Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรอาชีพ ช่างตัดเย็บ

หลักสูตรอาชีพ ช่างตัดเย็บ

Description: หลักสูตรอาชีพ ช่างตัดเย็บ

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรการจดั การศึกษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทำ หลกั สูตรช่างตดั เย็บ (กระเปา๋ ผ้าขาวมา้ ) จำนวน ๓๕ ชว่ั โมง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอชาตติ ระการ สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั พษิ ณโุ ลก สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก คำนำ การจัดการศึกษาด้านอาชีพให้กับประชาชนเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษาต่อเน่ือง เป็น การศึกษาเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล เพ่ือให้บุคคลสามารถ ประกอบอาชีพหรือพัฒนาอาชีพของตนเองได้ โดยพิจารณาถึงความต้องการในการเรียนของแต่ละบุคคล ให้ ความสำคัญกับการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนางานและอาชีพระดับพ้ืนฐาน ระดับก่ึงฝีมือ และระดับฝีมือ ท่ี สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ ในการ ประกอบอาชีพ หรอื เพิ่มพูนรายได้ ท้ังนี้ให้มีการพัฒนาหลักสูตรและวิธกี ารที่หลากหลายและทันสมัย สามารถ ใหบ้ รกิ ารไดอ้ ยา่ งทัว่ ถึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอชาตติ ระการ จึงได้พฒั นารปู แบบ การจัดทำหลักสูตรชา่ งตัดเยบ็ ขึ้น เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของประชาชนในการพฒั นาคุณภาพชีวติ การนำ องค์ความรู้ในท้องถ่ินมาเผยแพรใ่ หผ้ ู้ท่สี นใจไดเ้ รียนรรู้ ่วมกัน เพือ่ เป็นการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ประสบการรว่ มกัน และพัฒนาตอ่ ยอดเป็นอาชีพเสริมเพม่ิ รายไดใ้ หก้ ับประชาชนต่อไป สดุ ท้ายนี้ ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชาติตระการ ต้อง ขอขอบคุณคณะทำงานทุกท่านท่ีได้จัดทำข้อมูล เพื่อให้การดำเนินการจัดหลักสูตรช่างตัดเย็บ เป็นไปตาม วตั ถุประสงค์ท่ีได้ตงั้ ไว้ เพื่อนำไปจัดกิจกรรมการเรียนร้กู ับประชาชนต่อไป หากพบข้อผิดพลาด มีขอ้ เสนอแนะ ทค่ี ิดว่าเป็นประโยชน์ กรุณาแจ้งให้ทางผู้จัดทำทราบด้วยจักเป็นพระคุณย่ิง เพื่อจะได้นำไป เป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขหลักสตู รในโอกาสต่อไป กศน.อำเภอชาติตระการ ผจู้ ดั ทำ

ข หน้า ก สารบัญ ข คำนำ 1 สารบญั 1 ความเป็นมา หลกั การของหลักสตู ร 2 จดุ หมาย 2 กลุ่มเป้าหมาย 2 ระยะเวลา โครงสรา้ งหลักสูตร 2 การจดั กระบวนการเรยี นรู้ 3 สือ่ การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล 3 การจบหลกั สตู ร 3 เอกสารหลกั ฐานการศึกษา 3 การเทยี บโอน รายละเอียดโครงสรา้ งหลักสูตร 3 ภาคผนวก 4 รายละเอยี ดเน้อื หาโครงสรา้ งหลักสตู ร ความเห็นชอบอนุมัตหิ ลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนื่อง 5 คณะทำงาน 11 12 ๒๗ ๒๘

๑ หลกั สตู รช่างตดั เย็บ จำนวน ๓๕ ชวั่ โมง ความเป็นมา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะเป็นการพัฒนาประชากรของ ประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ แก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความ เข้มแขง็ ให้แก่เศรษฐกิจชมุ ชน ยกระดับการจัดการศึกษาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพและขดี ความ สามารถใหป้ ระชาชนได้ มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มัน่ คง โดยเน้นการบูรณาการใหส้ อดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคน ไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมี รายได้ม่ันคง มั่งคั่ง และมีงานทำอย่างย่ังยืนมีความ สามารถเชิงการแข่งขันท้ังในระดับภูมิภาคอาเซียนและ ระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ท่ีสร้างความมั่นคงให้แก่ ประชาชนและ ประเทศชาติ สภาพสังคมในปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่นด้าน เศรษฐกจิ การเมือง สังคมและส่ิงแวดลอ้ มเป็นอย่างมาก อัตราประชากรเพิ่มขึน้ เรื่อยๆ แต่ทรพั ยากรกลับลดลง จึงมคี วามจำเปน็ ต้องใช้ทรัพยากรท่ีมอี ยู่อยา่ งจำกัดให้เกดิ ความคมุ้ ค่ามากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรอ่ื งของการ ประกอบอาชพี ด้านความคดิ สรา้ งสรรค์ มคี วามจำเป็นทจี่ ะต้องใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรให้มีความคมุ้ คา่ ยิง่ ข้ึน อาชีพการทอผ้า จึงเป็นอีกอาชีพหนึ่งท่ีจะเป็นทางเลือกในการสร้างรายได้และการมีงานทำอย่างยั่งยืนของ ประชาชนช่วยใหม้ ีรายได้ เลย้ี งครอบครวั มีความกนิ ดอี ยู่ดี สามารถแก้ปัญหาความยากจนได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชาติตระการ จึงได้จัดทำ หลักสูตรช่างตัดเย็บข้ึน เพ่ือส่งเสริมด้านอาชีพเป็นการฝึกทักษะพ้ืนฐานอาชีพ ซ่ึงเป็นแนวทางการประกอบ อาชีพ ทำให้ประชาชนมรี ายได้เสริม สามารถนำไปประกอบอาชีพใหก้ ับตนเองและครอบครวั ได้ หลักการของหลกั สตู ร การจัดการศึกษาอาชพี ช่างตัดเย็บเพื่อการมงี านทำ กำหนดหลกั การไว้ดงั นี้ 1. เป็นหลักสูตรท่ีเน้นการทำศักยภาพ ด้านต่างๆ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพภูมิประเทศและทำเล ที่ตั้งของแต่ละประเทศ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตและศักยภาพของทรัพยากร มนุษยใ์ นแต่ละพ้นื ทมี่ าจัดการศกึ ษาอาชีพ 2. มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาอาชีพเร่ืองการมีงานทำอย่างมีคุณภาพท่ัวถึงและเท่า เทยี มกนั สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง 3. มุ่งให้เป็นบุคคลที่มีวินัยเปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อ ตนเอง ผอู้ ืน่ และสังคม 4. ส่งเสรมิ ใหม้ ีความรว่ มมือในการดำเนินงานจัดการศึกษาอาชพี รว่ มกับภาคเี ครือขา่ ย 5. เน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปประกอบ อาชพี ใหเ้ กดิ รายไดท้ ่ีมนั คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน

๒ จุดมุง่ หมายของหลักสตู ร 1. สามารถตัดสินใจเลอื กประกอบอาชีพได้สอดคล้องกับศักยภาพตนเอง ชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะการประกอบอาชพี การตดั เย็บเบื้องต้น 3. มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการบริหารจัดการในอาชีพการออกแบบเสื้อผ้า ของใช้ จากผ้าไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจิตสำนึกความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง ผูอ้ น่ื และสังคม 5. สามารถจัดทำโครงการประกอบอาชพี และนำส่กู ารปฏิบตั จิ รงิ ได้ กลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มเปา้ หมายในการจดั การศึกษามี 3 กลมุ่ เปา้ หมาย คือ 1. ผ้ทู ไ่ี มม่ อี าชีพ และสนใจท่จี ะมอี าชีพ 2. ผ้ทู มี่ ีอาชีพและตอ้ งการพฒั นาอาชพี ๓. ผทู้ ่มี ีอาชพี และตอ้ งการหาอาชีพเสริม ระยะเวลา จำนวน ๓๕ ชวั่ โมงแบง่ เปน็ ภาคทฤษฎี จำนวน 10 ชวั่ โมง ภาคปฏบิ ัติ จำนวน ๒๕ ช่ัวโมง โครงสรา้ งหลกั สตู ร 1. ชอ่ งทางการประกอบอาชพี จำนวน 3 ชว่ั โมง 1.1 การวิเคราะหศ์ กั ยภาพของขอ้ มลู ตนเอง ชุมชน สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และขอบข่ายในงานงานอาชีพ การตัดเย็บกระเปา๋ และของใช้ 1.2 ความเปน็ ไปได้ในการประกอบอาชพี การตดั เยบ็ 1.3 ทิศทางการประกอบอาชีพการตัดเยบ็ 2. ทกั ษะการประกอบอาชีพ จำนวน 3๐ ชว่ั โมง 2.1 วสั ดุอปุ กรณ์ในการตัดเยบ็ กระเปา๋ 2.2 หลักการเลือกผ้าเพือ่ ใชใ้ นการตดั เยบ็ 2.3 หลักการออกแบบสว่ นประกอบตา่ งๆ เพือ่ การตกแตง่ กระเป๋า 2.4 การฝกึ ทักษะการเย็บ 3. การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชพี จำนวน 2 ช่ัวโมง 3.1 การบริหารจัดการการผลิต 3.2 หลักการจัดการตลาด 3.3 การทำบญั ชีรายรับ-รายจ่าย 3.4 การคำนวณต้นทกุ ำไรในการผลิต และการกำหนดราคาขาย 3.5 การส่งเสรมิ การขาย และช่องทางการจัดจำหน่าย

๓ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ หลักสตู รช่างตัดเยบ็ เป็นหลักสูตรทีเ่ น้นให้ผ้เู รียนท่ีผ่านกระบวนการเรียนรู้สามารถนำความรู้ไปปฏิบตั ิ ได้จริง สามารถฝึกฝนทักษะความรู้ท่ีได้รับไปจนเกิดความชำนาญ โดยมีกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดงั น้ี 1. จดั กิจกรรมสำรวจ พร้อมท้งั วิเคราะห์ตนเอง ทรัพยากร อาชีพ และความต้องการของตลาดเพ่ือให้ ผู้เรียนเหน็ ชอ่ งทางในการประกอบอาชีพ 2. จัดกิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้กระบวนการคิดเป็น และความเป็นไปได้เพ่ือการตัดสินใจเลือก ประกอบอาชพี 3. ฝกึ ทักษะการประกอบอาชีพ 3.1 เรียนรู้จากวทิ ยากร 3.2 เรยี นรู้ด้วยตนเองจากส่ือต่างๆแหล่งเรียนรู้ ผรู้ ู้ 3.3 เรียนรู้จาการลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ 3.4 เรียนรจู้ ากภูมปิ ัญญา ทฤษฏี และปฏบิ ัติ 3.5 เรยี นรู้จากกลมุ่ เพอื่ แลกเปล่ียนความรู้ 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการ ในการประกอบอาชีพ โดยเรียนรู้จากวิทยากร และการลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ 5. นเิ ทศ ตดิ ตามผลและประเมนิ โครงการของผู้เรยี นและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนา สอ่ื การเรยี นรู้ 1. ใบความรู้ช่างตัดเยบ็ 2. ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ /ผูร้ ดู้ ้านการตัดเยบ็ การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วมในการทำกิจกรรม 2. การประเมินผลงานจาการปฏบิ ัติ 3. ประเมนิ ความพึงพอใจของผ้เู รยี น การจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรียน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 3. มีผลงานท่มี ีคุณภาพ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา 1. หลักฐานการประเมนิ ผล 2. ทะเบียนคมุ วุฒิบตั ร 3. วฒุ ิบัตรการศกึ ษา ออกโดยสถานศึกษา

๔ การเทียบโอน ผเู้ รียนท่จี บหลกั สตู รนสี้ ามารถนำผลการเรียนไปเทยี บโอนผลการเรยี นร้กู บั หลกั สตู รการศกึ ษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกทส่ี ถานศกึ ษาได้ จัดทำขึ้น

โครงสรา้ งหลกั สตู รช่างต เรื่อง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือ 1. ช่องทางการ 1.1 สามารถวเิ คราะห์ศกั ยภาพของ 1.1 การวิเคราะหศ์ ประกอบอาชพี (จำนวน 3 ข้อมลู ตนเอง ชมุ ชน สงั คม ตนเอง ชุมชน ส ช่ัวโมง) สิง่ แวดลอ้ ม และขอบขา่ ยในงาน และขอบข่ายใน อาชพี ได้ เย็บเสอ้ื ผ้าและ 1.2 วเิ คราะหค์ วามเปน็ ไปได้ในการ 1.2 ความเป็นไปได ประกอบอาชีพ อาชพี การตัดเย 1.3 ทิศทางการประกอบอาชพี การ 1.3 ทศิ ทางการประ ออกแบบเสื้อผา้ สำเร็จรปู โดยใช้ เย็บ กระบวนการคิดเปน็ และมคี วาม เป็นไปได้ตามศกั ยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศกั ยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตล่ ะพ้นื ที่ ศกั ยภาพของพ้นื ท่ีตามลกั ษณะ ภมู ิอากาศ ศักยภาพของภมู ิ ประเทศ ศักยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละวิถีชวี ติ ของแต่ละพ้นื ที่ และทรพั ยากร มนุษย์ในแต่ละพน้ื ที่

๕ ตัดเยบ็ จำนวน ๓๕ ช่ัวโมง อหา การจดั กระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศักยภาพของขอ้ มลู 1.1ศึกษาดูงานในสถานประกอบการ แหล่ง สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม เรียนรตู้ า่ ง ๆ ท่เี กยี่ วกับการออกแบบ 3- นงานอาชีพการตัด เส้ือผา้ สำเร็จรูป การผลติ เสอ้ื ผ้าสำเร็จรปู ะของใช้ โดยศึกษาในประเด็นต่อไปน้ี ดใ้ นการประกอบ 1) ต้นทุน/รายได้ ยบ็ 2) การจัดการการตลาด ะกอบอาชพี การตดั 3) ความตอ้ งการของตลาด/ผู้บรโิ ภค 4) คูแ่ ขง่ ทางการค้า 5) แหล่งวตั ถดุ ิบ 6) ช่องทางการจดั จำหน่าย 7) คุณสมบัตขิ องนกั ออกแบบเสอื้ ผ้า 1.2ใหผ้ ้เู รยี นศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ผู้รู้ ภูมิปญั ญาในชมุ ชน และประเทศ 1.3นำข้อมูลทีไ่ ดม้ าแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และ วเิ คราะห์ความเปน็ ไปได้ในการประกอบ อาชพี ทเี่ กี่ยวกับการออกแบบเสื้อผ้า สำเรจ็ รปู ท่ีสอดคล้องกับศกั ยภาพ 5 ด้าน

เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อ 2. ทกั ษะการ 1.4 เลอื กวัสดุอปุ กรณ์ทจ่ี ำเปน็ ตอ้ งใช้ 2.1 วัสดุอุปกรณใ์ น ประกอบอาชพี ในงานออกแบบและตดั เย็บ (จำนวน ๓๐ 2.2 หลกั การเลือก ชวั่ โมง) 1.5 อธิบายหลักการนำเส้นมาใชใ้ น ตัดเยบ็ การออกแบบ 2.3 หลกั การออกแ ต่างๆ เพ่อื การ 2.4 การฝกึ ทกั ษะก

๖ อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ จำนวนชวั่ โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ นการตัดเย็บเสื้อผา้ ได้แก่ ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาตใิ น กผา้ เพื่อใชใ้ นการ แต่ละพ้นื ที่ ศักยภาพของพืน้ ทตี่ าม ๕ ๒๕ แบบสว่ นประกอบ ลกั ษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของภมู ิ รตกแต่งเส้อื ผา้ ประเทศ ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม การเยบ็ ประเพณแี ละวิถชี วี ิตของแต่ละพื้นที่ และ ทรพั ยากรมนุษย์ในแต่ละพ้นื ที่ ตัดสินใจ เลือกประกอบอาชีพท่เี กย่ี วกับการ ออกแบบเสอื้ ผ้าสำเรจ็ รปู 1.4ผเู้ รยี นและวิทยากรรว่ มกันสรปุ องค์ความรู้ 2.1 หลกั การพ้นื ฐานในการออกแบบเสอ้ื ผ้า สำเรจ็ รปู 1) วทิ ยากรอธบิ ายให้ความรเู้ ก่ียวกบั วัสดุ อปุ กรณท์ ใี่ ช้ในงานออกแบบและตดั เยบ็ เสอื้ ผา้ สำเรจ็ รูป โดยการนำวัสดุ อปุ กรณม์ าสาธิตและบอกวิธีการใช้ งาน 2) วทิ ยากรอธบิ ายถึงเสน้ พ้นื ฐานที่ใช้ใน การออกแบบ พรอ้ มวาดรปู สาธิตบน กระดานและใหผ้ เู้ รยี นฝกึ วาดเสน้ ลง ในกระดาษ A4

เร่อื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื

๗ อหา การจดั กระบวนการเรียนรู้ จำนวนชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 3) วทิ ยากรอธิบายเสน้ ที่ใชใ้ นการ ออกแบบเส้อื ผา้ สำเรจ็ รูป โดยวาดรปู สาธติ เสน้ รอบนอกและเสน้ ด้านใน เปน็ รปู แบบเสอื้ ทรงตา่ ง ๆ บน กระดาน พรอ้ มให้ผ้เู รยี นฝกึ วาดลงใน กระดาษ A4 4) วิทยากรอธิบายและสาธติ วธิ ีการฝึก ทักษะในการเขยี นลายเส้นดว้ ยดินสอ ปลายพกู่ นั และการฝึกขีดเข่ียปากกา ในลักษณะตา่ ง ๆ เพ่ือสรา้ งลกั ษณะ ผิวทีแ่ ตกต่างกัน 5) วทิ ยากรอธบิ ายเกยี่ วกับพืน้ ฐานและ ประเภทของสีตามวงจรสี พร้อมให้ ผู้เรยี นไดด้ ูภาพการออกแบบเส้ือผ้า สำเร็จรูปทม่ี ีน้ำหนกั ของสีแตกตา่ งกนั สที ี่มคี วามเขม้ ขน้ ใกล้เคียงกนั และสที ี่ มวี รรณะของสแี ตกตา่ งกัน 6) วทิ ยากรอธบิ ายหลักการของการนำ สีมาใช้รว่ มกนั ในการออกแบบ โดย การใชส้ ีคปู่ ระกบ การใช้สขี า้ งเคียง

เรือ่ ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือ 3. การบริหาร 2.2 บอกวิธกี ารสำรวจแหล่งเงินทนุ 3.1 การบรหิ ารจัดก จดั การในการ และแหลง่ วัตถดุ บิ ในทอ้ งถ่ินได้ 3.1.1 การสำรว ประกอบอาชพี (จำนวน 2 2.3 สามารถกำหนดมาตรฐานช้ินงาน แหล่งวตั ถดุ บิ ในท้อง ชั่วโมง) ได้ 3.1.2 การกำห 2.4 บอกวิธกี ารควบคุมคุณภาพ และการควบคมุ คุณภ

๘ อหา การจดั กระบวนการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ การการผลติ การใชส้ ีสามสี การใช้สีเอกรงค์ และ วจแหลง่ เงนิ ทนุ และ การใช้สีลวงตาวิธตี า่ ง ๆ เพอ่ื อำพราง 2- งถน่ิ รูปรา่ ง พรอ้ มทัง้ ให้ผู้เรียนไดด้ ู หนดมาตรฐานชิน้ งาน ภาพประกอบ ภาพผลผลิต 7) วิทยากรอธบิ ายขั้นตอนการฝกึ ทักษะ ในการระบายสี โดยให้ผเู้ รยี นร่างภาพ นางแบบด้วยดนิ สอ แลว้ ฝึกทักษะใน การระบายสีตามข้ันตอนต่าง ๆ พรอ้ มทงั้ ให้ผเู้ รียนดูภาพประกอบ 8) วทิ ยากรอธบิ ายหลกั การเลือกผ้าใน การออกแบบ โดยยึดหลกั การ พจิ ารณาตามความเหมาะสมของ โอกาสท่ใี ช้ พิจารณาลายผ้าและ พืน้ ผิวของผา้ พร้อมใหผ้ ้เู รยี นดู ภาพประกอบ 3.1 การบรหิ ารจดั การการผลติ 1) ผ้เู รียนสำรวจและศึกษาแหลง่ วัสดุ อุปกรณ์ แหล่งเงินทนุ แหลง่ วตั ถดุ ิบ ในท้องถนิ่ และการใช้ประโยชน์ของ แหล่งวตั ถุดบิ ในทอ้ งถนิ่

เรื่อง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื ผลผลติ ได้ 3.1.3 คณุ ธรรม 2.5 สามารถบรหิ ารจดั การในการ อาชพี การบริหารจัด ประกอบอาชีพไดอ้ ยา่ งมี 3.2. หลกั การจัดการ คณุ ธรรม 3.2.1 ระบบกา พฤติกรรมผบู้ ริโภค 3.2.2 ข้อมลู ทา หาข้อมลู การเก็บรว การนำข้อมูลไปใช้) 3.2.3 การวเิ คร ของตลาดในชมุ ชน แ 3.3 การทำบัญชรี าย 3.4 การคำนวณตน้ ท และการกำหนดราคา 3.5 การส่งเสริมการ การจดั จำหนา่ ย

๙ อหา การจดั กระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ มในการประกอบ 2) ผู้เรียนรว่ มกนั สรุปข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ดการการตลาด จากการสำรวจ และสรุปวิธีการ รการตลาด สำรวจแหลง่ เงนิ ทนุ และแหลง่ วตั ถุดิบ ารตลาดและ ในท้องถ่ิน างการตลาด (วิธกี าร 3) วิทยากรอธิบายความสำคัญของการ วบรวมขอ้ มูล และ กำหนดมาตรฐานช้นิ งาน และการ ควบคมุ คุณภาพผลผลิต ราะหค์ วามตอ้ งการ และประเทศ 4) ผู้เรียนร่วมกนั กำหนดมาตรฐาน ยรับ – รายจ่าย ชน้ิ งาน และวางแผนการควบคมุ ทนุ กำไรในการผลติ คณุ ภาพผลผลติ าขาย รขาย และช่องทาง 5) วทิ ยากรอธบิ ายให้ความรู้เกี่ยวกบั คุณธรรมในการประกอบอาชพี 6) ผู้เรยี นยกตัวอยา่ งการบริหารจดั การ ในการประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างมี คณุ ธรรม 3.2 การบรหิ ารจัดการการตลาด 1) วทิ ยากรอธบิ ายให้ความรู้เก่ียวกบั หลักการจัดการการตลาด ระบบ การตลาด พฤติกรรมผู้บรโิ ภค และ ขอ้ มลู ทางการตลาด(วธิ ีการหาข้อมูล

เร่อื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื

๑๐ อหา การจดั กระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชัว่ โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ การเก็บรวบรวมข้อมูล และการนำ ขอ้ มลู ไปใช)้ 2) ผ้เู รยี นฝึกปฏิบัตกิ ารหาข้อมูลทาง การตลาด 3) วิทยากรอธิบายใหค้ วามรูเ้ ก่ียวกับ วิธีการคำนวณต้นทุนกำไรในการผลติ การกำหนดราคาขาย การสง่ เสรมิ การ ขาย และชอ่ งทางการจดั จำหน่าย 4) ผู้เรยี นฝกึ ปฏิบตั ิคำนวณตน้ ทนุ กำไร ในการผลิต และกำหนดราคาขาย 5) ผู้เรยี นรว่ มกนั สรปุ แนวทางสง่ เสรมิ การขาย และชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ย

๑๑ ภาคผนวก

๑๒ รายละเอียดเนอื้ หาโครงสร้างหลกั สูตร หน่วยการเรียนที่ 1 เรือ่ งช่องทางการประกอบอาชพี เวลา 3 ช่วั โมง สาระสำคญั สามารถวิเคราะหศ์ กั ยภาพของขอ้ มูลตนเอง ชุมชน สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม และขอบข่ายในงานอาชพี ได้ วเิ คราะหค์ วามเป็นไปไดใ้ นการประกอบอาชีพทิศทางการประกอบอาชพี การออกแบบเสื้อผ้าสำเร็จรูป โดยใช้ กระบวนการคดิ เปน็ และมีความเป็นไปไดต้ ามศกั ยภาพ 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแต่ละ พื้นที่ ศกั ยภาพของพ้ืนทต่ี ามลกั ษณะภมู ิอากาศ ศักยภาพของภมู ิประเทศ ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนท่ี และทรพั ยากรมนุษย์ในแต่ละพนื้ ท่ี ขอบข่ายเน้ือหา 1. การวิเคราะห์ศกั ยภาพของขอ้ มูลตนเอง ชมุ ชน สงั คม ส่ิงแวดล้อม และขอบขา่ ยในงาน อาชีพการตัดเยบ็ กระเปา๋ และของใช้ 2. ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการตัดเย็บ 3. ทิศทางการประกอบอาชพี การตดั เยบ็ ความสอดคลอ้ งหมวดวิชา วิชาทกั ษะการพฒั นาอาชพี , วชิ าพัฒนาสงั คมและชุมชน และวิชาเลือก จุดประสงค์ปลายทาง 1. ผ้เู รยี นมีความรู้เร่อื งความสำคัญของการประกอบอาชพี ชา่ งตัดเย็บได้ 2. ผ้เู รยี นมคี วามรเู้ ร่อื งเทคนคิ วธิ ีการประกอบอาชีพการชา่ งตัดเย็บได้ 3. ผูเ้ รียนสามารถ อธิบายทิศทางการประกอบอาชีพชา่ งตดั เย็บได้ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. การบรรยายใหค้ วามรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธิต 4. การฝึกปฏิบัตจิ รงิ สอื่ 1. ค่มู อื การเรยี นรู้ 2. แผน่ พบั

๑๓ แหลง่ การเรียนรู้ - ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชาตติ ระการ/ ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนประจำตำบล - กศน.อำเภอชาติตระการ การวัดผลประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนรว่ มในการทำกิจกรรม 2. การถาม – ตอบ 3. การปฏิบตั ิงาน 4. ชิ้นงาน/ผลงาน ความสมั พันธ์กบั สาระในหลกั สูตร - ด้านการพฒั นาคุณภาพชีวิต การเตรยี มงาน 1. การเตรยี มเน้ือหาการเรียนรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกับการพัฒนาบคุ คล และสภาพท้องถิ่น 2. การออกแบบกิจกรรมการเตรยี มคำถาม 3. การเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์

๑๔ ใบความรู้ ช่องทางการประกอบอาชีพ การวเิ คราะห์ความเปน็ ไปได้ของแผนธรุ กิจ ผู้ทำธรุ กจิ จำเป็นทจ่ี ะตอ้ งมีความรแู้ ละประสบการณเ์ ฉพาะ ด้านเป็นอย่างดี หรืออาจส่งให้ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านในแต่ละแผนย่อยๆ ในแผนธุรกิจ เป็นผู้วิเคราะห์ให้ ความเห็นในความเป็นไปได้ของแผนดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็น แผนการตลาด แผนการจัดการ แผนคน แผนผลิต แผนการเงนิ แผนดำเนนิ การ รวมทงั้ แผนฉุกเฉินด้วย เพราะความเป็นไปไดส้ ำหรบั แผนยอ่ ยๆ แต่ละแผน อาศัย หลักการประเมินความเปน็ ไปได้ทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility study) คือกระบวนการรวบรวมข้อมูลรอบด้านและนำ ข้อมูลเหล่าน้ันมาวิเคราะห์เพ่ือประกอบการตัดสินใจก่อนการลงทุนหรือเร่ิมต้นธุรกิจใหม่ การศึกษาความ เป็นไปได้มักจะจัดทำขึ้นสำหรับการลงทุนในโครงการใหญ่ๆโดยเฉพาะโครงการอสงั หาริมทรพั ย์ เช่นโครงการ สร้างคอนโดมิเนียม โรงแรม หมู่บ้านจัดสรร นอกจากโครงการอสังหาริมทรัพย์แล้วธุรกิจท่ีต้องใช้เงินลงทุน จำนวนมากก็ต้องจัดทำด้วย เช่นธุรกิจขุดเจาะน้ำมัน สร้างโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โรงงานผลิตไฟฟ้า และพลงั งาน ซ่ึงโครงการระดบั ใหญๆ่ เหล่านม้ี ักต้องมกี ารป้องกนั ความเส่ียง การจัดทำการศึกษาความเป็นไปได้ ก็เพ่ือลดความเสี่ยงนั่นเอง เพราะการลงทนุ มีความเสยี่ งทั้งสิ้นผ้ปู ระกอบการใหมท่ ่ีจะเรม่ิ ธุรกจิ ควรมีการศึกษา ความเป็นไปไดก้ ่อนการลงทนุ ทกุ ครัง้ บเพราะนอกจากช่วยลดความเสีย่ งแลว้ ยงั เปน็ การวางแผนงานไปดว้ ย การวางแผนและศึกษาความเปน็ ไปไดข้ องธุรกิจมขี น้ั ตอนงา่ ยๆดังน้ี 1. การคิดรเิ ริ่มธรุ กิจใหม่หรือลงทุนในการขยายธุรกิจให้ใหญข่ ึน้ 2. การเสาะหาโอกาสในการเรมิ่ ธรุ กิจใหม่หรือลงทุนใหม่ 3. การศกึ ษาความเป็นไปได้ของธุรกิจ 4. การศกึ ษาความเป็นไปไดด้ ว้ ยการจัดทำประมาณการทางการเงินเพือ่ ตดั สินใจลงทุน เมื่อผูป้ ระกอบการมแี นวคดิ ในการลงทนุ ในธรุ กิจใหม่ ก็ควรเริ่มต้นหาข้อมูลเพื่อให้ทราบว่าธุรกิจที่จะลงทุนน้ันมีโอกาสมากน้อยเพียงใด ด้วยการสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลท้ังหมดท่ีหาได้ ยกตัวอย่างผู้ประกอบการรายหนึ่งชื่อคุณกฤษณะเขามีแนวคิดอยากเริ่ม ธุรกิจใหม่ทดแทนธุรกิจเดิมท่ีเริ่มขายไม่ดีแล้ว จึงไปสอบถามคนรู้จัก เพื่อน ญาติ หน่วยงานต่างๆว่าควรทำ ธรุ กิจอะไรดี ส่วนวใหญ่ตอบวา่ ทำธุรกิจอาหารสิ คณุ กฤษณะจึงตดั สนิ ใจวา่ จะเริ่มทำธรุ กิจประเภทอตุ สาหกรรม อาหารแปรรูปเพราะขายไดท้ งั้ ในประเทศและยงั สง่ ออกไปตา่ งประเทศได้ด้วย เพราะอาหารถอื ว่าเป็นปัจจัยสที่ ่ี มนุษย์ขาดไมไ่ ด้ คุณกฤษณะจงึ เร่ิมเสาะหาโอกาสในการเริ่มต้นธรุ กิจอาหาร ซ่ึงในชว่ งปี 2555-2558 มีทวั ร์ จีนมาประเทศไทยเป็นจำนวนมากและคนจีนก็ชอบกินทุเรียนไทยมากเช่นกัน คุณกฤษณะได้ไปสอบถามผขู้ าย ทุเรียนส่งออกไปประเทศจีนเพ่ือขอข้อมูลเร่ืองทุเรียนแปรรูป ผู้ขายรายนี้เป็นผู้ผลิตทุเรียนฟรีซดรายและเป็น ผู้ผลิต OEM (ผู้รับจ้างผลิตสินค้าให้เจ้าของแบรนด์ใหญ่ๆ) เมื่อไปพบและเย่ียมชมโรงงานทำให้มีแนวคิดท่ีจะ เริ่มต้นธุรกิจผลติ ทุเรยี นฟรีซดรายโดยจะเร่ิมรับจ้างผลิตจากบริษทั ใหญ่ๆที่ส่งออกทเุ รียนแปรรปู ไปประเทศจีน

๑๕ ก่อน คุณกฤษณะจึงไดเ้ ร่ิมต้นศกึ ษาความเป็นไปได้ของธุรกิจ ดังน้ันผู้ประกอบการท่ีจะเร่ิมต้นธุรกิจใหม่ควรหา โอกาสทางธุรกจิ กอ่ นดว้ ยการจดั ทำการศกึ ษาความเปน็ ไปได้เพื่อไม่ต้องหาข้อมูลหลายครัง้ ในการทำธรุ กิจ การศกึ ษาความเป็นไปได้จะต้องศึกษาให้ครบท้ัง 5 ด้านก่อน การตดั สินใจสุดท้ายทมี่ าจัดทำ Financial feasibility study (การศกึ ษาความเป็นไปได้จากการประมาณการทางการเงิน) 1. ด้านเทคนคิ เราควรศกึ ษาในเรอื่ งเหล่านี้ • สนิ คา้ ท่ีผลิตออกมามีความแปลกใหมห่ รอื มนี วัตกรรมหรือไม่ มคี ณุ ภาพ มคี วามอรอ่ ยและ เปน็ ไปตามมาตรฐานหรอื ไม่ สะอาดปลอดภัยหรอื ไม่ • กระบวนการผลิตเปน็ อยา่ งไรบ้างตอ้ งมีเคร่ืองจักร เครอ่ื งมือ ผงั งาน ปริมาณการผลิตวันละ เทา่ ไหร่ เทคนคิ ในการผลติ มไี หม มีทำเลทีต่ ัง้ ทเ่ี หมาะสมกบั การจดั หาวัตถดุ ิบหรอื ไม่ ระบบน้ำ และระบบไฟฟา้ เปน็ อยา่ งไร • ระเบียบ กฎเกณฑแ์ ละขอ้ บังคับเรอื่ งผลติ ภัณฑแ์ ละโรงงานมมี ากเพยี งใด จำเป็นต้องขอ มาตรฐานการผลติ อะไรบา้ ง 2. ด้านตลาด เราควรศึกษาในเรื่องเหล่าน้ี • ศึกษาเร่อื งศักยภาพของผลติ ภัณฑ์ของเราในตลาดว่ามกี ล่มุ ลูกค้าเปา้ หมายหรือไม่ มพี ฤติกรรม การซื้ออย่างไร ชอ่ งว่างทางตลาดกวา้ งหรือไม่ ชอ่ งทางการจำหน่ายเปน็ อย่างไร • จัดทำการวิจัยและสำรวจตลาดของผลิตภัณฑเ์ พ่ือดคู วามเปน็ ไปได้ทางการตลาดดว้ ย 3. ด้านการเงนิ เราควรศกึ ษาในเรื่องเหล่านี้ • จำนวนเงนิ ทีต่ อ้ งลงทนุ ทงั้ ในทรพั ยส์ ินถาวรและทรพั ยส์ นิ หมนุ เวียน • การจดั หาแหลง่ เงนิ ทุนและต้นทนุ ทางการเงิน • การจดั ทำประมาณการรายได้และค่าใช้จ่าย • การจดั ทำประมาณการกระแสเงินสดเพ่ือใช้ในการตดั สินใจทางการเงนิ 4. ด้านการบริหารจัดการ เราควรศกึ ษาเร่ืองความสามารถทั้งขององค์กรและผบู้ รหิ ารวา่ มศี กั ยภาพด้าน การบรหิ ารจดั การมากน้อยเพียงใด รวมท้ังการบริหารงานด้านบุคลากรดว้ ย 5. ดา้ นการแข่งขนั เราควรศึกษาวา่ ธุรกิจของเราจะมศี กั ยภาพในการแข่งขนั กับค่แู ข่งขันรายเดิมในตลาด หรือไมแ่ ละแขง่ ขนั กบั คูแ่ ขง่ รายใหมๆ่ ทีจ่ ะเข้ามาตลาดได้ไหม หากผู้ประกอบการทจ่ี ะเร่ิมธรุ กจิ ใหม่ หรือจะสร้างโรงงานใหม่เพือ่ ขยายการผลติ ได้มีการศกึ ษาความเปน็ ไป ได้ของธุรกิจเรยี บร้อยแล้วตามขัน้ ตอนที่กล่าวมาแล้ว ก็ทำให้ธุรกิจไดล้ ดความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจแล้วและ ยังมองเห็นจุดอ่อนท่ีต้องแก้ไขได้อีก ซ่ึงทำให้ผู้ประกอบการสามารถได้ข้อมูลเพ่ิมเติมในขณะท่ีกำลังหาข้อมูล ตา่ งๆเพ่ือไปใช้ในการศึกษาความเป็นไปไดน้ ัน้ เอง การศึกษาความเป็นไปได้จะทำใหเ้ ราพอจะทราบไดว้ ่าธุรกิจท่ี จะทำน่าลงทุนหรือไม่ และทำให้เราทราบไปด้วยว่ามีการแข่งขันในตลาดมากเพียงใด บางคร้ังเราอาจไม่ต้อง ศึกษาไปถึงขัน้ ของ การจัดทำประมาณการทางการเงนิ เรากพ็ อทราบแล้วธุรกิจน้ีน่าลงทุนถา้ เงนิ ลงทุนนัน้ ไม่สูง มากนักเน่ืองจากเงนิ ลงทนุ จำนวนน้อยความเส่ียงกน็ ้อยตามไปด้วย

๑๖ หน่วยการเรยี นท่ี 2 เรอื่ งทักษะการประกอบอาชีพชา่ งตัดเย็บ เวลา 3๐ ชว่ั โมง สาระสำคญั เลอื กวสั ดอุ ุปกรณ์ทจ่ี ำเปน็ ต้องใชใ้ นงานออกแบบและตัดเย็บ อธบิ ายหลกั การในการออกแบบและการ ตัดเย็บ ขอบข่ายเนอ้ื หา 1. วสั ดุอปุ กรณใ์ นการตัดเย็บกระเปา๋ 2. หลักการเลอื กผา้ เพอื่ ใช้ในการตัดเย็บ 3. หลักการออกแบบส่วนประกอบต่างๆ เพ่ือการตกแต่งกระเปา๋ 4. การฝึกทักษะการเยบ็ ความสอดคลอ้ งหมวดวชิ า วิชาทักษะการพัฒนาอาชีพ , วิชาพฒั นาสังคมและชุมชน และวิชาเลอื ก จุดประสงค์ปลายทาง 1. ผเู้ รียนสามารถเลอื กวสั ดุอปุ กรณ์ในการออกแบบและการตดั เย็บได้ ๒. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายข้ันตอนการออกแบบและตัดเย็บได้ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. การบรรยายให้ความรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธิต 4. การฝกึ ปฏบิ ัติจริง ส่อื 1. ค่มู ือการเรยี นรู้ 2. แผ่นพับ แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชาตติ ระการ/ ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนประจำตำบล - กศน.อำเภอชาตติ ระการ การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วมในการทำกิจกรรม 2. การถาม – ตอบ

๑๗ 3. การปฏบิ ัตงิ าน 4. ช้นิ งาน/ผลงาน ความสมั พันธ์กับสาระในหลกั สูตร - ด้านการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต การเตรียมงาน 1. การเตรียมเน้ือหาการเรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกับการพัฒนาบคุ คล และสภาพทอ้ งถ่ิน 2. การออกแบบกิจกรรมการเตรยี มคำถาม 3. การเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ์

๑๘ ใบความรู้ ทกั ษะการประกอบอาชีพการตัดเย็บกระเปา๋ อุปกรณ์ตัดเย็บเสอื้ ผา้ 1. สายวดั สายวดั ท่ีดคี วรทำด้วยผ้าอาบนำ้ ยาเคมี เพอื่ ป้องกันการหดหรอื ยดื มโี ลหะหมุ้ ที่ปลายทั้ง 2 ขา้ ง มีตวั เลขบอกความยาวเป็นเซนตเิ มตรและนิ้ว 2. กระดาษสรา้ งแบบ ใช้สร้างแบบก่อนตดั ผา้ มีท้ังสีขาวและสนี ำ้ ตาล 3. กรรไกรตดั ผ้า มี 2 ชนิด คอื ชนิดดา้ มโคง้ และดา้ มตรง ซง่ึ กรรไกรดา้ มโคง้ จะตดั ไดเ้ ทยี่ งตรงกว่า เพราะใบกรรไกรอยู่ขนานกับผา้ ขณะตดั ไมค่ วรทำกรรไกรตกขณะใช้เพราะทำให้เสียคม หม่นั ลับกรรไกรให้คม เสมอ และหยอดนำ้ มนั จักรเปน็ ครัง้ คราวเพ่ือปอ้ งกันไม่ใหก้ รรไกรฝดื 4. ชอล์กเขียนผ้า ใชท้ ำเครือ่ งหมายบนผา้ มีทง้ั แบบแท่งเหมือนดนิ สอและแบบแผน่ รสู ามเหล่ียม 5. กระดาษกดรอย เปน็ กระดาษสมี ีหลายสี อาบด้วยเทียนไข ใช้กับลูกกลิง้ เพอื่ กดรอย เผ่อื เย็บเกล็ด หรอื ตะเขบ็ ลงบนผา้ ควรเลอื กให้เหมาะกบั สีของผ้า 6. ลูกกลิง้ ใช้คกู่ บั กระดาษกดรอย มี 2 ชนดิ คือ ชนิดลูกล้อฟนั เลอื่ ย และชนดิ ปลายแหลมเหมือนเข็ม โดยทว่ั ไปนยิ มใช้ชนดิ ลกู ลอ้ ฟนั เลือ่ ยมากกว่า เพราะลูกกลิ้งตดิ สไี ด้ดีและรอยมีความถม่ี ากกว่า 7. เข็มเย็บผ้า ควรเลอื กใหเ้ หมาะสมกบั ผ้า เชน่ เข็มเบอร์ 10–11 มีขนาดเล็กใชก้ บั ผ้าเน้อื บางเบา เข็มเบอร์ 9 มีขนาดกลางใชก้ ับผา้ เนอ้ื หนาปานกลาง และเข็มเบอร์ 8 มีขนาดใหญใ่ ชก้ ับผ้าเน้ือหนา 8. เขม็ จักร ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของด้ายและความหนาของเนื้อผา้ เช่น เขม็ จกั รเบอร์ 9 ใชก้ บั ผ้าแพร ผา้ ชีฟอง ผา้ ไหม และผ้าป่าน เขม็ จักรเบอร์ 11 ใช้กบั ผา้ สักหลาดและผา้ ฝ้ายผสมไนลอน เขม็ จักรเบอร์ 13 ใช้กบั ผา้ ลินนิ ผ้าเสิรจ์ และผา้ ฝ้าย เขม็ จกั รเบอร์ 14 ใชก้ บั ผ้าขนสัตว์ ผ้าใยสังเคราะห์ และผ้า ขนสัตวผ์ สมสำลี เข็มจกั รเบอร์ 16 ใชก้ บั ผ้าใบ ผ้ายีน และหนัง 9. เข็มหมดุ ใชก้ ลัดเพื่อปอ้ งกันการเคล่อื นเวลากดรอยเผอ่ื เยบ็ ใชท้ ำเครอื่ งหมายลงบนผ้า หรอื เนาผ้า ให้ติดกัน เมอ่ื จะตัดผา้ ตามแบบ 10. ดา้ ย ใชเ้ ย็บเพอ่ื ประกอบชน้ิ สว่ นของผา้ ใหต้ ิดกัน ควรเลือกให้เหมาะสมกบั สีผา้ ความหนาของผ้า และขนาดของเขม็ ด้ายท่ีนิยมใชก้ ับผ้าทกุ ชนิด คอื เบอร์ 60 11. ท่ีเลาะด้าย ใชเ้ ลาะด้ายสว่ นทไี่ มต่ อ้ งการท้งิ ส่วนปลายมีลกั ษณะแหลมคมและมีง่าม มีปลอกสวม เพ่อื ความปลอดภัย 12. หมอนเขม็ เป็นอปุ กรณ์พกั เข็มชนิดต่าง ๆ หลังใชง้ านหรอื รอการใชง้ าน หมอนเขม็ ที่ดีควรทำจาก ผา้ กำมะหย่ีหรอื ผ้าขนสัตว์ ไส้ในควรบรรจดุ ้วยเส้นผม ขนสัตว์ หรอื ข้เี ลือ่ ย เพ่อื ป้องกนั สนิม

๑๙ 1. ผา้ ขาวม้า 2. เข็ม+ดา้ ย/จักรเยบ็ ผ้า (หากไม่มจี กั รเย็บผ้า เย็บมอื ก็ไดค้ ะ่ ) 3. ไมบ้ รรทดั 4. กรรไกร 5. ลกู กล้งิ กดรอยผา้ 6. กระดาษลอกลายผา้ 7. เข็มหมุด 8. ผา้ ซับใน การเลือกผ้าเพอ่ื ใชใ้ นการตัดเยบ็ 1. ควรเลอื กผ้าทที่ อเน้อื ละเอยี ด ไมบ่ าง มีนำ้ หนักเพอ่ื ใหจ้ บั ได้เตม็ ท่ีขณะเย็บ 2. ควรเปน็ ผ้าสีพื้น ไมค่ วรใช้ผ้าท่ตี ้องต่อลายใหต้ รงกนั 3. ควรเปน็ ผา้ ท่ีไมย่ ับงา่ ย เพราะจำทำใหเ้ สยี เวลาในการรดี 4. ควรเป็นผา้ ท่ีสไี มต่ ก และหลีกเล่ยี งการใช้ผา้ สเี ข้ม เช่น สนี ำ้ เงิน น้ำตาล 5. ควรเปน็ ผา้ ที่มีความคงทน เส้นดา้ ยทอไมแ่ ตกง่าย และไม่ยดื หรอื หดเมอ่ื ผา่ นการซัก 6. ควรเปน็ ผา้ ท่ีสวมใสแ่ ลว้ สบายตวั ไม่ระคายเคอื งผวิ 7. ควรเลอื กผ้าตามวตั ถุประสงค์ของการนำไปใช้ เช่น ผ้าทใ่ี ช้ตดั ควรเปน็ ผ้าเนอ้ื น่ิม เป็นต้น 8. ไมค่ วรเลอื กใช้ผ้าราคาแพง เพราะหากตัดเยบ็ ไม่สำเร็จจะสิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ 9. พยายามเลยี่ งผ้าที่มีเชิงริมผ้าทง้ั 2 ด้าน เพราะจะทำให้ตัดและเยบ็ ประกอบเปน็ ตวั กระป๋าไดย้ าก

๒๐ สำหรบั ผ้าทว่ี างจำหนา่ ยตามทอ้ งตลาดมคี ณุ สมบัติเฉพาะทแี่ ตกต่างกนั ไป ดังน้ี 1. ผา้ ฝ้าย มคี ุณสมบัตซิ ึมซับนำ้ และระบายความร้อนได้ดี ทนความรอ้ นสูง ทนตอ่ การซกั รดี ราคาไม่ แพงและตดั เย็บง่าย เหมาะจะนำมาตัดชุดนอน ชุดลำลอง กางเกง กระโปรง ชดุ เด็ก และผา้ อ้อม 2. ผ้าลินนิ มคี ุณสมบัติซมึ ซับนำ้ ไดด้ ีและมคี วามเหนยี วมาก สวมใส่สบาย เหมาะทจ่ี ะนำมาตัดเยบ็ เปน็ ของใชใ้ นครัว แตไ่ มค่ วรนำมาฝกึ ตัดเยบ็ เสอ้ื ผ้า เพราะยับง่าย รีดยาก และราคาแพง 3. ผ้าไหม เนอ้ื นุ่ม เบา ขึ้นเงาสวยงาม นิยมนำมาตัดชุดสำหรับงานพธิ ี งานกลางคืน หรือโอกาสพเิ ศษ ไม่ควรนำมาฝึกตัดเยบ็ เสอ้ื ผ้า เพราะซกั รีดยาก ราคาแพง 4. ผ้าขนสัตว์ มีความยืดหยุ่นดีเยยี่ ม ไมย่ ับ และเก็บความร้อนได้ดี แตม่ ีราคาแพง นยิ มนำมาตัดเป็น เสอ้ื ผ้าและเครื่องกันหนาว 5. ผา้ เส้นใยสังเคราะห์ ถา้ ร้อยเปอรเ์ ซ็นตจ์ ะร้อน ไม่ซบั เหง่อื และสวมใสไ่ ม่สบาย แต่ชนดิ ท่ผี สมเสน้ ใย ธรรมชาติจะไมย่ บั ซักรดี ง่าย และสวมใส่สบายกว่า นอกจากนย้ี งั มีความเหนียวและจับจีบได้สวยงาม ผ้าเสน้ ใย สังเคราะห์มีช่ือเรยี กทางการค้าต่าง ๆ กนั เชน่ วิสคอสเรยอน ไลครา เคดอน แอนทรอนเดครอนไวครอน ออร์ ลอน ไวคารา เปน็ ตน้ วิธกี ารทำ

๒๑ 1. ตัดผ้าชิ้น 2 ชน้ิ (ใช้ผา้ ขาวมา้ ) ขนาดตามต้องการ ๒. ตัดผ้ากาวตามขนาดผา้ ขาวม้าแลว้ นำไปรดี ติดกบั ผา้ ขาวม้า ๓. เย็บ 2 ชิน้ น้ตี ิดกัน เยบ็ กน้ กระเป๋าแล้วหนั ตะเขบ็ ไว้ด้านนอก

๒๒ ๔. ตัดสายกระเปา๋ แล้วเย็บสายกระปา๋ ๕. เยบ็ สายกระเป๋าติดกับตวั กระเป๋า ทัง้ สองข้างแล้วตดิ กระดุม ๖. เสร็จเรียบร้อย

๒๓ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๓ เรื่องการบรหิ ารจดั การในการประกอบอาชีพช่างตดั เย็บ เวลา 2 ช่ัวโมง สาระสำคัญ สามารถบอกวิธีการสำรวจแหล่งเงินทุนและแหล่งวัตถุดิบในท้องถิ่นได้สามารถกำหนด มาตรฐานชิ้นงานได้ สามารถบอกวธิ ีการควบคุมคณุ ภาพผลผลิตได้สามารถบริหารจดั การในการประกอบอาชีพ ไดอ้ ย่างมีคณุ ธรรม ขอบขา่ ยเนอ้ื หา 1. การบรหิ ารจัดการการผลิต 2. หลักการจัดการตลาด 3. การทำบัญชรี ายรบั -รายจ่าย 4. การคำนวณต้นทุกำไรในการผลิต และการกำหนดราคาขาย 5. การส่งเสรมิ การขาย และชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ย จุดประสงค์ปลายทาง 1. ผเู้ รยี นสามารถบอกวิธีการสำรวจแหลง่ เงินทนุ และแหลง่ วตั ถุดบิ ในท้องถ่นิ ได้ 2. ผเู้ รียนสามารถสามารถกำหนดมาตรฐานช้นิ งานได้ 3. ผเู้ รียนสามารถบอกวิธกี ารควบคมุ คุณภาพผลผลิตได้ ๔. ผู้เรียนสามารถบริหารจัดการในการประกอบอาชีพได้อยา่ งมคี ุณธรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. การบรรยายให้ความรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธติ 4. การฝึกปฏิบตั จิ รงิ ส่อื 1. ค่มู อื การเรียนรู้ 2. แผ่นพบั แหลง่ การเรียนรู้ - หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชาติตระการ/ ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนประจำตำบล - กศน.อำเภอชาตติ ระการ การวดั ผลประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วมในการทำกิจกรรม 2. การถาม – ตอบ

๒๔ 3. การปฏิบตั งิ าน 4. ชิ้นงาน/ผลงาน ความสัมพันธก์ ับสาระในหลกั สูตร - ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวติ การเตรียมงาน 1. การเตรียมเนือ้ หาการเรยี นรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกับการพฒั นาบคุ คล และสภาพท้องถนิ่ 2. การออกแบบกจิ กรรมการเตรียมคำถาม 3. การเตรียมวัสดุ อปุ กรณ์

๒๕ ใบความรู้ การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพ 1. การบริหารจัดการผลติ ความหมายของการบรหิ ารการผลิต (Product Management) การบริหารการผลิต หมายถึง การสร้าง การวิเคราะห์ การจัดการ การวางแผนการปฏิบัติตาม แผน และการควบคุมผลิตภัณฑ์ขององค์การ เพื่อสนองความจําเป็นและความต้องการของลูกค้าให้เกิด ความพึง พอใจ ขณะเดียวกันกต็ ้องบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ขององค์การ ผู้บริหารจะต้องมีความรูค้ วามเข้าใจ การ ดําเนนิ งาน ตามกระบวนการผลิตอย่างต่อเน่ือง ถ้าผู้บริหารขาดความสนใจการเพ่ิมผลผลิตอย่างต่อเน่ือง ตามกระบวนการ แล้วผลเสียจะเกิดข้ึน ดังน้ัน การบริหารการผลิตที่สําคัญ คือ การบริหารจัดการ ควบคุม การดําเนินงานให้ สอดคล้องกับกระบวนการผลิตเพอื่ การเพมิ่ ผลผลติ อย่างมีคณุ ภาพ หลกั การสาํ คัญของการบรหิ ารการผลติ การบริหารการผลิตมีหลักการท่สี าํ คญั ไดแ้ ก่ 1. การวางแผนและการควบคุมการผลิต จะตอ้ งเปน็ ส่งิ ทไ่ี มซ่ บั ซ้อนและมีความเปน็ สากล โดยผู้บรหิ ารการผลิตจะต้องตัง้ คําถามตามขน้ั ตอนดังนี้ (1) ผลิตสินค้าหรือให้บริการอะไร (2) ปจั จุบนั มที รพั ยากรอะไรบา้ ง (3) จะตอ้ งใช้ทรัพยากรอะไรบา้ งในการผลิต (4) เวลาทเี่ หมาะสมในการผลิตสินคา้ เมื่อใด (5) มีการส่งั ซ้อื หรอื จดั หาวตั ถุดบิ ทรพั ยากรอะไรบ้าง (6) จะตอ้ งใช้ทรพั ยากรอะไรอกี บา้ ง จะใชเ้ มอื่ ใด จะทําการผลิตจํานวนเท่าไร คาถามตา่ ง ๆ เหล่านี้จะเกยี่ วขอ้ งโดยตรงกบั การเคล่ือนไหวของวัตถดุ บิ จากผูส้ ่งมอบเข้า วนการผลิต เพอ่ื ผลิต สนิ คา้ ผลิตภัณฑ์สง่ ต่อไปยงั ลูกค้า 2. เวลา เปน็ ทรพั ยากรทม่ี ีคา่ ในการผลติ การสนิ้ เปลืองเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์ของ องค์การไม่อาจหามาทดแทนได้ เพื่อใหใ้ ช้ทรัพยากรไดด้ ีขนึ้ ผบู้ ริหารสามารถทําได้โดย (1) ไม่ปล่อยเวลาในกระบวนการผลิตให้ผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ (2) ปฏิเสธเหตุผลท่จี ะเผ่อื เวลา หรอื มสี นิ คา้ คงคลังเพื่อสาํ รองไว้ (3) ลดรอบเวลาในทุกหน้าทง่ี านท้งั ดา้ นงบประมาณและแผนดําเนินการ (4) จดั ลาํ ดับความสาํ คัญของงานแต่ละกลุ่ม แต่ละงานเพ่ือใชเ้ วลาให้นอ้ ยลงกวา่ เดมิ 3. องค์การใชเ้ พียงระบบเดียวเท่านน้ั สําหรบั การผลติ ทุกรปู แบบ โครงสรา้ งของระบบ การวางแผนและการควบคมุ การผลติ จะเหมือนกัน ในการผลติ ทุก ๆ รูปแบบ ไม่ ว่าจะเปน็ องคก์ ารการผลิต ขนาดเล็กหรือใหญ่ ตลอดจนองค์การท่ีมีความแตกต่างกันตามลกั ษณะการผลิต แต่ องค์ประกอบและปจั จัย เบ้อื งต้นต่าง ๆ ของกระบวนการผลิตจะเหมอื นกนั จึงไมม่ ีความจาํ เปน็ ท่จี ะตอ้ งมรี ะบบ การวางแผนและ ควบคุมการผลติ หลายระบบหลายรปู แบบ

๒๖ 4. ไม่มีวิธีการที่ดีท่ีสดุ ในการควบคมุ การผลิต ระบบการวางแผนและการควบคุมการผลิต จะเหมือนกนั ในกรอบงานหรือหน้าทพี่ ้ืนฐาน ซ่ึงจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การทําให้องค์การบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ต่าง ๆ ได้ ถงึ แมว้ า่ กรอบงานหรอื หนา้ ที่พน้ื ฐานของระบบจะมลี ักษณะเหมอื นกนั แตอ่ งค์การอาจมีปัจจยั รายละเอยี ด ทม่ี คี วามสําคัญแตกต่างกันออกไป การจัดการการตลาด (Marketing Management) การจัดการการตลาด หมายถึง กระบวนการท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การวางแผน การปฏบิ ตั ิการและควบคมุ เพ่อื ให้บรรลุเปา้ หมายทางธุรกจิ ที่จะประกอบไปด้วยปจั จยั ท่ีเก่ียวข้องคือ * การวางแผน (Planning) * การปฏิบัตกิ าร (Implement) * การควบคมุ (Evaluation) การวางแผน (Planning) จะเป็นการวเิ คราะห์ จากปจั จัยภายในและภายนอก โดยปัจจัยภายในจะมี การวิเคราะห์ จาก Mission Objective Goals และวเิ คราะห์ จุดแขง็ (Strengths) และ จุดออ่ น (Weakness) ทผ่ี ่านมาในอดีต ส่วนปจั จัยภายนอก กว็ ิเคราะหจ์ าก PEST Model ทีป่ ระกอบไปดว้ ย * ปัจจัยดา้ นการเมอื ง (Politic)ท้งั ด้าน นโยบายของภาครัฐ ความมีเสถยี รภาพทางการเมือง * ปัจจัยดา้ นเศรษฐกิจ (Economic) ที่เป็นสภาพแวดลอ้ มในส่วนเศรษฐกิจของโลก หรือ ของประเทศทจี่ ะมีผลกระทบตอ่ ธรุ กิจ * ปัจจัยด้านสังคม (Social) ทมี่ ีเรื่องของวัฒนธรรม และการใช้ชีวิตของคนในประเทศนนั้ ๆ * ปจั จัยดา้ นเทคโนโลยี (Technology) เม่ือไดข้ อ้ มลู จากการวางแผน จึงนำมาสร้างเป็น พันธกจิ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective)และ เป้าหมาย (Goal) เพ่ือไปกำหนดเปน็ กลยุทธท์ างการตลาด (Marketing Strategy) ด้วยการแบ่งสว่ น ตลาด (STP) และ สว่ นผสมการตลาด (Marketing Mix) ซ่ึงทง้ั หมดขา้ งตน้ รวมกนั เรยี กว่า แผนงานทาง การตลาด (Marketing Planning) ในกระบวนการต่อไปคือ การนำไปปฏิบตั ิ หรือ Implementationซง่ึ ใน กระบวนการน้ีจะต้องมกี ารออกแบบขององคก์ รและระบบ (Design Organization and System) เพื่อให้ สอดคล้องและรองรบั กับแผนงานด้านการตลาดอีกท้งั จะต้องกำหนดวิธีการปฏิบัติหรือ ยุทธวธิ ี(SpecificTactics) ใหม้ คี วามชดั เจน และจะต้องกำหนดขอ้ ประเมินผลงานทสี่ ามารถเปรยี บเทยี บ ได้ (Determine Performance Benchmarks) จากนนั้ จึงนำมากำหนดเปน็ กลยุทธ์ในการ ปฏิบตั ิ (Implement Strategy)ซึ่งจะนำมาจาก การออกแบบของระบบกบั องค์กร และวิธีการปฏบิ ัตสิ ุดท้าย คอื การประเมินเปา้ หมาย (Assess Performance) ท่ีมาจากการกำหนดขอ้ ที่จะประเมินผลงาน โดยมคี วาม จำเป็นที่จะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั การกำหนดวิธีการปฏิบัติหรือยุทธวิธใี นขา้ งต้น

๒๗

๒๘ คณะผู้จัดทำ ที่ปรกึ ษา นางพรสวรรค์ กนั ตง ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอชาติตระการ นายรุ้งภธู ร ภาศรี ตำแหน่ง ครู รวบรวมข้อมลู /วเิ คราะห์ข้อมลู / ตำแหน่ง ครอู าสาสมคั รฯ ตำแหนง่ ครูอาสาสมคั รฯ ว่าท่ี พต.บุญสง่ วันชื่น นางสาวประยูร บุญประกอบ ตำแหนง่ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวภาณุมาศ ยศปญั ญา ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลปา่ แดง นางสาวสภุ าพร แตง่ เนตร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลชาตติ ระการ นางสาวนิภาพร พระคำสอน นางสาวกัญญณัช ม่ันหยวก ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลสวนเมย่ี ง นายอษั ฎาพร พว่ งป่ิน ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลบ่อภาค นางสาวเปยี ทพิ ย์ แสงสีบาง นางสาวพรพนา โคกน้อย ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลท่าสะแก นางสาวนำ้ อ้อย แฟงวชั รกลุ ตำแหน่ง ครู ศรช.ตำบลบา้ นดง ตำแหนง่ บรรณารักษ์ พมิ พ/์ เรยี บเรยี ง/เข้าเล่ม กศน.ตำบลสวนเมย่ี ง นางสาวกัญญณชั ม่ันหยวก ตำแหน่ง ตรวจทาน ครอู าสาสมคั รฯ นางสาวประยูร บญุ ประกอบ ตำแหนง่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook