Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายและพระราชบัญญัติ

กฎหมายและพระราชบัญญัติ

Published by kriang2603, 2021-07-19 10:34:49

Description: กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับเด็กพิการ

Search

Read the Text Version

กฎหมาย และ พระราชบญั ญตั ิ ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั เดก็ พกิ าร

คำนำ รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของราย วิชาการดแู ลเด็กปฐมวัยที่มคี วามต้องการพเิ ศษ รหสั วิชา ED-042-312 โดยมเี น้ือหาเกีย่ วกบั กฎหมายและพระราชบัญญตั ิ ตา่ งๆท่ีมคี วามเกยี่ วกบั เดก็ พกิ าร ทางคณะผ้จู ัดทา หวังเป็นอยา่ งย่ิงวา่ รายงานเลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชน แกผ่ ู้ทส่ี นใจ และผู้ท่กี าลงั ศกึ ษาหาขอ้ มลู เร่อื งน้ีอยู่ ไม่มากกน็ อ้ ย หากเกิดข้อผิดพลาดประการใด ขออภยั มา ณ ทนี่ ้ี

รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2560

มาตรา 27 บุคคล ชายและหญงิ มสี ิทธิเท่าเทยี มกัน ย่อมเสมอกนั ใน กฎหมาย มีสิทธิ การเลือกปฏบิ ตั ิโดยไม่เป็นธรรมตอ่ บุคคล ไมว่ ่า และเสรภี าพและ ดว้ ยเหตคุ วามแตกตา่ งในเรอื่ งถน่ิ กาเนดิ เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกายหรอื สขุ ภาพ ไดร้ ับความ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกจิ หรือสังคม ความ คุ้มครอง ตาม เช่ือทางศาสนา การศกึ ษาอบรม หรอื ความคดิ เหน็ กฎหมายเท่า ทางการเมืองอันไมข่ ดั ต่อบทบัญญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนูญ หรือเหตอุ ื่นใด จะกระทามิได้ เทยี มกนั

มาตรการที่รัฐกาหนดการข้นึ เพ่อื ขจัดอปุ สรรคหรอื สง่ เสริมให้บคุ คลสามารถใช้สทิ ธหิ รอื เสรภี าพ ไดเ้ ชน่ เดยี ว กบั บคุ คลอ่นื หรือเพอื่ ค้มุ ครองหรืออานวยความสะดวก ใหแ้ ก่เดก็ สตรี ผู้สงู อายุ คนพิการ หรอื ผดู้ ้อยโอกาส ยอ่ ม ไมถ่ ือว่าเปน็ การเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรมตามวรรคสาม

พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ,ฉบับที่ 2 พ.ศ 2545 , ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ 2553 และ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2562

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วนั ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2542เป็นปที ี่ 54 ในรชั กาลปัจจุบัน มาตรา 10 การจดั การศึกษา ต้องจัดให้บคุ คลมี สทิ ธแิ ละโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่ นอ้ ยกวา่ สบิ สองปีที่รฐั ตอ้ งจดั ให้อยา่ งทว่ั ถงึ และมคี ุณภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จ่าย การจัดการศกึ ษาสาหรบั บุคคลซึง่ มคี วามบกพร่องทางรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ญั ญาอารมณ สังคม การสอื่ สารและการเรยี นรู้ หรอื มีร่างกายพกิ าร หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซงึ่ ไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรอื ไมม่ ีผ้ดู แู ลหรอื ดอ้ ยโอกาส ต้องจัดใหบ้ คุ คลดงั กลา่ วมีสทิ ธิและโอกาสไดร้ บั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานเป็นพเิ ศษ การศึกษาสาหรบั คนพิการในวรรคสอง ให้จดั ตั้งแตแ่ รกเกดิ หรอื พบความพกิ ารโดยไม่เสีย คา่ ใช้จา่ ย และใหบ้ ุคคลดงั กล่าวมสี ิทธไิ ด้รบั สง่ิ อานวยความสะดวก สือ่ บรกิ าร และความช่วยเหลืออ่ืนใดทาง การศกึ ษา ตามหลักเกณฑและวิธกี ารทีก่ าหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลซง่ึ มคี วามสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรปู แบบที่เหมาะสมโดย คานงึ ถึงความสามารถของบคุ คลน้นั

มาตรา 18 การจดั การศกึ ษาปฐมวยั และการศกึ ษาข้ัน พนื้ ฐานให้จัดในสถานศกึ ษาดงั ต่อไปนี้ สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ได้แก่ ศนู ยเด็กเล็ก ศนู ย พัฒนาเดก็ เล็ก ศนู ยพัฒนาเด็กก่อนเกณฑของสถาบนั ศาสนา ศนู ยบรกิ ารช่วยเหลือระยะแรกเรมิ่ ของเดก็ พกิ าร และเด็กซ่งึ มีความต้องการพเิ ศษ หรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ท่เี รียกชอ่ื อย่างอื่น

พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ ให้ไว้ ณ วนั ท่ี8 ธนั วาคม พ.ศ. 2545 เป็นปที ี่ 57 ( ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ. 2545 ในรัชกาลปัจจบุ นั มาตรา 6 ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา 37 มาตรา 38 มาตรา 39 และมาตรา 40 แหง่ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษา- แห่งชาติพ.ศ.2542 และให้ใช้ความตอ่ ไปน้ีแทน มาตรา 37 การบริหารและการจดั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานใหย้ ดึ เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา โดยคานงึ ถึง ปรมิ าณสถานศกึ ษา จานวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอน่ื ดว้ ย เวน้ แตก่ ารจดั การศกึ ษาข้ึน พืน้ ฐานตามกฎหมายวา่ ด้วยการอาชีวศกึ ษา ในกรณีท่ีเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาไมอ่ าจบริหารและจดั การได้ตามวรรคหนงึ่ กระทรวงอาจจดั ให้มีการ ศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานดังตอ่ ไปนเี้ พ่ือเสริมการบรหิ ารและการจัดการของเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษากไ็ ด้ (1) การจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานสาหรับบคุ คลทีม่ ีความบกพรอ่ งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ สงั คม การส่อื สารและการเรยี นรู้หรอื มรี ่างกายพิการ หรอื ทพุ พลภาพ

พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ ( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2553 ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เปน็ ปีท่ี 65 ในรชั กาลปจั จบุ ัน มาตรา 37 การบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานให้ ยึดเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา โดยคานงึ งถึงระดบั ของการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน จานวนสถานศึกษา จานวนประชากร วัฒนธรรม และความ เหมาะสมดา้ นอ่นื ดว้ ย เว้นแต่การจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานตามกฎหมายว่าดว้ ยการอาชีวศึกษา ให้รัฐมนตรโี ดยคาาแนะนาของสภาการศกึ ษา มคี าประกาศในราชกจิ จานุชบกษา กาหนดการเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาเพือ่ การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน แบง่ เป็นเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษา ประถมศกึ ษาและเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา

ในกรณีทส่ี ถานศกึ ษาใดจัดการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทง้ั ระดับ ประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา การกาหนดใหส้ ถานศกึ ษาแหง่ นั้นอยู่ในเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาใด ใหย้ ดึ ระดับการศกึ ษาของสถานศึกษา นน้ั เปน็ สามญั ทัง้ น้ี ตามทร่ี ัฐมนตรปี ระกาศกาหนดการโดยคาา แนะนาของคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ในกรณีท่ีเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาไม่อาจบรหิ ารและจดั การได้ ตาม วรรคหนึ่ง กระทรวงอาจจัดให้ มี การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานดงั ต่อไปน้เี พอ่ื เสริมการบรหิ ารและการจดั การของเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาก็ได้ (1) การจัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐานสาหรับบคุ คลท่ีมคี วามบกพร ของทางร่างกาย จติ ใจ สติปัญญา อารมณ สงั คม การสอ่ื สารและ การเรยี นรู้ หรอื มรี า่ งกายพิการหรอื ทุพพลภาพ (2) การจัดการศึกษาข้นั พื้นฐานทจี่ ัดในรูปแบบการศึกษานอก ระบบหรอื การศึกษา ตามอธั ยาศยั (3) การจัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานสาหรบั บุคคลทีม่ ี ความสามารถพิเศษ (4) การจดั การศกึ ษาทางไกล และการจดั การศกึ ษาทใี่ ห้ บรกิ ารในหลายเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ( ฉบบั ที่ 4 ) พ.ศ. 2562 สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั มหาวชิรราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 26 เมษายน พ.ศ. 2562 เปน็ ปที ่ี 4 ในรชั กาลปัจจบุ ัน มาตรา 5 ให้ยกเลกิ วรรคสามของมาตรา 34 แห่งพระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษา แห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

พระราชบญั ญตั กิ ารจดั การศึกษา สาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2556

พระราชบัญญัติการจดั การศกึ ษา ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ สาหรบั คนพิการ พ.ศ. 2551 วันท่ี 27 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็นปที ี่ 63 ในรัชกาล ปจั จบุ นั มาตรา 1 พระราชบญั ญตั นิ ้ี เรียกวา่ “พระราชบัญญตั ิการจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ. 2551 มาตรา 2 พระราชบญั ญัตนิ ้ีใหใ้ ช้ บังคับตัง้ แต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ตน้ ไป มาตรา 3 ในพระราชบญั ญตั ินี้ “คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซง่ึ มีขอ้ จากัดในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจาวนั หรือ เข้าไปมี สว่ นรว่ มทางสังคม เน่อื งจากมคี วามบกพรอ่ งทางการเห็น การไดย้ ิน การเคลอ่ื นไหว การสอื่ สาร หน้า 2 เลม่ 125 ตอนที่ 28 ก ราชกิจจานเุ บกษา 5 กุมภาพนั ธ 2551 จติ ใจ อารมณ พฤติกรรม สติปญั ญา การ เรยี นรู้ หรือความบกพรอ่ งอนื่ ใดประกอบกบั มีอุปสรรค ในดา้ นตา่ ง ๆ และมคี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ ทางการศกึ ษาท่จี ะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหน่ึงด้านใด เพอื่ ให้สามารถปฏิบัติกจิ กรรมในชีวิตประจาา วันหรือเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มทางสงั คมได้ อย่างบุคคลท่ัวไป ทั้งนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑทร่ี ัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด

“ผู้ดูแลคนพิการ” หมายความวา่ บดิ า มารดา ผู้ปกครอง บตุ ร สามี ภรรยา ญาติ พ่ีนอ้ ง หรอื บุคคลอ่ืนใดท่ีรบั ดูแลหรือรบั อปุ การะคนพกิ าร “แผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล” หมายความวา่ แผน ซ่ึงกาํ หนดการแนวทางการจดั การศึกษา ท่ีสอดคลอ้ งกับความ ตอ้ งการจําเป็นพิเศษของคนพกิ าร ตลอดจนกาํ หนดการ เทคโนโลยี ส่ิงอาํ นวยความสะดวก สื่อ บรกิ าร และความช่วยเหลือ อ่ืนใดทางการศึกษาเฉพาะบุคคล

“เทคโนโลยสี ิ่งอาํ นวยความสะดวก” หมายความวา่ เคร่ืองมอื อุปกรณ์ ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ หรอื บรกิ ารท่ีใช้สําหรับคนพิการโดยเฉพาะ หรือท่ีมีการ ดดั แปลงหรือปรับใชใ้ หต้ รงกบั ความตอ้ งการ จําเป็นพิเศษของคนพิการแต่ ละบุคคล เพ่ือเพ่ิม รกั ษา คงไว้ หรอื พัฒนาความสามารถและศักยภาพ ที่จะ เขา้ ถงึ ขอ้ มูล ขา่ วสาร การสื่อสาร รวมถึงกจิ กรรมอื่นใดในชวี ิตประจาํ วันเพ่ือ การดาํ รงชีวิตอสิ ระ “ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความวา่ ครทู ่ีมีวฒุ ทิ างการศึกษาพเิ ศษ สูงกว่าระดับปรญิ ญาตรี ขน้ึ ไป และปฏิบตั ิหนา้ ที่ในสถานศึกษาทงั้ ของรัฐและ เอกชน “การเรียนร่วม” หมายความว่า การจดั ใหค้ นพกิ ารไดเ้ ข้าศกึ ษาใน ระบบการศึกษาท่ัวไป ทกุ ระดับและหลากหลายรูปแบบ รวมถึงการจดั การศกึ ษา ให้สามารถรองรับการเรยี นการสอน สาํ หรบั คนทุกกลุม่ รวมทง้ั คนพิการ

“สถานศกึ ษาเฉพาะความพกิ าร” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐหรอื เอกชนท่ี จดั การศึกษา สําหรบั คนพกิ ารโดยเฉพาะ ทัง้ ในลักษณะอยู่ประจาํ ไป กลบั และรับบรกิ ารที่ บ้าน “ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ” หมายความวา่ สถานศกึ ษาของรัฐที่จดั การศกึ ษานอกระบบ หรอื ตามอธั ยาศัยแกค่ นพกิ าร ต้งั แตแ่ รกเกิดหรอื แรกพบความพกิ ารจนตลอดชีวติ และ จดั การศึกษาอบรมแก่ผดู้ ูแลคนพิการ ครู บุคลากรและชุมชน รวมทัง้ การจดั สื่อ เทคโนโลยี สิ่งอํานวยความสะดวก บรกิ าร และความชว่ ยเหลืออ่ืนใด ตลอดจนปฏบิ ตั ิหนา้ ที่อ่ืนตามที่ กําหนดในประกาศกระทรวง “ศนู ยก์ ารเรียนเฉพาะความพกิ าร” หมายความว่า สถานศกึ ษาที่จดั การศกึ ษานอก ระบบ หรอื ตามอัธยาศัยแก่คนพกิ ารโดยเฉพาะ โดยหนว่ ยงานการศกึ ษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครวั ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ องคก์ รวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบนั ทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันทางสงั คมอ่ืนเป็นผจู้ ดั ตัง้ แตร่ ะดบั การศกึ ษาปฐมวัย การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน อาชีวศึกษา อดุ มศกึ ษาและหลกั สตู รระยะสั้น

“องคการคนพิการแตล่ ะประเภท” หมายความวา่ องคกร สมาชกิ ระดบั ชาตติ ามประเภท ความพกิ ารที่ได้แจง้ ชอ่ื ไวก้ บั สานกั งานส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพิการแหง่ ชาติ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการส่งเสริม การจัดการศกึ ษาสาหรับคนพิการ “กองทนุ ” หมายความว่า กองทนุ ส่งเสริมและพฒั นา การศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร

มาตรา 5 คนพิการมีสิทธทิ างการศึกษาดงั นี้ (1) ไดร้ บั การศกึ ษาโดยไม่เสยี ค่าใช้จ่ายต้งั แตแ่ รกเกดิ หรอื พบความพิการจนตลอด ชีวิต พรอ้ มทงั้ ได้รบั เทคโนโลยี สิ่งอํานวยความสะดวก ส่ือ บรกิ ารและความชว่ ยเหลืออ่ืนใด ทางการศกึ ษา (2) เลือกบริการทางการศึกษา สถานศกึ ษา ระบบและรูปแบบการศกึ ษา โดย คํานงึ ถงึ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและความต้องการจําเป็นพิเศษของบคุ คล นนั้ (3) ได้รบั การศึกษาที่มมี าตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้งั การจัด หลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษา ที่เหมาะสมสอดคล้องกบั ความ ต้องการจาํ เปน็ พิเศษ ของคนพิการแต่ละประเภทและบคุ คล มาตรา 7 ใหส้ ถานศกึ ษาของรฐั และเอกชนที่จดั การเรียนรว่ ม สถานศึกษาเอกชน การกุศล ที่จดั การการศึกษาสาํ หรับคนพกิ ารโดยเฉพาะ และศูนยก์ ารเรยี นเฉพาะความ พกิ าร ท่ีได้ รบั การรบั รองมาตรฐาน ได้รับเงนิ อุดหนนุ และความชว่ ยเหลอื เป็นพเิ ศษจากรฐั

พระราชบญั ญัติ การจัดการศกึ ษาสาํ หรบั คนพกิ าร (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556 ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 เป็นปีท่ี 68 ใน รัชกาลปจั จบุ ัน มาตรา 3 ให้ยกเลกิ ความในบทนิยามคาวา่ “ครกู ารศึกษาพิเศษ” ใน มาตรา 3 แหง่ พระราชบัญญตั กิ ารจดั การศกึ ษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน “ครกู ารศกึ ษาพเิ ศษ” หมายความวา่ ครูที่มีวุฒทิ างการศกึ ษาพิเศษสงู กวา่ ระดับปริญญาตรีขน้ึ ไป หรือครทู ม่ี ีวฒุ ิทางการศึกษาพเิ ศษระดบั ปรญิ ญาตรี ทีผ่ ่านการประเมินทักษะการสอนคนพิการตามท่ี คณะกรรมการสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาสาหรับคนพกิ ารกาหนด และปฏบิ ัตหิ น้าท่ีสอน จัดการศึกษา นเิ ทศ หรือหนา้ ทีอ่ ่ืนเกยี่ วกบั การจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการในสถานศึกษาท้งั ของรัฐ และเอกชน”

พระราชบญั ญัติสง่ เสริมและพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ 2550 และ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ 2556

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและพฒั นา คุณภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2550 เปน็ ปีท่ี 62 ในรชั กาลปจั จุบัน มาตรา 1 พระราชบญั ญัตินีเ้ รยี กวา่ “พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร พ.ศ. 2550” มาตรา 4 ในพระราชบัญญตั นิ ี้ “คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีขอ้ จาํ กดั ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมใน ชีวิตประจาํ วนั หรอื เข้าไปมสี ว่ นรว่ มทางสังคม เนอ่ื งจากมคี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ การได้ยิน การเคล่ือนไหว การ สื่อสาร จติ ใจ อารมณ์ พฤติกรรม สตปิ ัญญา การเรยี นรู้ หรอื ความบกพรอ่ งอ่ืนใด ประกอบกบั มีอปุ สรรค ในดา้ น ต่าง ๆ และมคี วามจําเป็นเป็นพิเศษที่จะตอ้ งไดร้ ับความชว่ ยเหลือดา้ นหนึ่งด้านใด เพื่อใหส้ ามารถ ปฏบิ ัติกิจกรรมใน ชวี ิตประจาํ วนั หรอื เขา้ ไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ทั้งน้ี ตามประเภทและหลักเกณฑ์ท่ีรฐั มนตรีวา่ การ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ประกาศกําหนด

“การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ” “การสง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิต” หมายความวา่ การเสรมิ สร้างสมรรถภาพหรอื หมายความว่า การฟ้ืนฟสู มรรถภาพคนพิการการ ความสามารถ ของคนพิการให้ มสี ภาพที่ดีข้นึ จัดสวัสดกิ าร การส่งเสริมและพิทกั ษสิทธิ การ หรือดารงสมรรถภาพหรอื ความสามารถทีม่ ีอยู่ สนบั สนนุ ให้ คนพกิ ารสามารถดารงชีวิตอสิ ระ มี เดิมไว้ โดยอาศยั กระบวนการทางการแพทย ศกั ดศ์ิ รีแห่งความเป็นมนุษย และเสมอภาคกบั การศาสนา การศึกษา สังคม อาชีพ หรอื บุคคลทั่วไป มีส่วนรว่ มทางสังคมอย่างเตม็ ที่และมี กระบวนการอืน่ ใด เพื่อให้ คนพิการ ได้มโี อกาส ประสทิ ธภิ าพ ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ ม ทคี่ นพิการ ทางานหรือดารงชวี ิตในสงั คมอยา่ งเต็ม สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชนได้ ศักยภาพ

มาตรา 12 ให้มสี าํ นักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการแหง่ ชาติขึน้ เป็นสว่ น ราชการ ในกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ซ่ึงไมม่ ฐี านะเปน็ กรมตาม มาตรา 18 วรรคส่ี แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแกไ้ ข เพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัติ ระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545 โดยมี เลขาธิการซึ่งมฐี านะเปน็ อธบิ ดี เป็นผบู้ ังคบั บญั ชา ข้าราชการและบุคลากรของสาํ นักงาน มาตรา 16 คนพิการท่ีได้ รบั หรือจะได้ รบั ความเสยี หายจากการกระทําในลักษณะที่เปน็ การเลอื ก ปฏิบัตโิ ดยไมเ่ ป็นธรรมตอ่ คนพิการตามมาตรา 15 มสี ิทธริ ้องขอต่อคณะกรรมการ ใหม้ คี ําสั่งเพกิ ถอน การกระทําหรอื ห้ามมใิ ห้กระทาํ การนน้ั ได้ คาํ ส่ังของคณะกรรมการใหเ้ ป็น ที่สุด

มาตรา 17 มาตรา 19 มาตรา 20 ในการใชส้ ทิ ธิตาม เพอื่ ประโยชนใ์ นการได้ รบั คนพิการมสี ิทธเิ ข้าถึงและ มาตรา 16 คนพกิ ารหรือ สิทธิตามมาตรา 20 คน ใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ากส่ิง พิการอาจย่ืนคาํ ขอมีบตั ร อาํ นวยความสะดวกอนั ผู้ ดูแลคนพกิ ารอาจ ประจาํ ตัวคนพกิ ารต่อนาย ขอใหอ้ งคก์ ร ด้านคน ทะเบียนกลางหรอื นาย เปน็ สาธารณะ ตลอดจน พิการที่เกี่ยวขอ้ งเปน็ ผู้ สวัสดกิ ารและความ ร้องขอหรือฟ้องคดีแทน ทะเบยี นจงั หวัด ณ ช่วยเหลืออ่ืนจากรฐั สาํ นักงานทะเบยี นกลาง ได้ สํานักงาน ทะเบยี นจังหวดั หรือสถานท่ีอ่ืนตามระเบยี บท่ี คณะกรรมการกาํ หนด

มาตรา 23 มาตรา 33 ใหจ้ ดั ตง้ั กองทนุ ขึ้นกองทนุ หน่งึ ใน เพ่ือประโยชนในการสง่ เสริมและพฒั นา สานักงาน เรียกวา่ “กองทุนส่งเสรมิ และ คณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารใหน้ ายจา้ งหรอื พัฒนา คุณภาพชีวิตคนพกิ าร” เพื่อเปน็ เจ้าของสถานประกอบการ และหน่วยงาน ทนุ สาหรับการใช้จา่ ยเกีย่ วกบั การ ของรฐั รับคนพกิ ารเข้าทางานตาม คมุ้ ครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน ลกั ษณะของงานในอัตราส่วน ทเ่ี หมาะสม พิการ การส งเสรมิ และการดาเนนิ งาน กับผู้ปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ ด้านการสงเคราะหชว่ ยเหลือคนพกิ าร หรอื หนว่ ยงานของรฐั การฟืน้ ฟูสมรรถภาพคนพกิ าร การศกึ ษาและการประกอบอาชีพของ คนพิการ

พระราชบญั ญัติ สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2556 ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 20 มนี าคม พ.ศ. 2556 เป็น ปที ี่ 68 ในรัชกาลปัจจุบนั มาตรา 11 ให้เพม่ิ ความตอ่ ไปนเ้ี ปน็ มาตรา 19/1 แห่ง พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตคนพิการ พ.ศ. 2550 “มาตรา 19/1 คนพิการซึง่ ไมม่ ีสถานะการทะเบียนราษฎร ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร อาจได้รับความชว่ ยเหลอื ท่ี เหมาะสมตามหลกั ศักดศ์ิ รีความเป็นมนุษยจากรัฐ ทัง้ น้ี ตาม หลักเกณฑ วิธกี าร และเงอื่ นไขท่คี ณะกรรมการกาหนดในระเบยี บ”

ใหจ้ ัดต้งั ศนู ยบ์ ริการคนพกิ าร เพ่ือประโยชนใ์ นการส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิต คนพิการ ตามพระราชบัญญตั ิน้ี ราชการส่วนทอ้ งถ่ินอาจจดั ตั้งศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ ารตามวรรคหน่ึงได้ โดยใช้งบประมาณของตนเอง การจดั ตงั้ และการยกเลกิ การกาํ หนดประเภทองค์กร มาตรฐาน การดําเนินการ และคุณสมบัติ ของผู้ดําเนนิ การศูนยบ์ รกิ ารคนพิการ ใหเ้ ปน็ ไปตาม หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีคณะกรรมการกําหนด ทัง้ น้ี ใหศ้ ูนยบ์ รกิ ารคนพิการไดร้ ับการ สนับสนุนดา้ นการเงินหรือด้านอื่นตามระเบียบท่ีรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง การพฒั นาสงั คม และความมั่นคงของมนษุ ยก์ ําหนด หรอื ไดร้ ับเงนิ สนบั สนนุ จากกองทนุ ตามหลักเกณฑ์ ทค่ี ณะกรรมการกาํ หนด

ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการจดั ทํา แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2552

ขอ้ 1 ประกาศนีเ้ รียกวา่ “ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง หลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั ทาํ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2552” และ ขอ้ 4 กระบวนการจดั ทําแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล อยา่ งนอ้ ยต้องประกอบดว้ ย (1) จัดประเมนิ ระดับความสามารถและความต้องการจาํ เปน็ พเิ ศษของผู้ เรยี นเปน็ รายบคุ คล (2) กําหนดเป้าหมายระยะยาว 1 ปี เปา้ หมายระยะสน้ั หรอื จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม (3) ประเมนิ ความต้องการจําเป็นของผู้ เรยี นเปน็ รายบุคคล ในดา้ นส่ิงอาํ นวยความสะดวก เทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวก ส่ือ บรกิ ารและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศกึ ษา (4) กําหนดกระบวนการเรยี นรูแ้ ละปจั จัยท่ีมีความต้องการจาํ เปน็ ทางการศึกษา (5) กําหนดรปู แบบ หลกั เกณฑ์และวธิ ีการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้ เรียน

ประกาศคณะกรรมการส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาสาํ หรบั คนพกิ าร เร่ือง หลกั เกณฑ์การให้ครูการศึกษาพเิ ศษ ครู และคณาจารย์ ได้รับการส่งเสริม และ พฒั นาศักยภาพในการจัดการศกึ ษา สําหรบั คนพิการ พ.ศ. 2552

ข้อ 3 ในประกาศน้ี “สถานศึกษา” หมายความวา่ “ครูการศกึ ษาพิเศษ” หมายความ สถานศกึ ษาทจี่ ัดการศกึ ษาในทกุ ระดบั วา่ ครทู ี่มีวุฒทิ างการศึกษาพิเศษสงู หรอื หนว่ ยงานการศกึ ษาอื่น ทั้งของรัฐ กวา่ ระดบั ปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป และปฏิบตั ิ และเอกชนท่ีมคี นพกิ ารเข้าเรยี นหรอื ท่ี หนา้ ท่ีในสถานศึกษาทั้งของรฐั และ พัฒนาบคุ ลากรทางการศึกษาสําหรับ เอกชน คนพิการ “คณาจารย์” หมายความวา่ “คร”ู หมายความว่า บคุ ลากรซึ่ง บคุ ลากรซ่ึงทาํ หนา้ ท่ีหลักทางดา้ นการ ประกอบวิชาชีพหลกั ทางด้านการเรียน สอนและการวิจยั ทางด้าน การศึกษา การสอน และ การส งเสริมการเรียนรู้ พเิ ศษในสถานศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา ของผู้ เรยี นดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ ใน ระดบั ปริญญา สถานศึกษาทจ่ี ดั การศกึ ษาระดบั ต่ํากวา่ ปริญญา

ขอ้ 4 ให้ ครกู ารศึกษาพิเศษ ครู และคณาจารย์ได้รับการสง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพ องค์ ความร้กู ารศึกษาต่อเน่ืองและทกั ษะในการจัดการศึกษาสาํ หรับคนพกิ าร ข้อ 5 เพ่ือประโยชนใ์ นการจัดการศึกษาสําหรบั คนพิการ การดาํ เนินการตามข้อ 4 ใหม้ ี หลักเกณฑ์ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) การฝกึ อบรมหรือพฒั นาใหม้ ที กั ษะเฉพาะในการจัดการศึกษาตาม (1) ของข้อ 4 ตอ้ งเปน็ หลกั สตู รกลางท่ีคณะกรรมการได้กาํ หนดไว้ตามความเหมาะสมและมลี กั ษณะเฉพาะเพ่ือคนพิการแต่ ละประเภท (๒) การพัฒนาศักยภาพตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวชิ าชพี ตาม (2) ของขอ้ 4 ต้องเปน็ หลักสูตรซึ่งหนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบไดจ้ ดั ทําข้ึนเพื่อใชใ้ นการฝึกอบรมเปน็ การเฉพาะ โดยหลกั สูตร นน้ั จะตอ้ งมีลักษณะตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวชิ าชีพการศึกษาพิเศษ

(๓) การส่งเสริมและสนบั สนุนให้ได้รับการศกึ ษา ต่อเนื่องที่สูงกวา่ ระดบั ปริญญาตรี ตาม (3) ของ ข้อ 4 ต้องเป็นการศึกษาท่ีมกี ารกาํ หนดประเภท ของทุน สาขาวิชาที่จะศึกษา สถานศกึ ษา ท้งั ใน และต่างประเทศ และระยะเวลาการศึกษา (๔) การส่งเสริมและพัฒนาด้านอื่น ๆ ตาม (4) ของข้อ 4 ต้องมีจดุ มุ่งหมายและ วัตถุประสงค์ รวมทั้ง ผลสมั ฤทธิ์ท่ีไดจ้ ากการดาํ เนนิ การดงั กลา่ ว

ขอ้ 6 การพัฒนาศกั ยภาพครู ขอ้ 7 การส่งเสริมและ การศกึ ษาพเิ ศษ ครู และคณาจารย พัฒนาศกั ยภาพครูการศึกษา ใหส้ ่วนราชการหรอื หน่วยงานต้น พเิ ศษ ครู และคณาจารย ให้ส่วน สังกัดรว่ มกับหน่วยงาน สถาบัน ราชการ หน่วยงานต้นสงั กัด หรอื หรอื มหาวทิ ยาลัย ซง่ึ มรี ูปแบบและ กองทนุ สง่ เสริมและพัฒนา การศึกษาสาหรับคนพิการ วธิ กี ารในการพัฒนาศกั ยภาพ สนับสนุนงบประมาณ ให เพือ่ ให้ ครูการศกึ ษาพเิ ศษ ครู และ เหมาะสมและเพียงพอ คณาจารยดงั กล่าวสามารถนาไป จัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร ให้ มปี ระสทิ ธภิ าพและมาตรฐานย่งิ ข้ึน

นโยบายและจดุ เน้นสานกั งาน คณะกรรมการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เกีย่ วกบั การศกึ ษาคนพิการ

“นโยบายท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพ่อื ความม่นั คง” จะเน้นการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพผู้เรียน ในเขตพน้ื ท่ีพิเศษ เฉพาะ ทีม่ ีความยากลาบากในการบรหิ ารจัดการ เชน่ การจัดศกึ ษาของสถานศึกษาในเขตพฒั นา พเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

“นโยบายที่ 2 พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น” มุ่งเน้นพัฒนาประชากรวัยเรียนทุกคนและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ซงึ่ หมายรวมถึง กลุ่มผูเ้ รียนทมี่ ีความ ตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ กล่มุ ชาติพันธุ กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาส และกลมุ่ ทอี่ ย่ใู นพนื้ ท่หี ่างไกล ทรุ กนั ดาร ในทกุ มิตโิ ดยมีเป้าหมาย เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความ รักในสถาบันหลักของชาติ ยดึ มัน่ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเป็นประมุข มี ทศั นคตทิ ถ่ี ูกต้องตอ่ บ้านเมอื ง เป็นพลเมืองดขี องชาตแิ ละ เป็นพลโลกทด่ี ี มีคณุ ธรรม จริยธรรม

“นโยบายท่ี 3 พฒั นาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากร ทางการศึกษา” จะเน้นการปรบั เปลย่ี นระบบการผลิตและพฒั นา ผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท ต้งั แต่ การจงู ใจ คัดสรร ผมู้ คี วามสามารถสูงใหเ้ ขา้ มาเปน็ ครคู ุณภาพ มรี ะบบการพัฒนาศักยภาพและ สมรรถนะอย่างต่อเนอ่ื งครอบคลมุ ทัง้ เงนิ เดือน เสน้ ทางสายอาชพี ปรบั เปลยี่ นบทบาทครูใหเ้ ปน็ ครู ยคุ ใหม่ที่มีคณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพตรงตามความ ตอ้ งการ เป็นมืออาชพี มที ักษะวิชาชพี ขั้นสงู

“นโยบายท่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษา ท่ีมีคณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหลื่อมลํา้ ทางการศึกษา” จะเน้นใหป้ ระชากรในวัยเรยี นทกุ คน และทุกกลุ่มเปา้ หมาย ซ่ึงหมายรวมถงึ กลมุ่ ผเู้ รยี นทม่ี ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ กล่มุ ชาติพันธุ กล่มุ ผูด้ อ้ ยโอกาส และกลุ่มท่อี ยใู่ น พื้นท่ีหา่ งไกลทรุ กันดาร ไดเ้ ขา้ ถึงการบรกิ ารการศึกษาที่มี คุณภาพ และมีมาตรฐาน

“นโยบายท่ี 5เพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ” จะเนน้ การพฒั นาหนว่ ยงานในสงั กดั ใหเ้ ป็น หนว่ ยงานที่มีขนาดทีเ่ หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ สามารถใหบ้ ริการได้อย่างมคี ณุ ภาพ และประสิทธิภาพ แยกแยะบทบาทหน่วยงานแตล่ ะ ระดับอยา่ งชดั เจน

ประกาศคณะกรรมการพจิ ารณาใหค้ นพิการ ไดร้ ับสิทธิช์ ว่ ยเหลอื ทางการศกึ ษาเรอื่ ง กาหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการการรับรอง บุคคลของสถานศกึ ษาว่าเป็นคนพกิ าร พ.ศ. 2556

โดยทเ่ี หน็ เปน็ การสมควรปรับปรุงหลักเกณฑและวธิ กี ารการ รับรองบคุ คลของสถานศึกษาว่าเปน็ คนพิการตามกฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑและวิธกี ารให้คนพกิ ารมสี ิทธไิ ดร้ บั สง่ิ อานวยความ สะดวกส่อื บรกิ ารและความช่วยเหลืออนื่ ใดทางการศึกษา พ.ศ. 2550 ให้เหมาะสมย่ิงข้ึน อาศัยอานาจตามความในข้อ 2 วรรคหนึ่งและขอ้ 5 แหง่ กฎกระทรวงกาหนดหลกั เกณฑและวิธีการให้คนพกิ ารมีสทิ ธไิ ด้รับส่ิง อานวยความสะดวกสอื่ บรกิ ารและความช่วยเหลืออ่นื ใดทางการศกึ ษา พ.ศ. 2550 ประกอบกับมตทิ ่ีประชุมคณะกรรมการพิจารณาใหค้ น พกิ ารได้รับสิทธชิ ว่ ยเหลือทางการศกึ ษาครง้ั ท่ี 1/2556 คณะกรรมการพจิ ารณาให้คนพกิ ารไดร้ ับสิทธิช่วยเหลือทางการ ศึกษาจงึ ออกประกาศไว้ดงั ต่อไปนี้

ขอ้ 1 ใหย้ กเลิกประกาศ ข้อ 2 ในประกาศน“ี้ ข้อ 3 คนพิการที่จะไดร้ บั สทิ ธิ คณะกรรมการพจิ ารณาใหค้ น สถานศกึ ษา” หมายความว่า ตามประกาศนคี้ ือบุคคลที่ พกิ ารได้รับสทิ ธิช่วยเหลอื สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย สถานศึกษารบั รองวา่ เป็นคน ทางการศกึ ษาเรือ่ งกาหนด โรงเรยี นศูนยการศกึ ษาพเิ ศษ พิการตามประกาศ หลกั เกณฑและวิธีการการ ศนู ยการเรยี นวิทยาลยั สถาบัน รบั รองบคุ คลของสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการ มหาวิทยาลัยหนว่ ยงาน กาหนดประเภทและหลักเกณฑ ว่าเป็นคนพกิ ารลง การศกึ ษาหรือหน่วยงานอน่ื ของคนพิการทางการศกึ ษา ของรฐั หรอื ของเอกชนท่มี ี ออกตามความในกฎหมายวา่ วนั ท่ี 31 มนี าคม พ.ศ. 2551 อานาจหน้าที่หรอื วัตถปุ ระสงค ด้วยการจดั การศึกษาสาหรับ ในการจดั การศึกษาทค่ี นพิการ คนพกิ ารซึ่งต้องผ่านการคัด กรองคนพกิ ารทางการศึกษา สมคั รเขา้ ศึกษาและได้ ลงทะเบียนแลว้ ตามแบบทา้ ยประกาศน้ี

ขอ้ 4 การคัดกรองตามข้อ 3 ต้องได้รับ ขอ้ 5 ใหส้ ถานศึกษานาผล ขอ้ 6 ในกรณีที่มปี ญั หาในการ ความยนิ ยอมเป็นหนงั สือจากผูป้ กครอง การรับรองและขอ้ มลู จาก ดาเนินการตามประกาศน้ใี ห้ และใหผ้ ทู้ ท่ี าหน้าทค่ี ดั กรองดาเนนิ การ การคัดกรองมา ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเป็นผู้ คัดกรองตามแบบทกี่ าหนดเม่อื พบวา่ มี ประกอบการพิจารณา จดั ทาแผนการจัด วินจิ ฉยั ช้ีขาด แนวโนม้ เป็นคนพกิ ารให้จัดบริการ การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลและ ช่วยเหลือทางการศกึ ษาพิเศษและส่ง การติดตามประเมินผล แพทยตรวจวนิ ิจฉัยออกใบรับรองความ พกิ ารหรือใบรับรองแพทยวนิ จิ ฉัยวา่ เป็น คนพิการต่อไป ผ้ทู ีท่ าการคดั กรองตามวรรคหน่งึ ตอ้ งได้รบั การอบรมวธิ กี ารใช้แบบคัด กรองคนพิการทางการศึกษากอ่ น ปฏิบตั หิ นา้ ท่ดี ้วย

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา สาหรับคนพกิ าร ระยะ 5 ปี ฉบบั ท3่ี พ.ศ 2560-2564

เปน็ การร่วมมอื กนั ของหนว่ ยงานองคก์ รทกุ ภาคส่วน ท่ีมสี ว่ นเกย่ี วข้องในการบรกิ ารและการจดั การศึกษา สําหรบั คนพกิ ารซึ่งได้ทาํ การวเิ คราะห์บรบิ ทและสภาพ การจดั การศึกษาสําหรับคนพกิ ารในกรงุ เทพมหานคร และวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มต่างๆเพ่ือประเมนิ ความ ตอ้ งการทางยทุ ธศาสตร์และกําหนดกรอบแนวคดิ วิสัยทศั น์พนั ธกิจเปา้ ประสงคย์ ทุ ธศาสตร์และ มาตรการเป็นทิศทางการพัฒนาการจดั การศกึ ษา สําหรบั คนพกิ ารในพื้นที่กรงุ เทพมหานครซ่ึงจะได้มกี าร นาํ แผนยุทธศาสตร์สกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หเ้ กิดผลสาํ เรจ็ ตาม เปา้ หมาย

นโยบายปฏิรปู การศกึ ษา สําหรบั คนพิการใน ทศวรรษท่ี 2 พ.ศ. 2552-2561

โดยการปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษทสี่ อง (พ.ศ.2552-2561) รัฐบาลจะม่งุ เนน้ ใหค้ น ไทยไดเ้ รียนรตู้ ลอดชวี ติ อย่างมคี ณุ ภาพ โดยมีเปา้ หมายหลัก 3 ประการ คือ 1. พฒั นาคุณภาพ 2. เพ่ิมโอกาสทาง 3. สง่ เสรมิ การมี และมาตรฐาน การศึกษาและเรยี นรู้ ส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วนของสงั คม การศกึ ษาและเรียนรู้ อย่างทั่วถึงและมี ในการบริหารและจดั ของคนไทย คุณภาพ การศึกษา

ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของ คนพกิ ารทางการศึกษา พ. ศ. 2552


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook