Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสนใจ การแปรผลิตภัณฑ์จากกล้้

หลักสูตรกลุ่มสนใจ การแปรผลิตภัณฑ์จากกล้้

Description: หลักสูตรกลุ่มสนใจ การแปรผลิตภัณฑ์จากกล้้

Search

Read the Text Version

หลักสูตรกลุ่มสนใจ การแปรรูปผลติ ภณั ฑจ์ ากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) จานวน 10 ชวั่ โมง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอชาติตระการ สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดพิษณโุ ลก สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

ก คานา การศึกษาด้านอาชีพให้กับประชาชนเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษาต่อเน่ือง เป็น การศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล เพ่ือให้บุคคลสามารถ ประกอบอาชพี หรือพัฒนาอาชีพของตนเองได้ โดยพิจารณาถึงความต้องการในการเรียนของแต่ละบุคคล ให้ ความสาคัญกับการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนางานและอาชีพระดับพื้นฐาน ระดับก่ึงฝีมือ และระดับฝีมือ ท่ี สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการ ประกอบอาชีพ หรอื เพิ่มพนู รายได้ ท้งั นใ้ี ห้มีการพัฒนาหลักสูตรและวิธีการท่หี ลากหลายและทันสมัย สามารถ ใหบ้ รกิ ารไดอ้ ย่างท่วั ถึงในทกุ พืน้ ท่ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอชาติตระการ จึงได้พัฒนารูปแบบ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย (การทากล้วยกวน) ข้ึน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต เปน็ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการร่วมกัน และพฒั นาต่อยอดเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ ใหก้ ับประชาชน สุดท้ายน้ี ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชาติตระการ ต้อง ขอขอบคุณคณะทางานทุกท่านที่ได้จัดทาข้อมูล เพ่ือให้การดาเนินการจัดหลักสูตรกลุ่มสนใจการแปรรูป ผลติ ภณั ฑ์จากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้ต้ังไว้ เพ่ือนาไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับ ประชาชนตอ่ ไป หากพบขอ้ ผดิ พลาดมขี ้อเสนอแนะทีค่ ดิ วา่ เป็นประโยชน์ กรุณาแจง้ ให้ทางผู้จัดทาทราบด้วยจัก เปน็ พระคณุ ย่ิง เพ่อื จะได้นาไปเป็นขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขหลักสตู รในโอกาสต่อไป กศน.อาเภอชาติตระการ ผูจ้ ัดทา

ข สารบญั เรอ่ื ง หน้า คานา ก สารบญั ข ความเป็นมา 1 หลกั การของหลักสูตร 1 วตั ถปุ ระสงค์ 1 กลุ่มเป้าหมาย 1 ระยะเวลา 2 โครงสร้างหลกั สตู ร 2 การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 3 สื่อ/วสั ดอุ ุปกรณก์ ารเรียนรู้ 3 การวดั และประเมนิ ผล 3 เงือ่ นไขการผา่ นการฝกึ อบรม 3 หลกั ฐานการผ่านการอบรม 3 รายละเอียดโครงสร้างหลกั สูตร 4 ภาคผนวก 6 รายละเอียดเนอื้ หาโครงสร้างหลักสูตร 7 7 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ชอ่ งทางการประกอบอาชีพการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากกล้วย (การทากลว้ ยกวน) 12 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 ทกั ษะการประกอบอาชพี การแปรรูปผลติ ภัณฑจ์ ากกลว้ ย 18 (การทากลว้ ยกวน) 26 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชพี การแปรรปู ผลิตภัณฑ์ 27 จากกล้วย(การทากลว้ ยกวน) ความเหน็ ชอบอนุมัตหิ ลักสูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง คณะทางาน

หลกั สตู รการแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) จานวน 10 ชว่ั โมง กลุ่มอาชพี พาณิชยกรรมและการบริการ ความเป็นมา กล้วยถือว่าเป็นผลไม้พื้นเมืองของไทย นิยมรับประทานกันอย่างแพร่หลาย เป็นผลไม้ท่ีฤดูกาลและ ปราศจากสารพิษ มีประโยชน์สารพัดอย่าง สามารถนาเอาทุกส่วนของพืชชนิดน้ีมาทาประโยชน์สอยและ รบั ประทาน ไม่ว่าจะเปน็ ใบ ดอก ก้านใบ ลาต้น กล้วยน้าว้าเป็นกล้วยชนิดที่นิยมปลูก เน่ืองจากกล้วยน้าว้าคง ความสดอยู่ได้หลายวันก่อนที่จะช้าเกินไป และมีคุณค่าทางอาหารมากมาย มีชื่อเรียกพื้นเมืองแตกต่างกัน ออกไปในแต่ละท้องถ่ิน นอกจากจะรับประทานสดแล้ว ยังสามารถนามาแปรรูปเป็น กล้วยปิ้ง กล้วยเชื่อม กล้วยบวชชี กลว้ ยกวน กล้วยฉาบ เป็นตน้ สามารถรบั ประทานเปน็ อาหารหลักและเป็นอาหารเสริมสาหรับเด็ก ออ่ นด้วย ดงั น้นั ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอชาติตระการ จึงได้จัดหลักสูตรแปร รูปผลิตภัณฑ์กล้วยขึ้น เพ่ือเป็นหลักสูตรท่ีผู้เรียนสามารถศึกษาและนาไปประกอบเป็นอาชีพหลัก หรืออาชีพ เสริมได้ เป็นอกี อาชีพหน่ึงท่ีเป็นช่องทางในการประกอบอาชีพของผู้ท่ีว่างงาน และผู้ที่ต้องการหารายได้เสริม ใหก้ ับครวั ได้อีกดว้ ย หลักการของหลักสตู ร 1. เป็นการจดั หลกั สตู รด้านเกษตรกรรม ที่มีความยืดหยุ่น ท้ังด้านหลักสูตร การจัดกระบวนการ เรยี นรู้ การวัดและประเมินผล 2. การจัดการศึกษาการประกอบอาชีพการแปรรูปกล้วยมุ่งเน้นให้ผู้ไม่มีอาชีพ ผู้มีอาชีพแล้วและ ต้องการพัฒนาอาชีพของตนให้มีความมั่นคงโดยจัดการศึกษาอย่างท่ัวถึงเท่าเทียมกันและเน้นความรู้คู่ คุณธรรม 3. สง่ เสริมใหม้ ีความร่วมมือในการดาเนนิ งานร่วมกับภาคีเครือข่าย ๔. การจัดการเรียนรู้ มุ่งเน้นการอบรมเพ่ือพัฒนากลุ่มเป้าหมายผู้ไม่มีอาชีพ หรือผู้ท่ีมีอาชีพ และ ตอ้ งการพฒั นาอาชีพของตนให้มคี วามมั่นคง ใหม้ คี วามพรอ้ มทจี่ ะทางานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ให้ผู้ เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมที ักษะในการแปรรูปจากกล้วย 2. เพื่อใหผ้ ู้ เรียนสามารถนาความรไู้ ปใช้ประโยชนใ์ นการเพม่ิ ช่องทางในการพัฒนาอาชีพเพิม่ รายได้

2 กลุ่มเปา้ หมาย 1. ผทู้ ีไ่ มม่ ีอาชพี 2. ผ้ทู ่มี อี าชพี และต้องการพัฒนาอาชีพ ระยะเวลาเรียนตลอดหลกั สูตร จานวน ๑0 ชัว่ โมง แบ่งเปน็ 1. ภาคทฤษฎี จานวน 2 ชัว่ โมง 2. ภาคปฏบิ ัติ จานวน 8 ชวั่ โมง โครงสรา้ งหลักสูตร หลกั สูตรการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์กล้วย (การทากล้วยกวน) ประกอบดว้ ยสาระการเรยี นรู้ จานวน 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ ดงั นี้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ช่องทางการประกอบอาชพี การแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย 30 นาที (การทากลว้ ยกวน) 1.1 ความสาคญั ในการประกอบอาชพี การแปรรูปผลติ ภัณฑจ์ ากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) 1.2 ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับการทาอาชีพการแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) 1.3 แหล่งเรียนรู้ 1.4 ทิศทางการประกอบอาชีพการแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 ทักษะการการประกอบอาชีพการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์จากกลว้ ย 9 ชวั่ โมง (การทากลว้ ยกวน) 2.1 ขน้ั เตรยี มการประกอบอาชีพการแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) 2.2 ขั้นตอนการนากลว้ ยแปรรปู เปน็ รูปแบบชนิดตา่ งๆ ได้ 2.3 ข้นั ตอนการเก็บรักษาเพ่ือการจาหน่ายเพื่อบรโิ ภค หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 การบริหารจัดการในการประกอบอาชพี การแปรรูปผลิตภัณฑ์ 30 นาที จากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) 3.1 การบริหารจัดการแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) 3.2 การจดั การตลาดในการแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกล้วย (การทากล้วยกวน) 3.3 การวางแผนการดาเนนิ งาน

3 การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การเรียนรู้ตามหลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์กล้วย (การทากล้วยกวน) เน้นการเรียนรู้ด้วย ตนเอง มคี าแนะนาสาหรับผ้เู รยี น ดงั นี้ 1. ผู้เรียนทาความเข้าใจในคู่มือการเรียน วิธีการปฏิบัติ รวมถึงรายละเอียดท่ีเก่ียวกับ หลกั สตู ร 2. ฝึกปฏบิ ัตริ ่วมกับวิทยากร ให้ผู้เรียนฝึกฝนดว้ ยตนเองจนเกิดทกั ษะ 3. การแลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกัน 4. การสาธิต ส่อื /วสั ดอุ ุปกรณก์ ารเรียนรู้ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ เอกสาร หนังสอื ใบความรู้ ๒. ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น 3. ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ ง ๆ เชน่ อนิ เตอรเ์ น็ต การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนร/ู้ การตอบคาถาม/การมสี ว่ นร่วม 2. การประเมินผลจากการปฏิบัติ 3. การประเมินผลจากผลผลติ กล้วย เงอ่ื นไขการผ่านการฝึกอบรม 1. มเี วลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ตลอดหลกั สูตร ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 หลกั ฐานการผ่านการอบรม 1. หลักฐานการประเมนิ ผล 2. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร 3. วุฒิบตั รออกโดยสถานศึกษา

โครงสรา้ งหลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จา เรื่อง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ 1. ความสาคญั ของการประกอบ 1. ความสาคญั ใน การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย อาชีพการแปรรูปผลิตภณั ฑจ์ าก รูปผลิตภัณฑ์จาก (การทากลว้ ยกวน) กล้วย (การทากลว้ ยกวน) 2. ความเป็นไปได้ในการประกอบ 2. ความร้เู บ้อื งต 2. ทักษะการประกอบอาชีพการ อาชีพการแปรรปู ผลิตภัณฑ์จาก แปรรูปผลิตภัณฑ แปรรูปผลิตภัณฑจ์ ากกล้วย(การ กล้วย (การทากล้วยกวน) ทากล้วยกวน) 3. แหลง่ เรียนรู้ 2.1 ความตอ้ ง 4. การตดั สินใจในการเลือกอาชพี 2.2 การใช้แรง 2.3 การจดั หา 1. ขน้ั เตรียมการประกอบอาชพี การ 2.4 การเลือก แปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย(การทา 3. แหล่งเรียนรู้ กลว้ ยกวน) 4. ทศิ ทางการปร 2. ขน้ั ตอนการนากล้วยมาแปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ ากกล เปน็ กล้วยกวน 3. ข้นั ตอนการเก็บรกั ษาเพื่อการ 1. ขนั้ เตรียมการ จาหนา่ ยหรอื บริโภค ผลติ ภัณฑจ์ ากกล 1.1 สถานท่ี/พ 1.2 การเตรียม 1.3 ผลผลติ ทา 1.4 ความรู้ท่ีเ การแปรรูปผลติ ภ กวน)

ากกล้วย (การทากลว้ ยกวน) จานวน ๑0 ชว่ั โมง เนอ้ื หา จัดกระบวนการเรียนรู้ จานวนช่วั โมง ทฤษฎี ปฏิบัติ นการประกอบอาชีพการแปร วิทยากรใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั ขอ้ มลู 30 นาที - กกล้วย (การทากลว้ ยกวน) ความสาคัญ ความเปน็ ไปได้ในการ ต้นเก่ียวกบั การทาอาชีพการ ประกอบอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑจ์ าก ฑจ์ ากกล้วย (การทากล้วยกวน) กล้วย (การทากลว้ ยกวน) ในแหล่ง งการของตลาด เรยี นรู้ และทิศทางการประกอบอาชีพ งงาน การแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากกลว้ ย (การ าวัสดุอุปกรณ์ ทากล้วยกวน) โดยคานึงถึงความ กทาเลท่ีตงั้ เหมาะสม ระกอบอาชพี การแปรรปู ล้วย (การทากลว้ ยกวน) รประกอบอาชพี การแปรรูป วิทยากรอธบิ ายเนอ้ื หาตามลาดับ 1 ช่วั โมง 8 ชัว่ โมง ลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) ขน้ั ตอน พรอ้ มสาธติ และให้ผเู้ รียนฝกึ พื้นที่ ปฏบิ ตั จิ รงิ แปรรปู กล้วย คอื กลว้ ย มวัสดุ กวน างการเกษตรกล้วย เกยี่ วข้องในการประกอบอาชพี ภัณฑ์จากกล้วย(การทากล้วย 4

เรอ่ื ง จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. การบรหิ ารจัดการในการ 1. การบรหิ ารจดั การการแปรรปู 2. ข้นั ตอนการน ประกอบอาชีพการแปรรูป ผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย ชนิดต่างๆ ได้ ผลติ ภัณฑ์จากกล้วย (การทากล้วยกวน) (การทากล้วยกวน) 2.1 การแปรร 2. การจดั การตลาดในการแปรรปู 2.2 การบรรจ ผลติ ภัณฑ์จากกล้วย 3. ขน้ั ตอนการเก บริโภค (การทากลว้ ยกวน) 3. การวางแผนการดาเนินงาน 1. การบริหารจัด กล้วย (การทากล 1.1 การจดั กา รปู ผลติ ภัณฑจ์ าก 1.2 การลดต้น จากกลว้ ย(การทา 1.3 การวางแผ 2. การจดั การตล จากกล้วย (การท 2.1 ขอ้ มูลควา 2.2 การกระจ ผ้บู ริโภค 2.3 การวางแผน 2.4 การออกแ 3. การวางแผนก

เน้ือหา จัดกระบวนการเรยี นรู้ จานวนชั่วโมง นากลว้ ยแปรรูป เปน็ รูปแบบ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รูปผลติ ภัณฑ์จากกล้วย จุผลิตภัณฑ์ กบ็ รกั ษาเพื่อการจาหนา่ ยเพ่อื ดการแปรรูปผลิตภัณฑจ์ าก วิทยากรอธิบายเนื้อหาตามลาดบั 30 นาที - ล้วยกวน) พรอ้ มยกตวั อยา่ งของจรงิ สาธติ ใหด้ ู ารควบคุมคุณภาพในการแปร และให้ผ้เู รยี นปฏิบัตเิ กยี่ วกับการ กกล้วย (การทากลว้ ยกวน) ควบคุมคุณภาพ การคานวณต้นทนุ นทุนในการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ และการจัดการตลาด ากล้วยกวน) ผนการผลติ ลาดในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ทากล้วยกวน) ามต้องการของลูกค้า จายผลิตภัณฑ์แปรรูปไปสู่ นการตลาด แบบบรรจภุ ณั ฑ์ การดาเนินงาน 5

ภาคผนวก

7 รายละเอยี ดเนอ้ื หาโครงสร้างหลกั สูตร หนว่ ยการเรียนท่ี ๑ เรื่อง ชอ่ งทางการประกอบอาชพี เวลา 30 นาที สาระสาคัญ ความสาคญั ของการประกอบอาชพี ความเปน็ ไปไดข้ องการประกอบอาชีพ ความต้องการ ของตลาดการใช้แรงงาน การจดั หาวสั ดุ อุปกรณ์ ทุน แหล่งเรยี นรู้ ทิศทางการประกอบอาชพี ขอบข่ายเนอ้ื หา 1. ความสาคัญในการประกอบอาชีพการแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) 2. ความร้เู บ้ืองตน้ เกย่ี วกบั การทาอาชพี การแปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากกล้วย (การทากล้วยกวน) 3. แหล่งเรียนรู้ 4. ทิศทางการประกอบอาชพี การแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากกล้วย (การทากล้วยกวน) ความสอดคลอ้ งหมวดวิชา วชิ าทักษะการพฒั นาอาชีพ , วิชาพัฒนาสังคมและชุมชน และวิชาเลอื ก จดุ ประสงค์ปลายทาง 1. สามารถอธิบายบอกความสาคัญ และคุณคา่ ทางโภชนาการของการประกอบอาชีพได้ 2. บอกความเปน็ ไปไดใ้ นการประกอบอาชพี การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย (การทากล้วย กวน) ได้แก่ การลงทนุ การตลาด วัสดุ อุปกรณ์ และทาเลท่ตี ง้ั 3. บอกและหาแหล่งเรยี นรไู้ ด้ 4. บอกทศิ ทางการประกอบอาชพี การแปรรูปผลิตภณั ฑจ์ ากกล้วย (การทากลว้ ยกวน) การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. การบรรยายใหค้ วามรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธติ 4. การฝกึ ปฏิบัติจริง สื่อ 1. ค่มู ือการเรียนรู้ 2. แผน่ พบั แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุดประชาชนอาเภอชาติตระการ/ ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนประจาตาบล - กศน.อาเภอชาตติ ระการ

8 การวดั ผลประเมินผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมในการทากิจกรรม 2. การถาม – ตอบ 3. การปฏบิ ัตงิ าน 4. ชิน้ งาน/ผลงาน ความสัมพันธก์ บั สาระในหลกั สูตร - ดา้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ การเตรียมงาน 1. การเตรียมเน้ือหาการเรียนร้ใู ห้สอดคล้องกับการพฒั นาบคุ คล และสภาพทอ้ งถ่ิน 2. การออกแบบกจิ กรรม การเตรยี มคาถาม 3. การเตรียมวสั ดุ อุปกรณ์

9 ใบความรู้ ช่องทางการประกอบอาชีพ 1. ความสาคัญในการประกอบอาชพี การแปรรูปผลติ ภัณฑจ์ ากกล้วย (การทากล้วยกวน) กล้วยเป็นพืชล้มลุกท่ีเจริญเติบโตได้ดีในทุกพ้ืนที่ โดยเฉพาะ อากาศร้อนชื้น เป็นพืชปลูกง่ายไม่ยุ่งยากในการบารุงรักษาและให้ผล ผลิตตลอดปีจึงมีการขยายพนั ธก์ุ ันอยา่ งแพร่หลายสาหรับประเทศไทยมี การปลูกกล้วยเพ่ือบริโภคต้ังแต่ระดับครัวเรือนจนถึงการปลูกเพ่ือการ จาหนา่ ยในระดับอตุ สาหกรรมกลว้ ยจดั เปน็ พชื เศรษฐกจิ ชนิดหนึ่งท่ีสร้าง รายไดใ้ ห้กบั เกษตรกรทว่ั ทุกภาคของประเทศการใช้ประโยชน์จากกล้วย นน้ั พบว่ากลว้ ยให้ประโยชนใ์ นทุกส่วนตั้งแต่ลาต้นใบและผลในส่วนของ ลาต้นใช้เป็นอาหารสัตว์แปรรูปเป็นเชือกกล้วยและปุ๋ยส่วนใบใช้ ประดิษฐ์งานด้านศิลปะและเป็นภาชนะบรรจุอาหารผลของกล้วยอุดม ดว้ ยวติ ามินและเกลอื แรท่ ใี่ ห้ประโยชน์แก่ร่างกายใช้รับประทานสดและ แปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์ใหม่ไดห้ ลายชนิด ในสมัยก่อนมีการแปรรูปกล้วยน้าว้าเพ่ือเป็นการถนอมอาหาร แต่ในปัจจุบันสามารถแปรรูปกล้วย นา้ วา้ เพอ่ื เปน็ การเพ่มิ มลู ค่า ซงึ่ สามารถทาได้หลายหลากวิธี เช่น กวน อบ นึ่ง เป็นต้น การแปรรูปกล้วยน้าว้า ในรูปแบบผลิตภัณฑ์กล้วยน้าหว้าแปรรูปด้วยกรรมวิธีถนอมอาหาร ผู้อ่านสามารถติดตาม การแปรรูปกล้วย น้าว้า ในรูปแบบผลิตภัณฑ์กล้วยน้าว้าแปรรูปด้วยกรรมวิธีปรุงสุกสาหรับรับประทานทันที ในบทความ ผลิตภัณฑ์กล้วยนา้ ว้าได้ การแปรรปู กลว้ ยนา้ วา้ ใหไ้ ด้คุณภาพ และรสชาตทิ ีด่ ีของผลิตภัณฑ์ ควรคัดเลือกกล้วย นา้ ว้าให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ ซ่งึ กลว้ ยน้าวา้ ในประเทศไทย จาแนกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ กล้วยน้าว้าไส้ ขาว ท่ีร้จู กั กนั ดีคือ ‘กลว้ ยนา้ วา้ มะลิอ่อง’ เหมาะที่จะทากล้วยตาก จะได้กล้วยตากสีเหลืองสวย ไม่ดาคล้า, ทา กล้วยแผ่นอบ ได้สีเหลืองที่สวยพอดี กล้วยน้าว้าไส้เหลือง เหมาะสาหรับการกินผลสด ทากล้วยเช่ือม กล้วย ทอด กลว้ ยบวชชี เป็นกลุม่ กลว้ ยที่เหมาะสาหรับการแปรรูป ทาขนม ใช้งานได้หลากหลายท่ีสุด กล้วยน้าว้าไส้ แดง ไส้คอ่ นขา้ งแข็งมคี วามฝาด เหมาะสาหรบั ทากลว้ ยเช่ือม หรือทาไส้ข้าวต้มมัด ไส้จะไม่เละ กล้วยกลุ่มไส้แดงน้ี ไม่ เหมาะท่ีจะนาไปทากล้วยตาก เพราะกล้วยจะคล้าดา สีไม่ สวย ดูแล้วเหมือนผลิตภัณฑ์เก่า ทากล้วยบวชชีก็ไม่อร่อย เพราะมีรสฝาด แต่กล้วยน้าว้ากลุ่มน้ีจะให้ผลผลิตค่อนข้าง ดก ตามทีไ่ ดก้ ลา่ วไว้ตอนตน้ ถึงประโยชน์อันหลากหลายของ กล้วยนา้ ว้า การแปรรปู จากผลของกลว้ ยกเ็ ป็นประโยชน์เพื่อ เพิม่ มูลค่าทไ่ี ด้จากกล้วยนา้ ว้า มใี ห้เลอื กหลายรปู แบบ

10 การสง่ เสรมิ ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคลและกลุ่มบุคคล เป็นการ แกป้ ัญหาการว่างงาน และส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถ ให้แกป่ ระชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่ม่ันคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้าน ตา่ ง ๆ และนอกจากคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ท่ผี ้บู ริโภคใช้ตัดสินใจในการ ยอมรับและบริโภคสินค้า ซึ่งองค์ประกอบ สาคัญท่ีมีผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ ได้แก่ วัตถุดิบ กระบวนการแปรรูป อุปกรณ์ เครื่องมือ เครอ่ื งใชใ้ นการแปรรปู ผูป้ ฏิบตั งิ าน การบรหิ ารจดั การเงินทนุ ท่ใี ช้ในการ ประกอบการ การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ ที่มีความปลอดภัยเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและสามารถรักษาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ให้คงท่ีก่อนถึงมือผู้บริโภคใน กลุ่มผลิตภัณฑ์ท่สี ร้างงาน สรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ การเพ่ิมประสิทธิภาพ การแปรรูปผลผลิต เกษตรยกระดับ สินค้าชมุ ชนให้สามารถเข้าสู่ตลาดและการแข่งขันได้ 2. ความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกับการทาอาชีพการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) 2.1 ความต้องการของตลาด จากกระแสรักสุขภาพในปัจจุบัน ทาให้ผู้ริโภคมี แนวโน้มดูแลและใส่ใจสุขภาพมากข้ึน โดยมีการปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมในการเลอื กรับประทานอาหาร อาหารว่าง อาหาร ทานเล่น และขนมขบเคี้ยว (Snack) ที่ผู้บริโภคได้ให้ ความสาคญั เทา่ กับการเลือกอาหารหลัก ดังนั้นจึงเป็นโอกาส ที่กล้วยกวนเพ่ือสุขภาพ จะเข้า ตลาดอาหารทานเล่นท่ีไม่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพ และยังเป็นการยืดอายุกล้วยให้นานข้ึน เป็นทางเลือกให้ผู้บริโภคได้เลือกซ้ือผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ ปลอดภยั จากวัตถุกันเสยี และสารสังเคราะห์ท่ีมีผล ก่อให้เกิด อนั ตรายต่อสขุ ภาพ พร้อมท้ังผลติ ภัณฑ์กล้วยกวนยังสามารถ นามาเปน็ ของฝากขอทร่ี ะลึกในช่วงเทศกาลต่าง ๆ อีกด้วย 2.2 การใช้แรงงาน แรงงานในการผลติ ภณั ฑ์กล้วยกวนข้ึนอย่กู ับลกั ษณะของการทาธรุ กจิ กาลังการผลิต โครงสร้าง องคก์ ารเป็นลักษณะเจ้าของกจิ การจ้างแรงงานเป็นลูกมอื ในการผลติ โดยมอบหมายงานแบง่ ความรับผิดชอบใน แต่ละกระบวนการผลติ เท่านั้น และในรปู แบบกลุ่มการคดั เลือกคนเขา้ ทางานจะมาจากสมาชกิ ของทางกลมุ่ โดยการจดั คนให้เหมาะสมกับงานน้ันในตอนเร่ิมกอ่ ต้งั จะมกี ารสอนข้นั ตอนและกระบวนการใหส้ มาชกิ ได้ทราบ และฝกึ ปฏบิ ัติ ซึ่งจะทาใหท้ กุ คนเขา้ ใจขัน้ ตอนการทางาน แต่การจดั วางหนา้ ท่ี นั้นจะเนน้ ท่ีความถนัดของแต่ละ บคุ คลการสัง่ งานจะเป็นลักษณะ การกาหนดยอดการผลิตแจ้งใหก้ ับสมาชิก/แรงงานไดท้ ราบในเบื้องตน้ ทงั้ นี้ การจา่ ยค่าจา้ ง/คา่ ตอบแทนจะเปน็ ลักษณะการ เหมาช้ินงานวิธีการควบคุมการทางานใหเ้ ปน็ ไปตามแผนท่ีตงั้ ไว้ นนั้ ทางกล่มุ ทาได้โดยการกาหนดปรมิ าณที่จะผลิตตามแผน/คาสงั่ ซ้อื 2.3 การจัดหาวัสดุ อปุ กรณ์ การจดั หาวสั ดุ อปุ กณจ์ ะทาในครั้งแรกทีม่ ีการดาเนนิ การแปรรูปกล้วยกวน การเตรยี มอปุ กรณ์ เริ่มดว้ ยขนั้ ตอนการลา้ งทาความสะอาดอปุ กรณ์ต่าง ๆ ให้สะอาด แล้วเช็ดหรือตากแดดให้แหง้ สนิททกุ ครัง้ ท้งั ก่อนและหลงั การแปรรปู โดยเครอ่ื งมืออปุ กรณ์ต่าง ๆ ต้องถูกตอ้ งตามหลกั การต่อไปน้ี

11 1. เคร่อื งมอื และเคร่ืองใช้ตา่ ง ๆ จะต้องออกแบบและตดิ ตง้ั ใหส้ ะดวกตอ่ การใช้งานและ บารงุ รักษา เพอ่ื ให้ถกู สขุ ลักษณะ และสามารถทาความสะอาดได้ทวั่ ถึง 2. การเกบ็ อปุ กรณ์ในทท่ี ึบมิดชิดในตู้ เพอ่ื ป้องกันไม่ใหแ้ มลงหรือส่ิงปนเปอื้ นอน่ื ๆ เขา้ ไปอยไู่ ด้ 3. เครือ่ งมอื ที่ตง้ั อย่บู นพนื้ จะต้องมีการตดิ ตัง้ ให้แนบสนิทกับพ้ืนหรือตง้ั บนขาสงู 4. ภาชนะหรือถังทีใ่ ช้ใส่ของกินไมไ่ ดจ้ ะต้องทาเครือ่ งหมายใหเ้ หน็ ชดั 2.4 การเลอื กทาเลที่ตง้ั การเลือกทาเลท่ีต้ังสถานประกอบธุรกิจ หมายถึง การจัดหาหรือสรรหาสถานที่ สาหรับ ประกอบธุรกิจให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยคานึงถึง กาไร ค่าใช้จ่าย พนักงาน ความสัมพันธ์กับลูกค้าความ สะดวก ตลอดจนสภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ ที่ดีตลอดระยะเวลาทป่ี ระกอบธุรกจิ นนั้ การเลอื กทาเลท่ีต้งั สถานประกอบธุรกิจ มีความสาคัญต่อความสาเร็จขององค์การธุรกิจ กล่าวคือ หากเลือกทาเลท่ีไม่เหมาะสม จะทาให้องค์การธุรกิจ ประสบปัญหาอ่ืน ๆ ตามมา เช่น ค่าขนส่งสูง เน่ืองจาก สถานประกอบธุรกิจอยู่ไกลจากแหล่งวัตถุดิบ และตลาด นอกจากนี้ อาจขาดแคลนแรงงานท่ีมีคุณภาพ ขาด แคลนวัตถุดิบ รวมไปถึงปัจจัยอื่น ๆ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการผลิต และการปฏิบัติงานขององค์การธุรกิจ โดยท่ัวไปลักษณะของทาเล จะไม่มลี กั ษณะใด ทดี่ กี ว่ากันอยา่ งชัดเจน แต่จะเกดิ จากการพจิ ารณาลักษณะดีของ แต่ละทาเล นามาประกอบกัน เพ่ือการตัดสินใจเลือกที่ใช้ต้ัง สถานประกอบธุรกิจ ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาใน อนาคต ให้น้อยที่สดุ การเลอื กทาเลทตี่ ง้ั สถานประกอบธุรกจิ ต่าง ๆ โดยทว่ั ไปมักจะพยายามหาแหล่ง หรือทาเล ที่ทาให้ต้นทุนรวม ของการผลติ สนิ ค้าและ บรกิ ารที่ต่าทสี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะเป็นไปได้แต่ลักษณะของการประกอบธุรกิจ และสถานทป่ี ระกอบกจิ การย่อมแตกต่างกันในเรื่องของชนิดสินคา้ คา่ ใชจ้ า่ ยและการลงทุน ดังนั้นการพิจารณา เลือกทาเลจึงต้องคานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ หลายประการเพราะการเลือกทาเลที่ต้ัง มีความสาคัญต่อการ ดาเนินงานขององค์การธรุ กจิ ตา่ ง ๆ เช่น การวางแผนระบบการผลิต การวางผังโรงงาน การลงทุน และรายได้ เป็นตน้ 3. แหลง่ เรยี นรู้ แหลง่ เรียนรู้ หมายถงึ แหล่งข้อมลู ขา่ วสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ท่ีสนบั สนุนสง่ เสรมิ ให้ ผเู้ รียนใฝเ่ รยี น ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรยี นร้ดู ้วยตนเองตามอัธยาศัย อย่างกว้างขวางและต่อเนอ่ื ง เพอ่ื เสรมิ สรา้ งให้ผู้เรียนเกดิ กระบวนการเรยี นรู้ และเปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้ 4. ทิศทางการประกอบอาชพี การแปรรูปผลิตภัณฑจ์ ากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) การนากล้วยมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ ได้มากมาย ในปัจจุบันมีการพัฒนาผลิตกล้วยเชิง อตุ สาหกรรมแปรรูปมากขึน้ ทาให้สามารถปอ้ งกันกล้วยสดล้นตลาด ยกระดับราคาผลผลิตไม่ให้ตกต่า ช่วยยืด อายกุ ารเก็บรักษา สง่ เสรมิ การสรา้ งผลติ ภณั ฑร์ ูปแบบใหมอ่ อกสู่ตลาด เพื่อเพ่ิมมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์และสร้าง รายได้ท่ดี ที าใหม้ ีการพัฒนาและส่งเสริม เป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนใน ชมุ ชนอกี ด้วย

12 รายละเอยี ดเนอ้ื หาโครงสร้างหลกั สูตร หน่วยการเรยี นที่ ๒ เร่อื ง ทักษะการประกอบอาชพี เวลา 9 ชั่วโมง สาระสาคัญ การเตรียมการประกอบอาชพี การแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) ได้ บอก ขั้นตอนวิธีการแปรรปู กล้วยได้ สามารถนาวตั ถดุ ิบในท้องถิน่ มาปรบั ใช้ในการแปรรูปกลว้ ยได้ ขอบข่ายเนอ้ื หา 1. ขั้นเตรยี มการประกอบอาชพี การแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากกล้วย (การทากลว้ ยกวน) 2. ขนั้ ตอนการนากลว้ ยแปรรปู เป็นรปู แบบชนดิ ต่างๆ ได้ 3. ข้นั ตอนการเก็บรกั ษาเพ่อื การจาหนา่ ยเพือ่ บริโภค ความสอดคลอ้ งหมวดวิชา วิชาทักษะการพัฒนาอาชพี , วชิ าพฒั นาสงั คมและชมุ ชน และวชิ าเลือก จุดประสงค์ปลายทาง 1. สามารถอธบิ ายการเตรียมการประกอบอาชีพการแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) ได้ 2. สามารถบอกขนั้ ตอนวธิ ีการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์จากกล้วย (การทากล้วยกวน) ได้ 3. สามารถนาวัตถุดบิ ในทอ้ งถนิ่ มาปรบั ใชใ้ นการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) ได้ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. การบรรยายให้ความรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธิต 4. การฝกึ ปฏิบัติจริง สือ่ 1. คมู่ ือการเรียนรู้ 2. แผน่ พบั แหล่งการเรียนรู้ - หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอชาติตระการ/ ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนประจาตาบล - กศน.อาเภอชาติตระการ

13 การวดั ผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทากจิ กรรม 2. การถาม – ตอบ 3. การปฏบิ ตั งิ าน 4. ชิน้ งาน/ผลงาน ความสัมพันธก์ บั สาระในหลักสูตร - ด้านการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ การเตรียมงาน 1. การเตรยี มเนือ้ หาการเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั การพฒั นาบคุ คล และสภาพทอ้ งถ่ิน 2. การออกแบบกิจกรรม การเตรียมคาถาม 3. การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์

14 ใบความรู้ ทักษะการประกอบอาชีพ 1. ข้ันเตรยี มการประกอบอาชพี การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) ผู้ประกอบอาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย จัดซื้อจัดหาวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตสาหรับการ แปรรูป สามารถบริหารจัดการการดาเนินงานการจัดซ้ือจัดหาวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตสาหรับการแปรรูป กาหนดนโยบายและวางแผนการดาเนินงาน จัดสรรบุคลากรและทรัพยากรในการดาเนินงาน จัดทาขั้นตอน การปฏิบัติงานและข้นั ตอนประเมินบคุ ลากรในการจัดซ้ือจดั หาวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตสาหรับการแปรรูป มี ทกั ษะความเช่ียวชาญทางเทคนิคในการปฏิบัติงานให้บรรลุงานตามแผน สามารถสรุปและตัดสินใจแก้ปัญหาท่ี ซบั ซอ้ นและประเมินผลในการปฏิบัตงิ าน และมีจริยธรรมในการประกอบอาชพี 1.1 สถานท/ี่ พ้นื ท่ี สถานท่ีในการผลติ ควรสะอาด และมีการจัดแบ่งบริเวณใหเ้ ป็นสดั สว่ นตามลาดับ ข้ันตอนการผลิต มีพืน้ ทเ่ี พียงพอทจ่ี ะติดตงั้ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการผลิต โดยการจัดแบ่ง พื้นท่ีภายในสถานท่ีผลิตอย่าง น้อยที่สุดควรมบี ริเวณต่าง ๆ 1. อาคารที่ตั้งอยู่ในสถานการณ์ท่ีห่างไกลจากสิ่งรบกวน เช่น ควัน ฝุ่น หรือกองขยะ มีการ ระบายน้าทีด่ ี 2. ตัวอาคารต้องมีสภาพท่ีดแี ขง็ แรงมพี นื้ ที่พอเพียงสาหรบั ปฏบิ ัตงิ าน 3. ตัวอาคารต้องมีการระบายอากาศที่ดีและสามารถป้องกันมิให้เป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ และ แมลงต่าง ๆ 4. ตัวอาคารผลิตจะตอ้ งจัดการปฏิบตั งิ านให้เปน็ สัดสว่ น 5. อาคารต้ังอยู่ในสถานท่ีเหมาะสมและไม่ใกล้เคียงกับสถานท่ีรังเกียจ เช่น คอกปศุสัตว์ หรือ สถานท่เี ลยี้ งสัตวเ์ มรเุ ผาศพ สถานท่ผี ลิตวตั ถุมพี ิษ 6. ตัวอาคารออกแบบสร้างในลักษณะง่ายแก่การทะนุบารุงและรักษาความสะอาดใน กระบวนการผลิตอาหาร 1.2 การเตรยี มวัสดุ การเตรียมวัสดุในการแปรรูป การเตรียมวัตถุดิบก่อนเข้าสู่กระบวนการแปรรูปอาหาร (food processing) เป็นกระบวนการสาคัญเพือ่ เตรียมวตั ถดุ ิบให้พรอ้ ม อาจประกอบด้วยหลายขัน้ ตอน ขึน้ อยู่กับชนิด ของวตั ถุดบิ กาจดั ส่ิงทไี่ ม่ตอ้ งการออก ให้เหลอื เฉพาะสว่ นท่รี บั ประทานได้ อย่ใู นสภาพทีเ่ หมาะสม 1.3 ผลผลติ ทางการเกษตรกลว้ ย การนาผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปจะต้องคัดสรรผลผลิตทีมีคุณภาพ ใหม่ สด สะอาด เพื่อ แปรรูปให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพ วิธีการแปรรูปจะต้องเลือกวิธีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรตามความ ตอ้ งการความนยิ มของผู้บรโิ ภค เพื่อชว่ ยป้องกนั การล้นตลาดของผลผลิต เนื่องจากผลผลิตในบางฤดูกาลจะมี ออกมาพร้อม ๆ กัน ทาให้มีมากจนส่งผลให้ราคาตกต่า วิธีการแปรรูปจึงมีบทบาทความสาคัญท่ีจะช่วยเก็บ รกั ษาผลผลติ ไวไ้ ด้นาน เพม่ิ ความหลากหลายในผลผลิต ทาให้จาหน่วยได้ราคาทีด่ ีขน้ึ

15 1.4 ความร้ทู ี่เกีย่ วข้องในการประกอบอาชีพการแปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ ากกล้วย (การทากลว้ ยกวน) การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง กระบวนการปรับปรุง เปล่ียนแปลงรูปร่างและ รสชาติของผลผลิตทางการเกษตรให้มีลักษณะแปลกใหม่แตกต่างไปจากเดิม เพ่ือช่วยเพ่ิมมูลค่าและคุณภาพ สามารถเก็บไว้รบั ประทานได้เปน็ ระยะเวลานานและใช้ประโยชน์ในผลผลิตทางการเกษตรดังกล่าวได้มากย่ิงข้ึน เช่นการแปรรปู กลว้ ยนา้ ว้าเปน็ การทากล้วยตาก การทากลว้ ยกวน การทากล้วยฉาก เป็นต้น 2. ขั้นตอนการนากล้วยแปรรปู เปน็ รูปแบบชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ 2.1 การแปรรูปผลิตภณั ฑจ์ ากกลว้ ย วตั ถุดบิ และส่วนประกอบ 1. กล้วยน้าว้าสุกงอม 18 กิโลกรัม 2. กะทิ 3 กโิ ลกรมั 3. น้าตาลทราย 2 กิโลกรมั 4. เกลือ 3 ช้อนโต๊ะ 5. แบะแซ 5 ขีด 6. นมข้นหวาน 2 - 3 ชอ้ นโตะ๊ 7. นา้ ปูนใส 3 แก้ว วธิ ที า 1. นากล้วยปอกเปลือกออก นาไปใส่เคร่ืองป่ันไฟฟ้าใส่ป่ัน ละเอียด 2. คั้นมะพรา้ วให้ได้กะทิ 2 ถ้วย หางกะทิ 2 ถ้วย 3. นาหวั กะทิ ตั้งไฟออ่ นเค่ียวให้เปน็ นา้ มัน พักไว้

16 4. นา้ ตาลใส่กระทะ เตมิ นา้ หางกะทลิ งไปยกขึน้ ตง้ั ไฟใช้ไฟขนาดกลางคนดว้ ยพายไม้อยตู่ ลอดเพื่อ ไม่ให้ ก้นกระทะไหม้ พอเดอื ดใสก่ ลว้ ยท่ปี ั่นแลว้ ลงไปคนอยา่ ให้ติดกระทะใส่แบะแซ นมข้นหวาน นา้ ปูนใส เกลือคนตลอด พอเร่ิมข้น เหนยี วลดไฟอ่อนลง และกวนขนมต่อไป นานประมาณ ๖ ชั่วโมง 5. เม่ือกวนได้ที่แล้ว ยกลงทิ้งให้ อุ่ น แ ล้ ว เ ท ใ ส่ ถ า ด ที่ ปู ร อ ง ด้ ว ย พลาสติก เกล่ียหน้าขนมให้เรียบ หรือใช้ไม้คลึงแป้งคลึง ให้เรียบ หนาประมาณ 3/4 เซนติเมตร วางในถาดอลูมิเนยี ม 6. ตัดเป็นท่อน ๆ ห่อด้วย กระดาษแกว้ 7. บรรจใุ ส่บรรจุภัณฑ์ท่เี ตรยี มไว้ 8. ติดฉลากเตรียมจาหน่าย

17 2.2 การบรรจผุ ลติ ภัณฑ์ การบรรจุภัณฑ์ (Packaging) หมายถึง การใช้เทคโนโลยีและเศรษฐศาสตร์เพื่อหาวิธีการรักษา สภาพเดมิ ของสินคา้ จนกว่าจะถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้าย เพ่ือให้ยอดขายมากที่สุดและต้นทุนต่าสุด Packaging หมายถึง กิจกรรมทั้งหมดท่ีเกี่ยวข้องกับการออกแบบ และผลิตรูปร่างหน้าตาของภาชนะบรรจุ ส่ิงห่อหุ้มตัว ผลิตภณั ฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ 3. ข้นั ตอนการเก็บรกั ษาเพอื่ การจาหนา่ ยเพือ่ บริโภค การเกบ็ รกั ษา เป็นวธิ กี ารท่ีดาเนนิ การเพื่อรกั ษาสภาพ หรือลดความเสยี หายอนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ การแปร สภาพของสนิ ค้านน้ั ท้ังทางกายภาพ ทางเคมี หรือการทาลายโดยจลุ ินทรีย์ เพอ่ื ให้สนิ ค้ามีการเคล่อื นย้ายจาก ผู้ผลิต ไปยงั ผบู้ ริโภค หรอื ผ้จู ดั จาหน่าย ในสภาพทีส่ มบูรณ์ สนิ ค้า หรอื ผลติ ภัณฑ์ (Product) ในทีน่ ้ีหมายถงึ การนาผลติ ผลหรอื วัตถุดิบท่ไี ดจ้ ากธรรมชาติ เช่น ผกั ผลไม้เนอื้ ปลาแรธ่ าตุ ฯลฯ มาผ่านกรรมวธิ ใี นการผลติ อาจจะใช้เครอื่ งจักรออกมาเป็นสินค้าหรอื ผลิตภัณฑ์ใน หนว่ ยการเรียนรนู้ เ้ี ราจะศกึ ษาเก่ียวกับการเกบ็ รกั ษาสินค้าประเภทอาหารและผลผลติ ทางการเกษตร

18 รายละเอียดเนอื้ หาโครงสร้างหลกั สูตร หนว่ ยการเรยี นท่ี ๓ เร่อื ง การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพ เวลา 30 นาที สาระสาคญั การบรหิ ารจดั การในการประกอบอาชีพการแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) การสารวจและศึกษาแหลง่ วสั ดุ อุปกรณ์ การคิดราคาต้นทนุ กาไร การขาย การสง่ เสริมการขาย การทาบัญชี ร้านค้าอย่างง่าย ขอบขา่ ยเนอ้ื หา 1. การบริหารจัดการแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) 2. การจัดการตลาดในการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากกล้วย (การทากล้วยกวน) 3. การวางแผนการดาเนินงาน ความสอดคลอ้ งหมวดวชิ า วชิ าทักษะการพฒั นาอาชพี , วชิ าพัฒนาสงั คมและชุมชน และวชิ าเลือก จดุ ประสงค์ปลายทาง 1. สามารถอธิบายการบริหารจดั การการแปรรปู ผลิตภณั ฑจ์ ากกล้วย (การทากล้วยกวน) ได้ 2. สามารถวางแผนการตลาดการแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากกลว้ ย (การทากล้วยกวน) ได้ 3. สามารถวางแผนการดาเนินงานได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การบรรยายให้ความรู้ 2. การถาม – ตอบ 3. การสาธิต ๔. การฝกึ ปฏิบัติจรงิ สอ่ื 1. คูม่ ือการเรียนรู้ 2. แผ่นพบั แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุดประชาชนอาเภอชาติตระการ/ ศูนย์การเรยี นชมุ ชนประจาตาบล - กศน.อาเภอชาตติ ระการ

19 การวดั ผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทากจิ กรรม 2. การถาม – ตอบ 3. การปฏบิ ตั งิ าน 4. ชิน้ งาน/ผลงาน ความสัมพันธก์ บั สาระในหลักสูตร - ด้านการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ การเตรียมงาน 1. การเตรยี มเนือ้ หาการเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั การพฒั นาบคุ คล และสภาพทอ้ งถ่ิน 2. การออกแบบกิจกรรม การเตรียมคาถาม 3. การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์

20 ใบความรู้ การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพ 1. การบริหารจดั การแปรรูปผลติ ภณั ฑ์จากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) 1. 1 การจัดการควบคุมคุณภาพในการแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากกล้วย (การทากล้วยกวน) ความสาคญั ของคณุ ภาพ ทาใหผ้ ู้ผลติ สินคา้ ทุกรายต้องให้ความสนใจและคานึงถึงคุณภาพในการ ผลติ สินค้าหรอื การให้บริการ ทั้งนเี้ พอ่ื ใหส้ ินคา้ น้ันออกมาดี มีคุณภาพเหมาะสมในการใช้งานสินค้าและการรับ บริการ ฉะน้ันขั้นตอนต่าง ๆ ของการควบคุมคุณภาพนั้นจึงไม่จากัดอยู่แค่กระบวนการต่างๆ ภายในสถาน ประกอบการเท่านั้น แตจ่ ะคลมุ ไปถงึ การออกแบบสินค้า การกาหนดมาตรฐานการผลิต การตลาด รวมท้ังการ ใหบ้ ริการลูกค้าอกี ด้วย การออกแบบ/ข้อกาหนดรายการและการพฒั นาผลิตภัณฑ์ (Design) เป็นการกาหนดรูปแบบสินค้าหรือ บรรจุภณั ฑ์ ตลอดท้ังการออกแบบทุกอย่างเกีย่ วกบั สินคา้ ท่ผี ลิตออกจาหน่าย ตามข้อมูลท่ีได้รับจากการทาวิจัย ตลาด นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการออกแบบคุณลักษณะของวัสดุและวัตถุดิบท่ีจะนามาใช้ในการผลิตด้วย ท้ังนส้ี ามารถนามาประยกุ ตใ์ นการการจดั การควบคมุ คุณภาพในการแปรรูปผลติ ภัณฑจ์ ากกลว้ ย

21 1.2 การลดต้นทุนในการแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากกล้วย (การทากล้วยกวน) การดาเนนิ ธรุ กจิ จาเป็นตอ้ งแสวงหากาไรสูงสดุ เพอ่ื เปน็ ผลตอบแทนต่อการทางาน และกาไรของ ธรุ กิจทีส่ มเหตุสมผลนน้ั ก็เปน็ รางวลั ที่สงั คมมอบให้กับองค์กรธุรกิจเพื่อเป็นการตอบแทนที่ธุรกิจได้ปฏิบัติตาม พันธกิจ และให้ส่งิ ทีด่ กี บั สังคม ซงึ่ กลยุทธก์ ารลดตน้ ทนุ การผลิต ก็เป็นอีกทางเลือกหน่ึงในการเพิ่มผลกาไรของ องค์กรธุรกิจ และเปน็ กลยุทธท์ เี่ น้นทกี่ ารสารวจและแกไ้ ขจดุ บกพร่องภายในองค์กรธุรกิจ ซึ่งกลยุทธ์นี้สามารถ นาไปประยกุ ต์ใช้เพ่ือความอยู่รอดขององค์กรธุรกิจในยุคท่ีเศรษฐกิจตกต่า และเพ่ือการเพ่ิมศักยภาพของการ แข่งขนั ในยคุ ท่ีเศรษฐกจิ รงุ่ เรืองโดยมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีองค์กรธุรกิจจะต้องรู้ว่าจะสามารถเพ่ิมรายได้และ ลดต้นทนุ ได้อยา่ งไร ซ่ึงหลักการลดตน้ ทุนทสี่ าคัญกค็ อื ทาใหต้ น้ ทนุ ต่อหน่วยต่าท่ีสุด ทาให้ปริมาณน้อยลง หรือ ตัดงานที่ไม่จาเป็นออกไป อย่างไรก็ตามการลดต้นทุนต้องคานึงถึงผลกระทบต่อคุณภาพของสินค้า และการ บริการท่ีมีผลต่อระดับความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสาคัญ โดยมีแนวทางสาคัญที่ใช้ในการวิเคราะห์เพื่อลด ตน้ ทุนการผลติ โดยทต่ี ้นทนุ การผลติ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทหลกั คือ (1) ต้นทุนผนั แปร หมายถึงตน้ ทนุ ทไ่ี มม่ ีการผลติ ก็ไมต่ ้องจ่าย ผลิตมากใช้เงินมากแต่ต่อหน่วยเท่า เดมิ เช่น คา่ วัตถดุ บิ เชอ้ื เพลงิ ไฟฟา้ นา้ นา้ มนั ค่าแรงพนกั งาน ค่าจา้ งเหมาประจาเดอื น ค่าขนสง่ เป็นตน้ (2) ต้นทุนคงที่ หมายถึงต้นทุนท่ีถึงแม้ว่าจะไม่มีการผลิตก็ต้องจ่าย ซ่ึงหากผลิตได้น้อยกว่าที่ ประมาณการณ์จะทาให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มข้ึน เช่น ค่าติดต้ังเคร่ืองจักร – อุปกรณ์ ค่าธรรมเนียม ค่าซ่อม บารุง คา่ เสอ่ื มราคา เป็นต้น 1.3 การวางแผนการผลิต การส่งเสริมเสริมสร้างขีดความสามารถการผลิต เสริมสร้างศักยภาพของการรวมกลุ่ม ให้เป็น กลไกหลกั ในการบริหารจัดการ โดยอาศัยแนวคิดและกระบวนการสหกรณ์เป็นพ้ืนฐานในการเสริมสร้าง ความ เข้มแข็งให้ครอบคลุมเกษตรกรและประชาชนในทุกพ้ืนที่และขยาย ผลเช่ือมโยงเครือข่ายระบบการผลิต การตลาดและการเงิน กลมุ่ เกษตรกร วิสาหกจิ ชุมชน และการวางแผนการผลิต เป็นการวางแผนในการจัดการ ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เช่น แรงงาน เคร่ืองจักร วัตถุดิบ กระบวนการผลิต หรือ 4M (Man Machine Machine Method) เพ่ือให้ผลการผลิตบรรลุตามเป้าหมายที่ถูกกาหนดไว้โดยความต้องการของลูกค้า (Customer Demand) ซ่ึงความต้องการของลูกค้านั้นอาจเกิดจากการสั่งซ้ือจริงที่เกิดข้ึนแล้ว และการ พยากรณ์ความต้องการทีจ่ ะซ้ือสินค้าในอนาคตตามชว่ งเวลาตา่ ง ๆ 2. การจัดการตลาดในการแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์จากกลว้ ย (การทากลว้ ยกวน) การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรเปน็ การช่วยปอ้ งกันปญั หาผลผลติ ลน้ ตลาด หรือผลผลติ ตกเกรด ไม่ไดข้ นาดตามทล่ี ูกค้าต้องการ ทาให้สามารถยกระดับราคาผลติ ผลไมใ่ ห้ตกต่า และการสร้างเพิ่มมลู คา่ ใหแ้ ก่ ผลติ ผลทางการเกษตร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรใหเ้ ปน็ ผลิตภัณฑ์อาหาร หรอื วัตถุดิบอาหาร จะทาให้ สามารถขยายตลาดการค้าออกไปสู่ต่างประเทศ จะชว่ ยเพ่มิ พูน รายได้ให้แกป่ ระเทศได้เป็นอย่างดี เทคนิคในการแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตรมหี ลายขัน้ ตอน และหลายรูปแบบ แต่ทีส่ าคัญผลติ ภณั ฑ์ อาหารแปรรปู นั้นๆจะตอ้ งมีความอร่อย ผู้บริโภครับประทานแล้วตอ้ งตดิ ใจในรสชาติ ซ่งึ ผลติ ภัณฑ์อาหารแปร รปู สามารถทารายได้ให้แก่เกษตรกร และผปู้ ระกอบการ ไมว่ ่าจะจาหน่ายในประเทศ หรือการส่งออกทส่ี ามารถ เป็นรายได้นาเข้าสู่ประเทศ

22 2.1 ขอ้ มูลความต้องการของลูกค้า ผู้บริโภคต่างก็มีความจาเป็น ความต้องการ และอุปสงค์ ที่สามารถนาไปบริโภคเพื่อสนองความ ตอ้ งการของตนเอง โดยจะคานงึ ถงึ ผลประโยชนท์ ผี่ ลิตภัณฑน์ ้นั สามารถสนองความต้องการของตนเองได้ ซ่ึงทา ให้ได้รับผลประโยชน์ในด้านคุณค่า คุณภาพ และความพอใจ โดยผู้บริโภคจะแลกเปลี่ยน หรือทาการค้ากับ เจา้ ของผลิตภณั ฑน์ ้นั ๆ ความสมั พันธ์ก็จะดาเนินการต่อไป การที่มีผู้บริโภคจานวนมากดาเนินการในลักษณะ ดังกล่าวเราเรยี กว่าเป็นตลาด และเรยี กกิจกรรมทง้ั หมดน้วี ่าการตลาด องค์ประกอบของการตลาด การวเิ คราะห์เก่ยี วกับความจาเปน็ ความต้องการ และความต้องการซอ้ื (อุปสงค)์ 1) ความจาเป็น เป็นอานาจพ้ืนฐานท่ีทาให้บุคคลต้องการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เพื่อสนองความ ตอ้ งการข้นั พนื้ ฐานของร่างกาย ประกอบด้วยความต้องการในปัจจัย 4 ได้แก่อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย และยารกั ษาโรค รวมถึงความต้องการพกั ผอ่ น และความต้องการทางเพศ 2) ความต้องการ เป็นรูปแบบหน่ึงของความจาเป็นท่ีพัฒนามาจากความจาเป็นขั้นพื้นฐาน เป็นความปรารถนาของบุคคลท่ีจะได้รับการตอบสนองความพอใจ ซึ่งเป็นความต้องการในระดับที่ลึกซึ้งกว่า ความจาเป็น โดยได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมและบุคลิกภาพส่วนบุคคลเกิดจากการเรียนรู้ด้านวัฒนธรรม และสังคม และการยกย่องทางสังคมรวมถึงต้องการประสบความสาเร็จสูงสุดในชีวิต เช่นความต้องการ รับประทานอาหารในร้านหรู ราคาหลายสิบล้านบาท ต้องการท่ีดินทาเลดี เพ่ือหวังผลกาไรสูงสุดในอนาคต ฯลฯ มกั จะให้ความสาคัญกับความลึกซึ้งของความหมาย เพ่ือใช้ประโยชน์ในการกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความ ตอ้ งการสนิ ค้าและบริการ 3) ความต้องการซื้อ (อุปสงค์) เป็นความต้องการผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หน่ึง ที่ต้องมี ความสามารถในการซอื้ ซึ่งจะประกอบด้วยองคป์ ระกอบ 3 ประการ คือ 3.1 ความต้องการหรอื ความจาเปน็ ในผลติ ภณั ฑ์ 3.2 ความสามารถในการซื้อหรอื มีอานาจซอ้ื มเี งินพอท่ีจะซือ้ 3.3 ความเต็มใจทจ่ี ะซอ้ื สินคา้ น้ัน ความจาเปน็ หรือความตอ้ งการสามารถเปล่ยี นเปน็ ความต้องการซ้ือได้ถ้ามีอานาจซื้อและมีความ เตม็ ใจซอ้ื มาประกอบกนั ความจาเปน็ ความตอ้ งการและความต้องการการซื้อเป็นจุดเริ่มต้นของการตลาด ทา ให้เกิดความคิดที่จะเสนอสินค้าและผลิตภัณฑ์ เพ่ือที่จะสนองความต้องการของบุคคล ดังน้ันจุดเริ่มต้นของ การตลาดก็คือการวิเคราะห์และวิจัยถึงความต้องการของบุคคลที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองแล้ว จึงจะพัฒนา ผลิตภณั ฑเ์ พือ่ ที่จะสนองความต้องการเหลา่ นน้ั 2.2 การกระจายผลติ ภัณฑ์แปรรูปไปสูผ่ ู้บริโภค การกระจายผลิตภัณฑ์แปรรูปไปสู่ผู้บริโภค หรือ การจัดจาหน่ายสินค้า หมายถึง การนาสินค้า จากผ้ผู ลิตไปถึงลูกค้าผ้บู ริโภค จึงหมายรวมถึงการขายและซ้ือสินค้าโดยผ่านพ่อค้าคนกลาง ผู้ค้าส่ง และผู้ค่า ปลีก รวมท้ังวธิ ีการขนสง่ สินคา้ แต่ละขน้ั ตอน การจดั จาหนา่ ยโดยท่วั ไปแบ่งออกเป็น 2 ช่องทาง คอื 1. จากผผู้ ลติ - ผบู้ รโิ ภค 2. จากผู้ผลิต - คนกลาง - ผูบ้ ริโภค

23 ช่องทางจาหน่ายสินค้าท่ีดีท่ีสุด คือ ช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีให้ผลกาไรแก่ผู้ผลิตมากที่สุด เพื่อให้ การขายหรือจาหน่ายสินค้าที่มีปริมาณมากได้รับผลกาไรที่ดี ดังน้ันควรเลือกช่องทางจัดจาหน่ายท่ี หลากหลาย อาจมชี ่องทางหลักอยู่หนงึ่ ช่องทาง และชอ่ งทางเสริมเพ่อื ให้การจาหนา่ ยมีประสิทธภิ าพมากขนึ้ 2.3 การวางแผนการตลาด การตลาด คือ กลุ่มเป้าหมายของการขายผลิตภัณฑ์ซ่ึงหมายถึงลูกค้าซ่ึงมีศักยภาพท้ังหมดที่มี ความจาเป็น และความต้องการผลิตภัณฑ์ซึ่งอาจมีความเต็มใจและความสามารถที่จะแลกเปล่ียนเพ่ือสนอง ความจาเป็นหรือความต้องการให้ได้รับความพอใจของตน โดยใช้เงินในการจ่ายซ้ือความพึงพอใจเหล่าน้ัน องคป์ ระกอบทง้ั 5 ประการเปน็ กระบวนการทางการตลาด (marketing process) ซึ่งเร่ิมจากการกาหนดและ วิเคราะห์ความตอ้ งการของลูกค้าและส่ิงแวดล้อม การวางแผนส่วนประสมการตลาด การปฏิบัติตามแผนและ การควบคุมให้เป็นไปตามแผนถือว่าเป็นกระบวนการตลาดมาประยุกต์ใช้กับปัญหาทางธุรกิจ ทั้งด้านการ วางแผนและการควบคุม ส่วนใหญ่ข้อมูลท่ีได้มักได้มาจากแบบจาลอง (model) ที่ใช้เทคนิคความรู้ทางธุรกิจ และทางการตลาดขั้นสูงสร้างขึ้นมา แล้วนาเอาความรู้ทางสถิติไปพิจารณาหาความสัมพันธ์ของข้อมูล และ ทดสอบความน่าเช่ือถือของข้อมูลด้วย ข้อมูลท่ีได้จากแบบจาลองเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ วางแผนและแก้ไขสถานการณ์ทางธุรกิจได้ เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การกาหนดราคา การวางแผน การตลาด การตลาดอาจถูกมองว่าเป็นหน้าท่ีขององค์การและกลุ่มกระบวนการเพื่อการผลิต การส่งสินค้า และการสอื่ สารคุณค่าไปยงั ลกู ค้า และการจดั การความสัมพนั ธ์ตอ่ ลกู คา้ ในทางที่เป็นประโยชน์แก่องค์การและ ผู้ถือหุ้น การจัดการการตลาดถือเป็นสิ่งสาคัญในการเลือกตลาดเป้าหมาย ตลอดจนการได้มาและการรักษา ลูกคา้ ผา่ นทางการจัดหาคณุ ค่าของลูกค้า 2.3.1 การศกึ ษาความต้องการของตลาด ประโยชน์ของการศึกษาความตอ้ งการของตลาด 1) ชว่ ยในการวางแผนการผลติ /จาหนา่ ย 2) ลดตน้ ทนุ การผลติ 3) ติดตามสถานการณ์เพอื่ วางแผนการจาหนา่ ย 2.3.2 ข้อมูลการตลาดท่ีจาเป็นสาหรบั ผปู้ ระกอบการ 1) คน้ พบความต้องการทางการตลาด 2) เลอื กสินค้าหรอื บรกิ ารท่นี าไปเสนอขายแล้วสนองความตอ้ งการของลูกคา้ ได้ 3) ตง้ั ราคาขายและดาเนนิ การขาย 4) ทาการโฆษณาสนิ ค้า และส่งเสรมิ ให้มีผู้สนใจซ้ือมากข้ึน 5) นาสินค้าออกเสนอขายและจัดจาหน่ายให้ทั่วถงึ 6) ทาใหเ้ กิดผลกาไรจากการขายสนิ ค้าหรอื บริการขึน้ มา 2.4 การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ การออกแบบ บรรจภุ ณั ฑ์กล้วยกวน ในการอบรมครง้ั นชี้ าวบา้ นไดร้ ู้ถงึ ความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ ที่มีตอ่ ตวั สินค้า การเพ่ิมคุณค่าสนิ ค้าด้วยบรรจภุ ณั ฑ์อกี ท้งั ได้เรยี นร้กู ระบวนการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ การบรรจุหีบห่อหรือบรรจุภัณฑ์ หมายถึง การจัดนาผลผลิตท่ีผ่านการทาความสะอาด การคัด ขนาดและคุณภาพแล้วบรรจุลงในภาชนะท่ีเตรียมไว้ โดยภาชนะนั้นสามารถป้องกันการกระทบกระแทกและ ความเสียหายได้ เพอ่ื นาผลผลิตออกจาหนา่ ยแกผ่ ู้บรโิ ภค

24 ความสาคัญของการบรรจุหบี หอ่ มดี งั น้ี 1. เพื่อรวบรวมผลผลิตมาบรรจุรวมกันเป็นหน่วยเดียว ซึ่งทาให้ขนส่งได้รวดเร็วและเก็บรักษาง่าย 2. เพื่อป้องกนั การสูญเสียทอี่ าจเกดิ ขึน้ ระหวา่ งการขนสง่ 3. เพือ่ แจ้งรายละเอยี ดของผลผลติ 3. การวางแผนการดาเนินงาน การวางแผน เป็นงานทสี่ าคัญและจาเป็นต่อการบริหารขององค์การ เป็นภารกิจท่ีผู้บริหารต้องกระทา เปน็ ดาดับแรกของการบวนการบริหาร การดาเนนิ การใด ๆ ถ้ามีการวางแผนท่ีดีมีขั้นตอนการปฏิบัติท่ีจัดเจนก็ เช่ือได้ว่า งานน้ันย่อมประสบผลสาเร็จและบรรลุเป้าหมาย โดยเฉพาะการพัฒนางาน การป้องกั นความ ผิดพลาดทาได้โดยการวิเคราะห์ ขั้นตอนการทางานและปัจจัยการดาเนินงาน องค์การไม่มีแผนงานย่อมมี โอกาสท่ีประสบกับความล้มเหลวได้ง่าย ด้ังน้ัน องค์การจึงต้องมีการวางแผนเพ่ือให้กระบวนการปฏิบัติงาน เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยใช้กระบวนการ PDCA ภาพวงจรเดมมิ่ง 1. Plan (วางแผน) การวางแผน ( Planning ) เปน็ กระบวนการกาหนดวัตถุประสงค์ส่ิงท่ีจะต้องกระทาเพื่อที่จะทาให้ บรรลุถึงวตั ถุประสงค์ที่กาหนด การวางแผนผังเป็นกาตัดสินใจล่วงหน้าเกี่ยวกับงานท่ีจะทาในอนาคตเป็นการ คดิ วเิ คราะห์ และตดั สินใจก่อนลงมือกระทา เป็นการมุ่งป้องกัน ปัญหามากกว่าการคอยแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้น จะเห็นได้ว่าการวางแผนเป็นการเช่ือมโยงจากปัจจุบันที่เป็นอยู่ไปสู่จุดมุ่งหมายท่ีต้องการวางแผน จึงเป็น กระบวนการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ ท่ี ตอ้ งการให้เกดิ ขึน้ ทง้ั นีจ้ ะตอ้ งมกี ารคิดพจิ ารณาถงึ รายละเอียดของสิ่งทตี่ ้องทาพร้อมกบั การระบุผลสาเร็จต่าง ๆ ทต่ี ้องการ ซงึ่ จะนาไปสู่วตั ถปุ ระสงคต์ ามทไ่ี ดต้ ั้งไว้

25 2. Do (ปฏิบตั ิตามแผน) การทาตามแผนท่ีได้ต้ังเป้าหมายไว้ด้วยความตั้งใจ มุ่งมั่นพยายามท้ังน้ี การปฏิบัติเป็นการลงมือ ปรับปรุงเปลย่ี นแปลงตามทางเลอื กทไ่ี ด้กาหนดไว้ในข้ันตอนการวางแผน ซ่ึงต้องตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติ นั้นว่าได้ดาเนินไปในทิศทางท่ีต้ังใจหรือไม่ พร้อมกับส่ือสารให้ผู้ที่เก่ียวข้องทราบ และติดตามการปฏิบัติน้ัน อยา่ งสมา่ เสมอ เพ่อื ศึกษาถึงความเปน็ ไปได้และหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาท่ีอาจจะเกดิ ข้ึนไดใ้ นระหว่างการปฏิบัติ เพือ่ จะมัน่ ใจได้ว่าการปฏบิ ตั ิตามแผนทว่ี างไวน้ ้ันเกิดความผิดพลาดน้อยที่สุดประโยชน์ของการปฏิบัติตามแผน ช่วยให้ทราบขนั้ ตอน วิธีการและสามารถเตรียมงานไดล้ ว่ งหนา้ ดังนั้น การปฏิบัติงานก็จะเป็นไปตามเป้าหมาย ทก่ี าหนดไว้ โดยไมม่ ีปัญหาหรอื อปุ สรรคเกดิ ขึน้ 3. Check (ตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามแผน) การประเมินเป้าหมายชีวิตท่ีวางแผนไว้ว่าสามารถปฏิบัติได้สาเร็จหรือไม่ และต้องปรับปรุงหรือ แก้ไขอย่างไรบ้างจึงจะทาให้ประสบความสาเรจ็ ในชีวติ ทงั น้ี การตรวจสอบเป็นการประเมินผลท่ีได้รับจากการ ปฏิบัติ (DO) โดยการตรวจสอบทาให้ทราบว่าในการปฏิบัติน้ันสามารถบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ท่ีได้ กาหนดไวห้ รอื ไม่ ส่งิ สาคญั ก็คอื ต้องรู้วา่ จะตรวจสอบอะไรบา้ งและมีความสมา่ เสมอมากน้องเพียงใด ข้อมูลที่ได้ จากการตรวจสอบจะเปน็ ประโยชนใ์ นข้ันตอนต่อไป 4. Act (ปรับปรงุ แก้ไข) การนาเอาผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ และ/ หรอื พฒั นาวิธีการทาให้ชีวติ ประสบความสาเร็จมากข้ึน ท้ังน้ี เป็นการดาเนินงานให้เหมาะสมซ่ึงจะพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบซึ่งมี 2 กรณี คือ ผลท่ีเกิดขึ้น เป็นไปตามแผนท่วี างไว้ หรือไมเ่ ป็นไปตามแผนทว่ี างไว้ ถา้ ผลทีเ่ กิดข้นึ เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ก็จะนาแนวทาง หรือกระบวนการปฏิบัติ (DO) น้ันมาจัดทาให้เป็นมาตรฐานพร้อมทั้งหาวิธีการที่จะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น ซ่ึง อาจจะสามารถบรรลุเป้าหมายได้เร็วกว่าเดิม และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิม รวมท้ังทาให้คุณภาพดียิ่งขึ้นก็ได้ ถา้ หากไม่เป็นไปตามแผนทว่ี างไวก้ ็ควรจะนาขอ้ มูลท่ีรวบรวมไว้มาวิเคราะห์ และพิจารณาว่าควรจะดาเนินการ อย่างไรตอ่ ไป

26

27 คณะทางาน ท่ปี รึกษา กนั ตง ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอชาติตระการ 1. นางพรสวรรค์ ภาศรี ครูชานาญการ ลว้ นมงคล ครูผชู้ ่วย 2. นายรุ้งภูธร 3. นางสาวชมพนู ชุ คณะทางาน ลว้ นมงคล ครผู ้ชู ว่ ย 1. นางสาวชมพูนชุ วนั ช่ืน ครอู าสาสมัครฯ 2. ว่าที่ พ.ต.บญุ ส่ง ยศปัญญา ครอู าสาสมัครฯ 3. นางสาวภาณุมาศ บุญประกอบ ครูอาสาสมัครฯ แต่งเนตร ครู กศน.ตาบลบา้ นดง 4. นางสาวประยูร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ 5. นางสาวสภุ าพร 6. นางสาวนภิ าพร ม่ันหยวก ครู กศน.ตาบลสวนเม่ียง พ่วงปิน่ ครู กศน.ตาบลปา่ แดง 7. นางสาวกญั ญณัช 8. นายอษั ฎาพร แสงสีบาง ครู กศน ตาบลทา่ สะแก ฟองจางวาง ครู กศน.ตาบลบอ่ ภาค 9. นางสาวเปียทิพย์ โคกน้อย ครู ศรช.ตาบลป่าแดง 10. ว่าทร่ี ้อยตรหี ญงิ สธุ าสินี 11. นางสาวพรพนา แฟงวัชรกลุ บรรณารกั ษอ์ ัตราจ้าง 12. นางสาวนา้ ออ้ ย ผเู้ รยี บเรยี ง/จัดพิมพร์ ูปเล่ม/ออกแบบปก 1. นางสาวเปยี ทิพย์ แสงสีบาง ครู กศน.ตาบลท่าสะแก 2. นางสาวประยูร บุญประกอบ ครูอาสาสมัครฯ