Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบใช้สอน ชุดที่ 1 เอกสารประกอบการเรียน ครูนิลุบล

แบบใช้สอน ชุดที่ 1 เอกสารประกอบการเรียน ครูนิลุบล

Published by นิลุบล ศิลปธนู, 2022-05-16 17:32:40

Description: แบบใช้สอน ชุดที่ 1 เอกสารประกอบการเรียน ครูนิลุบล

Search

Read the Text Version

รูปถ่ายตนเอง ขอ้ มลู นกั เรียน ช่ือ – สกลุ (นาย/นางสาว/เด็กขาย/เดก็ หญิง) เลขท่ี ชือ่ เลน่ ช้นั ม.2/ อายุ วัน/เดือน/ปี ทเ่ี กิด ช่องทางการติดต่อผู้เรียน เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ (ของตนเอง) E-mail: Facebook หรอื Instagram สถานทีต่ ดิ ตอ่ ผู้เรยี น หมู่ที่ ตำบล บา้ นเลขท่ี จังหวัด อำเภอ ขอ้ มูลผู้ปกครอง ชอื่ - สกุล บิดา อาชีพ เบอร์โทรศพั ท์มอื ถือ (บิดา) ชอ่ื - สกุล มารดา อาชพี เบอรโ์ ทรศพั ทม์ ือถือ (มารดา) สถานภาพครอบครัว  พ่อแม่อยู่ดว้ ยกัน  พอ่ แมแ่ ยกกนั อยู่  พอ่ แมห่ ย่ารา้ ง  พ่อเสยี ชวี ิต/สาบสูญ  แมเ่ สยี ชีวติ /สาบสญู  เสยี ชีวิตท้ังค/ู่ สาบสญู  พ่อ/แมท่ อดทงิ้

ชื่อ - สกลุ ผปู้ กครอง อาชพี เบอร์โทรศัพทม์ อื ถือ (ผ้ปู กครอง) ผปู้ กครองมคี วามสมั พนั ธเ์ ป็น ของนักเรียน ขอ้ มูลครอบครัวของผูเ้ รียน คน นักเรยี นเป็นบตุ รคนท่ี ของครอบครัว นักเรยี นมพี น่ี ้องจำนวน ความสามารถพเิ ศษและงานอดเิ รกของผ้เู รยี น ความสามารถพิเศษ คือ งานอดิเรก คือ ผลงานดเี ด่นทีผ่ ่านมา (ถา้ มี) คือ คติประจำใจ คอื ข้อดีของตนเอง คือ ข้อเสียของตนเอง คอื อาชีพในฝนั ของนกั เรยี น คือ ภาระหน้าทแ่ี ละการปฏบิ ัตติ นเปน็ คนดใี นการช่วยเหลือสงั คมของผูเ้ รยี น หน้าทที่ ี่นักเรยี นไดร้ ับมอบหมายในบ้าน คือ ลงชือ่ นักเรียน ลงชอื่ ผปู้ กครอง ) ( )(

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส 22101 สังคมศกึ ษา 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ทอ่ งตา่ งแดน ตอน เรียนรภู้ มู ิศาสตร์ทวปี ยุโรป นางสาวนลิ ุบล ศิลปธนู ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โรงเรียนสตรปี ากพนัง อำเภอปากพนงั จงั หวัดนครศรีธรรมราช สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครศรีธรรมราช

หน้า |ก คำนำ เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส 22101 สังคมศึกษา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็น เอกสารประกอบการเรียนเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ทวีปยุโรปเพื่อใช้เป็นเครื่องมือสำคัญของผู้สอนในการ พฒั นาความรทู้ างดา้ นภมู ิศาสตร์ทวีปยโุ รปตามความต้องการของผู้พัฒนา โดยจะอธิบายถึงภูมิศาสตร์ ทวีปยุโรป ได้แก่ การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพทั่วไปของทวีปยุโรป ผู้ที่ศึกษา เอกสารประกอบการเรียนฉบับนี้จะมุ่งเน้นช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจทางด้านภูมิศาสตร์ ทวีปยุโรป เอกสารประกอบการสอนเลม่ น้ีใช้สำหรับประกอบการเรียนของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดยได้แบ่งเนื้อหาในการเรียนการสอนไว้ 8 ชั่วโมง ได้แก่ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง ขนาด อาณา เขต ประวัติความเป็นมาของทวีปยุโรป เบื้องลึกความเจริญของทวีปยุโรป การจําแนกภูมิภาคของ ยุโรป ลักษณะภูมิประเทศทวีปยุโรป ลักษณะภูมิอากาศทวีปยุโรป และพืชพรรณทางธรรมชาติทวีป ยุโรป ผู้สอนควรได้ศึกษารายละเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้ดังกลา่ วจาก เอกสาร หนังสือ ตำรา หรือสื่อ อ่ืนใด ผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่าเอกสารประกอบการเรียนฉบบั นี้จะสามารถช่วยอำนวยประโยชน์ต่อ การเรียนการสอนตามสมควร หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำยินดีน้อมรับไว้ ณ ท่นี ้ี และหากมโี อกาสในการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนอีกครั้งผูจ้ ัดทำจะนำข้อเสนอแนะของ ทา่ นไปปรบั ปรงุ และพัฒนา นลิ ุบล ศิลปธนู

หน้า |ข สารบญั เรือ่ ง ..............................................................................................................................................หน้า คำนำ................................................................................................................................................. ก สารบัญ.............................................................................................................................................. ข สารบัญรูปภาพ ................................................................................................................................... ง คำแนะนำในการสอนสำหรบั ครู......................................................................................................... ช คำแนะนำในการเรียนสำหรบั นกั เรียน ............................................................................................... ซ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ัด............................................................................................................. ญ สาระสำคัญ/จุดประสงค์การเรยี นรู้....................................................................................................ฎ แบบทดสอบกอ่ นเรียน....................................................................................................................... 1 แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ....................................................................................................... 4 บทที่ 1 .............................................................................................................................................. 6 เรอื่ ง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ (Geographic instruments).............................................................. 6 ใบงานท่ี 1................................................................................................................................... 22 เร่อื ง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ...................................................................................................... 22 เฉลยใบงานที่ 1........................................................................................................................... 23 เร่ือง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ ...................................................................................................... 23 บทที่ 2 ............................................................................................................................................ 25 ลักษณะท่ัวไปของทวปี ยโุ รป (General Characteristics of Europe)............................................ 25 ใบงานที่ 2................................................................................................................................... 39 เรือ่ ง ความรู้เกีย่ วกบั ภมู ศิ าสตรท์ วีปยุโรป.................................................................................... 39 เฉลยใบงานที่ 2........................................................................................................................... 42 เร่ือง ความรู้เกยี่ วกบั ภมู ิศาสตรท์ วปี ยุโรป.................................................................................... 42

หน้า |ค บทที่ 3 ............................................................................................................................................ 46 เร่ือง ลักษณะภมู ปิ ระเทศทวีปยุโรป (Topography of Europe) .................................................... 46 ใบงานท่ี 3................................................................................................................................... 50 เร่อื ง ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทวีปยุโรป............................................................................................. 50 เฉลยใบงานท่ี 3........................................................................................................................... 51 เรื่อง ลักษณะภมู ปิ ระเทศทวีปยุโรป............................................................................................. 51 บทที่ 4 ............................................................................................................................................ 53 เรอื่ ง ภูมิอากาศทวีปยุโรป (Climates of Europe) ......................................................................... 53 และพชื พรรณธรรมชาติทวปี ยุโรป (Natural of Europe)................................................................ 53 ใบงานท่ี 4................................................................................................................................... 62 เรอ่ื ง ปจั จยั ทม่ี ีอทิ ธิพลต่อลกั ษณะภมู ิอากาศของทวปี ยุโรป ......................................................... 62 ใบงานท่ี 5................................................................................................................................... 71 เรื่อง ภมู อิ ากาศทวีปยโุ รป ........................................................................................................... 71 เฉลยใบงานท่ี 5........................................................................................................................... 72 เรอ่ื ง ภมู อิ ากาศทวปี ยุโรป ........................................................................................................... 72 ใบงานที่ 6................................................................................................................................... 81 เรื่อง พืชพรรณธรรมชาติทวปี ยุโรป ............................................................................................. 81 เฉลยใบงานท่ี 6........................................................................................................................... 82 เรื่อง พืชพรรณธรรมชาติทวปี ยุโรป ............................................................................................. 82 แบบทดสอบหลังเรียน ..................................................................................................................... 84 แบบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน...................................................................................................... 87 บรรณานุกรม................................................................................................................................... 89 ประวตั ิผู้เขียน.................................................................................................................................. 90

หน้า |ง สารบัญรูปภาพ หน้า รปู ที่ 1 แผนทเ่ี ฉพาะเรื่อง แสดง ประชากรยุโรป ............................................................................... 6 รปู ที่ 2 แผนที่ภมู ปิ ระเทศสเปน ......................................................................................................... 6 รูปท่ี 3 แผนทเ่ี ลม่ จะรวมแผนที่หลายๆ ชนดิ ไว้ในเล่มเดียว............................................................... 6 รปู ที่ 4 คำอธบิ ายสัญลักษณ์ของแผนท่ี.............................................................................................. 8 รปู ที่ 5 ละตจิ ดู (เส้นรุง้ ) และลองจจิ ูด (เสน้ แวง)................................................................................ 9 รูปที่ 6 องค์ประกอบของแผนที่....................................................................................................... 10 รูปท่ี 7 แผนท่ภี มู ิประเทศของประเทศไทย ...................................................................................... 11 รูปท่ี 8 รปู ถา่ ยทางอากาศประเทศสวติ เซอร์แลนด์ .......................................................................... 12 รูปท่ี 9 ตัวอยา่ งวธิ ถี ่ายรูปทางอากาศ............................................................................................... 12 รูปท่ี 10 ภาพจากดาวเทียมแสดงกลมุ่ ฝน ........................................................................................ 12 รปู ท่ี 11 ตัวอยา่ งอินเทอรเ์ น็ตหรือไซเบอร์สเปซ .............................................................................. 13 รปู ที่ 12 รปู โลกจำลอง .................................................................................................................... 14 รูปที่ 13 เขม็ ทิศ............................................................................................................................... 15 รูปที่ 14 เทปวัดระยะทาง................................................................................................................ 15 รปู ที่ 15 กลอ้ งสามมติ ิ ..................................................................................................................... 16 รปู ท่ี 16 เทอร์โมมิเตอร์ ................................................................................................................... 16 รูปท่ี 17 บาโรมิเตอร์ แบบปรอท..................................................................................................... 17 รูปท่ี 18 บาโรมเิ ตอร์ แบบแอนริ อยด์ .............................................................................................. 17 รูปที่ 19 เครอ่ื งวัดน้ำฝน.................................................................................................................. 18 รปู ที่ 20 แอโรแวน แบบแอนนิโมมเิ ตอร์.......................................................................................... 19 รปู ที่ 21 แอโรแวน แบบวนิ แวน ...................................................................................................... 19 รูปที่ 22 ไฮโกรมเิ ตอร์...................................................................................................................... 20 รูปท่ี 23 ไซโครมิเตอร์...................................................................................................................... 21 รปู ที่ 24 คิวอาร์โค้ด แผนทีท่ วปี ยโุ รป.............................................................................................. 24 รปู ที่ 25 แผนทย่ี ูเรเชีย .................................................................................................................... 25

หน้า |จ สารบญั รูปภาพ (ตอ่ ) หนา้ รูปท่ี 26 ชอ่ งแคบโดเวอร์ ................................................................................................................ 26 รูปท่ี 27 แผนทที่ วปี ยุโรป ................................................................................................................ 27 รปู ที่ 28 ซากกรงุ โรมประเทศอิตาลี ................................................................................................. 27 รปู ท่ี 29 แสดงการล่าสัตว์เพื่อเปน็ อาหารในยุคหนิ เกา่ ..................................................................... 28 รูปท่ี 30 การตง้ั หม่บู า้ นเปน็ หลักแหล่งในยคุ หนิ ใหม่ ........................................................................ 29 รูปที่ 31 เกาะครีตแหลง่ พบอารยธรรมหลากหลายทีส่ ดุ ในยุโรป ...................................................... 29 รูปที่ 32 คิวอาร์โคด้ หนังทรอย......................................................................................................... 29 รูปท่ี 33 มนษุ ย์รู้จักการประดิษฐ์คดิ ค้นอาวุธจากการหลอมแร่ดีบกุ และทองแดงในยคุ สำริด............ 30 รูปที่ 34 จตั รุ สั เมืองเก่าปราก........................................................................................................... 31 รูปท่ี 35 การแบ่งเขตภูมิภาคทวีปยโุ รป ........................................................................................... 37 รปู ท่ี 36 เขตท่รี าบใหญต่ อนกลางทวปี ยุโรป .................................................................................... 47 รปู ที่ 37 เขตทีร่ าบสงู ตอนกลางและตอนใต้..................................................................................... 48 รปู ท่ี 38 เขตภูเขาหนิ ใหมต่ อนใต้..................................................................................................... 49 รูปท่ี 39 ละตจิ ดู และลองจจิ ดู .......................................................................................................... 54 รปู ที่ 40 ความสงู ............................................................................................................................. 55 รูปที่ 41 เขตความกดอากาศทวีปยุโรป............................................................................................ 56 รูปที่ 42 อทิ ธิพลจากสายน้ำอุ่นแอตแลนติก .................................................................................... 57 รปู ที่ 43 ปรมิ าณน้ำฝน และเส้นแสดงความกดอากาศในช่วงเดือนมกราคมและกรกฎาคม ตลอดจน ทิศทางลมท่ีพัดเข้าสู่ทวีปยุโรป......................................................................................................... 58 รปู ท่ี 44 ลกั ษณะมวลอากาศในฤดตู ่าง ๆ ของทวปี ยโุ รป ................................................................. 59 รปู ท่ี 45 ดเี ปรสช่ันทท่ี วปี ยุโรป........................................................................................................ 60 รปู ที่ 46 กระบวนการได้มาซ่ึงหยาดนำ้ ฟ้าหรือหยดน้ำฝน................................................................ 61 รปู ที่ 47 เขตภูมิอากาศของทวปี ยุโรป.............................................................................................. 69 รปู ที่ 48 การจำแนกลักษณะภูมิอากาศตามแบบเคปิ เปน................................................................. 70 รูปท่ี 49 ชาวแลปปก์ ับกวางเรนเดยี ร์ ในพื้นท่ีทม่ี ีพืชพรรณแบบทุนดรา........................................... 73

หน้า |ฉ สารบญั รปู ภาพ (ตอ่ ) หนา้ รปู ที่ 50 ขา้ วสาลี............................................................................................................................. 75 รูปท่ี 51 ขา้ วไรย์.............................................................................................................................. 75 รูปท่ี 52 เขตมวั รแ์ ลนด์ ประเทศสกอตแลนด์................................................................................... 76 รูปที่ 53 garrigue ........................................................................................................................... 77 รูปที่ 54 ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติทวีปยโุ รป ............................................................................... 78 รูปท่ี 55 การแบ่งเขตพืชพรรณธรรมชาตทิ วปี ยโุ รป ......................................................................... 78 รปู ท่ี 56 Terra Rossa หรือ Red Soil........................................................................................... 79 รปู ท่ี 57 ปา่ สน ................................................................................................................................ 79 รปู ท่ี 58 พืชพรรณแบบทะเลทราย (Desert Vegetable) มีลักษณะภูมิอากาศแห้งแล้ง ปริมาณน้ำฝนตำ่ กว่า 10 นว้ิ ตอ่ ปี (25 ซ.ม.)..................................................................................... 80

หน้า |ช คำแนะนำในการสอนสำหรบั ครู การใช้เอกสารประกอบการเรียน ท่องต่างแดน ตอน เรียนรู้ภูมิศาสตร์ทวีปยุโรป สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ฉบับนี้ ได้สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้รายวิชา ส 22104 สังคมศึกษา 4 จำนวน 8 ชั่วโมง เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ครูผสู้ อนควรศกึ ษารายละเอียดตา่ งๆ ทัง้ ด้านเน้ือหา กิจกรรม และกระบวนการการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งขั้นตอนการใช้เอกสารประกอบการสอน โดยมีขั้นตอนการ จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ดังนี้ 1. ครูแจกเอกสารประกอบการเรยี น ท่องต่างแดน ตอน เรียนรู้ภมู ิศาสตรท์ วปี ยโุ รป 2. ครูชี้แจงรายละเอยี ดการใช้เอกสารประกอบการเรยี น ใหน้ กั เรยี นทราบก่อนลงมือปฏิบัติ 3. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ความเข้าใจของนักเรียน เกย่ี วกบั เรอื่ งที่เรยี น 4. ครูให้นักเรียนศึกษา หาความรู้จากเอกสารประกอบการเรียน ท่องต่างแดน ตอน เรียนรู้ ภูมิศาสตร์ทวีปยุโรป และใบงานที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เพื่อให้นักเรียนได้ทบทวนและมีความรู้ความ เข้าใจอยา่ งถูกต้อง 5. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนเพ่อื วดั ความรู้ ความเข้าใจของนกั เรียนหลังเรียน 6. ครูตรวจสอบคะแนนและบันทึกผลการเรียนลงในแบบบันทึกคะแนนหลังศึกษาเอกสาร ประกอบการเรยี น ท่องต่างแดน ตอน เรยี นรู้ภมู ิศาสตรท์ วีปยโุ รป 7. ครแู จง้ คะแนนใหน้ กั เรยี นทราบ ชมเชยนกั เรียน และให้คำแนะนำเพม่ิ เตมิ

หน้า |ซ คำแนะนำในการเรียนสำหรบั นกั เรยี น การใช้เอกสารประกอบการเรียน ท่องต่างแดน ตอน เรียนรู้ภูมิศาสตร์ทวีปยุโรป สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ฉบับ ที่ได้สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้รายวิชา ส 22104 สังคมศึกษา 4 จำนวน 8 ชั่วโมง เพื่อให้นักเรียนได้บรรลุจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ตามมาตรฐานและ ตัวช้ีวดั ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน นกั เรียนควรปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำ ดงั น้ี 1. อ่านคำชี้แจงเกี่ยวกับเอกสารประกอบการเรยี น ท่องต่างแดน ตอน เรียนรู้ภมู ิศาสตร์ทวีป ยโุ รป ในหวั ข้อคำแนะนำสำหรบั ผเู้ รียนในการใช้เอกสารประกอบการเรียน ท่องตา่ งแดน ตอน เรียนรู้ ภมู ิศาสตรท์ วีปยโุ รป ให้เข้าใจก่อนลงมือปฏิบัติกจิ กรรม 2. ศึกษาตัวชี้วัดในเรื่องที่เรียน เพื่อให้ทราบว่าเมื่อเรียนจบแล้วผู้เรียนจะมีความรู้ในเรื่อง ใดบา้ ง 3. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน และตรวจคำตอบจากแบบเฉลยแบบทกสอบก่อนเรียน พร้อม ทงั้ บันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน 4. ศึกษาใบความรู้ ตัวอย่าง และฝึกปฏิบัติจากการลงมือทำใบงานท่ี 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 จากเอกสารประกอบการเรียน ทอ่ งตา่ งแดน ตอน เรยี นรู้ภูมิศาสตร์ทวีปยโุ รป ตามลำดบั ขั้นตอน 5. เมื่อผู้เรียนไม่เข้าใจ พบข้อสงสัย หรือพบปัญหาประการใดในเอกสารประกอบการเรียน ให้ทำการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนอีกครัง้ จนเข้าใจดี หรือสอบถามครผู ู้สอน แล้วจึงกลับมาลง มอื ปฏิบัตทิ ำใบงานทดสอบความร้คู วามเขา้ ใจอีกครั้ง 6. การลงมอื ทำใบงานที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 ใหผ้ ู้เรยี นทำด้วยความละเอียดรอบคอบ เขียน คำตอบให้กระชับและชัดเจน ผลงานต้องประกอบด้วย ความถูกต้อง สะอาด เรียบร้อย และเป็น ระเบยี บ 7. ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจสอบ และให้คะแนนตามแบบเฉลย ถ้าได้คะแนนต่ำกว่า ร้อยละ 80 ให้นักเรียนกลับไปศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ท่องต่างแดน ตอน เรียนรู้ภูมิศาสตร์ ทวีปยุโรป อีกครั้งจนเข้าใจ หรือสอบถามครูผู้สอนได้ในเวลาทำการราชการ หรือช่องทางเฟสบุ๊ค นิลุบล ศิลปธนู

หน้า |ฌ คำแนะนำในการเรยี นสำหรบั นักเรียน (ตอ่ ) 8. สรปุ ผลการเรยี น ประเมิน ปรับปรงุ และพฒั นาตนเอง 9. การศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียน ทอ่ งตา่ งแดน ตอน เรยี นรภู้ ูมศิ าสตร์ทวปี ยโุ รป ฉบับ น้ี จะไม่บรรลุผลสำเรจ็ ได้เลย หากผ้เู รยี นขาดซงึ่ ความซ่ือสตั ยใ์ นการทำใบงานหรือแบบทดสอบ

หน้า |ญ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 5.1เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้ แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง ภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู ิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ม.2/1 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา โดยใช้ เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตรส์ บื คน้ ขอ้ มลู มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแว ดล้อมเพื่อ การพฒั นาท่ีย่ังยนื ม.2/1 สำรวจและระบุทำเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปยุโรป และทวปี แอฟริกา ม.2/2 วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อทำเลที่ตั้งของ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทวีปยุโรป และทวปี แอฟรกิ า

หน้า |ฎ สาระสำคัญ/จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระสำคญั ทวปี ยโุ รป (Europe) มีลักษณะทางกายภาพทางภูมศิ าสตรท์ ี่ตั้งอยู่ในเขตอบอนุ่ มีลักษณะ ภูมิอากาศทดี่ ีทส่ี ุด อนั เน่ืองมาจากปจั จยั ทางด้านลกั ษณะภูมิประเทศและลักษณะภูมิอากาศ สง่ ผลให้ มีพชื พรรณทางธรรมชาตทิ ี่หลากหลาย จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนอธบิ ายเก่ยี วกับภูมิศาสตร์ทวีปยุโรปได้ (K) 2. นักเรยี นใชเ้ ครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์เพ่ือรวบรวมข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ของทวีป ยโุ รปได้ (P) 3. นกั เรยี นตระหนกั ถึงคุณค่าในการใชเ้ คร่ืองมือทางภูมิศาสตร์เพื่อสบื ค้นข้อมลู ทาง ภูมิศาสตรไ์ ด้ (A) 4. นักเรียนตระหนกั ถึงความสำคญั ของความแตกต่างทางภมู ิศาสตรท์ วีปยโุ รปได้ (A)

หน้า |1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น รายวิชา ส 22104 สงั คมศึกษา 4 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ภูมิศาสตรท์ วปี ยุโรป จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรยี นสามารถเข้าใจภมู ศิ าสตรท์ วปี ยโุ รปได้ คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว โดยลงมือทำ เคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงบนขอ้ ทเี่ ลือกตอบ 2. แบบทดสอบเป็นปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน ใช้เวลาทำแบบทดสอบภายในเวลา 20 นาที 1. ขอ้ ใดจัดเป็นเครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ทง้ั หมด 1. ลูกโลก กลอ้ งจุลทรรศน์ เทอรม์ อมิเตอร์ 2. แผนท่ี แวน่ ขยาย เคร่อื งวัดนำ้ ฝน 3. ภาพจากดาวเทยี ม บารอมิเตอร์ แผนที่ 4. รูปถา่ ยทางอากาศ รางน้ำฝน เทอรโ์ มกราฟ 2. ขอ้ ใด ไม่ใช่ องคป์ ระกอบของแผนที่ 1. ทิศทาง 2. ช่ือแผนที่ 3. มาตราส่วน 4. เสน้ ขอบโครงร่าง

หน้า |2 3. พชื สกุลสม้ สามารถปลูกได้ผลผลติ ดใี นพ้ืนทบ่ี รเิ วณใดของทวีปยโุ รป 1. เกาะครตี 2. ทรี่ าบไซบเี รยี 3. หมู่เกาะบรติ ชิ 4. บรเิ วณแมน่ ้ำดานูบ 4. ข้อใดถกู ต้องเก่ียวกับทวีปยุโรป 1. เป็นทวีปทม่ี ขี นาดเล็กทส่ี ุดในโลก 2. อาณาเขตส่วนใหญต่ ิดกบั ทวปี เอเชยี 3. พื้นท่ีทง้ั หมดอยู่เหนือเส้นทรอปกิ ออฟแคนเซอร์ 4. เปน็ ทวปี เกดิ ใหมท่ ี่เกิดจากการเคลอ่ื นตวั ของเปลอื กโลก 5. พน้ื ทบี่ รเิ วณทีร่ าบใหญ่ตอนกลางของทวปี ยโุ รปเป็นแหลง่ เกษตรกรรมและเศรษฐกจิ ท่สี ำคญั เน่ืองมาจากปัจจัยใด 1. อยูใ่ กลท้ ะเลมหาสมุทร 2. มีสภาพแวดลอ้ มท่ีดี 3. พื้นทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ 4. มีภูมิอากาศทีเ่ หมาะสม 6. เพราะเหตใุ ด ทะเลสาบในตอนเหนือของประเทศฟนิ แลนด์ และนอรเ์ วย์ จึงใช้ประโยชนไ์ ดน้ อ้ ย 1. อากาศหนาวเย็น 2. อย่ไู กลจากแหลง่ ความเจริญ 3. น้ำในทะเลสาบมีน้อย บางตอนตื้นเขนิ 4. มีภเู ขานำ้ แข็งลอยอยู่มากในบางช่วงของปี

หน้า |3 7. หากนักเรยี นตอ้ งเดินทางโดยทางเรอื จากประเทศไทยไปยังอิตาลี นักเรียนควรเลือกเดิน ทางผา่ นเสน้ ทางใด เพอื่ ยน่ ระยะเวลาเดินเรือ 1. แม่นำ้ วอลกา 2. คลองสุเอซ 3. ช่องแคบยิบรอลตา 4. คลองเวนสิ 8. บรเิ วณพืน้ ที่ใดต่อไปนีข้ องยโุ รปอยู่ในเขตภมู อิ ากาศเขตหนาว 1. นอร์เวย์ โปรตเุ กส เบลเยยี ม 2. เนเธอรแ์ ลนด์ โปรตุเกส นอรเ์ วย์ 3. ไอร์แลนด์ เบลเยียม ฝรง่ั เศส 4. ฟนิ แลนด์ รสั เซีย สวีเดน 9. ประเทศในข้อใดของทวีปยโุ รปท่ีมีลักษณะภูมปิ ระเทศไม่เหมาะต่อการทำประมง 1. ฟินแลนด์ สวีเดน ไอรแ์ ลนด์ 2. ฝรัง่ เศส เดนมารก์ สเปน 3. เนเธอร์แลนด์ เบลารสุ อติ าลี 4. ออสเตรีย สวิตเซอรแ์ ลนด์ ฮงั การี 10. ดนิ แดนทวปี ยโุ รปท่ีตดิ ต่อกับทวปี เอเชยี เปรียบเสมอื นคาบสมทุ รจึงมีช่ือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ 1. ยเู รเชีย 2. หมเู่ กาะโมลุกกะ 3. แผน่ ดินยุโรปเหนือ 4. คาบสมุทรบอลขา่ น

หน้า |4 แบบเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง ภมู ิศาสตรท์ วีปยุโรป คำชี้แจง 1. ใหน้ ักเรยี นตรวจสอบคำตอบ พรอ้ มบนั ทึกคะแนนหลังทำแบบทดสอบลงในช่อง บนั ทกึ คะแนน โปรดบนั ทึกคะแนนดว้ ยความซ่อื สัตย์ 2. ข้อสอบมจี ำนวนคะแนนข้อละ 1 คะแนน ข้อท่ี เฉลย 12 24 31 43 53 61 72 84 94 10 1 บันทึกคะแนน ขา้ พเจ้าได้คะแนนรวม ____________/10 ในครงั้ น้ี

หน้า |5 บทท่ี 1 เครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ (Geographic instruments)

หน้า |6 บทท่ี 1 เรอื่ ง เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ (Geographic instruments) เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร์ หมายถึง เครอื่ งมือในการตรวจสอบและศกึ ษาสิง่ ที่อยู่บนพื้นผิวโลก และบรรยากาศของโลก จึงได้ถูกออกแบบมาเพื่อตรวจสอบและบันทึกข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ ทั้ง ทางด้านข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลทางคุณภาพ เช่น การกำหนดพิกัดบนพื้นผิวโลก การวัดทิศ ทางการเก็บขอ้ มูลภาคสนาม ในพืน้ ทต่ี ่าง ๆ หรือใช้เปน็ เครอื่ งมอื ประกอบการเรยี นรู้ในห้องปฏิบัติการ ทเี่ ก่ยี วข้องกับภมู ศิ าสตร์ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ หมายถึง สิ่งที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เกี่ยวกับ ตำแหน่ง ทำเลท่ตี งั้ การกระจาย ขอบเขต ความหนาแนน่ ของขอ้ มูล และปรากฏการณต์ ่าง ๆ 1.1 แผนที่ เปน็ เครอื่ งมือทช่ี ว่ ยใหท้ ราบสถติ ิ ข้อมลู และความสมั พนั ธ์ของพื้นทช่ี นิดของแผนที่ จะแบง่ ตามเกณฑ์ตา่ งๆ ซ่งึ ท่ีในช้นั น้ี ได้แก่ การแบ่งแผนท่ีตามลักษณะการใช้ แบง่ ได้ 3 ประเภท คอื – แผนทอี่ ้างองิ ได้แก่ แผนที่ภูมปิ ระเทศ และแผนทช่ี ุด 1 – แผนทีเ่ ฉพาะเรื่อง 2 – แผนที่เล่ม จะรวมแผนที่หลายชนดิ ไวใ้ นเล่มเดียวกัน 3 รปู ที่ 2 แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ รปู ท่ี 1 แผนท่ีเฉพาะเรื่อง รูปที่ 3 แผนทเี่ ลม่ จะรวม สเปน แสดง ประชากรยโุ รป แผนท่หี ลายๆ ชนิดไวใ้ น 1 2 เล่มเดียว 3

หน้า |7 แผนที่แบง่ ตามมาตราส่วน ไทยมกี รมแผนท่ีทหารกำหนดไว้ดังนี้ – แผนทแ่ี สดงมาตราสว่ นขนาดใหญ่ จะใช้เขียนแผนที่ของพ้ืนที่ขนาดเล็ก เพอื่ บรรจรุ ายละเอียดได้มากตามทีต่ ้องการ – แผนทม่ี าตราส่วนขนาดกลาง จะใช้เขยี นแผนที่ท่กี ว้างใหญ่เพ่ือแสดง รายละเอียดที่สำคัญ – แผนทม่ี าตราสว่ นขนาดเล็ก จะใชเ้ ขยี นแผนทบ่ี ริเวณที่อาณาเขตกวา้ งใหญ่ แสดงเฉพาะลักษณะทส่ี ำคัญเท่าน้นั 1.1.1 องคป์ ระกอบของแผนที่ มีจำนวน 7 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1. ชื่อแผนท่ี เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นสำหรับให้ผู้ใช้ได้ทราบว่าเป็นแผนที่เรื่องอะไร แสดงรายละเอียดอะไรบ้าง เพื่อให้ผู้ใช้ได้อย่างถกู ต้อง และตรงความต้องการ โดยปกติชื่อแผนที่จะมี คำอธิบายเพิ่มเติมแสดงไว้ด้วย เช่น แผนที่ประเทศไทยแสดงเนื้อที่ป่าไม้ แผนที่ระเทศไทยแสดงการ แบ่งภาคและเขตจังหวดั เป็นต้น 2. ขอบระวาง แผนที่ทุกชนิดจะมีขอบระวาง ซึ่งเป็นขอบเขตของพื้นที่ในภูมิ ประเทศที่แสดงบนแผนที่แผ่นนั้น มักจะแสดงด้วยเส้นขนานเพื่อแสดงตำแหน่งละติจูดกับเส้น เมริเดียนเพื่อแสดง ตำแหน่งลองจิจูด และจะแสดงตัวเลขเพื่อบอกค่าพิกัดภูมิศาสตร์ของตำแหน่ง ต่างๆ 3. ทิศทาง มีความสำคัญต่อการค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของส่ิงตา่ งๆ โดยในสมัยโบราณ ใช้วิธีดูทิศทางตามการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน และการดูทิศทางของดาวเหนือใน เวลากลางคืน ตอ่ มามกี ารประดิษฐเ์ ข็มทิศ ซ่ึงเปน็ เครอื่ งมือชว่ ยในการหาทิศขึน้ เนือ่ งจากเข็มของเข็ม ทิศจะชี้ไปทางทิศเหนือตลอดเวลา การใช้ทิศทางในแผนที่ประกอบกับเข็มทิศ หรือการสังเกตดวง อาทิตย์และดาวเหนือจึงช่วยให้เราสามารถเดินทางไปยังสถานที่ ที่เราต้องการได้ ในแผนที่จะต้องมี ภาพเขม็ ทิศหรือลูกศรช้ีไปทางทิศเหนอื เสมอ ถ้าหากแผนที่ใดไม่ได้กำหนดภาพเข็มทิศหรือลูกศรไว้ ก็ให้ประมาณการณ์ว่า ด้านบนของแผนทีค่ อื ทิศเหนอื

หน้า |8 4. สัญลักษณ์ เป็น เครื่องหมายที่ใช้แทนสิ่งต่างๆ ในภูมิ ประเทศจริง เพื่อช่วยให้ผูใ้ ชส้ ามารถ อ่าและแปลความหมายจากแผนที่ได้ อย่างถูกต้อง ทั้งน้ีในแผนที่จะต้องมี คำอธิบายสัญลักษณ์ประกอบไว้ด้วย เสมอ รปู ที่ 4 คำอธิบายสญั ลักษณ์ของแผนท่ี 5. มาตราส่วน เป็นอัตราสว่ นระหว่างระยะทางที่ยอ่ ส่วนมาลงในแผนทก่ี ับระยะทาง จริงในภูมิประเทศ มาตราส่วนช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่าแผนที่นั้นๆ ย่อส่วนมาจากสภาพในภูมิประเทศจริง ในอตั ราส่วนเท่าใด มาตราสว่ นแผนที่ มาตราส่วนแผนท่ีโดยมากจะมี 3 ลักษณะ ได้แก่ มาตรา ส่วนแบบเศษสว่ น มาตราส่วนคำพูด และมาตราสว่ นแบบกราฟกิ มาตราส่วนของแผนที่ คือ อัตราส่วนระหว่างระยะบนแผนที่กับระยะใน ภูมปิ ระเทศ หรอื คือความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางราบบนแผนที่กบั ระยะทางราบในภูมิประเทศ การเขียนมาตราส่วน เขียนได้หลายวธิ ี เชน่ 1 : 500,000 หรอื 1 : 50,000 หรือ 1 : 5,000 การคำนวณระยะทางบนแผนท่ี มาตราสว่ นแผนท่ี = MD(ระยะทางในแผนท่ี) GD (ระยะทางจรงิ บนพืน้ ผวิ โลก) 6. เสน้ โครงแผนท่ี เปน็ ระบบของเส้นขนานและเส้นเมริเดยี น ทส่ี รา้ งขนึ้ เพื่อกำหนด ตำแหน่งพกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ใหเ้ ปน็ มาตรฐานไว้ใช้อา้ งอิง รว่ มกนั ซง่ึ ประกอบด้วย 6.1 เส้นขนาน เป็นเส้นสมมติที่ลากจากทิศตะวันออก สร้างขึ้นจากการวดั มุมเริ่มจากเส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีค่ามุม 0 องศา ไปยังขั้วโลกทั้งสองด้านละไม่เกิน 90 องสา เส้นขนานท่ี สำคญั ประกอบด้วย

หน้า |9 1. เสน้ ศนู ย์สูตรหรอื เส้นอิเควเตอร์ มคี ่ามมุ 0 องศา 2. เสน้ ทรอปิกออฟแคนเซอร์ มคี า่ มมุ 23 องศา 30 ลปิ ดาเหนือ 3. เสน้ ทรอปิกอฟแคปริคอรน์ มคี ่ามมุ 23 องศา 30 ลดิ าใต้ 4. เสน้ อาร์กติกเซอร์เคลิ มีคา่ มุม 66 องศา 30 ลปิ ดาเหนือ 5. เส้นอาร์กตกิ เซอรเ์ คิล มีค่ามุม 66 องศา 30 ลปิ ดาใต้ 6.2 เส้นเมริเดียน เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้ สร้างขึ้นจากการสมมติเส้นเมริเดียนปฐม มีค่ามุม 0 องศา ลากผ่านตำบลกรีนิซ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจกั ร ไปทางทศิ ตะวันออกและทิศตะวันตก ดา้ นละ 180 องศา โดยเสน้ เมริเดียน ท่ี 180 องศาตะวันออกและ 180 องศาตะวันตก จะทับกันเปน็ เสน้ เดียวนใ้ี ห้เปน็ เส้นวันทีห่ รือเส้นแบ่ง เขตวนั ระหว่างชาตหิ รอื เส้นแบง่ เขตวนั สากล 7. พิกัดภูมิศาสตร์ เป็นระบบที่บอกตำแหน่งของสิ่งต่างๆ บนพื้นผิวโลก โดยอาศัย เส้นโครงแผนที่ซึ่งเส้นขนานและเส้นเมริเดียนตัดกันเป็นจุดสิ่งต่างๆ บนพื้นผิวโลก โดยอ่านค่าพิกัด ภมู ศิ าสตรเ์ ป็นละติจูด (เสน้ รุ้ง) และลองจจิ ดู (เสน้ แวง) รปู ท่ี 5 ละตจิ ดู (เส้นรงุ้ ) และลองจิจูด (เสน้ แวง)

ห น ้ า | 10 ดังนั้น ละติจูดจึงเป็นพิกัดของจุดหนึ่งบนเส้นขนาน ส่วนลองจิจูดก็เป็นพิกัดของจุด หนึ่งบนเส้นเมริเดียน ซึ่งทั้งละติจูดและลองจิจูดมีค่าของมุมเป็นองศา โดย 1 องศา มีค่าเท่ากับ 60 ลิปดา และ 1 ลิปดา มคี ่าเทา่ กับ 60 ฟิลปิ ดา รูปท่ี 6 องค์ประกอบของแผนท่ี

ห น ้ า | 11 1.1.2 แผนท่ีภมู ิประเทศ แผนท่ีภมู ปิ ระเทศมรี ะดับทะเลปานกลาง กำหนดความสูง เพือ่ บอกระดับความสูงของภมู ิ ประเทศ ซ่ึงนยิ มแสดงระดับความสงู 4 รูปแบบ ดงั นี้ – เส้นช้ันความสูง คือ เสน้ ที่ สมมตลิ ากผา่ นบรเิ วณท่ีมคี วามสงู เท่ากัน โดยมี ตวั เลขกำกบั – การใชแ้ ถบสี คือ การจำแนก ความแตกตา่ งของลักษณะภมู ิประเทศของพ้ืนน้ำ และพืน้ ดิน – เสน้ ลายขวานสบั หรอื เสน้ ลาด รูปท่ี 7 แผนที่ภมู ิประเทศของประเทศไทย เขา เป็นเสน้ ขดี สั้น ๆ เรียงกนั ตามความลาดเอยี ง ของพืน้ ดนิ เพื่อแสดงความสงู ของภูมิประเทศ – การแรเงา เปน็ การแสดงความสงู ของพืน้ ทดี่ ้วยการแรเงาให้เป็นภาพสามมิตหิ รอื มี ทรวดทรง 1.1.3 ประโยชน์ของแผนท่ี แผนท่มี ปี ระโยชน์ ดงั นี้ 1. ทำใหร้ จู้ ักและเข้าใจสถานท่ีทไ่ี ม่เคยรู้จัก 2. อำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว 3. ชว่ ยวางแผนหรือตัดสนิ ใจในพืน้ ท่ีนน้ั ๆ 4. ช่วยในการเดนิ ทางไปยังสถานท่ที ไ่ี มเ่ คยไป

ห น ้ า | 12 1.2 รูปถา่ ยทางอากาศ 1.3 ภาพจากดาวเทียม รูปถ่ายทางอากาศ หมายถึง รูปภาพ จะบันทึกข้อมูลเชิงตัวเลขด้วย ลักษณะของภูมิประเทศที่ปรากฏอยู่บน พลงั งานคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ภาพจากดาวเทยี ม พ้ืนผวิ โลก จะนำมาประยกุ ต์ใช้ในดา้ นตา่ ง ๆ ดังน้ี ประโยชน์ของรูปถ่ายทางอากาศ รูป 1. ลักษณะภูมิประเทศ ดาวเทียมจะ ถ่ายทางอากาศมีมาตราส่วนที่ตายตัว แต่มีค่า มองเห็นการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา จึง อัตราส่วนเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง ศึกษาลักษณะภมู ิประเทศทเ่ี ป็นปัจจบุ ันได้ และมุมมองจากกล้อง มีประโยชน์ด้าน ยทุ ธศาสตร์การทหารต้ังแตอ่ ดตี จนปัจจุบนั รูป 2. ดา้ นการเกษตร นำขอ้ มูลดาวเทียม ถ่ายทางอากาศจะใช้ในการทำแผนที่ และ ไปจัดการพื้นที่เพาะปลูก คาดคะเนผลผลิต สำรวจ ใช้วางแผนทรัพยากรธรรมชาติ การ และวางแผนการใชป้ ระโยชน์ของท่ดี นิ วางผงั เมอื ง และระบบการจราจร 3. ด้านป่าไม้ นำข้อมูลดาวเทียมไป จำแนกชนิดของป่า หรือประเมินหาความ เสียหายได้ 4. ด้านการวางผังเมือง นำข้อมูล ดาวเทยี มไปศกึ ษาการขยายตัวของชมุ ชนได้ รูปท่ี 8 รูปถ่ายทางอากาศประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รูปที่ 9 ตัวอย่างวธิ ถี า่ ยรปู ทางอากาศ รปู ท่ี 10 ภาพจากดาวเทียมแสดงกลมุ่ ฝน

ห น ้ า | 13 1.4 อนิ เทอรเ์ นต็ 1.4.1 อินเทอร์เน็ต (Internet) หรือ ไซเบอร์สเปซ (Cyber Space) คอื ระบบการสื่อสารดว้ ย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานทั่วโลกเข้าด้วยกัน ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล ขา่ วสาร และความรดู้ ้านต่าง ๆ อยา่ งสะดวกและรวดเร็ว จนทำให้โลกในปจั จบุ ันเข้าสยู่ ุค “การสือ่ สาร ไรพ้ รมแดน” 1.4.2 บริการในอินเทอรเ์ นต็ (World Wild Web : WWW) จะให้บรกิ ารข้อมูลในรปู แบบต่าง ๆ ทั้งตัวอักษร รูปภาพ เสียง หรือภาพยนตร์ ข้อมูลเหล่านี้ เรียกว่า “เว็บเพ็จ” (Web Page) มีการ เช่ือมโยงถงึ กันทั่วโลกคลา้ ยใยแมงมมุ รูปที่ 11 ตัวอยา่ งอนิ เทอรเ์ น็ตหรอื ไซเบอร์สเปซ

ห น ้ า | 14 1.5 ลกู โลกจำลอง ลูกโลกจำลองเป็นสิง่ ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อจำลองลักษณะของโลก แสดงที่ตั้งอาณาเขต พรมแดน ของประเทศตา่ งๆและลูกโลกจำลองยงั สามารถใชเ้ ปน็ สอ่ื ในการเรยี นการสอนเกย่ี วกับโลกได้เป็นอย่าง ดี รปู ที่ 12 รปู โลกจำลอง

ห น ้ า | 15 1.6 ประเภทเครื่องมือและอุปกรณ์ หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้วัดหรือเก็บข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในด้าน ตา่ งๆ เช่น ทศิ ระยะทาง ความสงู ตำแหนง่ ท่ีตง้ั อณุ หภมู ขิ องอากาศ และปริมาณฝน เปน็ ต้น 1.6.1 เข็มทศิ (Compass) เป็นเครื่องมือบอกทิศอย่างง่าย ๆ โดยจะทำปฏิกิริยากับแม่เหล็กโลกและแสดงค่า ของมุมบนหน้าปัด วิธีใช้เข็มทิศ คือ วางเข็มทิศในแนวระนาบ ปรับหมุนหน้าปัดให้เข็มบอกค่าบน หน้าปัดอยู่ในตำแหน่งที่หันไปทางทิศเหนือแม่เหล็กโลกต่อจากนั้นจึงนำเข็มทิศหันเข้าหาตำแหน่งท่ี ตอ้ งการวัดมุม เชน่ เสาธงโรงเรียน เข็มทิศก็จะบอกให้ทราบว่าเสาธงของโรงเรียนอยใู่ นทิศใด และทำ มุมกอ่ี งศากบั ทิศเหนอื แม่เหล็กโลก รปู ที่ 13 เข็มทิศ 1.6.2 เทปวัดระยะทาง (Distance measuring tape) ใชส้ ำหรบั วดั ระยะทางของพน้ื ที่ เมือ่ ลงไปสำรวจ หรือเก็บข้อมูลภาคสนาม เทปวัดระยะทางมี 3 ชนิด ได้แก่ เทปที่ ทำด้วยผา้ เทปท่ีทำดว้ ยโลหะ และเทปทท่ี ำด้วยโซ่ รปู ที่ 14 เทปวัดระยะทาง

ห น ้ า | 16 1.6.3 กลอ้ งสามมติ ิ (Stereoscope) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ดูรูปถ่ายทางอากาศ เพื่อพิจารณาความสูงต่ำของ ลักษณะภูมิประเทศ ในพื้นท่ี น้นั ๆ รูปท่ี 15 กล้องสามมิติ 1.7 เครื่องมือวดั ลักษณะอากาศแบบตา่ ง ๆ 1.7.1 เทอร์โมมเิ ตอร์ (Thermometer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิของอากาศ โดยทั่วไปนิยมใช้แบบหลอดแก้วที่บรรจุปรอทหรือ แอลกอฮอล์ไวภ้ ายใน ค่าของอุณหภูมิมี 2 ระบบ ดังนี้ - ระบบเซลเซยี ส (O) - ระบบฟาเรนไฮต์ (F) รปู ที่ 16 เทอร์โมมิเตอร์

ห น ้ า | 17 1.7.2 บาโรมเิ ตอร์ (Barometer) เปน็ อปุ กรณท์ ี่ใช้วัดความกดอากาศ มี 2 ชนิด คือ - แบบปรอท ซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์สำคัญ 2 อย่าง คือ หลอดแก้วและอ่างแกว้ ท่บี รรจุปรอท รูปท่ี 17 บาโรมเิ ตอร์ แบบปรอท - แบบแอนริ อยด์ (Aneroid) เป็นแบบตลับโลหะขนาดเล็ก ทหี่ น้าปัดจะมีเขม็ แสดงค่าความ กดอากาศไว้ รูปที่ 18 บาโรมเิ ตอร์ แบบแอนริ อยด์

ห น ้ า | 18 1.7.3 เคร่อื งวัดนำ้ ฝน (Rain Gauge) เป็นเคร่ืองมอื ที่ชว่ ยในการวัดปริมาณนำ้ ฝนโดยใช้ อุ ปกร์ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก มีกรวยต่อภาชนะรองรับ ภายในปากภาชนะรองรับมีขนาดแคบ และพอดีกับกรวยเพ่อื ลดการสญู เสียเนือ่ งจากการระเหย รปู ท่ี 19 เครอ่ื งวดั น้ำฝน

ห น ้ า | 19 1.7.4 แอโรแวน (Aerovane) เปน็ อุปกรณส์ ำหรับวัดทิศทางและความเรว็ ของลม แยกตาม ลกั ษณะการใช้งานได้ 2 ชนดิ ดงั นี้ - แอนนโิ มมิเตอร์ (Anemometer) ใชว้ ดั ความเร็วของลม รูปท่ี 20 แอโรแวน แบบแอนนิโมมเิ ตอร์ - วนิ แวน (Wind Vane) ใช้วัดทศิ ทางของลม มสี ญั ลักษณ์เปน็ รปู ไก่หรือลูกศร รูปที่ 21 แอโรแวน แบบวินแวน

ห น ้ า | 20 1.7.5 ไฮโกรมิเตอร์ (Hygrometer) ใช้วัดความชื้นของอากาศโดยมีเส้นผมเป็นอุปกรณ์ สำคญั ถา้ อากาศมคี วามชน้ื สูงจะทำใหเ้ สน้ ผมยดื ตัว แตถ่ ้ามีความชนื้ น้อยเสน้ ผมจะหดตัว ทง้ั นี้หนา้ ปัด จะแสดงคา่ ความชื้นบนกระดาษกราฟให้เหน็ รปู ที่ 22 ไฮโกรมเิ ตอร์

ห น ้ า | 21 1.7.6 ไซโครมิเตอร์ (Psychrometer) เป็นอุปกรณ์ใช้วัดความชื้นของอากาศอีกแบบหน่ึง ประกอบด้วยเทอร์โมมิเตอร์ 2 อัน คือ เทอร์โมมิเตอร์ปรอท (เทอร์โมมิเตอร์ตุ้มแห้ง) และ เทอร์โมมเิ ตอร์ท่ีใชผ้ ้ามสั ลินหล่อน้ำให้เปียกอยู่ตลอดเวลา (เทอรโ์ มมิเตอรต์ ้มุ เปียก) รปู ท่ี 23 ไซโครมิเตอร์

ห น ้ า | 22 ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง เครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ คำชี้แจง จงเติมคำตอบต่อไปนใี้ ห้ถูกต้อง (5 คะแนน) ชื่อเครอ่ื งมือ ขอ้ ที่ รปู เครื่องมือ 1. 2. 3. 4. 5.

ห น ้ า | 23 เฉลยใบงานท่ี 1 เรื่อง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์ คำชแี้ จง จงเติมคำตอบต่อไปนี้ให้ถกู ต้อง (5 คะแนน) ชอ่ื เครือ่ งมอื เข็มทิศ ขอ้ ที่ รูปเครือ่ งมือ 1. 2. เทอร์โมมิเตอร์ 3. บอรอมิเตอร์ 4. เคร่ืองวดั นำ้ ฝน 5. กล้องส่องทางไกล

ห น ้ า | 24 บทท่ี 2 ลักษณะท่วั ไปของทวปี ยุโรป (General Characteristics of Europe) รปู ท่ี 24 คิวอาร์โค้ด แผนที่ทวีปยโุ รป

ห น ้ า | 25 บทท่ี 2 ลักษณะท่วั ไปของทวปี ยโุ รป (General Characteristics of Europe) จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หลงั จากจบบทเรยี นนแ้ี ลว้ นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ดงั น้ี 1.1 อธบิ ายลักษณะทั่วไปของทวปี ยโุ รปได้ 1.2 บอกถึงขนาด รปู ร่าง และที่ต้ังของทวีปยุโรปได้ 1.3 อธบิ ายถึงประวัติ และความเปน็ มาของทวีปยุโรปได้ 1.4 บอกถงึ สาเหตทุ ที่ วีปยุโรปมีความเจริญรวดเร็วกว่าทวปี เอเชียได้ 1.5 เพื่อให้นักเรยี นบอกถึงองค์ประกอบเกี่ยวกบั ลักษณะทัว่ ไปของทวปี ยุโรป และการจำแนก ภมู ภิ าคของทวีปยุโรปได้ 1.1 ลกั ษณะทั่วไป (General) ทวีปยุโรป มีขนาดเล็กเป็นลำดับที่ 2 ของโลก โดยมีทวีปออสเตรเลียเป็นทวีปที่มีขนาดเล็ก ที่สุดของโลก มีพื้นที่ประมาณ 4.2 ล้านตารางไมล์ (10,354,636 ตารางกิโลเมตร) มีประชากรแน่น หนาประมาณ 186 คนตอ่ ตารางไมล์ มีลักษณะภมู ิประเทศท้ังแบบเทอื กเขาสูงจนถึงที่ราบต่ำ แต่พื้นท่ี ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีภูมิอากาศอบอุ่น และไม่มีเขตภูมิอากาศร้อนหรือแห้งแล้งแบบทะเลทราย เหมือนทวปี อ่นื เนื่องจากทวีปยุโรปมีดินแดนติดต่อ กบั ทวีปเอเชีย เปรยี บเสมอื นคาบสมุทรจึงมีชื่อ เรยี กอีกอย่างหนึ่งวา่ “ยเู รเชยี หรือ Urasia” รปู ท่ี 25 แผนทยี่ ูเรเชีย

ห น ้ า | 26 1.2 ขนาดและท่ีต้งั เรเนียน (ประกอบด้วยทะเลไอโอเนียน เอเดรี ขนาด ยติก ติร์เรเนียน และลิกูเรียน สำหรับ - ทวีปยุโรปมีพื้นที่ 4.2 ล้านตาราง คาบสมุทรต่างๆ มีไครเมีย บอลข่าน อิตาลี ไอ บีเรีย เป็นต้น ไมล์ หรอื ราว 10,354,636 ตารางกิโลเมตร - มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ของโลก - ส่วนที่อยู่ที่ทางตะวันตกสุด คือ แหลมโรคา (Cape Roca) อยูล่ องจจิ ูด 9 องศา รองจากทวีปออสเตรเลีย 30 ลปิ ดาตะวันตก (โปรตุเกส) ทำเลท่ีตั้ง ทวีปยุโรปตั้งอยู่ในเขตอากาศอบอุ่น นอกจากน้ีเป็นมหาสมทุ รแอตแลนติก ทะเลเหนือ ทะเลนอร์เวเจียน ระหว่างทะเล และเขตหนาวเหนือ ไม่มีบริเวณใดอยู่ต่ำกว่า บอลติกและทะเลเหนือ จะมีช่อง แคตเตกัส เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ ( Tropic of (Kattegat) และสกาเจอร์รัก (Skagerrak) Cancer 231 องศาเหนอื ) เชื่อมอยู่ และบริเวณด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ของทวีปมีคาบสมุทรจัตแลนด์และคาบสมุทร 2 สแกนดเิ นเวีย - ส่วนเหนือสุด อยู่ที่ North Cape - สว่ นทอี่ ย่ดู า้ นตะวนั ออก ตดิ กับทวีป (นอเวย)์ ละติจดู 71 องศา 8 ลปิ ดาเหนือ เอเชยี โดยแนวเทอื กเขายูราลก้ันอยู่ท่ีลองจิจูด 66 องศาตะวันออก - ส่วนใต้สุด อยู่ที่ Point Marroqui (สเปน) ละติจดู 36 องศา 2 ลปิ ดาเหนือ นอกจากนี้ยังติดกับทะเลแคสเปียน เทือกเขาคอเคซัส ทะเลดำ และทะเลเมดิเตอร์ เกรด็ ความรู้ ช่องแคบ ช่องแคบท่ีสำคัญของทวีปยโุ รปน้นั มีอยู่ไม่มากนัก โดย ยุโรปมีชอ่ งแคบสำคญั ดงั น้ี ช่องแคบโดเวอร์ (Strait of Dover) ช่องแคบ อังกฤษ (English Channel) ช่องแคบจิรัลตาร์ (Strait of Gibraltar) ช่องแคบบอส พอรัส (Bosporus) และช่องแคบดาร์ดะ เนล ส์ (Dardanelles) รูปท่ี 26 ช่องแคบโดเวอร์

ค ว า ม ย ุ ่ ง ย า ก เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ค ว า ม รู้ ห น ้ า | 27 ทางด้านภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ยุโรป รูปท่ี 27 แผนท่ที วีปยโุ รป แบ่งได้ ดงั นี้ รปู ท่ี 28 ซากกรุงโรมประเทศอติ าลี 1. ลักษณะสภาพภูมิศาสตร์ (A mosaic of geographical unit) แบ่งออกเป็นส่วนเล็ก สว่ นนอ้ ย โดยเฉพาะโครงสร้างสลับซับซ้อนที่มี หลายแบบ 2. ลักษณะของเชื้อชาติ ( A jigsaw puzzle of nationalities) เชื้อชาติมีการ แบ่งเป็นกลุ่มเล็กกลุ่มน้อย สลับปะปนกัน คล้ายลักษณะของฟันเลื่อย ยากแก่การที่จะ แบง่ เปน็ แต่ละเขตได้ 3. ร ั ฐ ม ี ก า ร เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง เ ส ม อ ( A kaleidoscopic picture of state) รั ฐ ต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เนื่องจากมี ผู้นำหลายฝ่ายนั้นต่างต้องการการแสวงหา ดินแดนเป็นของตนเสมอ ด้านภาษามีความ ยุ่งยาก แม้แต่ในประเทศเดียวกันก็มีภาษาที่ แตกต่างกนั เช่น สวติ เซอร์แลนด์ ฝร่ังเศส เป็น ตน้ เกร็ดน่ารู้ ประชากร ประชากรของทวปี ยุโรป มี 3 จำพวกใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ 1. นอร์ดิก (Nordic) อย่ตู อนเหนอื ตาสีฟา้ ผมสที อง รปู รา่ งสงู ใหญ่ 2. อลั ไพน์ (Alpine) อย่ตู อนกลาง และดา้ นตะวนั ออกของยุโรป รปู รา่ งปานกลาง ศีรษะค่อนข้างแบน 3. เมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean) อาศัยอยู่ทางใต้ รูปร่างค่อนข้างเตี้ย มีผมสีน้ำตาล ผิวคล้ำ ทั้งสามกลุ่มแม้จะแตกต่างกันกม็ คี วามสัมพนั ธ์กัน และช่วยเหลือกันอย่างดีมีวัฒนธรรม คล้ายคลึงกันนอกจากนี้ ชาวยุโรปยงั รว่ มมอื กนั นําความเจรญิ ท่มี อี ยู่ไปเผยแพรใ่ นดินแดนอนื่ ๆ ของโลกอีกด้วย

ห น ้ า | 28 1.3 ประวตั คิ วามเปน็ มาของทวปี ยุโรป ทวปี ยโุ รปในระยะแรกนนั้ ยังไมค่ อ่ ยมีความเจรญิ เท่าทวีปเอเชียของเรา เพราะทวีปเอเชยี ของ เรานั้นมีความเจรญิ มาหลายพันปกี อ่ นแลว้ ซ่งึ เราสามารถจำแนกยุคสมยั แห่งอารยธรรมของทวีปยโุ รป ได้เป็น 3 ยคุ ด้วยกัน คือ 1. ยคุ หนิ เก่า (Paleolithic) ระยะปลายยคุ น้ำแข็ง ซ่งึ ยังไม่เจริญ ยึดการประกอบอาชีพ ด้วยการล่าสัตวเ์ ป็นอาหาร รูปท่ี 29 แสดงการลา่ สัตว์เพ่อื เปน็ อาหารในยุคหินเก่า

ห น ้ า | 29 2. ยุคหนิ ใหม่ (Neolithic) มนุษยย์ คุ น้รี ู้จักการเล้ยี งสัตว์แล้ว มีการทำเครื่องปนั้ ดนิ เผา อฐิ เส้ือผ้า การเขยี นหนังสือ การจัดระบบสังคม การต้งั หมู่บ้านเป็นหลักแหลง่ ซึ่งไดร้ ับอารย ธรรมมาจากอียิปต์ และอารยธรรมลลมุ่ แม่น้ำเมโสโปเตเมยี โดยแหลง่ ทม่ี ีอารยธรรมมาก ทส่ี ดุ ในยโุ รป คอื เกาะครีต รูปท่ี 30 การตั้งหมบู่ า้ นเป็นหลกั แหลง่ ในยุคหินใหม่ รปู ที่ 31 เกาะครีตแหลง่ พบอารยธรรมหลากหลายท่ีสุดในยุโรป นักเรียนสามารถศึกษาอารยธรรมเกาะครีตไดจ้ ากลิงก์หนัง ดงั นี้ รปู ท่ี 32 ควิ อาร์โค้ดหนังทรอย

ห น ้ า | 30 3. ยุคสำริด (Bronze Age) มนุษย์ร้จู ักการนำแรด่ ีบกุ และแร่ทองแดงมาผสมกนั เปน็ ทอง สำรดิ ทำให้สะดวกต่อการทำเกษตร เช่น การถางป่า มนุษย์ร้จู ักการประดษิ ฐค์ ิดค้น อปุ กรณ์และอาวุธจากการหลอมแร่ดีบุกและทองแดง รปู ท่ี 33 มนษุ ยร์ ู้จักการประดิษฐ์คดิ ค้นอาวธุ จากการหลอมแร่ดีบุกและทองแดงในยคุ สำริด เรื่องน่าร้ใู นอดีต ในยุคสำริด (Bronze Age) บริเวณยุโรปตะวันออกมีความล้าหลังมาก แม้จะมีพวก สลาฟท่ีอพยพมาจากเทือกเขาคอเคซัสเปน็ จำนวนมากมาอาศยั อยู่ แต่ในภายหลังพวกแขกมัว ที่อพยพมาจากทวีปแอฟริกามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณคาบสมุทรไอบีเรีย ก็ได้นำวิธีการก่อสร้าง การชลประทาน และนำพืชจำพวกองุ่นและส้มมาปลูกก็ได้ทำให้บริเวณภูมิภาคยุโรป ตะวนั ออกมคี วามเจริญถึงปัจจบุ ัน

ห น ้ า | 31 1.4 เบื้องลึกความเจรญิ ของทวีปยุโรป เหตผุ ลทีท่ วีปยุโรปเจริญรวดเร็วกว่าทวีปเอเชีย มสี าเหตุ ดงั นี้ 1. สามารถตดิ ตอ่ กับทวปี อื่นไดง้ ่าย และสะดวกทำให้อารยธรรมจากภายนอกเขา้ ถึงไดง้ ่าย 2. มีลักษณะภูมิอากาศอบอุ่น 3. แนวภเู ขาไม่ขวางกน้ั ทศิ ทางลม แนวภูเขาวางตัวตามแนวยาว 4. ประชากรขยนั อดทน มีความคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ 5. มีการคมนาคมท่ดี ีทั้งทางบก ทางนำ้ และทางอากาศ 6. มแี ม่นำ้ หลายสาย และไหลออกไดห้ ลายทศิ ทาง 7. มพี นื้ ทร่ี าบกว้างขวาง สะดวกแกก่ ารเพาะปลกู ได้มาก รปู ท่ี 34 จัตุรัสเมืองเก่าปราก

ห น ้ า | 32 1.5 องค์ประกอบเก่ียวกบั ลกั ษณะท่ัวไปของทวปี ยโุ รป นกั เรียนควรไดท้ ำความรู้จักเก่ยี วกบั ลักษณะท่วั ๆ ไปของทวปี ยโุ รป ดงั น้ี 1 . ท ำ เ ล ท ี ่ ต ั ้ ง เ ห ม า ะ ส ม ( Favorable 3. ลักษณะภูมปิ ระเทศมีหลายแบบ (Variety Location) เป็นศูนย์กลางการติดต่อ กับทุก of Relief Features) พื้นผิวดินของยุโรปมี ทวีป เช่น แอฟริกา เอเชีย อเมริกาเหนือ หลายแบบด้วยกัน อเมริกาใต้ โดยเฉพาะเชื่อมเส้นทางทำการค้า ระหว่างทวีปอเมริกาเหนือและยุโรปตะวันตก - บริเวณที่ราบลุ่มที่มีความอุดม ผ่านทางมหาสมุทรแอตแลนติก ด้านใต้ผ่าน สมบูรณ์ ได้แก่ ที่ราบลุ่มของฝรั่งเศส บริเตน ทางทะเลเมดเิ ตอร์เรเนียน (อังกฤษตอนเหนือ) และเดนมาร์ก ตามไหล่ เขาบางแห่งใช้เพาะปลูกได้ เช่น แถบเชิงเขา 2. ลักษณะภูมิอากาศเหมาะสม แอลป์ วอล์กที่สูงตอนกลางของฝรั่งเศส และ (Stimulating Climate) ยโุ รปตงั้ อยู่ระหว่าง แอปเพนไนน์ ละติจูด 35 องศา ถึง 71 องศาเหนือ ไม่มี ดินแดนทะเลทรายเหมือนกับทวีปเอเชีย ทวีป - ป่าที่สูงหลายบริเวณ ได้แก่ อาร์เดน แอฟริกา และทวีปอเมริกา เพราะอิทธิพลของ เนส ป่าดำ และภูเขาแอลป์ ทะเล - มีแม่น้ำที่ใช้ในการขนส่งหลายสาย ภูมิอากาศไม่ชื้นแฉะหรือแห้งแล้ง เชน่ ไรน์ โรน เซน โป เอลเบ และดานบู ตามที่ เกินไป โดยมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 40 องศาฟา ล่มุ น้ำเหลา่ นจ้ี ะมีดนิ ตะกอนหนา เรนไฮด์ ถึง 70 องศาฟาเรนไฮด์ ทำให้คนส่วน ใหญ่ของทวีปยุโรปมีสุขภาพดี ร่างกายอุดม นอกจากนี้ ยังมีทะเลสายและชายฝ่ัง สมบูรณ์ มีหัวทางด้านการค้า ด้านการเกษตร ทเี่ กดิ จากการกระทำของธารน้ำแข็ง และการอุตสาหกรรม สังเกตจากความ เจริญกา้ วหน้าทางดา้ นเศรษฐกิจ อตุ สาหกรรม 4. ลักษณะชายฝั่งยาวเหยียด และเทคโนโลยีในปจั จุบนั กเ็ ป็นที่ประจกั ษ์ดี (Long Coastline) ยุโรปมีชายฝั่งที่ยาวมาก แม้แต่ระบบการลำเลียงน้ำภายในก็เป็นเยี่ยม ของโลก คือ เมืองนาวิก (Narvik) อยู่ตอน เหนือของนอร์เวย์ มีละติจูด 68 องศาเหนือ ซ่งึ สามารถใชข้ นส่งได้แม้ในฤดหู นาว ในขณะที่

ห น ้ า | 33 มอนทรีล (Montreal) ของแคนาดา ซึ่งมี ส่วนชาวดัสท์ได้ขยายอิทธิพลมายังหมู่เกาะ ละตจิ ดู ที่ 45 องศาเหนือนนั้ ใช้ขนส่งไม่ได้ อนิ เดียตะวนั ออก และบางสว่ นชองอนิ โดนีเซีย ชาติอื่นก็มี ประเทศเยอรมนี อิตาลี เบลเยี่ยม นอกจากนี้ในทวีปยุโรปยังมีเมืองท่า เดนมาร์ก และนอร์เวย์ เหล่าผู้ถูกล่าอาณา ขนส่งและการประมงท่ีสำคญั ๆ หลายแหง่ เช่น นิคมไม่เพียงแต่ถูกบุกรุกในการเข้ามาสำรวจ รอตเตอร์แดม ลอนดอน เซาท์แธมป์ตัน กลาส พื้นที่และตั้งถิ่นฐานเพียงเท่านั้น แต่ยังได้รับ โกว์ ลิเวอร์พูล อันตเวอร์ป แฮมเบอร์ก มาร์ อิทธิพลต่อการดำรชีวิตทุกอย่าง เช่น ด้าน เซยย์ และเจนัว ภาษา ด้านวัฒนธรรม ด้านขนบธรรมเนียม ด้านระบบกฎหมาย และภาษาอังกฤษซึ่งได้ใช้ 5. แหล่งการสำรวจและการ แพรห่ ลายท่ัวโลก แสวงหาอาณานคิ (Exploration and Colonization) 6. มีวัฒนธรรมที่สูงส่งเป็นมรดกตก ทอด (Rich Cultural Heritage) ยุโรปมี ชาวยุโรปหลายประเทศมีความสนใจ ความเป็นผู้นำหลายด้าน โดยเฉพาะทางด้าน ในการสำรวจและแสวงหาอาณานิคมใน เกษตรกรรม มีวิธีการสมัยใหม่ เพื่อให้ผลผลิต ดินแดนโพ้นทะเล ประเทศสเปนและโปรตเุ กส พอบริโภค อารยธรรมของยุโรปเผยแพร่ไปท่ัว ได้นำอารยธรรมตะวันตกไปสู่อาณานิคมใน โลก แม้แต่การอุสาหกรรมก็สามารถพัฒนาไป แอฟรกิ า และเอเชีย ได้ก่อนและมีความรวดเร็ว เนื่องจากมี ทรพั ยากรเหล็กและถ่านหนิ มาก สเปนได้ดินแดนเกือบทั้งทวีปอเมริกา ใต้ ในตอนต้นศตวรรษที่ 16 นอกจากประเทศ 7. ลักษณะเด่นทางด้าน บราซิลซึ่งประเทศโปรตุเกสได้ให้สหราช อุตสาหกรรมและมีมาตรฐานการครองชีพสูง อาณาจักรฯ แม้จะเริ่มช้ากว่า แต่ก็ประสบ ( A High Degree of Industrialization ความสำเร็จในการเป็นเจ้าแห่งการล่าอาณา with a High Standard of Living) นับว่า นิคม ด้วยสหราชอาณาจักรฯ นั้นมีอิทธิพล ทวีปยุโรปน้ีเปน็ แหล่งอตุ สาหกรรมสําคัญ ของ เกือบทกุ สว่ นของโลก ได้แก่ ทวีปอเมริกาเหนือ โลก โดยเฉพาะทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ที่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ หมู่เกาะอินเดีย อุดมไปด้วยเหล็กและถ่านหิน แม้จะขาดแร่ ตะวันตก ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา และ โลหะ ที่มีค่าแต่มีเกลือโปแตช นอกจากนี้ยัง ทวีปเอเชีย ประเทศที่เป็นคู่แข่งกับสหราช ได้รับชา ฝ้าย ยาง ปาล์มน้ำมัน ยาสูบ อ้อย อาณาจักรฯ ในการแสวงหาอาณานิคมในทวปี กาแฟและ เครื่องเทศจากอาณานิคมนํามา อเมริกาเหนือ แอฟริกา และเอเชีย คอื ฝรั่งเศส

ห น ้ า | 34 ผลิตเป็นวัตถุสําเร็จรูปแล้วนํากลับไปขายยังท่ี อุตสาหกรรมสิ่งทอจำเป็นต้องใช้ ขนสัตว์ ฝ่าย เดิมการอุตสาหกรรม ช่วยให้คนมีงานทำ ปอ ไหม และ แฟลกซ์ ยังมีไขมัน น้ำมัน เพิ่มพูนรายได้ทำให้มาตรฐานในการครองชีพ อาหารกระป๋อง และอน่ื ๆ เป็นสินค้าเขา้ สูงตาม ปัจจุบันผลิตเครื่องจักร ขนาดใหญ่ สิ่ง ทอและเคมีภณั ฑแ์ ละอืน่ ๆ 9. พัฒนาด้านการท่องเที่ยวสูง (Highly Developed Tourist Trade) ไมม่ ี 8. กิจกรรมทางการเกษตรก้าวหน้า ทวีปใดที่จะมีนัก ท่องเที่ยวไปเยือนมากเท่า ( Advanced Agricultural Practices) ทวีปยุโรป เนื่องจากยุโรปมีโบราณวัตถุ การเกษตรของยุโรปเมื่อเทียบกับทวีปอื่นแล้ว ปราสาทของขุนนางทุ่งหิมะบนภูเขาสำหรับ ใชด้ นิ ให้เกิดประโยชน์มากกว่าทมี่ ี ท้ังการปลูก เล่นสกี หอเอนปิซาในอิตาลี หอคอยและมี พชื เพื่อเก็บเกี่ยว และเลยี้ งสัตว์ไปพร้อม ๆ กัน ความเจริญหลายด้าน การคมนาคมติดต่อ กับ ทำให้สามารถพอเลี้ยงตัวเองได้ดี วิธีการเป็น ทวปี อ่นื สะดวก ทำใหม้ ผี คู้ นจากท่อี ่นื ท่ัวโลกไป แบบอินเทนซีฟ (Intensive) คือใช้พื้นที่ไม่ ท่องเที่ยวยุโรปมากท่ีสดุ ผลที่ตามมาคือรายได้ กวา้ งขวางนกั แต่ใหผ้ ลผลิตต่อเอเคอร์สูงโดยใช้ จากการท่องเที่ยวสูง มีเงินหมุนเวียนมาก วิธีที่ใช้ในการทางวิทยา ศาสตร์เข้าช่วยมาก ฐานะทางเศรษฐกจิ ดี ประเทศเบลเยีย่ ม นับว่าให้ผลผลิตต่อ เอเคอร์ สูงมากที่สุดในโลก ซึ่งผลิต ข้าวสาลีได้ 57 บุ 10. การรวมกลุ่มหรือการอยู่อย่าง ชเชลต่อเอเคอร์ นั บเป็นสามเท่าของ เอกเทศ (European Unity of Disunity) ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา หรือ อาร์เจนตินา ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประเทศต่าง ผลิตได้เฉลี่ย 20 บุชเชลต่อเอเคอร์ ข้าวเจ้ามี ๆ ในยุโรปไม่มั่นคง เนื่องจากการสงครามที่ไม่ ผลิตน้อย นอกจากนี้มีการปลูก ข้าวบาร์เลย์ มีท่ีส้ินสดุ การ สนใจทางการเมืองและความคิด โอ้ต ไร และมันฝรั่ง ส่วนฟาร์มโคนม ผลิตมาก แตกต่างกัน ระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรป เช่น มีการรวมกลุ่ม กันเองตามความคิด โดยแบ่ง สหราชอาณาจักรฯ เยอรมนี ฝรั่งเศส ดังนี้ เดนมาร์ก และกลุ่มเบเนลักซ์ (เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์และลักเซมเบอร์ก) การ ก. สนธิสัญญาทางเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรมและทางการเกษตรกรรม ไม่ วัฒนธรรมของฝ่ายโลกเสรี ได้แก่ กลุ่ม สมดุลย์กัน ยุโรปต้องสั่งอาหารและวัตถุดิบมา ประเทศเบเนลักซ์ (Benelux) เพื่อประโยชน์ ป้อน โรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ ทางการค้า ชื่อ The Benelux Customs Union เมื่อ ค.ศ. 1947 ต่อมาปี 1955 มีเพ่ิม อีก 3 ประเทศ คือ เยอรมันตะวันตก ฝรั่งเศส

ห น ้ า | 35 และอิตาลี รวมกลุ่มใหม่เป็น E.C.S.C. โปแลนด์เชโกสโลวะเกีย ฮังการี (European Coal & Steel Community) โรมาเนีย บัลแกเรีย (ส่วนกลุ่มโซเซียลิสต์นอก หลังจากนั้นได้ขยายไปถึงการเกษตร การค้า แดนยุโรป ได้แก่ จีนคอมมิวนิสต์ แอลเบเนีย และการอุตสาหกรรม ซ่งึ รู้จักกนั ในนาม “กลุ่ม มองโกเลยี เกาหลีเหนอื เวียดนาม และ คิวบา ตลาดร่วมยุโรป” หรือสนธิสัญญา E.E.C. (European Economic Community or ประเทศอื่น ๆ ของยุโรปรวมกันเพ่ือ European Common Market) บ า ง ค ร้ั ง ผลทางการเมือง และเศรษฐกิจ เรียกว่า เรียกว่ากลุ่มอินเนอซิกซ์ (Inner Six) มี 6 O.E.E.C. (Organization for European ประเทศ คือ เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ Economic Co-operation) ปี 1961 เ ป็ น ลักเซมเบอร์ก เยอรมันตะวันตก ฝรั่งเศส Organization Economic Cooperation อิตาลี สหราชอาณาจักรฯ (ได้เข้าร่วมเมื่อ Development ปลายปี 1971) เดนมาร์ก และไอร์แลนด์ ได้ เข้าร่วมในปี 1973) ปัจจุบันมี 12 ประเทศ มี ค. สนธิสญั ญาการป้องกันทางทหาร กรีซ สเปน และโปรตุเกสรวมอยู่ด้วย มี ของฝ่ายโลกเสรี ที่สําคัญ ได้แก่ สนธิสัญญา สนธิสัญญา กลุ่มการค้าเสรียุโรปที่เรียกว่า น า โ ต ( NATO - North Atlantic Treaty E.F.T.A. (European Free Trade Organization) เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949 มี Association) ปัจจุบันประกอบด้วยประเทศ ทั้งหมด 15 ประเทศ คือ สหรัฐฯ แคนาดา นอร์เวย์ สวีเดน ออสเตรีย สวิส โปรตุเกส ไอซ์แลนด์นอร์เวย์ สหราชอาณาจักรฯ ไอซ์แลนด์และฟินแลนด์ เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก เบลเยี่ยม กรีซ ลักเซมเบอร์ก โปรตุเกส ฝรั่งเศส อิตาลี ตุรกี ข. สนธิสัญญาทางเศรษฐกิจและ และเยอรมนี (ตะวนั ตก) วัฒนธรรมของฝ่ายคอมมิวนิสต์ ที่สําคัญคือ สนธสิ ัญญา โคมคิ อน หรือ ซเี มยี (COMECON การรวมกลุ่มของประเทศต่าง ๆ มี ห ร ื อ CMEA = The Council for Mutual การเปลี่ยนแปลงไปตามวาระของการประชุม Economic Assistance) ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย หรือ ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสมาชิก ต้อง ประเทศในกลุ่มโซเซยี ลสิ ต์ในยุโรป คอื สหภาพ ติดตามข่าวสารธุรกิจให้ทันกับเหตุการณ์ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต เยอรมนี ปจั จุบันมากทส่ี ดุ (ตะวนั ออก) โปแลนด์