Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือการจัดดอกไม้ (ฉบับสมบูรณ์)

หนังสือการจัดดอกไม้ (ฉบับสมบูรณ์)

Description: ฉบับสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

การจัดดอกไม้ 2020

ก คานา หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ สฉ์ บบั นี้จัดทาข้นึ เพ่อื เปน็ สอ่ื ในการเรียนการสอน โดยคณะผู้จัดทามี จุดประสงค์เพื่อนาเสนอการเตรียมความพร้อมก่อนการจัดดอกไม้ให้ให้นักเรียน นักศึกษา บุคคลท่ัวไป หรือผู้ที่ต้องการศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับ การจัด ดอกไม้ ทั้งนี้ในรายงานนี้มีเนื้อหาประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับ การเลือกซื้อดอกไม้ การดูแล รกั ษาดอกไม้ วัสดอุ ุปกรณ์ องคป์ ระกอบในการจดั ดอกไม้ และหลักการจดั ดอกไม้ หวังวา่ รายงานฉบบั นีจ้ ะใหค้ วามรู้ และเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ู้อา่ นทุก ๆ ท่าน หากผิดพลาด ประการใดคณะผู้จดั ทาต้องขออภัยมา ณ ที่น้ีดว้ ย คณะผจู้ ัดทา

สารบัญ ข การเลือกซอื้ ดอกไม้ หน้า การดูแลรกั ษาดอกไม้ การฟื้นตัวของดอกไม้ 1 การเตรยี มการจดั ดอกไม้และการดแู ลหลังการจัดดอกไม้ 2 วัสดุอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการจัดดอกไม้ 3 ลักษณะของดอกไม้ 7 ลกั ษณะการปกั ดอกไมต้ ามธรรมชาติ 9 องคป์ ะรกอบในการจัดดอกไม้ 12 15 17

หลักการจดั ดอกไม้ ค ตามรอยการจัดดอกไม้ การจัดดอกไมแ้ บบพนื้ ฐาน หน้า แนวการจัดโดยยดึ หลักทฤษฎี อา้ งองิ 24 33 39 61 77

1 การเลือกซือ้ ดอกไม้ ดอกไมท้ เ่ี ราได้ซื้อมาใชก้ นั นัน้ จะตัดจากต้นในตอนเชา้ และนามาแช่นา้ ให้อม่ิ ตัว บางชนิด จะตอ้ งเพ่ิมความยดื หยุ่นขณะการขนสง่ โดยการทาใหส้ ลดลง หลังจากนั้นจะนามามัดรวมเป็นกา หมุ้ หอ่ ดว้ ยกระดาษหรอื พลาสตกิ และสดุ ทา้ ยคอื การนาจดั สง่ ตลาดเพอ่ื กระจายสรู้ า้ ยอ่ ยตอ่ ไป จะเห็นได้ว่ากว่าดอกไม้จะมาถงึ มอื ของผ้จู ัดจรงิ ๆนั้น จะผา่ นมาหลายขั้นตอน จึงมักจะเกิดความบอบซ้า ฉะนั้น เราจาเป็นต้องทาความเข้าใจถึงสภาพดอกไม้ว่าถ้าเรา ต้องการซ้ือดอกไมเ้ ราจะต้องสงั เกตจากอะไรบ้าง 1. กา้ น จะตอ้ งไม่เน่า โดยก้านจะต้องไมผ่ ่านการแช่ นา้ มาเปน็ เวลานานจนกระทั่งมกี ลิ่นเหมน็ 2. ใบ จะต้องไม่เหี่ยวช้าและเน่า จะต้องมีความ แข็งแรงตามสภาพของใบไม้ชนิดนนั้ ๆ 3. กระเปาะดอก จะต้องไม่ลีบและแห้ง เมื่อใช้มือ บีบดจู ะร้สู กึ วา่ กระเปาะจะแข็ง 4. กลีบดอก จะต้องไมช่ า้ ไมเ่ หี่ยว และเน่า โดยทั่ว ปดอกไมท้ ี่เราจะเลอื กซื้อนั้นจะต้องเลือกที่ความสดไห้มาก ท่สี ุด ฉะนั้นจะต้องมีความรู้และความเข้าใจในสภาพของดอกไม้แต่ล่ะชนิด ซึ่งย่อมจะต้องมีความ แตกต่างกันออกปนอกจากนั้นควรดูเหตุผลอื่นๆมาใช้เป็นองค์ประกอบในการเลือกซื้อด้วย เช่น สภาพดนิ ฟูาอากาศ แหล่งเพาะปลกู และความเหมาะสมกับสภาพการใชง้ าน เป็นตน้

2ก การดูแลรักษาการจัดดอกไม้ ปัจจุบันดอกไม้เป็นสิ่งสาคัญต่อการจัดงานต่างๆ เป็นอย่างมาก ฉะนั้นเราควรมีความรู้ เก่ยี วกับการดูแลดอกไมใ้ ห้มคี วามสด และสมบูรณม์ ากท่ีสุดก่อนที่เราจะนาเอามาใช้จัดตกแต่งให้ สวยงามต่อไป 1. Cleaning คือการดแู ลกอ่ นการแช่นา้ จะต้องทา ความสะอาดกา้ นบริเวณชว่ งล่างที่จะต้องแช่ลงในถังน้า โดยการปลิดใบช่วงล่างของช่อออกให้หมด ซึ่งใบไม่ เหล่านเ้ี มือ่ อัดกนั แนน่ ๆ จะทาให้เกิดก๊าซเอทธิลีนที่มีผล ทาให้ก้านดอกไม้และน้าที่แช่ดอกไม้เกิดการเน่าเสียได้ ง่าย 2. Cutting under water คือ การตัดการดอกไม้ ดว้ ยมดี คมๆ ใต้น้า นาไปแช่ในถังน้าที่จัดเตรียมไว้ ส่วน น้าที่จะใช้แช่ดอกไม้นี้จะมีปริมาณ และลักษณะท่ี แตกต่างกนั ไป ดงั น้ี 1.1 ถา้ ตอ้ งการให้บานเร็ว ให้แช่ในน้าอุ่น และมี การตัดก้านดอกไมใ้ ตน้ ้า ปริมาณน้ามาก เช่น ดอกลิลลี่ ดอกกุหลาบ ดอกยิปโซ ฟลิ ล่า เป็นตน้ 1.2 ถา้ ตอ้ งการให้บานช้า ใหแ้ ช่ในน้าธรรมดาและ มีปรมิ าณน้าน้อย 1.3 ถา้ ตอ้ งการใหบ้ านอยา่ งสมบรู ณ์ และมีก้านท่ี แข็งแรงมากๆ ควรแช่ในน้าอุ่นที่ผสมอาหารดอกไม้ใน ปรมิ าณ 0.5 ช้อนชา ต่อนา้ 5 ลิตร 3. Conditioning out of refrigeration คือเมื่อ เราแช่ดอกไม้ในถังน้าเรียบร้อยแล้ว ควรนาถังดอกไม้ วางไวใ้ นบริเวณทมี่ ี อุณหภูมปิ รกติประมาณ 1-3 ชั่วโมง เพ่อื ให้ดอกไมม้ กี ารปรับสภาพตัวเองเสยี กอ่ น จากนั้นจึง นาเอาไปแชใ่ นต้สู าหรบั แชด่ อกไม้

3 การฟืน้ ตวั ของดอกไม้ ดอกไม้หรือใบไม้ที่จัดส่งมาตามร้านค้า แช่ดอกกล้วยไมล้ งในถงั น้าปกติ ต่างๆ ที่จะนาไปใช้งานต่อไป ต้องผ่านการบรรจุ หบี หอ่ ท่มี ักจะขาดน้า เพอ่ื เพิ่มความสะดวกในการ ขนส่ง เม่อื ต้องการจะใช้งานจะต้องช่วยให้ดอกไม้ ฟื้นตัวเร็ว และมีการเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ ตอ่ ไป 1. กล้วยไม้ชนิดชอ่ ตา่ งๆ จะต้องตัดก้านและ นาไปแช่ลงในน้าทั้งช่อประมาณ 10-15 นาที หลังจากนั้นให้นาขึ้นไปแช่ในน้าปรกติ แต่ถ้าดอก ของกล้วยไม้แช่อยู่ในน้านานจนเกินไป จะทาให้ กลีบดอกมสี ภาพช้าน้าซ่ึงจะลดปริมาณความคงทน ลงมาก 2. ดอกบัว ในสมัยก่อนมีการช่วยให้ ดอกบัวฟื้นตัวเร็วด้วยกรรมวิธีต่างๆ มากมายหลายวิธีด้วยกันแต่ในปัจจุบัน ปริมาณการใช้ดอกบัวมีเพิ่มมากขึ้น แต่ ดอกบวั เปน็ ดอกไม้ที่ค่อนข้างเหี่ยวเร็ว และ ตัดกา้ นดอกกลว้ ยไม้แช่ลงน้าทัง้ ชอ่ จะดูดน ้าขึ้นไปเลี้ยงดอกไม้ไปเลี้ยงได้ ค่อนขา้ งช้า ฉะนัน้ เมื่อซือ้ ดอกบัวมาแลว้ ให้ ตดั กา้ นแช่นา้ เยน็ หรือนา้ ทผี่ สมน้าแข็ง แต่จะต้องใช้น้าปริมาณมากๆ หลังจากนั้นให้ใช้พลาสติก คลุมดอกบัวไว้ให้มดิ ชดิ เพ่อื ปอู งกันลมที่จะมากระแทบดอกทาใหเ้ กดิ การดาเรว็ กว่าปกติ บางท่าน อาจใช้ผา้ คลุมดอกบวั แทนพลาสติก

4 ดอกบวั ทพี่ บั และจ่มุ ในน้าสารส้ม ตัดก้านแช่ลงถังน้าและคลมุ ดว้ ยพลาสติก ใชพ้ ลาสติกคลมุ ดอกไม้ทีจ่ ดั เสร็จแลว้ 3. ดอกคริสซานติมัม หรือท่คี นไทยมักนิยม เรยี กว่า “มัม” เมอ่ื เปดิ ห่อออกใหป้ ลดิ ใบช่วงล่าง ออก แต่เนอ่ื งจากดอกไมช้ นิดน้จี ะมีใบที่เหี่ยวเร็ว มาก ถ้าตอ้ งการให้ดอกไม้ชนิดน้อี ยไู่ ด้ทน จะต้อง ปลิดใบออกให้หมดท้งั ชอ่ หลังจากนั้นให้ตัดก้าน ดว้ ยมีดคมๆ แตค่ ริสซานตมิ ัมเป็นดอกไม้ที่จัดอยู่ ในประเภทที่ก้านแข็ง จึงทาให้ดูดน้าได้ยาก จะต้องทุบปลายกา้ นใหแ้ ตกเล็กน้อย ล้างบริเวณ ที่ทุบใหส้ ะอาด หลังจากนั้นให้เอาน้าเทราดหรือ พรมท้ังช่อ และนาไปแชใ่ นถังนา้ ทม่ี ีปรมิ าณน้าไม่ มากนัก เพราะถ้าน้ามากจะทาให้ก้านเน่าเร็ว ควรใช้น้าปริมาณน้อย แต่ตัดก้านเปลี่ยนน้า บ่อยๆ ซึ่งจะทาให้ดอกคริสซานติมัมสามารถ เจริญเตบิ โตไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์มากทีส่ ุด

5 ทบุ กา้ นใหแ้ ตกเล็กน้อย ตัดกา้ นกุหลาบใตน้ า้ ดว้ ยมดี คมๆ ล้างก้านแล้วนามาแชใ่ นถงั ปกติ 5. ดอกเยอร์บีร่า เป็นดอกไม้ประเภท กา้ นอ่อน จะสามารถดูดนา้ ได้ปริมาณมาก เมื่อ 4. ดอกกุหลาบ เป็นดอกไม้ที่ต้องการน้า เราตัดก้านแช่น้าก็จะดูดน้ามากจนเกินไป ทา ปริมาณมากกว่าดอกไม้ชนิดอื่นๆ จะต้องปลิด ให้ก้านแตกและเน่าได้ง่ายฉะนั้นเมื่อซื้อดอก ใบและหนามบริเวณช่วงล่างของก้านออก เอา เยอร์บรี ่ามา จะสงั เกตได้ว่า สวนทป่ี ลกู จะใช้วิธี น้าราดบริเวณใบ ส่วนบริเวณดอกไม่ควรราด ถอนมาขาย ไม่ได้ใช้วิธีตัดมาขาย เมื่อเราได้ หรือพรมนา้ เพราะน้าจะทาให้ดอกกหุ ลาบบาน รบั มาไมต่ ้องตดั กา้ น ให้นาดอกเยอร์บีร่าไปแช่ เร็วกว่าปรกติ นา้ ท่ีผสมอาหารดอกไมไ้ วแ้ ลว้ และข้อสาคัญไม่ ควรสเปรย์น้าที่บริเวณดอกของเยอร์บีร่า เพราะความช้นื จะทาไห้เกดิ เช้อื ราง่ายข้นึ

6 ดอกเยอรบ์ ีร่าแชใ่ นน้า แยกดอกยิปโซฟลิ ลา่ ออกจากกนั ปลิดใบ ห่อรวมชอ่ ด้วยพลาสติกตัดกา้ นแช่น้าอนุ่ 6. ดอกยิปโซฟิลลา่ เป็นดอกไม้จาพวกไม้ เล็กๆ ฝอยๆ เมื่อซื้อมาให้กระจายช่อออกมา จากกัน โดยการคว่าช่อลง ค่อยๆ จับช่อเขย่า ให้แยกจากกัน ปลิดใบออกให้หมด จับมารวม ช่อกันใหม่อีกครั้ง ห่อด้วยกระดาษหรือ พลาสติก ตัดก้านและแช่ในน้าอุ่น เพื่อช่วยให้ ดอกยปิ โซฟลิ ล่าบานไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ข้อสาคัญ ที่ควรจะรคู้ อื ห้ามนาดอกยิปโซฟิลล่าไปแช่รวม กบั ดอกไม้ตระกลู ครสิ ซานติมมั เพราะคริสซาน ติมัมจะมสี ารไซยาไนที่มีผลทาให้ดอกยิปโซฟิล ล่า แหง้ เรว็ กวา่ ปรกติ นอกจากนั้นจะต้องไม่ฉีด ทบ่ี ริเวณดอก เพราะดอกยิปโซฟิลล่าจะดูดน้า ไว้ ทาใหด้ อกชา้ น้าและจะดาเร็วกว่าปรกติ

7 การเตรยี มการจดั ดอกไมแ้ ละการดูแลหลังการจดั ดอกไม้ 1. การแช่ Floral Foam ให้นานา้ ใสภ่ าชนะ ปากกว้างปริมาณมากๆ วางก้อน Floral Foam ลงบนน้าให้น้าค่อยๆซึมผ่านขึ้นมา ห้ามกดให้ จมน้าหรือห้ามนาน้ามาราดลงบนก้อน Floral Foam เด็ดขาด เพราะน้าจะไปอุดตันช่องระบาย อากาศ ทาให้น้าซึมผ่านเข้าไปข้างในได้ยาก การ แช่Floral Foamควรแช่อย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อให้ดดู ซึมนา้ ได้อย่างเต็มที่ และเพื่อให้เกลือที่ ผสมอยไู่ หลออกมา หรือทางทดี่ ีควรแชค่ ้างคืนไว้ 2. การบรรจุ Floral Foam ลงในภาชนะ ถา้ เป็นภาชนะประเภทตะกรา้ ควรมีการรองรับน้า ใหเ้ รียบรอ้ ย แต่ไมว่ ่าภาชนะจะเป็นตะกร้าหรือแจกันก็ตาม จะต้องเปิดช่องไว้สาหรับเติมน้าและ จะต้องบรรจุให้สูงกว่าปากภาชนะประมาณ 2-3 เซนติเมตร หรือถ้าต้องการปักดอกไม้ปริมาณ มากๆ ให้บรรจุให้สูงกว่าที่กาหนดก็ได้ นอกจากนั้นควรปาดเหลี่ยม Floral Foam บริเวณปาก ภาชนะออก เพอ่ื เปิดพนื้ ทีใ่ นการปกั ให้มากขึน้ และเพ่อื เพิม่ ความสะดวกในการปิดฐานของการจัด ไดง้ า่ ยขนึ้ เมอื่ บรรจเุ สร็จเรียบร้อยแล้ว ควรเปิดน้าใส่ให้เต็มและเทน้าทิ้ง เพื่อเป็นการล้างเกลือ และเศษของFloral Foam เตมิ นา้ ลงไปใหม่ เปน็ อันพรอ้ มท่จี ะจัดดอกไมไ้ ด้ ตัด Floral Foam ใหม้ ชี ่องเติมนา้

8 บรรจุแจกัน และตดั เหลย่ี ม Floral Foam ออก การตัดก้านดอกไม้ดว้ ยมีด 3. การตัดก้านดอกไม้ ต้องต้องก้านด้วย มีดคมๆ ให้เฉียงมากๆ โดยใช้มือซ้ายจับก้าน หงายข้ึน มือขวาจับมีด หวั แม่มือขวาจะเป็นตัว ประคองก้านดอกไม้ไว้ตลอดเวลา การตัดก้าน ด้วยมีด จะทาให้ก้านดอกไม้ไม่ช้าสามารถดูด น้าได้เต็มที่ และนอกจากนี้ยังสามารถบังคับ องศาของการตัดได้อย่างที่เราต้องการ การตัด ก้านให้เฉียงมากๆ จะมีผลดีต่อการดูดน้าของ ดอกไม้และยังสามารถทาให้การปักดอกไม้มี ความมั่งคง และนอกจากนี้ยังทาให้ Floral การตดั ก้านดอกไม้ด้วยกรรไกร Foam แตกได้ยาก 4. การดแู ลรักษาหลงั การจดั ดอกไมส้ ด จะต้องหม่ันเตมิ น้าทุกวัน เพราะในแต่ละวนั ดอกไม้ ตอ้ งการน้าสาหรบั นาไปสรา้ งความเจริญเติบโตให้กับดอก ก้าน และใบ นอกจากนี้ถ้าต้องการให้ ดอกไม้มคี วามคงทนมากขึ้นให้เปลี่ยนน้าทุกๆ 3 วัน และทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนน้าควรดึงดอกไม้ ขึ้นมาตดั ก้าน และปักลงไปใหม่ ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดเอาเซลล์ที่ตายแล้วทิ้งไป ดอกไม้ก็สามารถ ดูดนา้ ได้ดขี ้ึน

9 วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการจัดดอกไม้ 1. มีด จะแยกเป็นมีดตัดดอกไม้และมีดตัด 4. แป้นสก็อตเทป ควรมีความหนา และมี Floral Foam ไม่ควรจะใช้มีดตัดดอกไม้มาตัด น้าหนักพอสมควรเพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการ Floral Foam เพราะจะทาให้เสียคมไดง้ า่ ย ใช้งานสว่ นสก็อตเทปควรเลือกชนิดที่ทนต่อการ 2. กรรไกร จะแยกเป็นกรรไกรหรือคีมตัดลวด เปียกนา้ ใหม้ ากทสี่ ดุ กรรไกรตัดกระดาษ กรรไกรตัดริบบิ้น และ 5. ภาชะเติมนา้ ดอกไม้ ควรมีปากแคบ และยาว กรรไกรตัดดอกไม้ และตัดกิ่ง กรรไกรเหล่านี้ 6. ภาชนะแช่ดอกไม้ ควรมีทั้งทรงสูง และทรง ควรแยกประเภทให้แน่นอน แต่ถ้าเป็นไปได้ไม่ เตย้ี ปากกว้าง สามารถล้างความสะอาดได้ง่าย ควรใช้กรรไกรตัดก้านดอกไม้เพราะกรรไกรมี และจะต้องเก็บไดส้ ะดวก คมทหี่ นา เวลาตดั ก้านดอกไม้คมของกรรไกรจะ 7. แป้นหมุน ใช้สาหรับรองภาชนะที่ใช้จัด บบี กา้ นดอกไมท้ าใหเ้ กิดความช้า ดอกไม้จะดูด ดอกไม้ ท าให้สะดวกต่อการจัด และการ นา้ ไดไ้ มเ่ ตม็ ท่ี มผี ลทาใหด้ อกไม้ไม่ทน ตรวจเชค็ ผลงาน 3. คมี บดิ ลวด ควรมปี ากกว้างพอสมควร

10 8. ฟลอรา่ เทป ควรเลือกสีให้เหมาะสมสาหรับ 11. ภาชนะสาหรับแช่ Floral Foam ควรมีที่ ก้านดอกไม้ แต่ถ้าต้องการใชส้ าหรบั ตกแต่งอาจ เฉพาะสามารถถา่ ยน้าได้สะดวกและกักเก็บน้า เลือกสีที่มีความแตกต่างก็ได้ เช่น สีแดง สี ได้อย่างดี อาจใช้อ่างน้าที่มีปุมกักหรือถ่ายน้า เหลอื ง สีชมพู สขี าว เป็นตน้ ออกได้ แตต่ ้องระมัดระวงั การอุดตันของท่อน้า 9. ลวด มีทั้งชนิดเป็นขด และชนิดดึงยืดเป็น ด้วย เส้นตรงที่ตัดสาเร็จมาเรียบร้อยแล้ว มีหลาย 12. ตู้แช่ดอกไม้ จะตอ้ งมขี นาดและอุณหภูมิที่ ขนาดสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมกับ เหมาะสมกับดอกไม้ การใช้งาน 10. กระดาษและพลาสตกิ สามารถเลือกขนาด ความกวา้ งคณุ ภาพสีและลวดลายตามตอ้ งการ ฟลอร่าเทป

11 13. ลวดตาข่ายหรือลวดกรงไก่ มีทั้งตาหก 16. ตะกรา้ มีหลายขนาดหลายแบบให้เลือก เหลี่ยม และสี่เหลี่ยม ปัจจุบันมีชนิดที่เป็น ปจั จุบันนม้ี ีการนาเอาวัสดุต่างๆ มาใช้ในการ พลาสติกด้วย ผลติ ตะกร้าทาให้เราสามารถเลอื กซื้อได้ความ 14. คีมปลิดหนามและใบกุหลาบ สามารถ ต้องการและความเหมาะสมในการจดั แต่ทาง ทางานได้อย่างรวดเร็ว แต่มีข้อเสียคือ ทาให้ ทดี่ คี วรเลอื กตะกร้าชนิดที่มีหูหิ้ว เพื่อสะดวก ก้านกุหลาบหักง่าย และถลอกไม่สวยงาม เรา ตอ่ การขนส่งใหก้ บั ลูกค้า อาจเปลี่ยนมาใชม้ ีดปลิดหนามและใบแทนก็ได้ 17. Floral Foam ใช้สาหรับปักดอกไม้ 15. แจกัน ควรเลอื กชนิดทมี่ ีการเคลือบภายใน ใบไม้ มีหลายชนิดให้เลือก ชนิดที่ใช้กับ เพ่อื สะดวกต่อการล้างทาความสะอาด และยัง ดอกไมส้ ดจะเรียกว่า “Oasis” ส่วนชนิดที่ใช้ ปูองกันไม่ให้เกิดการตกค้างของเชื้อแบคทีเรีย กับดอกไม้แห้งหรือดอกไม้ประดิษฐ์เรียกว่า ค ว ร เ ล ื อ ก ช น ิ ด ท ี ่ ต ั ้ ง ไ ด ้ อ ย ่ า ง ม ั ่ น ค ง แ ล ะ มี “Sahara” ปากกว้าง เพื่อจะได้เพิม่ ความสะดวกต่อการจัด ดอกไม้

12 ลักษณะของดอกไม้ ดอกไม้ทเ่ี ราเลอื กซือ้ มาใช้น้นั จะมีใหเ้ ลือกมากมายหลายชนดิ หลากหลายรปู แบบ แต่สาหรับ นกั จดั ดอกไมจ้ ะแบง่ ลักษณะดอกไม้ออกเป็น 4 รปู แบบด้วยกนั ไดแ้ ก่ 1. Line Flowers คือ ดอกไม้ใบไม้ที่มี ลกั ษณะเป็นแนวหรือเป็นเส้น ซึ่งดอกไม้ ใบไม้เหล่านี้ จะเป็นดอก ใบหรือกล่มุ ช่อดอกที่เรียงขึ้นไปตามความ ยาวของก้านดอก เช่น กลาลิโอลัส กกธูป ซ่อนกลิ่น ลี อาทรีส เดฟีเนยี่ ม แบกราส สตลิ กราส เปน็ ต้น ด้วยลักษณะของความเป็นเส้นที่เด่นชัดของ Line Flowers นี้เอง จึงมักถูกนามาจัดวางให้เป็น ตวั กาหนดโครงรา่ งของรปู ทรงการจัดดอกไม้ในภาชนะ ต่างๆ โดยเฉพาะกาหนดความสูงและความกว้างของ รูปทรง นอกจากนี้ยังมีเส้นที่เด่นชัดมากๆ สามารถที่ นามาปักใหเ้ ป็นตวั นาสายตาได้อยา่ งดอี ีกด้วย

13 2.Form Flowers คือ ดอกไม้ ใบไม้ ที่มรี ูปทรงท่ีเดน่ ชดั มกี ลบี ไม่มาก ไม่มี ความซับซ้อนในรูปทรงมากเกินไป เช่น ดอกหน้าวัว ดอกลิลลี่ ดอกแคทรียา ใบไม้ ตระกูลพโิ ลเดนดรอน เป็นตน้ ลกั ษณะทเี่ ดน่ ชัดของรูปทรงของดอกไม้ ใบไม้ ประเภทนี้จึงมักถูกนามาปักให้เป็นจุดเด่น หรอื Focal Point ในการจัดดอกไม้ลงในภาชนะ 3. Mass Flowers คือ ดอกไม้เดี่ยว ท่ีมีกลบี ซ้อนมากๆ และจะมองดมู ีน้าหนัก เช่น เยอร์บรี า่ คารเ์ นชน่ั กุหลาบ เป็นตน้ ดอกไม้ประเภทนี้จะมีมากในท้องตลาด เปน็ ดอกไม้ทีท่ าหน้าท่ใี นการเติมเต็มให้กับการ จัดดอกไม้ สามารถสรา้ งความสมดุลและความ แตกต่างในช้ินงานแต่ในขณะเดยี วกนั กส็ ามารถ สร้างใหเ้ กิดความกลมกลืนให้กบั ชิ้นงานท่จี ัดได้ เป็นอยา่ งดีอกี ดว้ ย

14 4. Filler Flowers คือ ดอกไม้ ใบไม้ ทีใ่ ช้แตง่ เติมหรือเสริมแซมเข้าไปในแจกันที่เราจัด ขึ้น เพื่อให้เกิดความนุ่นนวลของสีและผิวสัมผัส ดอกไม้ ใบไม้ ประเภทนี้จะมีลักษณะเป็นดอก เล็กๆ ฝอยๆ เชน่ ยิปโซฟิลลา่ สรอ้ ยทอง แคสเปียร์ เล็บครฑุ ผักชี หลวิ ทอง ใบโปร่งฟูา ปริกแคระ แว็กซ์ เป็นต้น เนื่องจากลักษณะของดอกไม้ ใบไม้ ประเภทนี้จะมีลักษณะเล็กๆ ฝอยๆ เมื่อใช้ ปรมิ าณมากจนเกินไปจะทาให้เกดิ ความรกรงุ รัง เราสามารถท่จี ะนาดอกไม้ ใบไม้ประเภทนี้มาปัก ใหอ้ ยใู่ นกลุ่มเดยี วกนั ก็สามารถเพ่มิ ความเด่นชดั และลดความรงุ รังไดเ้ ป็นอยา่ งดี ปัญหาของนักจัดดอกไม้ที่มักพบกันอยู่เสมอ คือไม่สามารถตดั สินใจไดว้ า่ จะนาดอกไม้ประเภทใดมา ใช้ในการจัดแจกันสักหน่งึ แจกันบางท่านอาจเคยได้ยิน คาว่านักจดั ดอกไม้ทด่ี มี อี ะไรก็ต้องจัดได้ แต่ถ้านักจัด ดอกไม้ที่ดีมีโอกาสที่จะเลือกดอกไม้ที่จะนามาใช้จัด ควรเลือกดอกไม้ให้ครบทั้งสี่ประเภทมาใช้ในการจัด แจกันหนงึ่ แจกนั ซ่ึงจะทาใหส้ ามารถจดั ดอกไม้ได้อย่าง ลงตวั งา่ ยข้นึ

15 ลักษณะการปกั ดอกไมต้ ามธรรมชาติ ธรรมชาติจะมีใหเ้ ราเหน็ กันมากมาย แต่เราจะสังเกตไดว้ า่ ลกั ษณะของการเกดิ ของธรรมชาติ จะมี อยู่ดว้ ยกนั 2 ลกั ษณะ เช่นเดยี วกบั การปกั ดอกไมใ้ นภาชนะได้แก่ กระจายออกจากบริเวณเดยี วกัน 1. Radial Vegetative Style เส้นที่ใช้ปักแบบRadiai จะต้องไม่ไขว้กันไปมา หมายถงึ การแตกกระจายของเส้นหลายๆเส้น ดอกไม้ที่นามาจัดในลักษณะนี้จะมีอิสระของ ออกจากจุดศนู ย์รวมจุดเดียวกัน โดยได้รับแรง ตัวเอง ก้านดอกไม้จะคว่าหรือหงายขึ้นอยู่กับ บันดาลใจมาจากการแตกกิ่งก้านของ พุ่มไม้ ลักษณะของดอกไมเ้ อง มีมิติหรือความสูงต่าใน ต้นข้าว กอตะไคร้ กอหญ้า หรือต้นไม้ขนาด กลุม่ อย่างเด่นชดั เลก็ ชนดิ ตา่ งๆ ท่ขี ้นึ อยู่ตามธรรมชาติเสน้ ทกุ

16 2. Parallel Vegetative Style คือการปักให้มีเส้นขนานกัน จุดปลายของเส้นแต่ละเส้นจะไม่ สัมผสั กันเลย ฉะนั้นในหนึ่งภาชนะ ย่อมจะต้องมีจุดกาเนิดหลายจุด การปักแบบนี้เป็นการจาลองภาพ ของการเกิดของต้นไมใ้ นปุา เช่น ปุา สน ปุาสัก ต้นกกธูป ต้นกกชนิด ต่างๆ เปน็ ตน้ การปักแบบ Parallel นี้ จะจัดเป็นกลุ่มคู่ขนาน ประกอบไป ดว้ ยกลุ่มดอกไม้สองฝั่งจะมีช่องว่าง ระหว่างกลุ่ม และข้อสาคัญจะต้อง ปิดฐานอย่างมิดชิด การปักแบบ Parallel โดยปรกติจะนิยมจัดใน ภาชนะที่มีปากกว้างและเตี้ย ดอกไม้ ใบไม้ จะมีเส้นก้านที่เป็น แนวตรง ฐานจะถูกปิดมิดชิด มี จังหวะและความสม่าเสมอในการ ปัก และมีระดับความสูงที่แตกต่าง กันอยา่ งเดน่ ชัด

17 องค์ประกอบในการจดั ดอกไม้ Elemments หรือองค์ประกอบเป็นเสมอื นรูปธรรม ท่สี ามารถจับต้องได้ไมว่ ่าจะด้วยการมอง และการสัมผสั ดว้ ยมอื ประกอบไปดว้ ย 1. Line เสน้ จะมีอยดู่ ้วยกนั 2 ลกั ษณะ คอื 1.1 Static Line เส้นตรง มีความ เข้มแข็งมีพลังและมองดูแล้วเหมือนมี จุดมุ่งหมายทีเด่นชัด จึงมักจะถูกมาเป็น โครงร่างของ การจัดดอกไม้ เช่น ใช้เป็น ตัวกาหนดความสูง และความกว้างของการ จัดดอกไม้ 1.2 Dynamic เส้นไม่ตรง เป็นเส้นที่มี การเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา จึงนับได้ว่า เป็นเส้นที่มีชีวิตชีวา ฉะนั้นจึงนิยมนาเอา Dynamic Line มาใช้เป็นเป็นตัวนาสายตา และความรสู้ กึ ให้เข้าสรู่ ูปทรงการจดั 2. Form รูปทรงของการจัดดอกไม้จะมี ดว้ ยกนั 2 ลกั ษณะ คอื 2.1 รูปทรงปิด คือลักษณะดอกไม้ที่มี ช่องวา่ งระหว่างกลีบดอกน้อยมาก เช่น คาร์ เนชั่น กุหลาบ เป็นตน้ 2.2 รูปทรงเปิด คือลักษณะของดอกไม้ ท่ีมชี อ่ งว่างระหว่างกลีบมาก เช่น ดอกลิลล่ี เฮลโิ คเนีย เป็นตน้

18 3. Color สี สีท่ใี ช้ในการจัดดอกไม้ก็จะเป็นสี การนาสมี าใช้น้ันมดี ว้ ยกนั หลาย ท่ี ใช้ในงานศลิ ปะทุกๆ แขนงที่ได้มาจากวงจร ลักษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้ สี ซงึ่ มที ั้งหมด 12 สี ไดแ้ ก่ 3.1 Monochromatic Color สโี ทน • สีขนั้ ที่ 1 ได้แก่ สีแดง สีเหลอื ง เดียว คือสีที่เกิดจากการผสมของสีกลางซึ่ง ไดแ้ ก่ สเี ทา สีขาว หรือสีดา สีใดตัวหนึ่งมาผสม และสนี า้ เงนิ กับสีในวงจรสีตัวใดตัวหน่ึง เชน่ สีขาวผสมกับสี • สขี ัน้ ท่ี 2 ได้แก่ สีส้ม สีเขยี ว สมี ว่ ง เหลอื ง ก็จะทาให้สีเหลืองค่อยๆ มีความจางลง • สขี น้ั ท่ี 3 ได้แก่ สีมว่ งแดง สีม่วงน้าเงิน เร่ือยๆ จนกระทง่ั กลายเปน็ สีขาว เมื่อเรานาสีน้ี มาใช้ในการจัดดอกไม้หนึ่งแจกัน เราก็จะได้ สเี ขยี วน้าเงิน สีเหลอื งเขยี ว และสสี ม้ แดง ดอกไม้ และวัสดุตกแต่งที่มีสีเหลืองสว่างไล่ไป จนกระท่งั ดอกไม้เหล่านั้นกลายเป็นสีขาว เป็น ตน้ สลี กั ษณะน้ีจะทาให้เกิดความกลมกลืนมาก ที่สุด ง่ายต่อการจัด และทาให้เกิดความสบาย ตามากที่สดุ Monochromatic Color จึงเป็นสี ทีน่ ยิ มจดั มากท่สี ุด

19 3.2 Analogous Color คอื สที ี่อยู่ติดกันสามสีในวงจรสี เช่น สีแดง สีสม้ แดง เป็นต้น จดั อยู่ในประเภทสีกลมกลืนที่ทาให้จัดดอกไม้ได้อย่างสวยงามได้ง่าย อาจเรียกสีลักษณะนี้ว่า “สี ตระกูลเดยี วกัน”

20 3.3 Complementary Color คอื สีที่อยูต่ รงขา้ มกนั อย่างแทจ้ ริงในวงจรสี เช่น สีแดง อยู่ตรงขา้ มกับสีเขยี ว นบั วา่ เปน็ สีท่นี ยิ มจดั อีกสหี น่งึ เนอ่ื งจากเป็นสีที่ทาให้เกิดความขัดแย้งกันที่ เดน่ ชัด เม่ือมองแลว้ จะทาใหร้ ู้สึกสะดดุ ตามากที่สุด 3.4 Split Complementary Color คือสที อี่ ยู่ข้างๆ ของสตี รงขา้ ม หรือจะเรียกว่า “สี ตวั วาย” ก็ได้ เช่น สีม่วง สีส้มเหลือง และสีเขียว เหลอื ง เป็นตน้

21 3.5 Color Triadic คือสี สามมุมที่อยู่ในวงจรสีเช่นสีแดงสี เหลืองและสีน้าเงินเป็นต้น Triadic Color เป็นอีกสีหนึ่งที่จะทาให้เกิด ความต่ืนเตน้ และน่าสนใจ

22 4.Texture ผวิ สมั ผสั ถา้ ต้องการให้มีผิวสัมผัสที่ดีจะต้องมีความแตกต่างกันจน สามารถสัมผัสได้ด้วยสายตาและความรูส้ ึกเช่นขรขุ ระนมุ่ นวลคลา้ ยกามะหยี่เกลี้ยงเกลาเป็นมัน วาวมีความนูนหรือมีความแหลมคมราบเรียบเป็นต้นเราต้องพยายามหาวัสดุต่างๆที่มีความ แตกตา่ งกันเพือ่ ส่งเสริมให้มีความขัดแย้งในชิ้นงานมากที่สุดและข้อสาคัญอีกประการหนึ่งคือ พยายามหาวสั ดทุ แ่ี ตกต่างกันท้งั ในเรื่องของสีผิวสัมผสั และความสูงต่ามาจดั วางไว้ใกล้ ๆ กนั

5. Space ช่องว่างใน 23 รูปทรงการจัด ประกอบไปด้วย ชอ่ งว่างปดิ และช่องว่างเปิด 5.2 ช่องว่างเปิด คือ ลักษณะการจัดดอกไม้ที่มีช่อง 5.1 ชอ่ งว่างปิด คือ ลักษณะ วา่ งระหวา่ งการจดั มาก สามารถ การจัดดอกไม้ที่มีช่องว่างระหว่าง มองผ่านได้ง่าย ทรงที่จัดน้อยมาก ทาให้มองผ่าน ไดย้ าก โดยเฉพาะรปู ทรงพื้นฐานท่ี อยู่ในลักษณะทรงเรขาคณิต เช่น ทรงตัวที ทรงตัวเอส ทรงสาม เหลีย่ ม เป็นต้น Formal Linear

24 หลักการจดั ดอกไม้ หลักการจัดดอกไม้ เป็นหลักการทาง ทฤษฏีศลิ ปะ เป็นเรื่องราวต่างๆที่สร้างผลงาน ให้ออกมาดูสวยงาม ทาให้ผู้ดูเกิดความ ประทับใจ เข้าใจในความคิดของผู้จัด และ มองดูไม่ขัดตา ซึ่งหลักการเหล่านี้จะเป็น ตวั เชอื่ มความประทับใจระหว่างผลงานกับผู้ดู Principles จะมสี ภาพเป็นนามธรรม ไม่สามารถจับต้องได้ ผลงานที่ออกมาจะ ประสพผลสาเร็จหรือไม่ จะต้องประกอบไป ด้วยประสบการณ์ และความคิดสร้างสรรค์ของ ผู้จัดเองด้วย นอกจากนี้การจัดดอกไม้ให้ สวยงามจะต้องประกอบไปดว้ ย 1.Composition ความโดดเด่นเป็น เอกเทศในแตล่ ะกลุ่มของดอกไม้จะต้องมีความ เด่นชัด โดยการแบ่งด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น แบ่งดว้ ยกลุ่มสี แบ่งด้วยลักษณะของผิวสัมผัส เปน็ ต้น

25 2.Unity คือการผสมผสานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของดอกไม้ วัสดุต่างๆ รวมทั้ง ภาชนะท่ใี ชจ้ ดั ด้วย

26 3.Proportion สดั สว่ นที่เหมาะสมในการจดั โดยจะคานึงถึงสถานที่จัดวางโอกาสที่ใช้ งานวัสดุท่ีนามาจดั และทส่ี าคญั คือความต้องการของผูจ้ ัดแลผใู้ ห้จดั

27 4. Accent ความแปลกใหม่ในการจัด เช่น การใช้นกเกาะในกระเชา้ ดอกไม้ การใส่ตกุ๊ ตาในกระเช้า วันเกิด เป็นต้น

28 5.Balance ความสมดุลในการจัด ประกอบไปด้วย Symmetrical Balance 1. Symmetrical Balance คือ ความสมดุลอย่างแท้จริง จะมีรูปทรง ด้านเท่าทั้งซ้ายและขวา ประกอบไปด้วย วัสดุที่เหมือนกันทั้งความสูง ขนาดของ ดอก สี ชนิดของวัสดแุ ละดอกไม้

29 2. Asymmetrical Balance คอื ความสมดุลอยา่ งไมแ่ ทจ้ ริง สามารถวดั ได้ด้วยความรู้สึกแต่ไม่ สามารถวัดได้ด้วยวัสดุได้ด้วยความรู้สึกแต่ไม่สามารถวัดได้ด้วยวัสดุ ประกอบไปด้วยรูปทรง 2 ลกั ษณะ คือ 2.1 Actual Balance คือ เท่ากันด้านรูปทรง แต่แตกต่าง กันด้านวสั ดุ

30 2.2 Visual Balance คือไม่ เท่ากันทางรูปทรง แต่เท่ากันทาง ความรสู้ กึ

31 6. Harmony ความกลมกลืน คือการเลือกวัสดุต่างๆ มาใช้ในการจัดโดยคานึงถึงสี และ ผวิ สมั ผัสของดอกไม้และวสั ดตุ า่ งๆ ท่ีจะทาให้เกดิ ความกลมกลนื ไปด้วยกนั ได้ทงั้ ชิน้ งาน

32 7. Rhythm จังหวะ คือการ ปักดอกไม้ใหม้ คี วามต่อเนื่องกันไป ทา ใหส้ ามารถนาสายตาเข้าสู่ชิ้นงานที่จัด ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง

33 ตามรอยการจัดดอกไม้ Flemmish Style มีการนาเอาผลไมส้ ด ลกู เบอรต่ี ่างๆ ใบไอว่ี กหุ ลาบ เดฟี เนีย่ ม มาจัดรวมๆ กนั รูปแบบการจัดจะเน้นใหเ้ ตม็ หรือลน้ ภาชนะ จะสามารถ ดงึ ดดู สายตาผู้ดไู ด้เป็นอยา่ งดี

34 Roman Style ไดแ้ รงบันดาลใจการจัดมา จากงานปั้นในสมัยนั้น ซึ่งเป็นที่นิยมกันมากใน ปัจจุบัน คือการนาเอาผลไม้มาเพมิ่ ความหรูหรา ในการจัด นยิ มนามาจัดในเทศกาลครสิ ตม์ าส

35 The Country Garden จะเป็นลกั ษณะง่ายๆ ดู สบายๆ ในความร้สู ึกสดช่นื ผอ่ นคลายการจดั แบบน้ี นิยมกันมากในปพี ุทธศกั ราช 2537 และ 2538

36 Retro-Art เป็นการนาเอาอดีตและปัจจบุ ันมาจดั แตง่ รวมกัน เช่น การนาเอารปู โบราณมาจดั แต่งด้วย ดอกไมส้ มยั ใหม่ หรือนาเอาภาชนะสมยั ใหม่มาจดั ดอกไม้แบบโบราณ แต่สามารถทาใหเ้ กดิ ความกลมกลืนได้ เป็นอย่างดแี ละมกั ใชส้ สี ดใสในการจัด การนาเอาภาชนะแบบเกา่ มาจัดดอกไมแ้ บบสมยั ใหม่

37 Ikebana Style เน้นความอ่อนช้อยของเส้น ประกอบไปด้วยวัสดุหรือดอกไม้ 3 ระดับ ได้แก่ สวรรค์ มนษุ ย์ และโลก สว่ นใหญ่จะจดั ดว้ ยแผงตะปู หรือเรียกวา่ “Kensan”

38 France Style เนน้ การจดั รปู ทรงพ้ืนฐาน ที่เหน็ กนั มากทีส่ ดุ คือ Biedermeier มกี ารปักดอกไม้ ให้กลม ดอกไม้ท่ีใช้มักจะเลือกดอกไมท้ ี่เปน็ Mass Filler

39 การจัดดอกไม้แบบพนื้ ฐาน การจัดดอกไมข้ ้ันพ้ืนฐานน้ันมดี ว้ ยกนั หลายแบบ แต่ทีจ่ ะเลือกมาจดั ให้ดูน้ันจะเป็นแบบท่ี ประยุกต์ให้ดูทันสมัยพอสมควร แต่ยังคงความเป็นพื้นฐานการจัดไว้ด้วย สามารถจัดสาหรับ จาหน่ายได้ และอีกประการคือรูปแบบที่เลือกมานี้สามารถนาไปประยุกต์ให้มี Design ได้อีก มากมายหลายแบบ แตท่ ง้ั นจ้ี ะตอ้ งอาศัยการฝกึ ฝน และจนิ ตนาการของผู้จัดควบไปด้วย สามเหลีย่ มด้านเทา่

40 การจดั รูปทรงสามเหลย่ี มดา้ นเทา่ สามารถจดั ใหเ้ กิดความสมดุลทั้งแบบแท้จริงและแบบ ไมแ่ ท้จรงิ แตใ่ นปจั จุบนั จะนิยมการจัดแบบสมดุลไม่แท้จริงมากกว่า เพราะสะดวกต่อการจัดหา วัสดุ เมอื่ จดั เสรจ็ เรยี บรอ้ ยจะมองดูอ่อนหวานกว่าแบบสมดุลอย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังสามารถ ดัดแปลงรูปแบบการจัดได้อีกมากมายหลายแบบอีกด้วย ทรงสามเหลี่ยมด้านเท่า เป็นทรงที่มี ความนยิ ม มาตง้ั แต่โบราณ และในปจั จุบันกจ็ ดั ได้วา่ ทรงนเี้ ปน็ ทรงที่ขายดมี าตลอด ขนั้ ตอนการจัด 1. บรรจุ Floral Foam ในแจกัน 2. ปักดอกคาร่าให้ลดหลั่นไปด้านหลังและด้านหน้า ปักใบ มอนสเตล่าที่ฐานด้านขวามือ และปักใบพิโลพลูจีบด้าน ซ้ายมือ สว่ นใบพดั โบกปกั ทฐี่ านดา้ นหนา้ ของแจกัน 3. ปกั ใบไผฟ่ ิลปิ ปินสใ์ หก้ ระจายทว่ั แจกนั 4. ปักดอกลิลลี่สีส้ม ปักดอกเฮลิโคเนียสีส้มให้ลดหลั่นลงมาท่ี ฐานแจกัน ส่วนดอกคาร์เนชั่นสีแดงจะปักกระจายไปทั่ว แจกัน จะต้องปักให้มีมิติหรือความสูงต่าให้เป็นธรรมชาติ และข้อสาคัญจะต้องบังคับรูปทรงให้อยู่ในสามเหลี่ยมด้าน เท่า 5. ปิดเทคนิคหรือปิดส่วนที่ยังมองเห็น Floral Foam ด้วยใบ เล็บครฑุ ผักชี ขอ้ ควรระวังในการจดั 1. อย่าปักใหก้ ้านขัดหรอื ไขว้กนั ไปมา 2. ตดั กา้ นใหเ้ ฉยี งมากๆ 3. ปักใหม้ คี วามสมดลุ ทางรูปทรงแตแ่ ตกต่างด้านวัสดุ 4. ปักให้ก้านทุกกา้ นเข้าสู่จดุ เดยี วกนั 5. ปักให้มมี ิติในตัวเอง 6. สรา้ งจดุ ศนู ยก์ ลางใหอ้ ยเู่ ย้อื งไปหลังแจกนั เล็กน้อย เพือ่ เปิด พ้นื ที่ในการปกั ได้มากข้นึ 7. ปดิ ฐานใหม้ ดิ ชดิ 8. การปกั ด้านขา้ งจะต้องพยายามให้ขนานกับปากภาชนะ เพ่อื ใหด้ อกไม้ทจ่ี ดั เปน็ อันหน่ึงอันเดียวกบั ภาชนะให้มาก ที่สดุ 9. อย่าปักใหร้ ูปทรงท่ีจดั มองดคู ว่าหนา้ หรอื หงายหลงั จนเกินไป

41 สามเหลี่ยมดา้ นไมเ่ ท่า การจัดทรงสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า จัดอยู่ในประเภทความสมดุลอย่างไม่แท้จริงแบบไม่ เทา่ กนั ทางรูปทรงแต่เทา่ กันทางความร้สู ึก โดยการแบ่งที่กึ่งกลางภาชนะ แล้วพยายามทาให้เกิด ความรสู้ กึ สมดุลกนั ใหไ้ ด้ รปู ทรงนี้เปน็ ที่นยิ มกนั อย่างกว้างขวาง

42 ขน้ั ตอนการจัด 1. บรรจุ Floral Foam ในแจกนั 2. ปกั ดอกลิลลป่ี ากแตรใหล้ ดหลนั่ กัน ปกั ใบวาสนาด้านขวามอื ปกั ใบพโิ ลพลู จบี ทางซ้ายมือ และปกั ใบไผฟ่ ิลิปปนิ ส์ให้เปน็ กลุม่ อย่เู หนือกลุ่มของใบ วาสนา 3. ปกั ดอกบวั ใหเ้ ปน็ กลุ่มเด่นของภาชนะ โดยปักให้เกดิ มิติ และทาให้มคี วาม เป็นธรรมชาติโดยการปักใหม้ ที ั้งดอกตมู และดอกบาน หลงั จากนั้นปกั ดอก ไอรสี ในแนวตั้งและแนวนอน 4. ปกั ดอกสแตตีสเสรมิ รูปทรงให้เป็นสามเหล่ียมด้านไมเ่ ท่า ปดิ เทคนิคดว้ ย ใบไผฟ่ ลิ ปิ ปนิ ส์ และใบเล็บครฑุ ผักชี หรอื อาจใช้ใบไม้ชนดิ อื่นๆ มาช่วยปดิ เทคนิคดว้ ยกไ็ ด้ ข้อควรระวังในการจดั 1. อยา่ ปกั ใหม้ องดคู ว่าหนา้ หรอื หงายหลังมากจนเกนิ ไป 2. อยา่ ปกั ให้ก้านขดั หรอื ไขวก้ นั ไปมา 3. ตดั กา้ นให้เฉียงมากๆ 4. ปกั ให้ลึกพอสมควร 5. ปักให้มีความสมดลุ แบบไม้แท้จริงและรูปทรงไม่เทา่ กัน 6. ปกั ให้กา้ นทกุ ก้านเข้าสู่จุดเดียวกัน 7. ปกั ใหม้ มี ติ ใิ นตวั เอง 8. สร้างจุดศนู ยก์ ลางใหอ้ ย่เู ย้อื งไปข้างหลัง และคอ่ นไปทางซา้ ยหรือขวามอื ของแจกันเลก็ น้อย 9. ปดิ ฐานให้มิดชดิ 10. พยายามบงั คับรปู ทรงให้อยูใ่ นรูปทรง ของสามเหลี่ยมด้านไมเ่ ท่า คือจะตอ้ ง ให้ฐานด้านใดดา้ นหน่งึ ยาวกว่าอีกดา้ น 11. เมอ่ื จดั เสรจ็ แล้วใหห้ ันดา้ นขา้ งดู เพ่ือ เชค็ ว่าแจกนั ท่จี ดั เสร็จแลว้ เกดิ การ หงายหลังหรือคว่าหน้ามากเกนิ ไป หรอื เปลา่ และสามารถบอกได้ว่าหน้า แจกันทีจ่ ัดพองหรือยบุ ตวั มากเกินไป หรอื ไม่

43 การจัดแจกันแนวนอน การจดั ดอกไมท้ รงแนวนอน ใช้สาหรับวางบนโต๊ะยาวๆ ท่ีใชน้ ่ังรับประทานอาหาร หรือ สาหรบั วางกลางโต๊ะประชุม การจัดดอกไม้ทรงนี้จะต้องระมัดระวังไม่ให้จัดกว้างจนกระทั่งวาง อาหาร หรอื อปุ กรณก์ ารประชุมไม่สะดวก อย่าให้สั้นหรือยาวเกนิ ไปจนกระทัง่ ไม่เหมาะกับขนาด ของโต๊ะ และจะต้องไมจ่ ดั สูงจนกระทง่ั บงั หนา้ ของผูน้ ง่ั การจัด Horizontal จะใชล้ ักษณะการปัก แบบ Radial คือวัสดทุ กุ ชิน้ จะกระจายออกมาจากจุดเดยี วกนั

44 ขัน้ ตอนการจดั 1. บรรจุ Floral Foam ในแจกันจานเปล 2. ปกั เฟริ ์นข้าหลวงด้านซ้ายและขวาของแจกนั จะต้องปัก ให้ชดิ ปากแจกัน สว่ นความยาวของเฟิร์นขา้ หลวงขึ้นอยู่ กับความตอ้ งการของผูจ้ ัด หรือจะยึดขนาดของภาชนะ และสถานทจ่ี ดั วางเป็นตวั กาหนดก็ได้ ปักใบพิโลพลูจีบ ทแยงมุม โดยปักให้ชิดโคนใบปักเบิร์ดก้ามปูเพื่อ กาหนดความสูง 3. ปักใบซานาดูเสริมทรง ปักคาร์เนชั่นให้กระจายทั่ว แจกัน และปักให้มีมิติปักดอกกุหลาบ และเฟิร์น อัษฏางค์เสรมิ เล็กนอ้ ย 4. ปักดอกหน้าวัวแดงและเขียว ปิดเทคนิคด้วยใบ เลบ็ ครฑุ ผกั ชี ข้อควรระวังในการจดั 1. บังคบั รปู ทรงใหซ้ ้ายและขวาเกิดความสมดุลกนั 2. ปักกา้ นทุกก้านให้เขา้ สกู่ ลางภาชนะ 3. ตดั ก้านให้เฉยี งมากๆ 4. ปักลึกพอสมควร 5. ปกั ให้ด้านข้างขนานกบั พืน้ โต๊ะ 6. สามารถปกั ดอกไม้ได้ทั้งแบบผสม และแบบเป็นกลุ่มๆ ก็ได้ 7. ปดิ ฐานให้มิดชิด 8. อย่าปักสูงจนบังหน้าของผู้นั่งบนโต๊ะอาหาร หรือโต๊ะ ประชุม 9. ประยกุ ต์จดั ในภาชนะทรงสูงก็ได้

45 มลิ ล์เดอเฟลอร์ การจัดดอกไม้ใหอ้ ย่ใู นลกั ษณะกลม แตจ่ ะเป็นทรงกลมทีม่ มี ิติ หมายถึงจะมีความสูงต่า ของดอกไมซ้ ่งึ จะมีความแตกต่างจากการจัดทรง Biedermeier ที่มีการปักค่อนข้างทึบและไม่มี ความสูงต่าของดอกไม้ การจัด Mille de Fleur จะเป็นฐานที่ดีในการปักแบบ Radial คือการ รูจ้ ักแบง่ ช่องไฟ การปกั ไม่ให้ก้านไขวก้ นั ข้อสาคญั พยายามปักใหด้ อกไม้และภาชนะเป็นอันหนึ่ง อันเดยี วกนั Mille de Fleur จะเป็นการปักผสมผสานของดอกไม้บานๆ จานวนมากมายหลาย ชนิด จนกระทั่งได้ฉายาว่า “แจกนั หนงึ่ พนั ดอก” เม่อื มองดจู ะมีความเป็นธรรมชาติ และเมื่อมอง ไกลๆ จะเหน็ ลกั ษณะทฟ่ี ๆู เพยี งผิวสมั ผสั เดียว

46 ข้ันตอนการจดั ข้อควรระวงั ในการจดั 1. บรรจุ Floral Foam ในภาชนะ 1. ปักให้มมี ติ ิ 2. ปกั ใบบัดโบกท่ีปากแจกนั 4 ใบ และปักกาหนดความสงู อกี 2. พยายามแบง่ ให้ชอ่ งไฟใหเ้ ท่าๆกัน 3. อยา่ ให้กา้ นขัดหรือไขว้กนั ไปมา 2 ใบ 4. ปักใหข้ นานกับปากภาชนะหรือปักใหย้ อ้ ยลงมาจาก 3. ปกั ใบไผฟ่ ิลปิ ปินส์ ใบเล็บครุฑผกั ชีและใบสนไมลิโอ ปากภาชนะกไ็ ด้ คลาวตสั 5. อยา่ ปกั ใหก้ า้ นทอี่ ย่ขู ้างๆเชดิ ขึน้ จากปากภาชนะ 4. ปักดอกคารเ์ นชั่นท่ฐี าน 4 ดอก ตวั ตัง้ 1 ดอก และปักสับ 6. ปักใหอ้ ยใู่ นทรงกลม 7. ปักใหล้ ึกพอสมควร หว่างอีก 4 ดอก หลงั จากน้นั ปกั เฟิร์นเขากวาง และ 8. อย่าปกั ให้โคนก้านชนกนั เพราะจะทาให้ดูดนา้ ไดไ้ ม่ เลบ็ ครฑุ กระจกเสรมิ อกี เล็กนอ้ ย 5. ปกั คริสซานติมมั และสแตตสี เสริมทรง พยายามใหม้ ีมิติตาม เต็มท่ี ธรรมชาติ 6. ปกั แคสเปียร์เพ่มิ ความน่นุ นวลใหก้ บั แจกนั ที่จัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook