ้ งมกี ารปรับเปล่ยี นพฤติกรรม ใหเ้ ขา้ กบั ยุคสมัยอยู่เสมอ ครูอาจารย์ไม่สามารถท่ีถ่ายทอดความรู้ให้ผู้เรียนไดท้ ง้ั หมด การเรียนการสอน ในศตวรรษที่ 21 นั้นได้คำนึงถึงสถานการณ์โลกที่มีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบ การศึกษาต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริงในประเทศสหรั ฐอเมริกาแนวคิด เรื่อง \"ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการ นอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนําขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษทั วอล์ดิสนยี ์ องค์กรวิชาชีพระดบั ประเทศ และสำนกั งานด้านการศกึ ษาของรัฐรวมตัว และ ก่อต้ังเป็น

เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21* Century Skills) หรอื เรียกยอ่ ๆ ว่าเครือข่าย P21 (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2558) จากการที่ได้ไปฝกึ สอนในโรงเรียนบ้านหลุก 1 ภาคเรียนทำให้ได้ทราบถึงปัญหาในชั้นเรียนที่ได้ พบเจอ มีหลายปัญหาคือ 1. ผู้เรียนส่งงานช้า 2. ผู้เรียนไม่สนใจการเรียนสนใจในสื่อบันเทิงมากกว่า 3. ปญั หาผูเ้ รียนไม่เข้าเรียน และ 4. ปญั หาการเปิดปดิ ภาคเรียนไม่เปน็ เวลาเน่ืองจากสถานการณ์โควิด 19 ในแตล่ ะชว่ งทำใหโ้ รงเรยี นตอ้ งปิดและผ้เู รียนเรียนได้ไม่อย่างเตม็ ที่ทำให้การเรยี นการสอนในโรงเรียนเกิด การเรียนที่ไม่ทันและทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจเนื้อหาและเรียนไม่ทันส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนตก ดังนั้นปัญหาที่สำคัญที่สำคัญที่สุดคือ ปัญหาการเปิดปิดภาคเรียนไม่เป็นเวลาเนื่องจาก สถานการณ์โควิด 19 ในแต่ละช่วงทำใหโ้ รงเรียนต้องปิดและผู้เรียนเรียนได้ไม่อยา่ งเต็มที่ทำให้การเรียน การสอนในโรงเรียนเกิดการเรียน ที่ไม่ทันและ ทำให้ ผู้เรียนไม่เข้าใจเนื้อหาและ เรี ยนไม่ทัน ส่ง ผ ล ให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนตก เพราะการเปิดปิดโรงเรียนเนื่องจากการระบาดของโควิด 19 ทำให้เกิดการเรียนที่ไม่ทันตามเนื้อ จึงส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนต่ำ และไม่เข้าใจใน เนอ้ื หาอยา่ งครบถ้วนสมบรู ณ์ ปญั หาหาที่กล่าวมาจึงทำให้ผวู้ ิจัยได้เล็งเห็นถงึ ปญั หาการเรียนการสอนท่ีไม่ ทันของนักเรียน จึงทำให้เกิดการแก้ปัญหาโดยการสร้างการเรียนรู้แบบ ห้องเรียนกลับด้านและสร้างส่อื นวัตกรรมนวัตกรรมทมี่ าช่วยทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างท่ัวถึงและเข้าใจในเนอ้ื หาได้อย่างถ่องแท้ ช่วยใหท้ งั้ ครูและนกั เรียนและจะทำให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผุ้เรียนสงู ขน้ึ มากกว่าเดิมโดย (กรวรรณ สืบสม และ นพรัตน์ หมีพลัด , 2560 ) ได้ทำการศึกษาเรื่องการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped classroom) ด้วยการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยี มัลติมีเดียผ่าน Google Classroom การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped classroom) ผ่านห้องเรียนออนไลน์Google classroom 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน 3) เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านผ่าน Google classroom และ 4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมห้องเรียน กลับด้าน โดยกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้คือ นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จำนวน 36 คน โดยใช้การสุ่มอย่างง่ายแบบวิธีการจับสลากจาก นักศกึ ษาจำนวน 72 คน และเคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวิจยั คร้ังนคี้ ือ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับ ด้าน รายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย แบบทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบประเมิน ความพงึ พอใจของผู้เรียนท่มี ีต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน และหอ้ งเรียนออนไลน์

Google classroom และผลการวิจยั ในครงั้ นพี้ บว่า ผลการหาประสิทธิภาพของสื่อทพ่ี ฒั นาจากแผนการ จัดกจิ กรรมการเรยี นร้แู บบหอ้ งเรียนกลบั ด้านมีค่าความเช่ือมน่ั เทา่ กับ .90 ซ่งึ อยใู่ นเกณฑท์ ่มี คี วามเช่ือมั่น สงู และจากการวิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผ้เู รียนระหว่างเรียนและหลังเรยี นแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบหอ้ งเรียน กลับด้านในระดับมาก เพราะผู้เรียนสามารถรังสรรค์ชิ้นงานผ่านวิธีการเรียนรู้แบบโครงการ รวมท้ัง สามารถพดู คยุ หรือสอบถามครูผู้สอนไดเ้ มื่อมีปญั หาในการเรยี น (นางสาวพราวเพญ็ ธรรม เรืองศร , 2560) ไดท้ ำการศึกษาเร่อื งการพัฒนากจิ กรรมการเรียนการสอนแบบหอ้ งเรยี นกลับด้านผ่านส่อื ออนไลน์ที่ส่งผล ต่อการนำตนเอง ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์ ที่ส่งผลต่อการนำตนเอง ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี 2) เพื่อศกึ ษาผลการเรยี นรู้ของนกั เรียนท่เี รียนด้วยกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่าน สื่อออนไลน์ ที่ส่งผลต่อการนำตนเอง 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู้แบบนำตนเองก่อน เรียนและ หลังเรียน ของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านส่ือ ออนไลน์ 4) เพ่ือศึกษาความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นทเ่ี รียนดว้ ยกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบหอ้ งเรียนกลับ ด้านผ่านสื่อออนไลน์ที่ส่งผลต่อการนำตนเอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์สามพราน 1 ห้องเรียน จำนวน 34 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ใน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 ได้มาจากการสุ่มอย่างงา่ ย (Simple random sampling) เครอื่ งมือท่ีใช้ ในการวจิ ัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณแ์ บบมโี ครงสรา้ งสำหรับผ้เู ช่ยี วชาญ 2)แผนการจดั การเรียนการ สอนแบบห้องเรียนกลบั ด้านผ่านส่ือออนไลน์เร่ืองการอาชีพ 3) ส่อื ออนไลน์สำหรับใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ แบบห้องเรียนกลบั ด้านทีส่ ่งผลต่อการนำตนเองเร่อื งการอาชพี 4) แบบวดั ความสามารถในการเรยี นรู้แบบ นำตนเอง 5) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มี ต่อ การเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์การวิเคราะห์ข้อมลู ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที(t-test) dependentผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์ที่ส่งผลต่อการนำ ตนเองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีพบว่า ผลการประเมินอยู่ใน ระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.46 2) ผลการศึกษาการเรียนรู้ ของนักเรยี นทเ่ี รยี นดว้ ยกิจกรรม การเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียนกลบั ด้านผ่านสือ่ ออนไลนท์ ี่ส่งผลต่อการ นำตนเองมีคะแนนผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 88.65 3) ผลการศึกษา

ความสามารถในการเรียนรู้แบบนำตนเองของนักเรียน ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ ห้องเรียนกลับด้ านผ่านสื่อออนไลน์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส ำคัญทางสถิติ ที่ระดั บ. 0 5 4) ผลการศกึ ษาความคดิ เห็นของนักเรยี นทีเ่ รียนดว้ ย กิจกรรมการเรียน การสอนแบบหอ้ งเรียนกลับด้าน ผ่านสื่อออนไลน์ที่ส่งผลต่อการนำตนเองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายวิชาการ งานอาชีพ และ เทคโนโลยอี ย่ใู นระดบั ดีมาก มคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 4.5 และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.6 ดังนั้นผู้วิจัยต้องการศึกษาว่า การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านจะช่วย ยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาการคำนวณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหลุก ใหส้ งู ขนึ้ 5. แนวทางการแกไ้ ข ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผ้เู รียนเปน็ ส่ิงสำคัญเพ่ือให้เกิดการเรยี นรู้ท่ดี ี จึงทำให้ เกดิ การเรยี นการสอนท่ีหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนเขา้ ใจและสนใจในการเรียนการสอนมากย่งิ ข้ึนโดยผู้วิจัย ได้ให้ผู้เรียนไปศึกษาเนื้อหามาก่อนในช่วงที่ปิดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองตาม เว็บไซต์ หรือสื่อ Social media ตา่ งๆ โดยมผี ปู้ กครองและผ้วู จิ ัยคอยตดิ ตามและให้คำชี้แนะในการเรียนรู้ และเมื่อเปิดการเรียนการสอนในโรงเรียนปกติก็ทำการเสริมความรู้และสอนนักเรียนให้เข้าใจในเนือ้ หาที่ เรียนได้อย่างถ่องแท้เพื่อลดเวลาในการเรียนการสอนที่ไม่ทันและยังช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียนสูงขึน้ ได้อกี ดว้ ย 6. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบา้ นหลกุ ด้วยเทคนคิ วธิ กี ารเรียนการสอนแบบห้องเรยี นกลบั ดา้ น 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหลุก ที่มีต่อการสอนด้วย เทคนิควธิ ีการสอนแบบหอ้ งเรยี นกลับดา้ น 7. วธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ัย 1. ขอบเขต ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่ เทคนิควิธกี ารสอนแบบหอ้ งเรียนกลบั ด้าน ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาการคำนวณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบา้ นหลกุ 2. ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง 1.1 ประชากร

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหลุก จำนวน 17 คน ภาครเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 1.2 ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการทำวจิ ัย 1 ภาคเรียน ปกี ารศกึ ษา 2564 3. เคร่อื งมอื ในการทำวจิ ยั 1. แผนการจดั การเรยี นรู้ สำหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวน 2 แผนการเรยี นรู้ 2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์หลงั เรียน 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1. ผูว้ จิ ยั ไดท้ ำความเข้าใจกบั นกั เรยี นเกี่ยวกบั การเรียนการสอน 2. ผุ้วิจยั ใหผ้ ู้เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นจำนวน 20 ข้อ เวลา 30 นาที 3. ผวู้ ิจัยดำเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน 4. เม่อื เสรจ็ สิน้ กจิ กรรมผวู้ ิจัยให้ผู้เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี นจำนวน 20 ข้อ 5. นำคะแนนท่ีไดจ้ ากการทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและลงั เรยี นมาวิเคราะหห์ าค่าและแปรผลพร้อม บรรยายสรุปผล 5. การวิเคราะห์ข้อมลู การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรยี นหลังจากการเรยี นการสอนแบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน โดยเทยี บ ผลจากการทำแบบทดสอบหลงั เรียนเมอ่ื เทียบกบั ก่อนเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน แล้วนำมาวิเคราะห์หาข้อมูลสถิติพื้นฐานคือ ค่าเฉลี่ย (x̅) และร้อยละ (percentage) โดยการ วเิ คราะห์เชงิ เน้อื หา (Content Analysis) แล้วนำมาเสนอแบบความเรียงละพรรณนาวิเคราะห์ 8. ผลการวจิ ยั ตารางที่ 1 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนแบบห้อเรียนกลับ ด้าน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นบา้ นหลุก คนท่ี คะแนนกอ่ นเรยี น คะแนนหลังเรยี น หมายเหตุ (10 คะแนน) (10 คะแนน) 14 8

คนท่ี คะแนนก่อนเรยี น คะแนนหลงั เรยี น หมายเหตุ (10 คะแนน) (10 คะแนน) 2 5 9 3 6 9 4 4 8 5 6 10 6 5 9 7 4 8 8 4 8 9 7 10 10 5 8 11 3 8 12 5 8 13 3 9 14 5 8 15 6 9 16 4 8 17 4 8 ค่าเฉลีย่ 4.73 8.52 ร้อยละ 47.33 85.29 ตารางที่ 1 พบว่า นักเรียรชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนแบบห้องเรียนกลับด้านคะแนนก่อนเรียนของ ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.73 คิดเป็นร้อยละ 47.33 และคะแนนหลังเรียนของผู้เรียนมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 8.52 คิดเปน็ ร้อยละ 85.29 แสดงวา่ ผ้เู รยี นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหลังเรียนสงู กวา่ กอ่ นเรียน 9. สรปุ และสะทอ้ นความคดิ เชิงวิชาชพี งานวิจัยเรื่อง ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาการคำนวณสำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหลุก อ.แม่ทะ จ.ลำปาง ด้วยเทคนิควิธีการสอนแบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหลุก ด้วยเทคนิควิธีการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน กลมุ่ เปา้ หมายคือนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 17 คน ซ่งึ ทำการวจิ ยั 1 ภาคเรียน ปีการศึกษา 2564 เครื่องมือที่ใช้ ประกอบไปด้าย 1) แผนการขจัดการเรียนรู้ 2)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ โดยผู้วิจัยได้ทำการทดสอบผูเ้ รียน ก่อนและหลงั จากนน้ั ให้ผ้เู รียนไปศึกษาความรู้ตาม Social media และสอ่ื ต่างๆ แลว้ ครมู าสอนอีกครั้งใน ห้องเรียนเมือ่ ผู้เรยี นได้เรยี นจนครบตามเน้อื หาแล้ว ผเู้ รยี นทำการทดสอบแบบทดสอบหลงั เรยี น จากการศึกษาและการใช้เทคนิควิธีการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน ปรากฏผลได้ดังน้ี นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ที่เรียนดว้ ยเทคนคิ วธิ กี ารสอนแบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นหลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรยี นเพราะผู้วิจยั ได้สร้างการเรียนรโู้ ดยเน้นให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองโดยมี ครูคอยเป็นที่ปรึกษาหรือคนที่คอยให้คำชี้แนะให้ถูกต้องเพื่อให้นักเรียได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ได้มาก ที่สุดซึ่งงานวิจัยนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ (นางสาวพราวเพ็ญธรรม เรืองศร , 2560) ได้ทำการศึกษา เรื่องการพฒั นากิจกรรมการเรยี นการสอนแบบห้องเรยี นกลบั ด้านผา่ นส่ือออนไลนท์ ี่ส่งผลต่อการนำตนเอง ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพอ่ื พฒั นากจิ กรรมการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลบั ด้านผ่านส่อื ออนไลน์ที่สง่ ผลต่อการนำตนเอง ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี 2) เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของ นักเรยี นท่ีเรียนด้วยกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านผา่ นส่ือออนไลน์ ท่ีส่งผลต่อการนำ ตนเอง 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู้แบบนำตนเองก่อนเรียนและ หลังเรียน ของ นักเรียนทเ่ี รียนด้วยกจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบห้องเรยี นกลบั ด้านผ่านสอ่ื ออนไลน์ 4) เพือ่ ศึกษาความ คิดเหน็ ของนกั เรยี นทเี่ รยี นดว้ ยกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบหอ้ งเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์ที่ส่งผล ต่อการนำตนเอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยอแซฟ อุปถัมภ์สามพราน 1 ห้องเรียน จำนวน 34 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ได้มาจากการสมุ่ อย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบ สัมภาษณแ์ บบมโี ครงสร้างสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 2)แผนการจดั การเรยี นการสอนแบบห้องเรียนกลบั ด้านผ่าน ส่อื ออนไลนเ์ รื่องการอาชพี 3) สือ่ ออนไลน์สำหรับใช้ในการจดั การเรียนรู้แบบหอ้ งเรียนกลับดา้ นท่ีสง่ ผลต่อ การนำตนเองเรื่องการอาชีพ 4) แบบวัดความสามารถในการเรียนรู้แบบนำตนเอง 5) แบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 6) แบบสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรียนทม่ี ตี ่อ การเรยี นดว้ ยกจิ กรรมการเรียน การสอนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบคา่ ท(ี t-test) dependentผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพฒั นากิจกรรมการเรียนการ

สอนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์ที่ส่งผลต่อการนำตนเองของนกั เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยพี บว่า ผลการประเมิน อย่ใู นระดับมาก มคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ 4.43 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.46 2) ผลการศกึ ษาการเรียนร้ขู องนักเรียนท่เี รยี นด้วยกจิ กรรม การเรยี นการ สอนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์ที่ส่งผลต่อการนำตนเองมีคะแนนผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉลี่ยอยู่ในระดบั ดีมาก ร้อยละ 88.65 3) ผลการศกึ ษาความสามารถในการเรยี นรู้แบบนำตนเองของ นักเรียน ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านส่ือออนไลน์หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 4) ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วย กิจกรรมการเรียน การสอนแบบหอ้ งเรียนกลับด้านผ่านส่ือออนไลน์ที่ส่งผลต่อการนำตนเองของนักเรียน มัธยมศกึ ษาตอนปลายวิชาการ งานอาชีพและเทคโนโลยีอย่ใู นระดับ ดมี าก มีค่าเฉล่ยี เทา่ กับ 4.5 และสว่ น เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook