Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore idPlan_2562

idPlan_2562

Published by kroojait, 2020-03-25 20:49:27

Description: idPlan_2562

Search

Read the Text Version

๑ แผนพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชพี (Individual Development Plan-ID Plan) โดย นายเจษฎา ศิริธนบดี ตาํ แหนง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการ กลุม สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนโพรงมะเดอ่ื วทิ ยาคม อาํ เภอเมอื งนครปฐม จังหวัดนครปฐม สังกดั สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 9 สาํ นักงานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

๒ คาํ นาํ ตามที่ ก.ค.ศ.ไดกําหนดหลักเกณฑแ ละวิธีการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี ครู (ว๒๒/๒๕๖๐) เม่ือวนั ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ขอ ๑. ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตองไดรับการพัฒนาอยางตอเน่ืองทุกป โดยใหประเมนิ ตนเองตามแบบ ที่ ก.ค.ศ. กําหนด พรอ มทั้งจดั ทําแผนการพัฒนาตนเองเปนรายป ตามแบบท่ี สวนราชการกําหนด และเขารับการพัฒนาตามแผนอยางเปนระบบ และตอเนื่อง ฉะนั้น กอนจะเลือก หลักสูตรคูปอง ครูจะตองประเมินตนเอง จัดทําแผนพัฒนาตนเอง เพื่อใหผูบริหารอนุมัติหลักสูตร ตาม ID Plan สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดดําเนินการโครงการพัฒนาครูแบบครบวงจร ตาม นโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการปฏิรูประบบการพัฒนาครู เพ่ือตอบสนองตอการพัฒนาทรัพยากรบุคคล อยา งมีระบบ และมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ สอดคลอ งกับยุทธศาสตรชาตริ ะยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ซ่ึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) มีนโยบายพัฒนาครูเพ่ือเชื่อมโยงกับ วิทยฐานะ โดยจัดสรรงบประมาณใหขาราชการครู คนละ ๑๐,๐๐๐ บาทตอไป สําหรับการอบรมพัฒนา ตนเองในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรองและ สพฐ.คัดเลือกหลักสูตรการพัฒนา สําหรับปงบประมาณ ๒๕๖๑ น้ี กําหนดการเริ่มใหครูแสดงความตองการพัฒนาตนเองในหลักสูตรที่สอดคลองกับแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ในระหวางวันท่ี ๒๕ เมษายน – ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และเริ่มเขารับการอบรมต้ังแตวันที่ ๓๐ มิถุนายน – ๑๖ กันยายน ๒๕๖๑ ซ่ึงในระหวางนี้ จะมีแนวปฏิบัติของครูผูสอน ผูบริหารสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และหนวยพัฒนาตามแนวทางท่ี สพฐ.ไดจัดประชุมชี้แจงเมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๑ ทผี่ านมา

๓ สารบัญ เร่ือง ๒ หนา ๒ สวนที่ ๑ ขอมูลผจู ัดทําแผนพัฒนาตนเอง ๒ งานในหนาทที่ ร่ี ับผดิ ชอบ ๔ ผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนา ทใ่ี นตาํ แหนง ปจจบุ นั ๔ ผลทเ่ี กิดจากการจัดการเรียนรู ๕ ผลที่เกิดจากการพัฒนาวชิ าการ ๕ ผลท่เี กดิ กบั ผเู รยี น ๖ ผลที่เกิดกบั สถานศกึ ษา ๗ ๘ ผลทเ่ี กิดกบั ชมุ ชน สวนที่ ๒ ผลการประเมนิ ตนเอง ๙ ๙ ตอนท่ี ๑ ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ กคศ. ๑๐ ตอนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ศักยภาพของผูเรยี นในสถานศึกษาตามจุดเนนของ สพฐ. ๑๐ ตอนท่ี ๓ ผลการประเมนิ ศาสตรก ารสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบันคุรุพฒั นา ๑๐ สวนท่ี ๓ แผนการพัฒนาตนเอง ๑๑ อนั ดบั ความสาํ คญั / สมรรถนะทจ่ี ะพัฒนา ๑๒ วิธกี าร /รปู แบบการพฒั นา ระยะเวลาในการพัฒนา ๑๕ การขอรบั การสนับสนนุ จากหนว ยงาน ๑๕ ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดรับ ๑๕ ความเห็นของผบู งั คับบัญชา ๑๕ ประวตั ิการเขารับการพัฒนา (ในรอบ ๕ ป ที่ผา นมา) สวนที่ ๔ ความตอ งการในการพฒั นา (กลุม สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม) หลกั สูตรใดทท่ี านตองการพฒั นา เพราะเหตุใดทา นจึงตองการเขารบั การพฒั นาในหลักสูตรนี้ ทานคาดหวงั สิง่ ใดจากการเขารบั การพฒั นาในหลักสตู รน้ี ทา นจะนาํ ความรูจากหลักสตู รไปพัฒนาการสอนของทา นอยา งไร

๔ สว นท่ี ๑ ขอมูลผจู ัดทาํ แผนพฒั นาตนเอง สว นท่ี ๑ ขอมูลสวนบุคคล ชือ่ (นาย / นาง / นางสาว).....เจษฎา..........................ชื่อสกุล....................ศิรธิ นบดี.......................... ตาํ แหนง ............คร.ู ...........................................วทิ ยฐานะ................ชาํ นาญการ................................ วฒุ กิ ารศกึ ษา.....................ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ (ศษ.ม.)............................................................... O ปรญิ ญาตรี หรอื เทียบเทา วิชาเอก.......................................................................................... O ปรญิ ญาโท หรือเทียบเทา วชิ าเอก.......การสอนสังคมศกึ ษา................................................... O ปรญิ ญาเอก หรือเทียบเทา วิชาเอก.......................................................................................... O อ่นื ๆ (โปรดระบุ).......................................................................................... เขา รบั ราชการวันท.ี่ ........๕...........เดือน...มถิ นุ ายน.............พ.ศ. ......๒๕๕๑......ณ โรงเรยี น..บานฉลีก.......... สังกัด.........สาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร เขต ๓ ............................................................... อายุราชการจนถงึ ปจ จุบนั .........๑๐..................ป. ...........๑...........เดอื น เงินเดอื น อันดับ คศ.......๒.............อัตราเงินเดือน........๓๐,๑๑๐....................บาท สถานทีท่ าํ งาน ๑. สถานศึกษา/ หนวยงาน..........โรงเรยี นโพรงมะเด่ือวทิ ยาคม อาํ เภอเมืองนครปฐม จงั หวดั นครปฐม........... ............................................................................................................................................................................. ...............................................................................................................................(ขณะทที่ ําแผนพฒั นาตนเอง) ๒. สถานศึกษา/ หนว ยงาน................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................(หากมกี ารโอน/ยาย) ๓. สถานศึกษา/ หนว ยงาน................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................... .(หากมีการโอน/ยาย)

๕ งานในหนาท่ีทร่ี ับผดิ ชอบ ๑. กลุมสาระทส่ี อน......สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ....................ชัน้ ......................ม.๓...................... จาํ นวน........๑๒.............คาบ / สัปดาห ๒. กลุมสาระที่สอน......สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ....................ช้นั ......................ม.๖...................... จาํ นวน.........๖............คาบ / สปั ดาห ๓. กลมุ สาระท่สี อน......สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ....................ช้นั ......................ม.๓/๑.................... จาํ นวน.........๑............คาบ / สปั ดาห ๔. กลุม สาระที่สอน........การส่ือสารและการนําเสนอ................................ชนั้ ...................ม.๖/๓ ..................... จาํ นวน..........๒...........คาบ / สัปดาห ๕. กลมุ สาระที่สอน..........พฒั นาผเู รียน.....ลกู เสือ – เนตรนารี ...............ช้ัน.......................ม.๑ .................... จํานวน...........๑..........คาบ / สปั ดาห ๖. กลมุ สาระที่สอน..........พฒั นาผเู รียน.....แนะแนว ................................ชั้น.......................ม.๓/๑ ................. จาํ นวน...........๑..........คาบ / สปั ดาห ๕. กลุมสาระทสี่ อน..........พฒั นาผูเรียน..........................ชมุ นุม ...............ชนั้ .......................ม.๑ .................... จาํ นวน...........๑..........คาบ / สัปดาห งานทไี่ ดร บั มอบหมาย ๑. หวั หนางานวัดและประเมินผลการเรยี นรู ๒. ครทู ี่ปรกึ ษานกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๓/๑ ผลงาน ท่ีเกิดจากการปฏิบตั ิหนา ท่ีในตาํ แหนงปจจบุ นั (ยอ นหลงั ๕ ป) ๑. ผลที่เกิดจากการจดั การเรยี นรู ๑.๑ การออกแบบการเรยี นรู ตามที่ขาพเจาไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบและปฏิบัติการสอนกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สอนวิชาสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๑ และสอนวิชา สังคมศึกษา ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๖ ขาพเจาไดนําความรูจากการศึกษา คนควา การอบรม ประชุม สัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการท่ีจัดข้ึนทั้งภายในกลุมโรงเรียนและระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา นํามาประยุกตใช ในการจัดการเรยี นการสอน ดงั น้ี ๑.๑.๑ การวางแผนการสอน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกําหนดไวอยางชัดเจนวา การจัดการศกึ ษาตอ งยดึ หลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู และพัฒนาตนเองไดถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุดและในหมวด ๔ มาตรา ๓๐ ใหสถานศึกษาพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการสงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่ เหมาะสมกบั ผูเรียนในแตละระดับการศึกษา จากสาระในพระราชบัญญัติดังกลาว ขาพเจา ในฐานะผูส อน การ ที่จะทําใหการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุเปาหมายของหลักสูตรหรือไมเพียงใดนั้น ข้ึนอยูกับการวาง แผนการจัดการเรียนรูใหกับผูเรียนโดยการศึกษาวิเคราะหองคประกอบและปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการ จดั การเรยี นรู เชน การกําหนดข้ันตอนในการดําเนินการสอน หากมกี ารกาํ หนดขั้นตอนตา ง ๆ ของการสอนไว

๖ อยางรอบคอบ มีการเตรียมการเปนอยางดี และดําเนินการสอนตามขั้นตอนท่ีไดกําหนดไวนั้นจะทําใหการ สอนประสบผลสําเร็จ บรรลุเปาหมายท่ีกําหนด ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอน ขาพเจาได พจิ ารณาถงึ สิ่งสาํ คญั ๔ ประการกอ นทีจ่ ะดําเนนิ การวางแผนการจัดการเรียนรู คือ ๑. การวเิ คราะหมาตรฐานการเรียนรเู พอื่ กําหนด ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวังในรายวิชา ๒. กาํ หนดขอบขายเนือ้ หาสาระการเรยี นรทู จ่ี ะใชใ นการสอน ๓. กาํ หนดการสอนและแผนการจดั การการเรียนรู การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ๔. การวัดและประเมินผล จากการท่ีขาพเจาพิจารณาสิ่งสําคัญ ๔ ประการดังกลาว ขาพเจาไดนํามาใชเปนแนวทางใน การวางแผนการสอนดังนี้ ขน้ั ท่ี ๑ ศกึ ษาและวเิ คราะห คําอธิบายรายวชิ า ขนั้ ท่ี ๒ จดั ทําตารางวิเคราะห คําอธิบายรายวิชา เพ่อื กาํ หนดขอบขา ยเนื้อหา ขนั้ ที่ ๓ จัดทาํ กําหนดการสอน ข้ันที่ ๔ เขียนแผนการจัดการเรียนรู ขน้ั ที่ ๕ ศกึ ษาวธิ ที ําสอ่ื และผลติ สือ่ ประกอบการสอน ๑.๑.๒ การวจิ ัยหรอื การแกปญหาในช้นั เรยี น เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่การจัดการเรียนการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และ บรรลุผลตามแนวปฏิรูปการศึกษา ขาพเจาไดมกี ารพฒั นาตนเองโดยการศึกษาเอกสาร เขารับการพัฒนาโดย การอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรูกับคณะครูในโรงเรียนในเร่ืองการวิจัยหรือการ แกปญหาในช้ันเรียนทําใหมีความรู ความเขาใจและไดรับประสบการณในเรื่องการวิจัยหรือการแกปญหาใน ชนั้ เรียนในระดับดี ขาพเจาไดนําความรูและประสบการณมาใชในการปฏิบัติหนาท่ีการจัดการเรียนการสอน ตามแนวปฏิรูปการศึกษาอยางเปนระบบ คือ กอนดําเนินการวิจัยหรือการแกปญหาในชั้นเรียน ได ทําการศึกษาหลักสูตรในเร่ืองสาระการเรียนรูท่ีคาดหวังที่มีปญหาเชนเน้ือหายากซ่ึงนักเรียนสวนมากไม สามารถมีองคความรูและมีพฤติกรรมตามท่ีหลักสูตรกําหนด ไดศึกษาขอมูลเด็กรายบุคคลในเร่ืองตาง ๆ เชน ขอ มลู ทางดานครอบครัว ขอมลู ดานความตองการ วธิ ีเรียนท่ีเด็กชอบ ปญหาทเ่ี ดก็ ประสบอยู เปน ตน แลว นาํ ขอมูลทกุ ดานมาประมวลผลและวางแผนใหความชวยเหลือเก่ียวกับปญหาที่เด็กประสบอยูซง่ึ ไดดําเนนิ การ มาโดยตลอด ๑.๑.๓ การวดั ประเมินผล และการรายงานผลการเรยี นรู จากการปฏิบัติหนาท่ีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นอกจากจะออกแบบการสอน อยางเหมาะสมกับผเู รียนแลว เพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสดุ ในการปฏิบัติงานสอน ประเมินเพื่อตดั สินผลการ เรียน ซ่ึงในการประเมินไดใชวิธีการประเมินอยางหลากหลาย คือ การสังเกต การสัมภาษณ การทดสอบ การตรวจผลงาน โดยเนนการประเมินสภาพจริง และไดใชเคร่ืองมือประเมินท่ีมีคุณภาพอยางหลากหลาย เชน แบบทดสอบ แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบสัมภาษณ แบบบันทึกการตรวจผลงาน ฯลฯ สามารถวัดและ ประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรูอยา งตอเนื่อง มีการรายงานผลการเรียนใหผ ูเกย่ี วขอ งทราบทุกป โดยจัดทําเปน เอกสารรายงานผลการปฏิบัติงานประจําทุกป และไดจัดทําสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายงานที่ให ผูบรหิ าร นักเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษา และผปู กครองนักเรยี นทราบทุกป

๗ ๒. ผลท่เี กิดจากการพัฒนาวชิ าการ ๑.๒.๑ การพฒั นาสือ่ นวตั กรรมในการจดั การเรยี นรู ขาพเจา ยงั ไดพัฒนาสอื่ นวัตกรรมมาใชประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ซงึ่ ส่อื นวตั กรรม การเรยี นการสอนทผ่ี ลติ ขึ้นไดเนน ส่ือทมี่ ีประโยชน ประหยัดและมปี ระสิทธิภาพ ใน ปท ผ่ี า นมา ไดผ ลติ สื่อนวตั กรรมประกอบการสอนหลายรายการ ไดแก ๑. ส่อื การสอน ไดแกใบความรู ใบงาน ใบกิจกรรม แบบฝกทกั ษะ ๒. การจัดทําโมเดลกระดาษ ( ผลงานนักเรียน ) ๓. การบนั ทึก และสรางองคความรู ( ผลงานนักเรียน ) จากการนําส่ือนวตั กรรมทผ่ี ลิต และพัฒนาข้ึนมาใชประกอบการจัดการเรียนการสอนชวย ใหนักเรียนไดเรียนรูอยางมคี วามสุข มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรสู งู ขน้ึ ถงึ เกณฑทีโ่ รงเรยี นกาํ หนด ๑.๒.๒ การพฒั นาและใชแ หลง เรยี นรู และภมู ปิ ญญาทองถน่ิ เพอื่ สงเสรมิ และพัฒนานกั เรยี นใหไดเ รียนรเู รอ่ื งราวเกยี่ วกับทอ งถิ่น และเรยี นรูเรือ่ งภมู ิ ปญญาทองถ่ินของตนเอง อันจะนาํ ไปสูการปลูกฝง ใหน ักเรยี นเหน็ คุณคา รัก หวงแหน และภาคภูมิใจใน ทอ งถิ่นของตน ดวยการใชแ หลง เรียนรู ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่ิน ทีอ่ ยใู นแหลงชมุ ชน ไดแก การทาํ ขนมจีนนาํ้ ยา ซง่ึ ไดร บั การสนับสนุนจากชมุ ชนอยา งดียิง่ ๓. ผลทเี่ กิดกับผเู รยี น จากการพัฒนานักเรยี นโดยใชกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ียึดผเู รยี นเปนสําคญั ตามแนวปฏิรูป การศกึ ษาท่ีนาํ เสนอดังกลาว สง ผลให สามารถพัฒนานกั เรียนในความรับผิดชอบ ไดร ับการพัฒนาทุกดาน ดงั นี้ ๑.๓.๑ ดานผูเ รยี นเปน คนดี  ผเู รยี นมกี ารพฒั นาคณุ ลกั ษณะ ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรมท่ีพึงประสงคใ นดานความ มุง ม่ันขยนั หมัน่ เพียร ประหยัด อดออมและซื่อสตั ยตอตนเองและผูอื่น  ผเู รยี นมีพัฒนาการดานการปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรมของศาสนา  ผูเรยี นมีพฒั นาการดา นความเขา ใจพน้ื ฐานเกีย่ วกบั การเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยเ ปนประมขุ  ผเู รียนมรี ะเบยี บวินยั  ผูเรียนมีพัฒนาการ การเห็นคุณคา และความภูมิใจในภูมิปญญาไทย ศลิ ปะและ วฒั นธรรมทดี่ งี ามของไทย  ผเู รยี นมีความเคารพในสิทธหิ นา ท่ี และศักด์ิศรีความเปน มนุษย  ผูเรยี นมีสว นรวมในการรักษาผลประโยชนสว นรวม  ผูเรยี นมีสวนรวมในการอนรุ ักษและพฒั นาสิ่งแวดลอม  ผเู รียนมีความรักสถานศึกษา ทองถนิ่ และประเทศชาติ ๑.๓.๒ ผูเรียนเปนคนเกง  ผูเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางเรียนดี  ผเู รยี นเปน ผูใฝรใู ฝเ รียน  ผเู รยี นมที กั ษะในการคิด การจดั การ การแกปญหา

๘  ผเู รยี นมีทกั ษะและนิสยั รักการทํางาน  ผูเรียนมีพัฒนาการดานทักษะในการส่อื สารและการใชภาษาไทย ๑.๓.๓ ผเู รยี นมคี วามสขุ  ผูเรียนมีสุขภาพจติ ดี  ผเู รียนเรียนรูอ ยางมคี วามสขุ  ผูเรียนมสี ุขภาพกายและสุขนิสยั ทด่ี ี  ผเู รยี นมบี คุ ลกิ ภาพทีด่ ี  ผูเรยี นอยูในสงั คมไดอยา งมีความสขุ ๔. ผลท่ีเกดิ กับสถานศกึ ษา ชวยสง เสริมสนับสนุนใหเ กิดความสมั พนั ธอ ันดรี ะหวางโรงเรียนและชุมชน ชมุ ชนไดเ ขามารว มพฒั นา การศกึ ษา โดยใหการสนับสนุนทั้งวัสดุ อุปกรณและเงินทุนเปนจํานวนมาก สง ผลใหก ารจัดการศกึ ษาของ โรงเรยี นประสบผลสําเร็จ ตรงตามความตองการของนักเรียนและชุมชน (ผลจากการประเมนิ ภายนอก สม ศ. )นอกจากน้ีก็ยังมีการดําเนินงานตามโครงการจัดการศึกษาพิเศษ โดยความรวมมือระหวางโรงเรียนและ ชุมชน ไดเ ขารว มโรงเรยี นแกนนาํ การใชห ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๑ มี แหลงเรียนรูอยางหลากหลาย มีวิทยากรภายนอกมาชวยจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนไดรับใหมี ความรูและประสบการณที่จาํ เปนในการดํารงชีวิตที่มีคณุ คา สามารถนาํ ไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางเปนสุข นอกจากน้ันสถานศึกษายังไดรับการยอมรับจากผูปกครองและชุมชนในดานการดูแลเอาใจใสของครูที่มีตอ นักเรียนในดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การดูแลดานพฤติกรรม คุณลักษณะท่ีพึงประสงคดาน กิริยา มารยาท ความมวี ินยั ในตนเอง ความรับผิดชอบ ๕. ผลทเี่ กิดกับชมุ ชน ๑. โรงเรียนเปนศูนยกลางของชุมชนในการใหบริการทางดานวิชาการและขาวสาร ขอมูล แหลง ความรูและกิจกรรมตาง ๆตลอดจนใหบริการดานอาคารสถานท่ีและส่ืออุปกรณ เชน เคร่ืองถายเอกสาร คอมพวิ เตอร อนเุ คราะหสถานท่ใี นการจัดงานตาง ๆ ๒. ชมุ ชนและองคก รทั้งภาครฐั และเอกชนเห็นความสาํ คญั ในการมีสว นรวมในการจัดการศึกษามากข้นึ ๓. ชุมชนใหความรวมมือกับโรงเรียนในการทํากิจกรรมตาง ๆ เต็มความสามารถเชน การประชุม คณะกรรมการสถานศึกษา การประชุมผูปกครอง กจิ กรรมวันแมก ิจกรรมวันพอสงเสริมภูมิปญญาทองถิน่ จน ทําใหเกิดความรวมมือ ความเขาใจท่ีดีตอกัน เกิดความรักและความภาคภูมิใจในโรงเรียนและทองถ่ินการจัด กจิ กรรมวนั สําคัญตาง ๔. โรงเรียนมีสวนรวมกับชุมชน ในกิจกรรมตางๆตลอดปการศึกษา โดยเฉพาะกิจกรรมท่ีเก่ียวกับ วัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา เชน ประเพณีแหเทียนเขาพรรษา ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต ทอดกฐนิ เปน ตน .

สว นที่ ๒ ผลการประเมินตนเอง ตอนที่ ๑ ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ. ดานท่ี ๑ ความรูความสามารถในการปฏบิ ัติงานในหนา ท่ี รายการพจิ ารณา ระดับความรู มาก ปานกลาง นอ ย ๑. เนื้อหา ในรายวิชา/กลุมสาระการเรียนรู ท่สี อน  ๒. วิธีสอน ถายทอดความรูเชิงเน้ือหา กิจกรรม บริบท เปาหมายการเรียนรู  ความรพู น้ื ฐาน การปรบั พื้นฐาน และอปุ สรรคการเรยี นรูข องผเู รยี น ๓. หลักการสอน และกระบวนการเรยี นรู  ๔. หลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช ประเมิน และแนวทางการเรียนรูในแต  ละเนือ้ หา ๕. พื้นฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยาสังคม นโยบาย  การศึกษา จดุ มงุ หมายการจดั การศกึ ษาตงั้ แตระดบั ชาติจนถึงระดบั หลักสตู ร ๖. การจดั การศึกษาแบบรวม และการตอบสนองตอ ความหลากหลายของผูเรยี น  ๗. ทฤษฎีการเรยี นรู และจติ วิทยาการเรียนรู  ๘. การใชเ ทคโนโลยี และส่ือนวตั กรรมเพอื่ การเรียนรู  ๙. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู  ดานที่ ๒ ทกั ษะการปฏิบตั ิงาน ระดับความรู รายการพจิ ารณา ทําไดด ี ทาํ ไดปาน ไมค อ ยทาํ กลาง ๑. การสรา งและหรือพัฒนาหลกั สตู ร ๒. การออกแบบหนว ยการเรยี นรู  ๓. การจดั ทําแผนการจดั การเรยี นรู ๔. กลยุทธใ นการจัดการเรียนรู  ๕. การสรา งและการพฒั นาส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและ แหลงเรียนรู  ๖. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู   

ดา นที่ ๓ ความเปน ครู รายการพิจารณา ระดับความรู สงู มาก ปานกลาง ปรับปรุง ๑. ยดึ มนั่ ผูกพัน ศรัทธาในวชิ าชพี และทมุ เทเพือ่ การเรียนรขู องผูเรยี น  ๒. มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเปนแบบอยางท่ีดีแกผูเรียน ท้ังกาย  วาจา และจิตใจ ดํารงตนใหเปนที่เคารพ ศรัทธา และนาเช่ือถือทั้งใน และนอก สถานศึกษา ๓. ปฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู  ๔. มวี นิ ยั และการรกั ษาวนิ ยั  ๕. เปนบุคคลแหงการเรียนรู ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ใหมี  ความรูความชาํ นาญในวชิ าชีพ เพ่ิมขนึ้ ๖. ปฏบิ ัติตนโดยนําหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช  ๗. มที ศั นคตทิ ดี่ ตี อบานเมอื ง  ตอนที่ ๒ ผลการประเมนิ ศักยภาพของผูเ รียนในสถานศึกษาตามจดุ เนน ของ สพฐ. รายการศักยภาพผูเรยี นตามจดุ เนน ระดับความรู ๑. ดานอานออก อานคลอ ง เขยี นได เขียนคลอ ง สงู มาก ปานกลาง ปรับปรุง ๒. ดา นคิดเลขเปน คิดเลขคลอ ง  ๓. ดา นการคิดข้นั พืน้ ฐาน  ๔. ดา นการคิดขนั้ สงู  ๕. ดา นการสอื่ สารอยางสรางสรรคตามชวงวัย ๖. ดานการใชภ าษาตา งประเทศ (ภาษาองั กฤษ)  ๗. ดา นการใชเทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นรู  ๘. ดา นการแสวงหาความรูดว ยตนเอง  ๙. ดา นใฝเ รยี นรู ๑๐. ดา นใฝด ี  ๑๑. ดา นทกั ษะชีวิต  ๑๒. ดานอยูอยางพอเพยี ง มงุ มั่นในการศกึ ษาและการทํางาน    

ตอนที่ ๓ ผลการประเมนิ ศาสตรการสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบนั คุรุพัฒนา รายการศักยภาพผูเ รยี นตามจุดเนน ระดับความรู ๑. การสอนในศตวรรษที่ ๒๑ สงู มาก ปานกลาง ปรบั ปรุง ๒. การแกปญ หาผเู รยี น  ๓. จิตวทิ ยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจัดการเรียนรู  ๔. การจัดการชนั้ เรียน  ๕. การวจิ ัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง การเรยี นรูท างวชิ าชีพ  ๖. การพัฒนาหลักสตู ร  ๗. สะเต็มศกึ ษา(STEM Education)  ๘. การใชสื่อและเทคโนโลยีในการจดั การเรียน  ๙. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู  ๑๐. การออกแบบการเรียนรู   สรุปผลการประเมินตนเอง ตอนที่ ๑ ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ กคศ. อยูในระดับดีเย่ียม มีการพัฒนาหลักสูตร ออกแบบการจัดการเรียนรู ยึดม่ัน ผูกพัน ศรัทธาในวิชาชีพ และทุมเทเพื่อการเรียนรูของผูเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีแกผูเรียน ท้ังกาย วาจา และจิตใจ ดํารงตนใหเปนที่เคารพ ศรัทธา และนาเชื่อถือท้ังใน และนอกสถานศึกษา เปนบุคคลแหงการเรียนรู ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง ใหม ีความรคู วามชํานาญในวชิ าชีพ เพิม่ ขึน้ และปฏบิ ัตติ นโดยนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช ตอนท่ี ๒ ผลการประเมินศักยภาพของผูเ รยี นในสถานศึกษาตามจุดเนนของ สพฐ. อยูในระดับสงู และ ในสวนที่ตองปานกลาง คือ ดานอานออก อานคลอง เขียนได เขียนคลอง ดานคิดเลขเปน คิดเลขคลอง ดาน การคดิ ขนั้ พนื้ ฐาน ดา นการสือ่ สารอยา งสรา งสรรคตามชว งวัย ดานการใชภ าษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตอนที่ ๓ ผลการประเมินศาสตรการสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบันคุรุพัฒนา อยูใน ระดบั ปานกลาง และมเี รื่องที่จะพฒั นาคอื จิตวทิ ยาการแนะแนว/จติ วิทยาการจดั การเรยี นรู การวิจัยพฒั นาการ เรยี นการสอน/ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชพี การพัฒนาหลกั สูตร การวัดและประเมินผลการเรยี นรู จึงควร เขารับการอบรมเพอ่ื พัฒนาความรูความสามารถ และนํามาปรบั ใชในการจดั การเรียนรใู หก บั นักเรียนตอ ไป

สว นที่ ๓ แผนการพฒั นาตนเอง ๑. อนั ดับความสําคัญ / สมรรถนะทจี่ ะพัฒนา ใหใ สหมายเลขเรียงตามลําดับความสาํ คญั ของสมรรถนะทจี่ ะพฒั นา (๙) การสอนในศตวรรษที่ ๒๑ (๕) การแกปญหาผูเรียน (๔) จติ วิทยาการแนะแนว/จติ วทิ ยาการจดั การเรียนรู (๑๐) การจดั การช้ันเรยี น (๒) การวจิ ัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชุมชนแหงการเรยี นรทู างวิชาชีพ (๓) การพฒั นาหลักสตู ร (๗) สะเต็มศกึ ษา (STEM Education) (๘) การใชสื่อและเทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรู (๑) การวดั และประเมินผลการเรียนรู (๖) การออกแบบการเรยี นรู ๒. วธิ ีการ /รปู แบบการพัฒนา วิธีการท่ี ๑ ภาควิชาการ ซึ่งจะเปนการศึกษาหาความรูในเน้ือหาที่จะไดใชในหองเรียนจริงๆ โดยยึด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเปนหลัก เปนความรูใหมที่เกิดจากการประยุกตความรูเชิงวิชาการสู การปฏิบตั ิจริงในหองเรยี น ประเด็นในการพัฒนาครอบคลุมท้ังเรือ่ ง หลักสูตร การเรยี นการสอน สื่อ การวดั ผล และการวิจัย เช่ือมโยงยุทธศาสตรช าติ ๒๐ ป และเปาหมายผูเรียนในศตวรรษที่ ๒๑ หรอื แผนการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ วธิ ีการที่ ๒ ภาคปฏิบัติการ จะเนนใหไดรับการสรางความเขาใจแบบเขม การเรียนรูท่ีเกิดจากการคิด วิเคราะห สังเคราะห คิดข้ันสูง ดวยการทบทวนความรู (Review) การสะทอนคิด (Reflection) และการถอด บทเรียน (AAR) ดว ยกิจกรรมการสรา งปฏสิ ัมพันธร ะหวางครูทเี่ ขารับการพฒั นาและกับคณะวทิ ยากร เปนกลุม ยอย มีวิทยากรประจากลุมทุกกลุม ซึ่งจะดูแลผูเขารับการพัฒนาใหไดฝกทักษะการออกแบบเสนทางคุณภาพ ผูเรียนสอดคลองกับหลักสูตร/เปาหมายศตวรรษท่ี ๒๑ ไดออกแบบเสนทางกระบวนการเรียนรูอยางไรกอน สรา งนวัตกรรม และแสดงถึงมีวิธีการวัดผล/สะทอนผลหลังจากนาไปใชกับผูเรียนเพื่อยอนกลับนามาปรบั ปรุง กระบวนการจดั การเรียนรูทส่ี อดคลองกับผเู รยี นตอ ไป วิธีการที่ ๓ ภาคนิทรรศการ จะเปนการศึกษาจากกรณีตัวอยางการปฏิบัติ/ส่ือ-นวัตกรรมท่ีดี ที่ผาน การบูรณาการทฤษฎีและการปฏิบัติสูการพฒั นานักเรียนจริง มีการสาธติ แนวปฏบิ ัต/ิ ส่ือ-นวัตกรรมที่ดี และฝก นาสื่อ/วิธีปฏิบัติ/นวัตกรรมตัวอยาง ไปวิเคราะห สังเคราะห ถอดบทเรียน เพ่ือประกอบการเขียนเคา โครงการ พฒั นากระบวนการ/ส่อื /นวัตกรรมน้นั ๆ ทจ่ี ะแสดงใหเ หน็ วา จะมผี ลสําเรจ็ อยา งย่ังยนื วิธีการที่ ๔ การสรางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ – ไดรวมสรางการเรียนรูในระหวางการฝกอบรม ดวยการเรียนรูจากคูพัฒนา (Buddy) การแลกเปลี่ยนเรียนรู (Share and Learn) ในกลุมยอ ย การสะทอนคิด (Reflection) การถอดบทเรยี น (AAR) และการ Coaching & Mentoring จาก Mentor/Expert เพอื่ ให

สามารถสรางสรรค สรุปองคความรูที่ผสมผสานระหวางองคความรูจากทฤษฎี และองคความรูจาก ประสบการณสกู ารปฏิบตั ิในชั้นเรียนได โดยทางานรวมกบั คณะวทิ ยากรหลังการอบรมผา นระบบออนไลน ดว ย กระบวนการชุมชนการเรยี นรูว ิชาชีพ (PLC) อยา งตอเนอ่ื ง ๓. ระยะเวลาในการพฒั นา เริ่มตน ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ สน้ิ สดุ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๓ ๔. การขอรับการสนบั สนุนจากหนวยงาน ๔.๑ ขอรับการสนับสนนุ ดานงบประมาณจากโครงการพัฒนาครแู บบครบวงจร ๑๐,๐๐๐ บาท ๕. ประโยชนท ี่คาดวา จะไดร ับ ๕.๑ ผลลัพธทคี่ าดหวัง ดานความรู : เกิดการเรียนรู นําผลการพัฒนาสูการเปล่ียนแปลงผูเรียน และนําประสบการณเขา แลกเปลยี่ นเรยี นรูแ กเพ่ือนรวมวชิ าชีพ จนเกดิ องคความรทู ไี่ ดจากการเขารวมชุมชนการเรียนรทู างวิชาชพี ไปใช ในการจดั การเรียนการสอน ทักษะ : มีความสามารถบูรณาการความรูสูการปฏิบัติ โดยมุงเนนการพัฒนาผูเรียนไดเต็มตาม ศักยภาพ สรางนวตั กรรมจากการปฏิบัติที่สง ผลตอคุณภาพของผูเรียน และสรางนวตั กรรมที่ไดจ ากการเขารวม ในชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชีพและพฒั นานวัตกรรมใหเ ปนตน แบบการเรยี นรแู กเพ่ือนรวมวชิ าชีพ ความเปนครู : เขา รว มชุมชนการเรียนรทู างวิชาชีพ สรา งเครือขา ยชมุ ชนการเรียนรูท างวิชาชีพ สราง วัฒนธรรมทางการเรยี นรใู นสถานศกึ ษา และเปนผนู ําการเปลย่ี นแปลงตอวงการวิชาชีพ ๕.๒ ผลการนําไปใชในการพัฒนางาน คอื การนาํ ความรูและทักษะที่ไดร ับการพฒั นาระหวางการฝก อบรมไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานจริง ในหอ งเรยี นของตนเอง ดังน้ี ๕.๒.๑ นําเสนอแผนการจัดกิจกรรมแบบคูพัฒนา (Buddy) ๑ แผน จัดใหเพื่อนครู หรือ หัวหนาฝายวิชาการ หรือรองผูอํานวยการโรงเรียน ใหขอเสนอแนะ (Comment) แลวนําไปปรบั ปรุงแผนการ จดั กิจกรรมใหม จากนั้นจึงรายงานผานไลนกลมุ ของหนวยพัฒนา เพ่ือใหวิทยากรหลัก/วิทยากรพ่ีเลี้ยง ใหการ Coaching ๕.๒.๒นําแผนการจัดกิจกรรมท่ีปรับใหมแลว ไปสอนจริงในหองเรียน โดยมีเพ่ือนครูหรือ หัวหนาฝายวิชาการ ไปเยี่ยมชั้นเรียน ถายภาพ หรือคลิปการสอน ที่เห็นภาพการเยี่ยมชั้นเรียน ภาพการจัด กิจกรรมตามขั้นตอนในแผนการจัดกิจกรรม และภาพผลงานการเรียนรูของผูเรียน จากน้ันนํามาถอดบทเรียน รวมกบั ผูเย่ียมช้ันเรยี น สง ขอมลู ผา นระบบออนไลน (Line/ facebook) ๕.๓ การสรางชุมชนแหงการเรียนรู PLC Online หลังจากเขารับการอบรมตามหลักสูตรท่ีสถาบันคุรุพัฒนาอนุมัติแลว จะเขารวมปฏิบัติการกิจกรรม การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) เครือขายระดับชาติ ซึ่งจะไดปฏิบัติกิจกรรมสรางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ รวมกับสมาชิกจากท่ัวประเทศ กลุมละ ๘ – ๑๐ คน/ครั้ง ในระยะเวลาละ ๓ เดือน ตามขั้นตอนกิจกรรม PLC ๗ ขัน้ ภายใตการกํากับดูแลตลอด การปฏิบตั กิ ิจกรรมและเตมิ เตม็ ความรทู างวิชาการไปพรอมกนั ของ Mentor & Expert เพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามตัวช้ีวัดการมีสวนรวมในชุมชนวิชาชีพของ ก.ค.ศ. ซึ่งสมาชิกสามารถ นับเปน ช่วั โมงการปฏิบัตงิ านโดยมีรองรอยหลักฐานการปฏบิ ัติกิจกรรมเพื่อใหหนว ยพฒั นาครู (นติ บิ ุคคล) หจก.

เพ่ือครู รับรองชั่วโมง PLC เพื่อใชเปนรองรอยในการบันทึกในระบบบันทึก (Logbook) ของ กคศ. ไดใน อนาคต ลงชือ่ ........................................................................ (นายเจษฎา ศริ ิธนบดี) ตําแหนง ครู กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ผจู ัดทาํ แผนพัฒนาตนเอง ความเหน็ ของผูบ ังคับบัญชา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ........................................................................ (นางสาวศจี ชินอักษร) ผูอํานวยการโรงเรียนโพรงมะเด่ือวิทยาคม

๖. ประวตั กิ ารเขารับการพัฒนา (ในรอบ ๕ ป ทผี่ า นมา) ท่ี เร่ืองทจี่ ดั อบรม หนวยงานทจี่ ัดอบรม วนั ทจ่ี ัดการ หลกั ฐาน หมาย อบรม เกียรติบัตร เหตุ การอบรมสัมมนาเชงิ ปฏิบตั กิ าร การ สํานกั งานเขตพน้ื ที่ ๒๖-๒๗ ก.ย. ๒๕๕๘ 1 พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาดว ยเทคโนโลยี การศกึ ษามัธยมศึกษา การศึกษาทางไกล ผานเทคโนโลยี เขต ๙ สารสนเทศ (DLIT) 2 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ “ลดเวลาเรียน เพมิ่ บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน ๑๐ พ.ค. ๒๕๕๙ เกียรติบตั ร เวลารู” ๒๖ ก.ย. ๒๕๖๐ เกยี รติบตั ร อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาความรูความ สํานกั งานเขตพ้ืนท่ี 3 เขาใจการสรางวนิ ยั ทางการเงินในการจัด การศึกษามธั ยมศึกษา การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน เขต ๙ อบรมปฏบิ ตั กิ ารสรางเว็ปไซตการศกึ ษา โรงเรียนโพรงมะเด่ือ ๒๗ – ๒๘ ต.ค. เกียรติบัตร 4 ดว ย Google Site ๒๕๕๙ วทิ ยาคม อบรมเชิงปฏิบตั ิการแนวทางการ สพม.๙ ๒๕ และ ๓๐ – เกยี รติบตั ร 5 ดาํ เนินการงานสวนพฤกษศาสตร ๓๑ ม.ค. ๒๕๖๐ โรงเรียน อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม เรื่อง การ มหาวิทยาลยั มหา ๒๔ ม.ี ค. ๒๕๖๐ เกียรตบิ ัตร ดาํ เนนิ งานโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ ในสวนวิถี 6 พทุ ธตามเง่ือนไขการเขารบั รางวัล จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั (โรงเรยี นวถิ ีพุทธขั้นนาํ รนุ ที่ ๗) อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารจัดทําแผนการ สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ ๑๓ พ.ค. ๒๕๖๐ เกยี รติบัตร 7 ดําเนินงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา โครงงานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. รุนท่ี ๒ เขต ๙ อบรมโครงการอบรมคุณธรรมนักเรียน มหาวิทยาลัยมหา ๒๓ – ๒๔ พ.ค. เกยี รตบิ ัตร 8 เรอื่ ง หลกั ชาวพุทธในสวนตามเงือ่ นไข จฬุ าลงกรณร าชวิทยาลยั ๒๕๖๐ การรบั รางวลั (โรงเรียนวถิ ีพุทธชนั้ นํา รนุ ท่ี ๗ อบรมโครงการปฏิบตั ิการยกระดับการ เครือขายสง เสรมิ ๑๘ มิ.ย. ๒๕๖๐ เกยี รติบตั ร 9 เรยี นรูดว ยกระบวนการ PLC ประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษามัธยมศกึ ษา จังหวดั นครปฐม 10 อบรมสมั มนาแลกเปลี่ยนเรยี นรต็ าม สพม.๙ ๒๔ มิ.ย. ๒๕๖๐ เกยี รตบิ ัตร นโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู” โครงการ “พฒั นาสมรรถนะการจัดการ คณะศกึ ษาศาสตร ๑๔ ก.ค. ๒๕๖๐ เกยี รติบตั ร 11 เรียนรแู ละการวจิ ยั ดว ยระบบพ่เี ลยี้ ง (Coaching มหาวิทยาลยั ศิลปากร & Mentoring)

ท่ี เรื่องที่จดั อบรม หนว ยงานทจ่ี ัดอบรม วันที่จดั การ หลักฐาน หมาย สพม.๙ และ โรงเรยี น อบรม เกยี รติบัตร เหตุ การประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการการพฒั นาการ ราชนิ ีบูรณะ ๑ – ๒ ก.ค. ๒๕๖๐ เรียนรตู ามแนวคิด Active Learning สพม.๙ และ โรงเรียน ราชินีบูรณะ 12 เพ่ือพฒั นาทักษะท่สี อดคลองกับ ASEAN โรงเรยี นโพรงมะเด่ือ Curriculum Sourcebook และ วิทยาคม Thailand ๔.๐ โรงเรยี นราชินบี รู ณะ ปฏิบัตกิ ารออกแบบและกจิ กรรมการ เครือขายสง เสรมิ ๑-๒ ก.ค. เกียรติบัตร ประสิทธิภาพการจัด ๒๕๖๐ เรยี นรู (Micro Teaching) ตามแนวคดิ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา 13 Active Learning เพอื่ พัฒนาทกั ษะที่ จงั หวัดนครปฐม คณะอกั ษรศาสตร สอดคลองกับ ASEAN Curriculum มหาวทิ ยาลัยศิลปากร Sourcebook และ Thailand ๔.๐ สพม.๙ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือเพิ่มศักยภาพครู คณะศกึ ษาศาสตร ๒๘ – ๒๙ ก.ค. เกียรตบิ ัตร มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ๒๕๖๐ 14 และนกั เรยี นในการดําเนนิ โครงการ โรงเรยี นโพรงมะเดื่อ ดํารงชีวิต ดว ยหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ๕ ส.ค. ๒๕๖๐ เกยี รติบัตร วทิ ยาคม พอเพียง สพม.9 ๑๘ – ๑๙ ส.ค. เกียรติบตั ร ๒๕๖๐ การพัฒนาการศึกษาเพอื่ ความเปน ๑๕ พ.ย. ๒๕๖๐ เกียรตบิ ัตร 15 พลเมืองโลก โดยใชแนวการสรา งชมุ ชน ๘-๙ ธ.ค. เกียรตบิ ตั ร แหง การเรยี นรทู างวชิ าชีพครู ๒๕๖๐ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรื่อง การจดั การ 16 เรยี นการสอนสังคมศึกษา ยคุ ไทยแลนด ๔.๐ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการและการแขง ขันการ 17 สรางแบบจําลองลกั ษณะภูมิประเทศ Relief Map ประชุมเชิงปฏิบัติการแนวทางการ ดาํ เนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ดานที่ ๑ การบริหารและการจัดการ 18 และดา นที่ ๒ การดําเนินงาน (องคป ระกอบท่ี ๔ การเขยี นรายงานผล การเรียนรู และองคประกอบท่ี ๕ การ นาํ ไปใชประโยชนทางการศึกษา 19 การพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนสู ๑๖ มี.ค. ๒๕๖๑ เกยี รติบตั ร Education ๔.๐ 4 ก.ค. 2561 เกียรติบัตร การอบรมเชงิ ปฏิบัติการเพือ่ พัฒนา 23 – 26 ส.ค. เกียรติบัตร 2561 20 ตนเองตามโครงการการสรางชุมชนการ เรยี นรทู างวชิ าชพี 21 กรรมการตัดสินการแขง ขันกิจกรรมการ จัดทําหนังสือเลมเล็ก ประเภทบกพรอง

ท่ี เรอ่ื งท่จี ดั อบรม หนว ยงานทจ่ี ัดอบรม วนั ที่จัดการ หลักฐาน หมาย อบรม เหตุ การเรียนรูระดับชั้น ม.4-6 กรรมการฝา ยลงทะเบียน ส่ือสาร สพฐ. 25 – 27 ธ.ค. เกียรตบิ ตั ร เทคโนโลยี ประสานงานและรายงานตวั 2561 22 งานมหกรรมความสามารถทาง ศลิ ปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยี ของนักเรยี นระดับชาติ ปการศกึ ษา 2561 23 สัมมนาครูพี่เลี้ยงและอาจารยนเิ ทศ คณะศกึ ษาศาสตร 15 มี.ค. 2562 เกียรติบัตร ประจําปการศกึ ษา 2562 มหาวิทยาลยั ศิลปากร ครผู สู อนดเี ดน ประจําปการศึกษา สมาคมขาราชการครู 27 ม.ี ค.. เกียรตบิ ัตร 24 2561 โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา 2562 จงั หวัดนครปฐม การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ “การพฒั นา โครงการรอยพลงั 25 พ.ค. 2562 เกยี รตบิ ัตร 25 ศกั ยภาพครูแกนนําโรงเรียนคุณธรรม การศกึ ษา มลู นธิ ิยุวพฒั น” ฝกซอมนักเรียนไดรับรางวัลรองชนะเลิศ โรงเรียนโพรงมะเด่ือ 20 ม.ิ ย. 2562 เกียรตบิ ัตร อันดับ 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน การ วิทยาคม 26 ประกวดคนดีศรี พ.ด. ปก ารศึกษา 2562 ตามโครงการสงเสริม ความสามารถดานคณุ ธรรม จริยธรรม ของนักเรียนตามแนวโรงเรียนวิถีพทุ ธ ครผู ูควบคุมนักเรียนเขารว มแขงขนั ตอบ คณะอกั ษรศาสตร 26 – 28 ส.ค. เกยี รติบตั ร 27 ปญหาวิชาการ “ปจุ ฉา – วิปส สนา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 2562 ปญ หาประวัตศิ าสตรครง้ั ที่ 3 ทรรปณะ ประวตั ศิ าสตรส ากล” 28 โรงเรียนวิถีพทุ ธพระราชทาน รนุ ท่ี 3 มหาวทิ ยาลยั มหา 31 ส.ค. 2562 เกียรตบิ ตั ร จฬุ าลงกรณร าชวทิ ยาลัย ครผู สู อนนักเรียนไดรบั รางวลั ระดับ สพม.9 4 – 15 ก.ย. เกยี รตบิ ตั ร เหรยี ญเงนิ กจิ กรรมประกวดเพลง 2562 29 คณุ ธรรม ระดบั ม.4-6 งาน ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ระดบั เขตพืน้ ที่ การศกึ ษา ครงั้ ที่ 69 ครผู สู อนนกั เรยี นไดร ับรางวัลระดับ สพม.9 4 – 15 ก.ย. เกียรตบิ ตั ร 30 เหรียญเงนิ กิจกรรมมารยาทไทยระดับ 2562 ม.4-6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน 31 ระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ครั้งท่ี 69 31 เขา รวมกจิ กรรม GIS Day 2019 คณะอักษรศาสตร 13 พ.ย. 2562 เกียรตบิ ัตร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

ที่ เร่อื งท่ีจดั อบรม หนวยงานที่จัดอบรม วันที่จัดการ หลักฐาน หมาย สพฐ อบรม เกียรตบิ ตั ร เหตุ กรรมการตัดสินการแขง ขันกิจกรรม การ 7 – 9 ธ.ค. 2562 แขง ขนั การเลา นทิ าน ประเภทบกพรอง 32 ทางการมองเห็น ระดบั ชั้น ม.1-ม.3 งาน ศลิ ปะหัตกรรมนักเรียน ระดบั ชาติ ป การศกึ ษา 2562 ณ จังหวัด สมุทรปราการ สวนท่ี ๔ ความตอ งการในการพฒั นา

(กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม) ๑. หลกั สตู รใดท่ีทา นตองการพฒั นา ลําดับที่ รหสั หลักสตู ร รายละเอียด ๑. ๖๒๐๓๗ การอบรมโครงการโรงเรียนปลอดภัยในประเทศไทย หลักสูตรการลด ๒ - ความเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ หลักสูตรกรรมการกลาง ของสถาบันการทดสอบทางการศึกษา แหงชาติ (องคการมหาชน) ๒. เพราะเหตใุ ดทา นจึงตอ งการเขา รับการพฒั นาในหลักสตู รน้ี ๒.๑ กรอบยทุ ธศาสตรช าติ ๒๐ ป, แผนการศกึ ษาชาติ, นโยบายศธ. และนโยบาย สพฐ. ๒.๒ ยุทธศาสตรท่ี ๑ ขอ ๑.๓ เสรมิ สรางความรูความเขาใจทถี่ ูกตองเกี่ยวกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ผาน หลักสูตรและกระบวนการเรียนรูประวัติศาสตรและความเปนพลเมือง ขอ ๒.๔ สงเสริมการจัดการเรียนรูที่ใหผูเรียนได เรียนรผู านกจิ กรรมการปฏิบัตจิ ริง ขอ ๒.๕ สงเสริมใหผ ูเรยี นมีทักษะการเรียนรูใ นศตวรรษที่ ๒๑ ๒.๓ ยุทธศาสตรที่ ๓ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาฯ ขอ ๑.๒ ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ขอ ๑.๓ การเรียนรูผานกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) ขอ ๑.๔ การพัฒนาครูท้ังระบบที่เชื่อมโยงกับการเล่ือนวิทย ฐานะ ๓. ทา นคาดหวงั สิง่ ใดจากการเขา รับการพัฒนาในหลักสตู รน้ี ๓.๑ มีความรูความเขาใจเกี่ยวตัวช้ีวดั ในกลุมสาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับช้ันมัธยมศึกษา ตอนตน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ เขาใจเกี่ยวกับหลักสูตรการลดความเส่ียงภัยพิบัติ ธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ และมีความเขาใจเกีย่ วกบั การจดั สอบโอเน็ตในเรื่องบทบาท หนา ท่ขี องกรรมการกลาง ๓.๒ มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เกี่ยวกับหลักสูตรการลดความ เสย่ี งภัยพิบัตธิ รรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ และมีความเขาใจเกี่ยวกับการจัดสอบโอเน็ตใน เรอ่ื งบทบาทหนา ท่ีของกรรมการกลาง ๓.๓ มคี วามรคู วามเขาใจ มีทักษะการประยุกตใชสอื่ อิเล็กทรอนิกสจากแหลงเรียนรู และแหลงเทคโนโลยีสารสนเทศใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู หลักสูตรการลดความเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และมคี วามเขา ใจเกย่ี วกบั การจัดสอบโอเน็ตในเรอื่ งบทบาทหนา ท่ีของกรรมการกลาง ๔. ทา นจะนาํ ความรูจากหลักสตู รไปพฒั นาการสอนของทานอยา งไร นําความรูและทักษะที่ไดรับการพัฒนาระหวางการฝกอบรมไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานจริงในหองเรียนของตนเอง โดยเสนอผลปฏิบัติตามแผนการจัดกิจกรรม แบบคู Buddy ผานระบบออนไลน (Line/ facebook) เพื่อรวมแลกเปลี่ยน เรียนรกู บั เพ่ือนรว มวชิ าชีพในอนั ที่จะปรับปรงุ การเรียนรู และการปฏิบตั งิ านอยางตอ เนอื่ งตอไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook