ก แผนปฏิบตั ิการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
ข แผนปฏิบตั ิการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
ค ขออนุมตั ิแผนปฏิบตั ิการ กศน.ตำบล ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ กศน.ตำบลหนองลาน ด้วย กศน.ตำบลหนองลาน ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานอำเภอ/กศน.ตำบลหนองลาน นโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษาและโครงการ/กิจกรรม จำนวน 10 โครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 และสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ช่วงปี 2566 – 2570 และโครงการ/กจิ กรรมตามแผนปฏิบัติการเล่มนี้ ได้ผา่ นการ พจิ ารณาและผา่ นความเหน็ ชอบจากกรรมการ กศน.ตำบลหนองลาน แลว้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ เพื่อ กศน.ตำบลหนองลาน จะได้นำแผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ไปใช้เป็นเครอื่ งมอื ในการจดั กิจกรรมระดบั พ้นื ทต่ี ่อไป ลงชื่อ..........................................................ผเู้ สนอแผน (นางสาวหนง่ึ ฤทัย สนิ ธพ) ครู กศน.ตำบลหนองลาน ลงช่อื ..........................................................ผู้เห็นชอบ (พระครกู าญจนธรรมชยั ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ลงชอื่ ..........................................................ผอู้ นมุ ัติ (นางสาวเสาวณี ศรโี พธ์ิ) ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอท่ามะกา แผนปฏบิ ัตกิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
ง คำนำ แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลหนองลาน จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปงี บประมาณ 2566 โดยยดึ แนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการ ดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ประจำปี 2566 ตลอดจนบรบิ ทและความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เพื่อกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินงาน กศน.ตำบลหนองลาน ให้เป็นไปตาม เปา้ หมายทวี่ างแผนไว้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การจัดทำแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลหนองลาน เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี โดยความร่วมมือ และการมสี ่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและผู้เก่ียวข้อง ร่วมกันระดมความคิดเห็นโดยนำสภาพปัญหาและผลการ ดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของ กศน.ตำบลหนองลาน เพอ่ื สนองความตอ้ งการของประชาชนในชุมชนอยา่ งแทจ้ ริง คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลหนองลาน ประจำปีงบประมาณ 2566 จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้ทีเ่ ก่ียวข้อง เพือ่ ให้การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และมีคุณภาพตามเป้าหมาย ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องต่อไป กศน.ตำบลหนองลาน มกราคม 2566 แผนปฏิบตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
จ สารบญั หน้า ก คำขออนมุ ตั แิ ผนการปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ข คำนำ ค สารบัญ บทท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐานท่ัวไป 1 5 1.1 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของ ตำบลหนองลาน 1.2 ข้อมูลพืน้ ฐานของ กศน.ตำบลหนองลาน 13 บทท่ี 2 นโยบายจุดเนน้ การดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖6 18 2.1 นโยบายเรง่ ดว่ นเพื่อร่วมขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 18 2.2 ทศิ ทางการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี 2.3 นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของ กศน.อำเภอท่ามะกา 26 บทที่ 3 วเิ คราะห์ข้อมลู 27 3.1 วิเคราะห์ขอ้ มูลสภาพแวดล้อมระดบั ตำบล (SWOT Analysis) 3.2 สรุปสภาพปญั หาความตอ้ งการ สาเหตุ และแนวทางแก้ไข/พัฒนาระดับตำบล 29 บทที่ 4 แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4.1 ตารางบญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 30 4.2 โครงการตามแผนการจัดสรรงบประมาณ 34 50 1) โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐานนอกระบบ 54 2) โครงการจัดการศึกษาศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน (กล่มุ สนใจ 3-30 ชม.) 58 3) โครงการจัดการศกึ ษาศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน (อาชพี ระยะส้ัน 31 ชม.ขึน้ ไป) 62 4) โครงการจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต 66 5 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 6) โครงการจดั กระบวนการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 70 7) โครงการพัฒนา กาย จิต ละสมองของผ้สู งู อายุ 74 4.3 โครงการตามแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 78 1) โครงการสง่ เสริมการศึกษาตามอธั ยาศัยรูปแบบบ้านหนงั สือชมุ ชน 2) โครงการสง่ เสริมการอ่านสู่ชมุ ชน/ห้องสมดุ เคล่ือนท่ีสำหรบั ชาวตลาด 3) กจิ กรรมเด่นประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการขบั เคลอื่ นศนู ย์เรียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ เอกสารอา้ งอิง ภาคผนวก บัญชีตาราง คณะผ้จู ดั ทำ แผนปฏิบตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
บทที่ 1 ขอ้ มลู พืน้ ฐานทวั่ ไป 1. ชือ่ กศน. ตำบลหนองลาน 2. ท่ตี ั้ง/การติดต่อ อย่บู รเิ วณวัดหนองไมแ้ กน่ หม่ทู ี่ 6 ตำบลหนองลาน อำเภอทา่ มะกา จังหวัดกาญจนบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 71130 3. สังกัด ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอท่ามะกา สำนักงานสง่ เสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั กาญจนบรุ ี 4. ประวตั ิ (พอสังเขป) กศน.ตำบลหนองลาน กศน.ตำบลหนองลาน เดิมอยู่บริเวณศาลาการเปรียญ เป็นศูนย์การเรียนที่ตั้งอยู่บริเวณ วัดหนองไม้แกน่ ตำบลหนองลาน อำเภอทา่ มะกา จังหวัดกาญจนบุรี ซ่งึ ได้รับความอนุเคราะห์สถานท่ีจัดตั้ง กศน.ตำบล จากท่านพระครกู าญจนธรรมชยั เจา้ อาวาสวัดหนองไมแ้ ก่น ไดจ้ ดั ตั้งเป็นศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนเฉลิม พระเกียรติฯวดั หนองไมแ้ กน่ เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 และได้ทำการเปดิ เปน็ กศน.ตำบลหนองลาน ในวันที่ 16 มนี าคม พ.ศ.2553 โดยเปิดบรกิ ารดา้ นการศึกษาแก่ประชาชนในพนื้ ที่ไดแ้ ก่ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้ประชาชนในชุมชนสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตน เพื่อการศึกษาต่อและประกอบอาชีพได้ตามความเหมาะสม กศน.ตำบลหนองลาน เป็นสถานที่ใช้ในการพบ กลุ่มและจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยมีนางสาวหนึ่งฤทัย สินธพ ปฏิบัติหน้าที่ครู กศน. ตำบลหนองลาน ตงั้ แตว่ ันที่ 28 พฤษภาคม 2552 จนถึงปจั จบุ นั 5. โครงสร้างการบริหารงาน กศน.ตำบลหนองลาน กศน.ตำบลหนองลาน เป็นหน่วยงานทางการศึกษา สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่ามะกา สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดกาญจนบุรี โดยมีบคุ ลากรแบง่ ตามประเภทดงั ตอ่ ไปนี้ ตาราง 3 จำนวนบคุ ลากรของ กศน.ตำบลหนองลาน ท่ี ตำแหน่ง จำนวน (คน) หมายเหตุ 1 ผู้บริหารการศึกษา 1 2 ข้าราชการครู 2 3 พนกั งานราชการ 4 ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 1 5 ครู กศน.ตำบล 1 5 รวม
๒ 6. อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ อาณาเขตติดต่อตำบลหนองลาน ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ อำเภอสองพนี่ ้อง จังหวดั สพุ รรณบุรี ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ ตำบลทงุ่ ลูกนก อำเภอกำแพงแสน จังหวดั นครปฐม ติดตอ่ ตำบลพระแท่น ติดต่อ ตำบลอุโลกสห่ี มนื่ 7. โครงสรา้ ง กศน. ตำบลหนองลาน ผูบ้ รหิ าร .................. คณะกรรมการ กศน. ตำบล ครูอาสาสมัครฯ ครู กศน. ตำบล องค์กรนกั ศึกษา อาสาสมคั ร กศน. อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน แผนปฏบิ ตั ิการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓ 8. ข้อมูลบุคลากร คณะกรรมการ กศน.ตำบลหนองลาน คณะกรรมการ กศน.ตำบลหนองลาน ชอ่ื นามสกลุ ตำแหนง่ พระครกู าญจนธรรมชยั เจ้าอาวาสวัดหนองไม้แก่น ประธานกรรมการ นายวิวฒั น์ ต้งั สุวรรณวงศ์ กรรมการ นายวชิ า แยม้ พวง กรรมการ นายวิทูรย์ ผวิ งาม กรรมการ นางสาวออ้ ย ภู่ระหงษ์ กรรมการ นางสาวพนม อยู่ญาตมิ าก กรรมการ นายณชิ ชาสงิ ห์ ดาปาน กรรมการ นายบรรจง ดาปาน กรรมการ นางสาวทวี โชคกุญชร กรรมการ นางสาวแตงไทย กล่นั ดี กรรมการ นายรชั ชานนท์ มว่ งตารส กรรมการ นางสมปอง ภมู มาลา กรรมการ นายหลง ศิลาจันทร์ กรรมการ นางแจง้ พงษ์ศริ ิ กรรมการ นายสมบูรณ์ อำนวยผล กรรมการ นางสาวณฤพร มแี ก้วน้อย กรรมการ นายวนั ชยั ญาติคำ กรรมการ นายอนนั ต์ ตั้งสุวรรณวงศ์ กรรมการ นางสาวหนึ่งฤทยั สนิ ธพ กรรมการและเลขานุการ อาสาสมัคร กศน. ตำบล ชือ่ นามสกุล ตำแหน่ง 1.นายวนั ชัย ญาติคำ ผูใ้ หญบ่ า้ น 2.นายวัชรพล ญาตคิ ำ ผชู้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น 3.นายณฐั พงษ์ คำดี ผูช้ ว่ ยผใู้ หญบ่ ้าน อาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน ช่ือ นามสกลุ หมู่ 1.นางสาวทวี โชคกญุ ชร บ้านหนองลาน ม.1 2.นายเสรี ครฑุ ศริ ิ บา้ นหกหลงั ม.6 3.นายวันชัย ญาติคำ บา้ นหนองไมแ้ กน่ ม.8 แผนปฏบิ ัติการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๔ ทรัพยากรและส่งิ อำนวยความสะดวกในการจดั การศกึ ษา 1 อาคารสถานท่ี กศน. ตำบลหนองลาน มอี าคารเป็นเอกเทศ เป็นสถานที่สำหรับจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั 2 สาธารณูปโภคและส่ิงอำนวยความสะดวก เนือ่ งจาก กศน. ตำบลหนองลาน ตั้งอยใู่ นเขตเทศบาลตำบลหนองลานจงึ มสี าธารณปู โภคไฟฟ้า ประปา ครบครัน และส่งิ อำนวยความสะดวกทส่ี ำคญั ดังนี้ วสั ดุ - อปุ กรณ์ สำหรบั จดั การเรยี นการสอน กศน.ตำบลหนองลาน 1. คอมพิวเตอรพ์ ร้อมปริน้ เตอร์ จำนวน 1 ชุด 2. จานดาวเทยี ม จำนวน 1 เครอ่ื ง 3. ทีวี จำนวน 1 เครอ่ื ง 4. โต๊ะ จำนวน 2 ตวั 5. เก้าอ้ี จำนวน 40 ตวั 6. ส่อื หนงั สือ แบบเรยี น แผนปฏิบตั กิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๕ 1.2 สภาพทัว่ ไปของตำบลหนองลาน เทศบาลตำบลหนองลาน เดิมมีฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลหนองลาน จัดตั้งขึ้นตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 และประกาศราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่ในเขตอำเภอท่ามะกา จังหวัด กาญจนบุรี ได้รับการเปลี่ยนแปลง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและ องคก์ ารบริหารสว่ นตำบล พ.ศ. 2537 ซงึ่ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วน ตำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย จึงจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลหนองลาน อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็น เทศบาลตำบลหนองลาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เปลี่ยนฐานะจาก องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลหนองลานเป็นเทศบาลตำบลหนองลาน ดวงตราเทศบาลเป็นตราสญั ลกั ษณร์ ูปวงกลม ตรงกลาง มีต้นลาน 3 ต้นโดยต้นลาน 3 ต้นนั้น สื่อความหมายถงึ การพัฒนาท้องถิ่นท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของ สังคม 3 ภาคส่วนคือ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อนำไปสู่การเป็นชุมชนที่เข้มแข็งตามหลัก ธรรมาภิบาล สำนกั งานเทศบาลตำบลหนองลาน ตงั้ อย่เู ลขท่ี 99/8 หมู่ 7 ตำบลหนองลาน อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบรุ ี สภาพทั่วไปของตำบล พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบริมแม่น้ำแม่กลอง ที่ราบลุ่มเหมาะแก่การทำการเกษตรกรรม ทุกประเภทมี ระบบชลประทานทกุ พ้นื ทข่ี องตำบล การติดต่อกบั พ้ืนที่อื่นเปน็ ไปด้วยความสะดวก การคมนาคมสามารถใชไ้ ดต้ ลอดทกุ ฤดกู าล ห่างจากทีว่ า่ การอำเภอท่ามะกา 24 กโิ ลเมตร หา่ งจากจังหวดั กาญจนบุรี 40 กิโลเมตร การไฟฟ้า ภายในตำบลหนองลาน และชุมชนข้างเคียง ได้รับบริการกระแสไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อำเภอทา่ มะกา อยา่ งท่วั ถงึ ทกุ ครวั เรอื น แผนปฏิบตั ิการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๖ การประปา ตำบลหนองลานใชน้ ้ำบาดาลจากประปาหม่บู า้ น ในการบรโิ ภคและอปุ โภค การสอื่ สารและโทรคมนาคม ตำบลหนองลานไม่มีที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข ประชาชนต้องไปใช้บริการไปรษณยี ์ข้างว่าทก่ี ารอำเภอ ท่ามะกาซ่งึ อยู่ไม่ไกลนัก สำหรับการบริการด้านโทรศัพท์สาธารณะ ในเขตเทศบาลมีเพียงบางจุดที่เป็นย่านชุมชนหนาแน่น ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการ เนื่องประชาชนมีความต้องการใช้บริการในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น แต่ก็ไม่ได้ เปน็ ปัญหาสำคญั มากนกั เพราะประชาชนมีโทรศัพท์บา้ นและโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี 1.3 ข้อมูลการปกครอง/การบรหิ าร ชื่อ นามสกุล ตำแหน่ง นายประนอบ กุญชร ผ้ใู หญบ่ ้าน หม่ทู ่ี 1 นายณชิ ชาสิงห์ ดาปาน ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ท่ี 2 นายดอี อล วิลยั ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ี 3 นายรัชชานน มว่ งตารส ผู้ใหญ่บา้ น หมทู่ ่ี 4 นายวิชา แย้มพวง กำนนั หม่ทู ี่ 5 นายหลง ศลิ าจนั ทร์ ผู้ใหญบ่ า้ น หมทู่ ี่ 6 นายนิเวท ประจบดี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 นายวนั ชยั ญาติคำ ผใู้ หญ่บ้าน หมทู่ ่ี 8 1.4. ดา้ นประชากร มีประชากรทั้งสิ้น 4,028 คน แยกเป็นชาย 1,976 คน และเป็นหญิง 2,052 คน มีจำนวน ครวั เรือนท้ังตำบลประมาณ 1,214 ครัวเรอื น แยกเปน็ หมบู่ ้านได้ดงั น้ี หมทู่ ี่ บา้ น ช่อื ผนู้ ำ ครัวเรอื น ประชากร รวม ชาย หญงิ 1 หนองลาน นายประนอบ กุญชร 243 854 2 หกหลัง นายณิชชาสงิ ห์ ดาปาน 139 424 430 414 3 หนองลาน นายดีออล วลิ ยั 228 191 220 695 4 จนั ทรล์ าด นายรชั ชานนทร์ มว่ งตารส 134 330 365 511 5 รางหวา้ นายวชิ า แยม้ พวง 190 257 254 602 6 หกหลงั ใน นายหลง ศิลาจันทร์ 94 300 302 391 7 อยู่เจรญิ นายนิเวท ประจบดี 186 203 188 564 8 หนองไม้แก่น นายวันชยั ญาตคิ ำ 169 271 293 604 1,214 308 296 4,028 รวม 1,976 2,052 แผนปฏบิ ตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๗ จำนวนประชากรจำแนกตามระดับการศึกษา ประชากร จำนวน (คน) รวม ลำดับ การศึกษา ชาย หญิง 479 168 1 ผูไ้ ม่รหู้ นงั สือ 232 247 1,526 2 ต่ำกว่าประถมศึกษา 72 96 556 3 ประถมศึกษา 721 805 398 4 มัธยมศึกษาตอนตน้ 292 264 120 5 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย / ปวช. 213 185 234 6 อนปุ ริญญา / ปวส. 69 51 14 7 ปรญิ ญาตรี 82 152 3,628 8 สงู กว่าปรญิ ญาตรี 3 11 1,746 1,882 รวม 1.5 ดา้ นการศึกษา มีโรงเรียนในสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 4 แห่ง เปิดสอน ตั้งแต่ชั้นอนุบาล – ประถมศึกษาปีที่ 6 และศูนย์เด็กเล็กก่อนวัยเรียนสังกัดเทศบาลตำบลหนองลาน จำนวน 1 แหง่ คือ ศนู ยเ์ ด็กเล็กเทศบาลตำบลหนองลาน และกศน.ตำบล 1 แห่ง 1.6 การสาธารณสขุ ในตำบลหนองลาน มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านหนองลาน 1 แหง่ 1.7 ด้านศาสนา วฒั นธรรม เทศกาลประเพณี/เศรษฐกิจ/อาชพี ศาสนา ประชากรส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ มวี ดั 5 แห่ง คือ ชื่อวดั ทอี่ ยู่ วัดหนองลาน ม. 1 ตำบลหนองลาน วัดดาปานนิมติ ม. 2 ตำบลหนองลาน วดั จันทรล์ าดสุขสุวรรณ ม. 4 ตำบลหนองลาน วดั มงคลรตั นาราม ม. 5 ตำบลหนองลาน วดั หนองไมแ้ กน่ ม. 8 ตำบลหนองลาน ประเพณี และศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณีท่ีสำคัญทต่ี ำบลหนองลานจดั อย่ปู ระจำทุกปี คือ ประเพณสี งกรานต์ ประเพณีแห่เทียน พรรษา และประเพณลี อยกระทง และมปี ระเพณีงานบญุ เดือนสาม ด้านเศรษฐกจิ โครงสร้างทางเศรษฐกิจ/รายได้ประชากร ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านการเกษตรกรรมรับจ้างทั่วไป และในโรงงานอุตสาหกรรม ประชากรมีรายไดเ้ พียงพอต่อการดำรงชวี ติ แผนปฏิบตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๘ การเกษตรกรรม การเกษตรกรรมเปน็ อาชีพหลักท่สี ำคัญของประชากร พืชเศรษฐกจิ ทสี่ ำคัญได้แก่ อ้อย ข้าว ข้าวโพด และพืชผักผลไม้ การอุตสาหกรรม มีการทำอุตสาหกรรมเกี่ยวกับการผลิตตุ๊กตายาง การผลิตปุ๋ย ซึ่งอุตสาหกรรมเหล่านี้ส่วนใหญ่จะใช้ เงนิ ทุนไม่มากนัก และใช้แรงงานกำลังคนคอ่ นขา้ งน้อย และเปน็ โรงงานอตุ สาหกรรมขนาดยอ่ ย การพาณิชยกรรม การทำธุรกิจในตำบลหนองลานมีไม่มากนัก ปัจจุบันร้านค้าในตำบลมีประมาณ 20 ร้าน ส่วนใหญ่ เป็นร้านขายของชำต่าง ๆ ซึ่งเป็นสินค้าที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพราะประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมและรับจ้าง และธุรกิจประเภทอู่ซ่อมรถ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ธุรกิจล้างอัดฉีดรถยนต์ ธุรกิจ การค้าวัสดุก่อสรา้ ง และธุรกิจปัม๊ น้ำมัน การปศสุ ัตว์ ตำบลหนองลานมีการเลี้ยงโคเป็นจำนวนมาก เน่อื งจากอาชีพการทำเกษตรกรรมการปลูกข้าวโพดต้น ข้าวโพดทเ่ี หลือจากการเก็บฝักแลว้ สามารถนำมาเป็นอาหารของโคได้ ลักษณะการประกอบอาชีพ ประชากรส่วนใหญร่ อ้ ยละ 80 ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ได้แก่ การทำไร่ขา้ วโพด ไรอ่ ้อย ข้าว ปลูกกลว้ ย ปลูกผกั สวนครัว โดยมแี หลง่ น้ำเพ่ือการเกษตรจากคลองชลประทาน สภาพเศรษฐกิจ เศรษฐกิจโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี ประชาชนมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวพอใช้ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ให้ ความสำคัญกับการศึกษา การคมนาคมสะดวก อยู่ใกล้ ถนนสายพนมทวน – กำแพงแสน และมีโรงงาน อุตสาหกรรมตั้งอย่ใู นตำบล ทำใหเ้ กิดการจา้ งแรงงาน ประชาชนมรี ายได้เพม่ิ ขึ้น 1.8 การคมนาคมขนส่ง การคมนาคมขนสง่ ในตำบลหนองลาน อาศยั ถนนในตำบลและทางหลวงเป็นหลกั ในการติดต่อกับ ชุมชนอ่นื โดยเฉพาะการขนส่งวตั ถุดิบทางการเกษตร เปน็ ต้น ถนนสายหลัก เปน็ เส้นทางคมนาคมติดต่อกับอำเภอท่ามะกา และจังหวัดใกลเ้ คียงได้แก่ - ถนนลาดยางสาย 3040 ระหวา่ งตำบลพระแท่น - ตำบลหนองลาน - อำเภออ่ทู อง จังหวดั สุพรรณบรุ ี - ถนนลาดยางสาย 346 ระหว่างตำบลพระแท่น - ตำบลหนองลาน - อำเภอกำแพงแสน จงั หวัด นครปฐม การจราจร ประชากรสว่ นใหญ่ใช้รถยนต์ และรถจกั รยานยนต์ เปน็ พาหนะในการเดนิ ทางเพื่อขนสง่ สินค้า และ วตั ถดุ ิบด้านการเกษตร นำไปจำหน่ายแก่ผบู้ รโิ ภค แผนปฏบิ ตั ิการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๙ 1.9 ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว 1. แหล่ง “ท่องโลกเกษตร” อาณาจักรออร์แกนิคแลนด์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรครบวงจร ที่เพียบพร้อมไปด้วยพืชผักออแกนิค ปศุสัตว์ไร้มลพิษ ร้านนี้อยู่ริมถนนจาก อ.กำแพงแสน ไป อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ก่อนถึง 3 แยกเลี้ยวไปพระแท่นดงรังวรวิหาร ร้านอยู่ขวามือ ด้านหน้า ร้านดูกว้าง มีที่จอดรถสะดวก เข้าภายในร้านมีร้านกาแฟอยู่ด้านขวาดูน่านั่ง ห้องอาหารอยู่ด้านซ้ายโปร่งดี กระจกรอบด้านปลูกต้นไมต้ ดิ กระจกดูเปน็ ธรรมชาติร่มรื่นดี มีที่นั่งหลายโตะ๊ ดา้ นหลงั ร้านเป็น ฟาร์ม แกะ และ สวนผัก เข้าไปเดนิ ชมได้ 2. วิสาหกิจชุมชน ศูนย์ส่งเสริมแพทย์แผนไทย วัดหนองไม้แก่น \"ผู้พันชะลอ ทองรื่น\"นายทหาร เกษียณราชการผู้ปลุกระดมแนวคิดเกี่ยวกับการอบไอสมุนไพรอีกทั้งยังมีนการนวดแผนโบราณและการแพทย์ แผนไทยในชมุ ชน วดั หนองไม้แกน่ ต.หนองลาน อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบรุ ี ท่ใี ห้ชาวบา้ นเรียนรูเ้ รอื่ งสมุนไพรท่ีใช้ ป้องกนั และรกั ษาโรคตา่ ง ประวตั ิความเปน็ มา ในปี พ.ศ. 2550 เดิมที่นี่เรียกว่าชมรมการแพทย์แผนไทยของตำบลหนองลาน เริ่มก่อตั้งเม่ือ 18 สิงหาคม พ.ศ.2550 รวมเปน็ เวลา 9 ปี มาแลว้ โดยท่ีครั้งแรกก็คือ ผูพ้ นั นานยกเทศมนตรี และเจ้าอาวาส ได้คุยกันว่าเราต้องการทีจ่ ะส่งเสริมให้ชาวบ้านมีสขุ ภาพดีการจัดตั้งก็ไดจ้ ัดตั้งในวัดโดยให้ ผู้พัน ชะลอ ทองรื่น เป็นผู้ดูแลเป็นประธานชมรมแล้วก็เริม่ ดำเนนิ การ เทศบาลก็ได้ให้งบประมาณไว้ 150,000 บาท เจ้าอาวาสก็ แผนปฏบิ ัตกิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๐ ไดส้ มทบมาอีก 150,000 บาท ก็ได้มาสร้างเตาอบเริ่มสร้างข้ึนในปี พ.ศ. 2550เจ้าอาวาสก็ได้เอาเงินมาเสริม มาเติมสง่ิ อำนวยความสะดวก ห้องนำ้ ก็ทำจนกระทั้งเสรจ็ ก็เรม่ิ ดำเนนิ การได้ วันท่ี 18 สิงหาคม ได้เปิดให้อบรม เลยเริ่มทำมาตั้งแต่นั้นเลยโดยที่สมาชิกก็คือชาวบ้าน พระ ในหมู่บ้านนี้แล้วก็คนข้างนอกที่รู้จักก็ได้เข้ามาเป็น สมาชิกก็เก็บคนละ 100 บาท และก็สามารถอบรมได้ทั้งปีเลยเม่ือก่อนน้ีเราอบรมวันธรรมดาด้วยแรกๆก็มีคน มาเยอะพอครั้งหลังๆเร่ิมมีคนมาน้อยเพราะว่าเขาอาจจะมีสุขภาพที่ดีแลว้ และอีกอย่างอาจจะไม่มีเวลามาก็เลย ปรับเป็นแค่วันเสาร์-อาทิตย์ ส่วนค่าบริการเมื่อก่อนก็เป็นสมาชิก 100 บาท เปิดวันไหนก็มาอบรมได้เลย ปี 2550 ได้มาทั้งเตาอบและก็ที่นวดแผนไทยและพวกซุ้มดอกเห็ดที่ไว้เป็นที่นั่งพักผ่อนระหว่างรอ พอมาปีท่ี สองต่อมาอีกเทศบาลก็ให้งบประมาณมาอีก 150,000 บาทให้มาปรับปรุงเสริมต่อห้องน้ำแล้วพอปี52 เทศบาลก็สนับสนุนให้มาอีกแต่ไม่ได้เป็นแสนแค่สองสามหมื่นเราก็นำมาปรับปรุงไปเรื่อย ๆ ทำห้องยา ห้อง อำนวยความสะดวก อปุ กรณป์ ระปา แล้วก็ได้นำมาปรบั ปรุงหอ้ งนวดแผนไทย มาเป็นหอ้ งล้างพิษขับนวิ่ อกี ห้อง หนึ่งห้องอยู่ติดกันเทศบาลให้มาอีก 30,000 บาท และผู้พันก็ได้ไปทอดผ้าป่าได้มาอีก 150,000 บาท ก็ได้ ทำห้องที่ติดกันเป็นห้องนวดแผนไทยปี 53 ได้ห้องขับนิ่วมาปี 54 เทศบาลให้มาอีกประมาณ 20,000 บาท นำมาปรับภมู ทิ ัศน์ ในปี พ.ศ. 2554 ทางอำเภอท่ามะกา ให้เป็นชมรมดีเด่นในปี พ.ศ. 2554 แล้วก็ยกฐานะจากชมรม การแพทย์แผนไทยมาเป็นศูนย์ส่งเสริมสุขภาพการแพทย์แผนไทยวัดหนองไม้แก่นเป็นชื่อเดิมใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2553 แลว้ พอปี 54 เป็นศูนยส์ ง่ เสริมสุขภาพการแพทย์แผนไทยจากนัน้ ได้เปลีย่ นเป็น วิสาหกกิจชุม ชมแลว้ กไ็ ดร้ บั รางวัลวสิ าหกจิ ชุมชนดีเดน่ แลว้ ก็ได้ส่งเขา้ ประกวดของจงั หวดั กาญจนบุรี ในปี พ.ศ. 2555 ในปีนี้ก็ปรับปรุงไปเรื่อย ๆ เพราะเทศบาลให้มาปีละ20,000บาทใหท้ ุกปีแล้วก็ได้ จัดอบรมชาวบา้ น อบรมผ้สู งู อายุเรอื่ งสมุนไพรแลว้ กม็ ีคณะศึกษามาดงู านเยอะ ก็มาเรมิ่ ตง้ั โรงเรียนผู้สูงอายุ ในปี พ.ศ.2557 มีคณะหลายๆคณะมาศึกษาดูงานเร่ือย ๆ จดั สมนุ ไพร4รสประจำธาตุ การนวดก็จะ มีการนวดผ่อนคลาย นวดฝ่าเท้า นวดจับเส้น นวดเหยียบฉ่าก็คือเหยียบเหล็กทีเ่ ผาไฟถ่านแดงแล้วก็มาเหยียบ น้ำมันแล้วก็มานวดคนข้าเรียกว่าเหยียบฉ่า และได้สอนการทำยาต้นตำหรับ ทาพระเส้น ตำหรับโอสถ นาราย ออกอากาศทางวทิ ยุ (อสมท) ในปี พ.ศ. 2558 ก็ได้มีการปรับร่องน้ำอบรมเรื่องที่เราของบประมาณเป็นเรื่องของการอบรมทั้งน้ัน เลย ส่วนที่เหลือจากการอบรมเราก็นำมาก่อสร้างเล็กๆน้อยๆถ้าไม่พอผู้พันก็ช่วยสมทบทุน เพราะเราทำไม่ได้ หวังผลกำไรทำเพื่อสงเคราะห์ ทำเพื่อช่วยชาวบ้าน หมดนวดนวดชั่วโมงหนึ่งก็ 100 บาท เราก็หัก 20 บาท เอาเข้าชมรมแล้วก็เอาเงินพวกนี้มาจ่ายค่าตอบแทนเจ้าหน้าที ถวายพระ ค่าไฟ ค่าแก๊ส ตอนหลังการอบ สมุนไพรไม่ได้ตั้งเป็นแบบสมาชิกแล้วเราตั้งตู้บริจาคให้ผู้ที่มาใสต่ ู้บริจาคไปตามศรัทธา บางคนก็ใส่บางคนก็ไม่ ใส่พอสิ้นเดือนก็เปิดตู้แล้วกนำมาจ่ายค่าต่างๆเราต้องเอื้อประโยชน์กันหมอช่วยเราเราช่วยหมอเพราะคนที่มา นวดเราใช้คำว่านวดประคบอบสมุนไพร นวดเสร็จก็มาประคบแล้วก็ไปอบสมุนไพรก็จะได้สุขภาพทั้งนวดและ อบเลยคนที่มาหยอดตู้ได้พอบ้างไม่พอบ้างถือว่าเป็นการสงเคราะห์และการทำบุญ และยังได้ออกอากาศทาง ช่อง 11 ได้มาถ่ายทำเก่ียวกับประวัติ ศนู ยส์ ง่ เสริมสุขภาพวกั หนองไมแ้ กน่ ชอื่ รายการ สูงวัยใจเกนิ ร้อย แผนปฏิบตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
1.10 แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน ทตี่ ั้ง ๑๑ ชื่อ หมู่ 8 บ้านหนองลาน ประเภท หมู่ 6 บ้านหนองลาน โรงเรยี นผู้สงู อายุ หมู่ 8 บ้านหนองลาน แหลง่ ศึกษาความรู้ กศน.ตำบลหนองลาน หมู่ 6 บา้ นหนองลาน แหล่งเรียนร้ดู ้านการศึกษา กศน. ศูนย์แพทยแ์ ผนไทย อดุ มฟาร์ม ผักสลัด หมู่ 8 บา้ นหนองลาน แหลง่ เรยี นรภู้ ูมปิ ัญญา ศูนยเ์ รยี นรู้ โคก หนอง นา โมเดล แหลง่ เรยี นร้เู รอ่ื งการปลกู ผักสลัด แหล่งเรียนร้ดู ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ภาพ โรงเรยี นผสู้ ูงอายุตำบลหนองลาน ภาพ กศน.ตำบลหนองลาน ภาพ ชมรมแพทยแ์ ผนไทย วัดหนองไม้แก่น ภาพ อุดมฟาร์ม ผักสลดั ภาพ ศูนย์เรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง โคก หนอง นา โมเดล แผนปฏบิ ัติการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๒ 1.11 ดา้ นภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ /ปราชญช์ าวบ้าน ชอื่ ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ความสามารถและประสบการณ์ ท่อี ยู่ พระครกู าญจนธรรมชยั ด้านปรชั ญา ศาสนา ประเพณี หมู่ที่ 6 ตำบลหนองลาน หมทู่ ี่ 4 ตำบลหนองลาน นางสาวอ้อย ภูร่ ะหงษ์ ด้านโภชนาการ หมทู่ ่ี 6 ตำบลหนองลาน หม่ทู ่ี 7 ตำบลหนองลาน นายดำรงค์ พุ่มหริ ญั ดา้ นแพทย์แผนไทย หมู่ที่ 7 ตำบลหนองลาน นายสมบรู ณ์ อำนวยผล ด้านการเกษตร นางสาวชญาภาพิมาณธรรมมา ดา้ นศิลปประดิษฐ์ นางสาวอรอนงค์ ครธุ ศริ ิ ด้านศลิ ปกรรม การเต้นบาสโลบ หมทู่ ี่ 8 ตำบลหนองลาน นายวนั ชัย ญาตคิ ำ เกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา หมู่ท่ี 8 ตำบลหนองลาน 1.12 ด้านภาคเี ครือข่าย ชอื่ ภาคีเครือข่าย ทีต่ งั้ /ท่ีอยู่ เทศบาลหนองลาน ม.1 ตำบลหนองลาน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล ม.1 ตำบลหนองลาน วดั หนองไม้แก่น ม.8 ตำบลหนองลาน วัดหนองลาน ม.1 ตำบลหนองลาน วดั จันทรล์ าดสุขสุวรรณ ม.4 ตำบลหนองลาน วดั ดาปานนมิ ติ ร ม.2 ตำบลหนองลาน โรงเรียนผู้สงู อายุ ม.8 ตำบลหนองลาน ผนู้ ำชมุ ชน ม.1-8 แหล่งเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง โคก หนอง นา เมเดล ม.8 ตำบลหนองลาน พฒั นาชุมชนอำเภอท่ามะกา อำเภอท่ามะกา โรงเรียนวัดหนองไม้แก่น ม.6 ตำบลหนองลาน แผนปฏบิ ัตกิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๓ บทที่ 2 นโยบายจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖6 2.1 นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หลกั การตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ในฐานะหนว่ ยงานเจ้าภาพขับเคล่ือนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพฒั นาการเรียนรู้ และแผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เรื่อง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 และพหปุ ญั ญาของมนุษย์ท่หี ลากหลายนอกจากน้ี ยังสนบั สนนุ การขับเคลอื่ นแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่าง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) โดยเฉพาะหมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตอบโจทย์การพัฒนาแห่ง อนาคตแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวัง ให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมีสมรรถนะที่สำคัญจำเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน ดังนั้น ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ความไว้วางใจให้กับสังคมและผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพ ในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนดหลักการสำคัญในการประกาศนโยบายและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ไว้ดงั น้ี 1. สร้างความเชื่อมั่น ไว้วางใจให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนและประชาชน โดยให้ทุก หน่วยงานนำรูปแบบการทำงานโดยบูรณาการการทำงานร่วมกัน และปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ความ รับผดิ ชอบ ความเป็นอนั หน่ึงอันเดยี วกนั 2. สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดำเนินการตามภารกิจด้วยความรับผิดชอบ ต่อตนเอง องค์กร ประชาชนและประเทศชาติ โดยให้ความสำคัญกับการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ผ่านกลไกการรับ ฟังความคิดเห็นมาประกอบการดำเนนิ งานทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ การยกระดับคุณภาพการศึกษา 3. ดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้ประกาศและแถลงนโยบายไว้แล้ว เมื่อวันที่ 25 มิถนุ ายน พ.ศ. 2565 เพอ่ื มุง่ เนน้ ผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงของภาคการศึกษาท่จี ะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ผู้เรียนและประชาชนอยา่ งมีนัยสำคญั นโยบายและจดุ เน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจัดการศกึ ษาเพื่อความปลอดภัย 1.1 เรง่ สรา้ งความปลอดภยั ในสถานศึกษาเพ่ือเพิม่ ความเชอื่ มน่ั ของสังคม และปอ้ งกนั จากภัย คุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอื่นๆ โดยมีการดำเนินการตามแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่างๆ อย่างเข้มข้น รวมทั้งดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการและแสวงหาสถานศึกษาท่ีดำเนนิ การได้ดีเย่ียม (Best Practice) เพอื่ ปรับปรุงพัฒนา และขยายผลตอ่ ไป 1.2 เร่งปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการอยู่ใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ เพือ่ สร้างโอกาสในการเรยี นรูแ้ ละสรา้ งภมู ิคุ้มกันควบคกู่ ับการใชส้ ื่อสังคมออนไลน์ใน แผนปฏิบตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๔ เชิงบวกและสร้างสรรค์ พร้อมทั้งหาแนวทางวิธีการปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา 1.3 เสรมิ สร้างการรบั รู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่ พึงประสงค์ดา้ นสิ่งแวดล้อม รวมท้ังการปรับตวั รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศท่จี ะเกดิ ข้ึนในอนาคต 1.4 เร่งพัฒนาบทบาทและภารกิจของหน่วยงานด้านความปลอดภัยที่มีอยู่ในทุกหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหด้ ำเนนิ การอย่างคลอ่ งตัวและมปี ระสทิ ธิภาพ 2. การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็ม รปู แบบ เพ่ือสร้างสมรรถนะทสี่ ำคญั จำเปน็ สำหรบั ศตวรรษท่ี 21 ใหก้ บั ผเู้ รียน 2.2 จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ค้นพบพรสวรรค์ ความสนใจ ความถนัดในอาชีพของตนเอง ด้วยการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในห้องเรียน สถานประกอบการ รวมทั้ง การเรยี นรู้ ผา่ นแพลตฟอร์มและหอ้ งดจิ ทิ ัลใหค้ ำปรึกษาแนะนำ 2.3 พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลฐานสมรรถนะ สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เพื่อสร้างความฉลาดรู้ด้านการอ่าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างตรรกะความคิด แบบเปน็ เหตเุ ป็นผลให้นักเรียนไทยสามารถแข่งขนั ได้กับนานาชาติ 2.4 พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) สำหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพ่ือ รองรับการเปล่ียนแปลงส่สู งั คมดิจิทัลในโลกยคุ ใหม่ 2.5 พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม ให้มีความทันสมัย น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสรมิ สรา้ งวถิ ีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง 2.6 จัดการเรียนรู้ตามความสนใจรายบุคคลของผู้เรียนผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มที่หลากหลาย และแพลตฟอร์มการเรียนรู้อัจฉริยะท่ีรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ส่ือการสอนคุณภาพสูง รวมทง้ั มกี ารประเมนิ และพัฒนาผูเ้ รยี น 2.7 ส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับ ผเู้ รียน โดยบรู ณาการการทำงานรว่ มกับหน่วยงานท่เี กีย่ วข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กองทนุ การออมแห่งชาติ (กอช.) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน สหกรณ์ ฯลฯ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ และการเผยแพร่สอ่ื แอนเิ มชันรอบรู้เรื่องเงนิ รวมท้ังส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการลงทนุ เชิงพาณิชย์เพ่ือให้เกิดผลตอบแทน ท่ีสงู ข้ึน 2.8 ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์และศูนย์การเรียนรู้ ให้มีรูปลักษณ์ที่ทันสมัย สวยงาม ร่มร่ืน จูงใจ ให้เข้าไปใช้บริการ โดยมีมุมค้นหาความรู้ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย มุมจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ของผู้เรียน หรือกลุ่มผู้เรียน และการร่วมกิจกรรมกับครอบครัว หรือจัดเป็นฐานการเรียนรู้ด้าน ต่างๆ ที่ผู้เรียนและประชาชนสามารถมาลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม และได้รับเอกสารรับรองการเข้าร่วม กจิ กรรม เพอ่ื นำไปใช้ประโยชนใ์ นสว่ นทเ่ี ก่ียวข้องหรือสะสมหนว่ ยการเรยี นรู้ (Credit Bank) ได้ รวมท้ังมี บรเิ วณพกั ผ่อน ที่มบี ริการลกั ษณะบ้านสวนกาแฟเพือ่ การเรียนรู้ เปน็ ตน้ แผนปฏบิ ัติการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๕ 2.9 ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มีการนำผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติไปใช้ใน การวางแผนการพฒั นาการจัดการเรียนการสอน 2.10 พฒั นาระบบการประเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษาทเี่ นน้ สมรรถนะและผลลัพธ์ท่ตี ัวผเู้ รียน 3. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษาทกุ ช่วงวัย 3.1 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลใน การส่งต่อไปยังสถานศกึ ษาในระดบั ท่สี ูงขน้ึ โดยเฉพาะระดับการศึกษาภาคบังคับ เพ่ือป้องกันเด็กตกหล่น และ เด็กออกกลางคัน 3.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไปทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษา เพื่อรับการพัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการ ร่วมงานกับทุกหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง 3.3 พัฒนาข้อมูลและทางเลือกที่หลากหลายให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่ม เปราะบาง รวมทั้งกลุ่ม NEETs ในการเข้าถงึ การศึกษา การเรียนรู้ และการฝกึ อาชีพ อยา่ งเทา่ เทยี ม 3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว (Home School) และ การเรียนร้ทู ่บี า้ นเปน็ หลกั (Home–based Learning) 4. การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะอาชีพและเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น แบบโมดูล (Modular System) มีการบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งใน ระบบ นอกระบบและระบบทวิภาคี รวมทง้ั การจดั การเรยี นรู้แบบต่อเนอ่ื ง (Block Course) เพ่ือ สะสมหนว่ ยการเรยี นรู้ (Credit Bank) รว่ มมอื กบั สถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาอย่างเข้มข้นเพ่ือ การมงี านทำ 4.2 ขบั เคล่อื นการผลติ และพัฒนากำลังคนตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และยกระดบั สมรรถนะ กำลังคนตามกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน และมาตรฐานสากล รวมทั้งขับเคลื่อนความเป็นเลิศทางการ อาชีวศึกษา (Excellent Center) โดยความร่วมมือกับภาคเอกชนและสถานประกอบการในการผลิตกำลังคน ท่ตี อบโจทยก์ ารพัฒนาประเทศ 4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชีพทีส่ อดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบ หลากหลายให้ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้สูงอายุ โดยมีการบูรณาการความร่วมมือระหว่าง หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง 4.4 ส่งเสริมการพัฒนาแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตาม สมรรถนะที่จำเป็นในการเข้าสู่อาชีพ และการนำผลการทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้าทำงาน ศึกษาต่อ ขอรับ ประกาศนียบัตรมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจทิ ัล (Digital Literacy) การขอรับวฒุ ิบตั รสมรรถนะภาษาอังกฤษ (English Competency) 4.5 จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start up) ภายใต้ศูนย์พัฒนาอาชีพและ การเป็นผู้ประกอบการ และพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพัฒนา แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๖ ผู้ประกอบการด้านอาชีพทั้งผู้เรียนอาชีวศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถาน ประกอบการ ทง้ั ภาครฐั และเอกชนทีส่ อดคล้องกบั การประกอบอาชีพในวิถชี ีวติ รูปแบบใหม่ 4.6 เพิ่มบทบาทการอาชีวศึกษาในการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการและกำลังแรงงานใน ภาคเกษตร โดยเฉพาะกลุม่ เกษตรกรอัจฉรยิ ะ (Smart Farmer) และกลุ่มยุวเกษตรกรอจั ฉริยะ (Young Smart Farmer) ทีส่ ามารถรองรับการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหม่ได้ 4.7 ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิตและพัฒนากำลังคนทุกช่วงวัยเพื่อการมีงานทำ โดยบูรณาการ ความรว่ มมอื ในการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องคก์ รทงั้ ภาครฐั เอกชน ชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น และสถาบันสังคมอน่ื 4.8 พัฒนาหลักสูตรอาชีพสำหรับกลุ่มเป้าหมายผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนและประชาชน ที่สอดคล้องมาตรฐานอาชีพ เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติ รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนรู้และมวลประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่การสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ 5. การส่งเสริมสนบั สนุนวิชาชีพครู บคุ ลากรทางการศึกษา และบุคลากรสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ 5.1 ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้ระบบการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบ ระดับสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน และระดบั อาชีวศึกษา 5.3 พฒั นาครใู ห้มคี วามพร้อมด้านวชิ าการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใชเ้ ทคโนโลยีและ นวัตกรรมผา่ นแพลตฟอร์มออนไลนต์ ่าง ๆ รวมทง้ั ให้เป็นผวู้ างแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และ การดำเนนิ ชีวติ ของผู้เรียนได้ตามความสนใจและความถนัดของแต่ละบคุ คล 5.4 พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ให้มี สมรรถนะทส่ี อดคล้องและเหมาะสมกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและการเปลย่ี นแปลงของโลกอนาคต 5.5 เรง่ รดั การดำเนนิ การแก้ไขปญั หาหนสี้ นิ ครูและบุคลากรทางการศึกษาทงั้ ระบบ ควบคู่กับ การให้ความร้ดู ้านการวางแผนและการสรา้ งวินยั ด้านการเงินและการออม 6. การพัฒนาระบบราชการ และการบรกิ ารภาครฐั ยุคดิจทิ ัล 6.1 ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ด้วยนวัตกรรม และการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาเป็นกลไกหลัก ในการดำเนินงาน (Digitalize Process) การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) การสง่ เสริมความรว่ มมอื บรู ณาการกับภาคส่วนตา่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอก 6.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถใช้งานเครือข่าย สื่อสารข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 สามารถ ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ในทุกเวลา ทกุ สถานท่ี ทุกอปุ กรณ์และทุกช่องทาง แผนปฏบิ ัติการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๗ 6.3 ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา โดยยึดหลัก ความจำเปน็ และใช้พน้ื ทเ่ี ป็นฐาน ทมี่ ุ่งเน้นการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นเปน็ สำคญั 6.4 นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในระบบการคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในตำแหน่งและสายงานตา่ ง ๆ 6.5 ส่งเสรมิ สนบั สนุนการดำเนนิ งานของส่วนราชการใหเ้ ป็นไปตามกลไกการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั 7. การขับเคลอื่ นกฎหมายการศกึ ษาและแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ เร่งรัดการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแห่งชาติเพื่อรองรับ พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาตคิ วบค่กู บั การสร้างการรบั รใู้ หก้ ับประชาชนไดร้ ับทราบอย่างทัว่ ถงึ แนวทางการขบั เคลอื่ นนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ 1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นำนโยบายและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้างต้น เป็นกรอบแนวทางในการจัดการศึกษา โดยดำเนินการจัดทำแผนและงบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ ทำหน้าที่ตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทำรายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทราบตามลำดบั 3. กรณีมีปัญหาในเชิงพื้นที่หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและดำเนินการ แก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อคณะกรรมการ ติดตามฯ ตามขอ้ 2 ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ตามลำดับ 4. สำหรบั ภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ีปฏิบตั ิในลักษณะงานในเชิงหน้าที่ (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งได้ดำเนินการอยู่ก่อนแล้ว หากมีความ สอดคล้องกบั หลักการนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งรัด กำกับ ติดตาม ตรวจสอบให้การ ดำเนนิ การเกดิ ผลสำเร็จ และมีประสทิ ธิภาพอย่างเป็นรูปธรรม แผนปฏบิ ตั กิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๘ 2.2 นโยบายจุดเน้นสำนักงาน กศน. สำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตาม แผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งใน เร่อื งหลกั ธรรมาภิบาล หลกั การกระจายอำนาจ การใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร การ ม่งุ เน้นผลสมั ฤทธ์ิ และปฏิบัตกิ ารด้านขอ้ มูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทำงานและการเรยี นรู้ ตลอดจน การใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาต่อเนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อนั จะนำไปสกู่ ารสร้างโอกาสและลดความ เหลื่อมล้ำทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสำหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และ สรา้ งความพงึ พอใจใหก้ ับผรู้ บั ริการ โดยได้กำหนดนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ดงั นี้ หลักการ กศน. เพอื่ ประชาชน “ก้าวใหม่ : กา้ วแหง่ คณุ ภาพ” จุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจดั การศกึ ษาเพ่ือความปลอดภยั 1.1 สร้างความปลอดภัยในหน่วยงาน/สถานศึกษา และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบต่างๆ ผ่านกิจกรรม “White Zone กศน. ปลอดภัย ไร้สารเสพติด”เน้นแนวทางการปฏิบัติภายใต้หลักการ 3 ป. ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม โดยวางแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยจากสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น โรคระบาด เหตุการณ์ความไม่สงบ เป็นต้น ให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่างๆ อย่างเข้มข้น รวมทั้งดำเนนิ การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการดำเนนิ การ เพื่อปรับปรงุ พัฒนา และขยายผล ต่อไป 1.2 ปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและสร้างสรรค์ พรอ้ มท้ังหาแนวทางวธิ ีการปกป้องคุ้มครองตอ่ สถานการณท์ ีเ่ กดิ ขึ้นกับผูเ้ รยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา 1.3 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชน และวางแผน เตรียม ความพร้อมในการป้องกัน รับมือ และเยียวยา เหตุการณ์ภัยพิบัติจากธรรมชาติ รวมทั้งการปรับตัวรองรับการ เปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต 2. การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อสรา้ งสมรรถนะท่ีสำคญั จำเปน็ สำหรับศตวรรษที่ 21 ให้กบั ผู้เรยี น 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุค ใหม่ 2.3 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคง การสรา้ งความเขา้ ใจท่ีถูกต้องในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยึดม่ัน แผนปฏิบัติการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๑๙ ในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและทอ้ งถิ่น เสริมสร้างวิถชี ีวิตของความเป็นพลเมือง และมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จำเป็นต่อการ ดำรงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสารระหว่างบุคคล การเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ของท้องถ่นิ 2.4 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสำนักงาน กศน. ที่หลากหลายทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตามกฎหมาย เข้าถึงการสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตอบสนองความสนใจรายบุคคล ของผเู้ รยี น 2.5 ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสร้างวินัย ทางการเงินให้กับบุคลากรและผู้เรียน กศน. โดยบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงการคลัง ธนาคาร สหกรณ์ ผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ โครงการ และกิจกรรมต่างๆ 2.6 ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพฯ ห้องสมุดประชาชน และ แหล่งเรียนรูอ้ ื่นๆ ของ กศน. ให้มีความทันสมัย สวยงาม สะอาด จูงใจผู้เข้ารบั บริการ มีฐานจัดการเรียนรู้ด้าน ต่าง ๆ อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอาชีพ มีมุมกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัว พื้นที่การ เรียนรู้ในรูปแบบ Public Learning Space/ Co - learning Space ที่ผู้รับบริการสามารถรับเอกสารรับรอง การเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) และ จดั ทำขอ้ มลู การกอ่ สร้างแหล่งเรยี นรู้ กศน. เพอื่ เปน็ ขอ้ มูลประกอบการจดั ทำคำของบประมาณในการปรับปรุง/ ซ่อมแซม 2.7 ส่งเสริมให้สถานศึกษานำผลการทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (N-net) ไปใช้วางแผนพัฒนา ประสทิ ธิภาพในการจัดการเรียนการสอน และยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาของผเู้ รยี น 2.8 เร่งดำเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วยกิต เพ่อื การสรา้ งโอกาสในการศึกษา 2.9 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพ่ือเปน็ เครือข่ายในการสง่ เสริม สนบั สนนุ การจดั การศึกษาตลอดชีวิตใน ชมุ ชน 2.10 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชน 2.11 ส่งเสริมการจัดกจิ กรรมการอ่านเพ่อื ป้องกนั โรคสมองเส่ือมและการลมื หนงั สือในผูส้ ูงอายุ 2.12 ส่งเสรมิ การนำระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาใช้เป็นแนวทางในการยกระดับคุณภาพ ใหก้ ับผเู้ รียน และผู้รับบรกิ ารของสำนกั งาน กศน. แผนปฏบิ ตั ิการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๐ 3. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกชว่ งวัย 3.1 พัฒนาข้อมูลระบบสารสนเทศของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรายบุคคล เพื่อใช้เป็น ฐานข้อมูลประกอบการส่งต่อผู้เรียน และการค้นหาเด็กตกหล่นและออกกลางคัน ผ่านโครงการ “พาน้อง กลับมาเรยี น” และ “กศน.ปักหมดุ ” 3.2 พัฒนาข้อมูล และวางแผนทางเลือกทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับผู้เรียน กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ และกล่มุ เปราะบาง ในการเข้าถึงการศึกษา การเรยี นรู้ และการฝึกอาชพี อย่างเทา่ เทียม 3.3 พัฒนาทักษะฝีมือ พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจกลุ่มผู้สูงอายุ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถดำเนินชีวิตได้เต็มตามศักยภาพ โดยเน้นการดำเนินกิจกรรมใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มและเทคโนโลยี 4. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั 4.1 พฒั นาหลักสตู รอาชีพท่ีเนน้ New skill Up - skill และ Re - skill ทีส่ อดคล้องกบั มาตรฐานอาชีพ บริบทพื้นท่ี และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างชอ่ งทางอาชีพในรปู แบบท่ีความหลากหลายของกลุ่มเปา้ หมาย เชน่ ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รบั คุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนรู้ และประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมี การศกึ ษาในระดับทีส่ ูงขน้ึ 4.2 ประสานการทำงานรว่ มกับศูนย์ให้คำปรึกษาการจัดต้ังธรุ กิจ (ศนู ย์ Start-up) ของอาชวี ศึกษา 4.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สนิ ค้า บรกิ ารจากโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ทเ่ี นน้ “ส่งเสริมความรู้ สร้าง อาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการ จำหนา่ ย 5. การพฒั นาบคุ ลากร 5.1 ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (Performance Appraisal : PA) โดยใช้ระบบการประเมนิ ตำแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ รวมทั้งให้คำปรึกษาเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชพี และการดำเนินชีวติ ของผู้เรียนได้ตามความสนใจและความถนัดของแต่ละบุคคล 5.3 พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องและเหมาะสม กับการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและโลกอนาคต 5.4 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทำงานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพในการ ทำงาน 5.5 เร่งรัดติดตามการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา และจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ เพ่ือช่วยเหลอื บคุ ลากรในสงั กัดสำนกั งาน กศน. สว่ นกลางและสว่ นภูมิภาค แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๑ 5.6 บูรณาการการทำงานรว่ มกันระหวา่ งหนว่ ยงาน/สถานศึกษาในสังกดั กศน. เพอื่ พฒั นาบุคลากรใน ด้านวิชาการ อาทิ องค์ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ การจัดทำหลกั สตู รท้องถ่นิ หรอื หลักสูตรสถานศึกษา 6. การพฒั นาระบบราชการ การบรหิ ารจัดการ และการบรกิ ารภาครฐั 6.1 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น ขอ้ มูลการรายงานผลการดำเนินงาน ขอ้ มลู เด็กตกหลน่ จากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน เด็กเร่ร่อน ผพู้ ิการ 6.2 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั และนวัตกรรมเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ รองรับการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม่ และนำไปปรับใช้ได้กับสถานการณ์ในภาวะปกติ และไม่ปกติ อาทิการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยให้พิจารณาภารกิจและ ลักษณะงาน รูปแบบ ขั้นตอนวิธีการทำงาน รูปแบบการให้บริการประชาชน และเทคโนโลยีที่ใช้สนับสนุนการ ปฏบิ ตั ิงาน ให้มีความเหมาะสม 6.3 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมินคุณภาพ และความโปร่งใสการดำเนนิ งานของภาครฐั (ITA) 6.4 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และข้อบังคับต่าง ๆ ให้มีความทันสมัย เอื้อต่อการบริหาร จดั การ และการจัดการเรยี นรู้ 6.5 เร่งจัดทำกฎหมายลำดับรองเพื่อรองรับพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. .... ควบคู่กับการ เตรียมความพรอ้ มในการสรา้ งการรบั ร้ใู หก้ บั ประชาชนไดร้ ับทราบอย่างทั่วถงึ การนำไปสกู่ ารปฏิบตั ิและการติดตามผล 1. สื่อสาร ถ่ายทอด และสร้างความเข้าใจในแนวนโยบาย จุดเน้น และทิศทางการดำเนินงานให้กับบุคลากร ทกุ ระดับทกุ ประเภทในหนว่ ยงาน/สถานศึกษาในสงั กดั 2. วางแผนการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติการ แผนพัฒนา และแผนการใช้จ่าย ของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา ให้มคี วามชัดเจน 3. กำกับ และติดตามการปฏบิ ัติงานในพ้ืนทอ่ี ยา่ งใกล้ชดิ โดยเฉพาะการสรา้ งความรว่ มมอื กับเครอื ขา่ ย ในระดับชุมชน 4. สรุปและรายงานผลการดำเนินงานเป็นระยะ และนำผลการดำเนนิ งานมาวเิ คราะหเ์ พื่อวางแผน ปรับปรงุ และแก้ไขแผนการดำเนนิ งาน เพื่อใหก้ ารขับเคลื่อนคณุ ภาพทางการศึกษาเกิดประสทิ ธภิ าพ แผนปฏบิ ตั ิการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๒ 2.3 เป้าประสงค์และตัวช้ีวดั ความสำเร็จ กศน.อำเภอท่ามะกา ได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานปี 2566 โดยใช้การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและ ศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายในหน่วยงาน รวมท้ัง โอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน อันเป็นปัจจัยต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของหน่วยงานซึ่งได้ผลการประเมินสถานการณ์วิเคราะห์ สภาพแวดล้อมและศกั ยภาพพรอ้ มกำหนดเปา้ หมายการดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน ดังน้ี 1. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มและศักยภาพ (SWOT Analysis) 2. ทิศทางการพัฒนาการศกึ ษาของ กศน.อำเภอทา่ มะกา การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) จุดแข็ง จุดอ่อน 1. มีโครงสร้างการบรหิ ารงานและการ 1. บุคลากร/ครูผสู้ อน จบการศกึ ษาไม่ตรงสาขาใน มอบหมายงานที่ ชัดเจน การ ปฏิบัติงาน ขาดความร/ู้ เชี่ยวชาญเฉพาะดา้ น 2. มกี ารส่งเสริมสนับสนุนและอบรมพัฒนา 2. บคุ ลากรขาดขวญั และกำลังใจในการปฏิบัตงิ าน บคุ ลากร อยา่ งต่อเน่ือง และ ขาดความมั่นคงในอาชพี 3. มีการนิเทศตดิ ตามและพัฒนางาน 4. งบประมาณในการจดั การศึกษานอกระบบและ 4. มีการสำรวจกลมุ่ เป้าหมายเพอื่ จัดการเรยี น การศึกษาตามตามอธั ยาศัยมีน้อย ไม่เพยี งพอต่อ การสอน ใหต้ รงกบั ความต้องการของ ความตอ้ งการ กลมุ่ เป้าหมาย 5. มีภาคีเครือขา่ ย ให้การสนับสนุนและอำนวย ความสะดวกการดำเนนิ การจัดกิจกรรมในพ้นื ท่ี 6. บุคลากรมคี วามรูค้ วามสามารถที่ หลากหลาย ยดึ ม่นั ในจรรยาบรรณวชิ าชีพครู มีความรบั ผดิ ชอบ เสยี สละ พรอ้ มปฏิบัตงิ าน ตามนโยบายครอบคลมุ ทุก พื้นท่ี และได้รับการ พัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง ภาคี เครอื ขา่ ยยอมรับใน ศกั ยภาพ 7. มอี าคารสถานทท่ี ่เี หมาะสม เปน็ สดั ส่วน 8. ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ ปรัชญาคิดเป็นในการปฏบิ ตั งิ าน 9. มีการบรหิ ารจัดการทเี่ ปน็ ระบบและ ตรวจสอบได้ เชน่ ระบบประกันคณุ ภาพ 10. มกี ารทำงานเปน็ ทีม 11.คณะกรรมการสถานศกึ ษามสี ว่ นรว่ มในการ จัดการศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๓ โอกาส อปุ สรรค 1. มีภาคเี ครอื ข่ายทีเ่ ข้มแขง็ และมีส่วนรว่ มใน 1. สภาวะเศรษฐกจิ ของผเู้ รียน/ผรู้ ับบริการไม่เอื้อ การจัดกิจกรรม ตอ่ การทำกิจกรรมกลุ่มเป้าหมายที่เรยี นกับ กศน. 2. มอี าสาสมคั รในชุมชนท่ชี ว่ ยเหลอื การ อพยพไปใช้แรงงานตา่ งถิ่น ดำเนนิ งาน กศน. 2. นโยบายส่วนกลางมีการเปลีย่ นแปลงบ่อยทำให้ 3. มีการผลติ สอ่ื นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีที่ การดำเนินงานไม่ต่อเน่ือง หลากหลายชว่ ยใน การจดั การเรียนการสอน 3. กฎ ระเบียบ วา่ ดว้ ยงาน กศน. ยังไม่เออื้ ต่อการ 4.มภี ูมปิ ญั ญาแหลง่ เรียนรู้ตามชุมชน จัด การศกึ ษาของ กศน. ส่งผลตอ่ การดำเนนิ งาน 5.มีชมรมผสู้ ูงอายุ ใน ด้านอ่ืนๆ 4.อตั ราคา่ ครองชีพสงู ขึน้ สง่ ผลตอ่ ค่าใช้จ่ายท่ี เพม่ิ ขึ้นทำให้ประชาชนมุ่งเนน้ การหารายได้ มากกว่าการเข้ารับการศึกษาและเขา้ รว่ มกจิ กรรม 5. ครภุ ัณฑ์ไมเ่ พียงพอ ขาดงบประมาณในการ จดั ซอื้ สื่อเทคโนโลยี 6.ความหลากหลายทางวฒั นธรรม ประชาชนใน ชุมชนมคี วามหลากหลายทางวฒั นธรรม จากการประเมินสถานการณ์ของกศน.อำเภอท่ามะกา โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) หนว่ ยงานควรเสริมสร้างการทำงานเปน็ ทีมเพ่ิมประสิทธิภาพของบุคลากรในการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและควรสร้างระบบการจัดการความรู้ขององค์กรการพัฒนางานให้มีคุณภาพ และ มีผลสัมฤทธิ์ที่สูง มีการพัฒนาคนโดยเฉพาะผู้ปฏิบัติงาน โดยมีกระบวนการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ ควบคู่ กับการให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม กศน.อำเภอท่ามะกา มีการกำหนดทิศทางในการ ดำเนนิ งานของหน่วยงาน ไดแ้ ก่ ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ดั ความสำเร็จ และกลยทุ ธ์ ดงั น้ี ปรชั ญา “เรียนรูต้ ลอดชีวติ คิดเปน็ เน้นคุณธรรม น้อมนำตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” อตั ลกั ษณ์สถานศึกษา ใฝ่เรยี นรู้ คู่คุณธรรม วสิ ัยทัศน์ “ มุ่งมั่นจัดกิจกรรมให้ประชาชนได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี คุณภาพ สามารถดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิด สังคมฐานความรู้คู่คุณธรรมและมีทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21” แผนปฏบิ ัตกิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๔ พันธกิจ 1.จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 เพื่อยกระดับการศึกษาและ พัฒนาสมรรถนะ ทกั ษะการเรียนรขู้ องประชาชนกลุม่ เป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย 2. จัดทำ และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ ส่อื นวัตกรรม การวิจัย การวดั และประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกบั บริบทในพ้ืนที่ 3. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา และนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ได้อย่างเหมาะสม และมปี ระสิทธภิ าพ 4. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความรว่ มมือกับภาคเี ครือขา่ ยเพ่ือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 5. พฒั นาครู และบคุ ลากรให้มีประสทิ ธิภาพอย่างต่อเน่ือง 6.สง่ เสริม สนบั สนนุ พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ และภูมิปญั ญาท้องถิ่น 7. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหส้ ามารถดำเนินการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัยได้อย่างมีประสิทธภิ าพ เปา้ ประสงคแ์ ละตัวช้ีวดั ความสำเร็จ เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ 1. ประชาชน/ผรู้ บั บรกิ ารไดร้ ับบริการการศึกษา 1. ร้อยละ80 ของผูเ้ รยี น/ผ้รู ับบริการ การศึกษานอกระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มีความรู้ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ผา่ นเกณฑ์การประเมินของ และมที ักษะการดำเนินชีวติ บนพน้ื ฐานตามแนวคิด หลักสตู ร/กจิ กรรมการเรยี นรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทกั ษะ 2. ร้อยละ 80 ของผเู้ รียน/ผ้รู ับบรกิ ารมผี ลสัมฤทธิ์ตาม ทจี่ ำเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 จุดมงุ่ หมายการเรียนร้ขู องแต่ละหลกั สตู รหรอื กจิ กรรม 2. ประชาชน/ผรู้ ับบริการในพนื้ ท่ีไดร้ ับโอกาส การเรียนรู้ ทางการศกึ ษาได้อย่างทัว่ ถึงต่อเนื่องสอดคล้องกับ 3. ร้อยละ 80 ของผเู้ รยี น/ผู้รบั บรกิ ารสามารถนำความรทู้ ่ี ความตอ้ งการ ได้รับไปปรบั ใช้ในการดำเนินชีวิตตามแนวคดิ หลกั ปรัชญาของ 3. ประชาชนได้รับการสง่ เสรมิ การศึกษาด้านอาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง และมที ักษะที่จำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 เพอื่ การมงี านทำ สามารถเพิ่มพนู รายไดส้ อดคล้อง 4. ร้อยละ 80 ของผู้เรยี น/ผรู้ บั บริการมคี วามพงึ พอใจอยู่ใน กบั ตนเอง ชมุ ชน และสังคม ระดับดขี ึ้นไป 4. สถานศกึ ษาพฒั นาหลกั สตู ร รปู แบบการจดั 5. รอ้ ยละ 80 ของผู้เรียน/ผู้รับบรกิ าร มีความพงึ พอใจตอ่ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือและนวตั กรรม การวัดและ หลักสูตร สอื่ นวตั กรรม อยู่ในระดับดีข้นึ ไป ประเมนิ ผล ในทุกรูปแบบสอดคล้องกับบรบิ ทใน 6. ร้อยละ 80 ของครู และบุคลากรกศน.อำเภอทา่ มะกา ปัจจบุ นั มีการนำเทคโนโลย/ี เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาประยุกต์ใช้ใน 5. ครู และบุคลากร มีการนำเทคโนโลยี/เทคโนโลยี การปฏิบตั ิงานการศกึ ษานอกระบบและการจัดการศกึ ษา ดิจิทลั มาประยุกต์ใชใ้ นการจดั การศึกษานอกระบบ ตามอธั ยาศัย และการศึกษาตามอธั ยาศยั ได้อยา่ งเหมาะสมและมี ประสทิ ธิภาพ 6. ภาคีเครอื ขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แผนปฏิบตั ิการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
เปา้ ประสงค์ ๒๕ 7. พัฒนาครูและบคุ ลากรกศน.อำเภอท่ามะกา ตัวชว้ี ัดความสำเร็จ และระบบการบรหิ ารจัดการอย่างตอ่ เน่ือง 7. รอ้ ยละ 80 ของครู กศน.ตำบล มีภาคเี ครือขา่ ยเขา้ มามี สว่ นร่วมจดั ส่งเสริมและสนับสนุนการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั 8. รอ้ ยละ 80 ของครู กศน.ตำบลมีแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีพร้อมใน การจดั และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 9. รอ้ ยละ 80 ของครแู ละบุคลากร กศน. อำเภอท่ามะกา ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถเพ่ือเพ่มิ ประสิทธภิ าพ ในการปฏิบตั ิงาน กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น/ผ้รู ับบรกิ าร กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพให้ประชาชนในการสรา้ งอาชีพสรา้ งรายได้ กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ สือ่ นวัตกรรม ท่ีสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้เรียน/ผ้รู ับบริการ กลยุทธ์ที่ 4 นำส่ือ เทคโนโลยี และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย กลยทุ ธท์ ี่ 5 ประสานภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัด สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลยุทธ์ที่ 6 ขยายและพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาระบบบริหารจัดการและบุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะในการจัดกระบวนการ จดั การเรยี นรู้ และทักษะในการปฏิบตั งิ าน กลยุทธ์ที่ 8 พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานสถานศกึ ษา แผนปฏบิ ัตกิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๖ บทท่ี 3 วเิ คราะห์ข้อมลู (SWOT) ๓.๑ วิเคราะห์ข้อมูลสภาพแวดลอ้ มระดบั ตำบล (SWOT Analysis) ผลการวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในภายนอก ของ กศน.ตำบลหนองลาน (SWOT Analysis) จากสภาพการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ผ่านมาของ กศน.ตำบล หนองลาน สามารถวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในภายนอกของ กศน.ตำบลหนองลาน SWOT Analysis ได้ดงั น้ี จุดแข็ง ( Strength ) จดุ อ่อน ( Weakness ) 1.มีนโยบายที่ไม่ต่อเนื่องเปลี่ยนแปลงบ่อยทำให้ไม่มุ่ง 1.กศน. ตำบลมีโครงสร้างบริหารงานท่ชี ดั เจน แก้ปญั หาทแี่ ทจ้ รงิ 2.มรี ะบบการวางแผนและนโยบายท่ชี ัดเจนเป็นระบบ 2.บุคลากรมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยทำให้ขาดความ ขน้ั ตอน ตอ่ เนือ่ งในการทำงาน 3.บคุ ลากรมีสว่ นรว่ มในการกำหนดโครงสร้างและนโยบาย 3.บุคลากรมภี าระงานหลายด้าน 4.กศน.ตำบลมีสถานที่ ๆ เอื้อตอ่ การจดั กจิ กรรมการศึกษา 4.พื้นที่กว้าง แต่แบ่งห้องภายในอาคารคับแคบ 5.กศน. ตำบลสามารถให้บรกิ ารการศึกษาได้ทวั่ ถึง และจัด ไม่เหมาะแก่การจดั กจิ กรรมขนาดใหญ่ กิจกรรมการศกึ ษาไดท้ ุกระดับการศึกษาของการศึกษาภาค 5.พื้นทก่ี ว้าง ครูคนเดียวดแู ลความสะอาดไมท่ ั่วถึง บังคับชุมชนให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัดกจิ กรรม 6.ขาดบุคลากรที่มคี วามรคู้ วามสามารถด้านเทคโนโลยี ของ กศน.ตำบลหนองลาน 7.ไม่มคี อมพิวเตอร์ใหบ้ ริการแก่นักศึกษาและประชาชน 6.กศน.ตำบล มวี สั ดุ อปุ กรณ์ เพยี งพอต่อการจดั 8.ไมไ่ ดจ้ ัดเวทีประชาคมในรูปแบบทีเ่ ป็นของ กศน.เอง การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 9.งบประมาณจัดสรรมาช้า เกิดปัญหาเรื่องระยะเวลา 7.อาคารเป็นเอกเทศ แบ่งเป็นสัดส่วน ในการจดั กิจกรรม 8.มีพ้ืนทสี่ ำหรับทำเป็นศูนยเ์ ศรษฐกิจพอเพียง 9.มีอนิ เทอรเ์ น็ตให้บรกิ าร อปุ สรรค ( Treat ) 10.มเี ป้าหมายในการปฏิบัติงานทช่ี ดั เจน 1.ประชาชนยังไม่ให้ความสนใจต่อแหล่งการเรียนรู้ใน 11.มีระบบการจดั เก็บเอกสารทเ่ี ป็นระเบียบ ชมุ ชนเทา่ ทคี่ วร 2.มีโรงงานอยใู่ นพ้ืนท่ี ส่งผลตอ่ การมาเรยี นและมาสอบ โอกาส ( Opportunity ) ของนกั ศกึ ษา และการจดั การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 3.การให้ความสำคญั ในการเรยี นของคนในชุมชนไม่มาก 1.อยใู่ นเขตชมุ ชน สะดวกในการเดนิ ทาง พอ 2.มเี ครือขา่ ยเปน็ เทศบาลใหค้ วามรว่ มมอื กับงาน กศน. ตำบล 3.ในชุมชนมีแหล่งเรยี นรูห้ ลากหลาย 4.ผ้นู ำชมุ ชนใหค้ วามร่วมมอื กับงาน กศน.ตำบล 5.มี พ.ร.บ. บญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และ พ.ร.บ.การศึกษานอกระบบ พ.ศ.2551 เป็น ขอ้ กำหนดในการจดั การศึกษา แผนปฏบิ ตั ิการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๗ 3.2 สรุปสภาพปญั หาความตอ้ งการ สาเหตุ และแนวทางแก้ไข/พฒั นาระดับตำบล สภาพปัญหา/ความต้องการ สาเหตุ แนวทางแก้ไข/พัฒนา 1.ในพน้ื ทีต่ ำบลหนองลาน ขอ้ อ้างในด้านเวลา ความพรอ้ ม 1.1 สำรวจและตดิ ตามประชากรวยั ยังมีประชากรวัยเรยี นทีพ่ ลาด การประกอบอาชพี เรียนตามโครงการสง่ เสริมการจดั โอกาสทางการศึกษาอยู่ การศึกษานอกระบบ ระดับ การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 2. ปัญหาดา้ นการประกอบอาชพี ค่าครองชีพสูง / รายได้ต่ำ / 1.2 ประสานความรว่ มมอื กับผนู้ ำ ของประชาชน ซง่ึ สว่ นใหญ่ รายได้ไมพ่ อกับค่าใช้จาย ชุมชนในการประชาสัมพนั ธก์ ารรับ ประกอบอาชพี โรงงาน สมคั รนกั ศกึ ษา อตุ สาหกรรม/เกษตรกร/ค้าขาย 2.1 จดั โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี 3. จำนวนประชากรกลมุ่ ผสู้ ูงอายุ เป็นไปตามชว่ งวยั ชุมชน หลักสูตรพฒั นาอาชพี ระยะ ในพ้ืนที่ตำบลหนองลานเพิ่มสูงขน้ึ สั้น (กลมุ่ สนใจ) ไมเ่ กิน 30 ชว่ั โมง วชิ า ผลติ ภัณฑจ์ ากหวายเทยี ม 4. ประชาชนในพนื้ ท่ตี ำบล ขาดการสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนใน (ขันโตก) 2.2 จัดโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี หนองลาน กับการนอ้ มนำศาสตร์ พื้นทต่ี ำบลหนองลาน นอ้ มนำ ชมุ ชน หลกั สตู รพฒั นาอาชพี ระยะ สั้น (กลุ่มสนใจ) ไมเ่ กนิ 30 ชว่ั โมง วชิ า ผลติ ภณั ฑ์จากหวายเทียม (ขนั โตก) 2.3 จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน หลักสตู รพฒั นาอาชพี ระยะ ส้ัน (กลุ่มสนใจ) ไม่เกิน 30 ชว่ั โมง วชิ า ผลติ ภณั ฑจ์ ากหวายเทียม (แก้วเยติ) 2.4 จดั โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพ ชมุ ชน หลกั สตู รพฒั นาอาชีพระยะ ส้นั (กลมุ่ สนใจ) ไม่เกิน 30 ชวั่ โมง วชิ า การทำขนมไทย 2.5 จดั โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพ ชุมชน หลักสตู รชั้นเรยี นวิชาชพี (31 ชั่วโมงขึน้ ไป) วชิ า ผลติ ภณั ฑ์ จากหวายเทยี ม(กระเปา๋ ) 3.1 จัดกิจกรรมการศกึ ษาตาม อัธยาศยั กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น สำหรับผ้สู งู อายุ และส่งเสริมอาชพี 4.1 จัดกิจกรรมตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจ โครงการเรยี นรู้ ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง โคก แผนปฏบิ ัตกิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๘ สภาพปญั หา/ความต้องการ สาเหตุ แนวทางแกไ้ ข/พัฒนา พระราชามาเปน็ แนวทางในการ ดำเนินชวี ติ ศาสตรพ์ ระราชามาเป็นแนวทางใน หนอง นา โมเดล ตามหลัก 5. การปลกู ฝงั ใหป้ ระชาชนใน การดำเนินชวี ติ เศรษฐกิจพอเพยี ง พน้ื ท่ีตำบลหนองลาน มนี ิสยั รกั การอา่ น 4.2 จดั กิจกรรมพัฒนาสังคมและ 6. การดูแลสขุ ภาพของคนใน ชมุ ชน โครงการพฒั นาสงั คมและ ชุมชน 7. การสรา้ งแหลง่ เรยี นรู้ทีเ่ ป็น ชุมชนเพอ่ื การบรหิ ารจดั การขยะ รปู ธรรมในชมุ ชน และส่ิงแวดลอ้ มในชุมชน เทคโนโลยสี มัยใหม่เขา้ มามบี ทบาท 5.1 จัดโครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ มากขึ้น ในระดับตำบล (กศน.ตำบลหนอง ลาน) หนังสอื พิมพ์ กศน.ตำบล 5.2 จดั โครงการสง่ เสริมการอา่ น/ อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอา่ น 5.3 โครงการสง่ เสริมการอ่าน/บ้าน หนงั สอื ชมุ ชน 5.4 จดั โครงการหอ้ งสมดุ ชาวตลาด ขาดความรูค้ วามเข้าใจทถี่ กู ตอ้ ง 6.1 จัดกิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ิต เกยี่ วกบั การดูแลสขุ ภาพอนามยั โครงการส่งเสรมิ สุขภาพอนามยั ในชุมชน ขาดการส่งเสรมิ สนบั สนนุ ในการ 7.1 โครงการขบั เคลื่อนชุมชน สรา้ งแหล่งเรียนรทู้ เี่ ปน็ รูปธรรมใน ต้นแบบศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญา ชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี ใหมป่ ระจำตำบลหนองลาน แผนปฏบิ ัตกิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๒๙ บทท่ี 4 รายละเอยี ดแผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตำบลหนองลาน 4.1 ตารางบัญชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ลำดบั ท่ี ชื่อโครงการ งบประมาณ 1. การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 13,281 9,097 2. การศึกษาศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน (กลมุ่ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) 690 2,000 3. การศกึ ษาศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน(อาชพี ระยะสัน้ ๓๑ ชม.ขนึ้ ไป) 1,200 1,400 4. การศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวิต - 5. การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน - - 6. การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 7. การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และ สมองของผูส้ ูงอายุ 8. ส่งเสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศยั รูปแบบบา้ นหนงั สอื ชุมชน 9. กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นสู่ชุมชน หอ้ งสมดุ ชาวตลาด 10. กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน ดว้ ยนวตั กรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลน์ รวม 26,468 รวม 10 โครงการ งบประมาณทัง้ สนิ้ 14,265 บาท งบดำเนินงาน 3,890 บาท งบรายจ่ายอืน่ 23,778 บาท งบอดุ หนนุ บาท - หมายเหตุ ตารางบัญชีใช้ตารางตามแบบ Microsoft Excel แผนปฏบิ ตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๐ 4.2 โครงการตามแผนการจดั สรรงบประมาณ 1. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 1. ช่อื โครงการ : โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตรท์ ่ี 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษานำหลกั สตู รฐานสมรรถนะไปสกู่ ารปฏบิ ัตอิ ยา่ งเต็มรูปแบบ เพ่ือสรา้ งสมรรถนะที่สำคัญจำเปน็ สำหรบั ศตวรรษที่ 21 ให้กบั ผูเ้ รียน 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุค ใหม่ 2.3 ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาเพือ่ เสริมสร้างความมนั่ คง การสร้างความเข้าใจท่ถี กู ต้องในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรยี นรู้ทปี่ ลูกฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม สรา้ งวนิ ัย จิตสาธารณะ อดุ มการณค์ วามยึดมั่นใน สถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง และมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จำเป็นต่อการ ดำรงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การส่ื อสารระหว่างบุคคล การเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของ ท้องถ่ิน 2.4 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถานศึกษาและ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสำนักงาน กศน. ที่ หลากหลายทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตามกฎหมาย เข้าถึงการสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตอบสนองความสนใจรายบุคคล ของผูเ้ รียน 2.7 ส่งเสริมให้สถานศึกษานำผลการทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (N-net) ไปใช้วางแผนพัฒนา ประสิทธภิ าพในการจัดการเรยี นการสอน และยกระดับคุณภาพการศึกษาของผเู้ รยี น 2.8 เร่งดำเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วยกิตเพ่ือ การสรา้ งโอกาสในการศกึ ษา 2.10 สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ น เพื่อสร้างความพร้อมในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ สำหรับประชาชน 3. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552 และทแี่ ก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 มาตรา 27 ถึง มาตรา 30 สรุปได้ว่าให้สถานศึกษามีหน้าที่จัดทำสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรในส่วนท่ี เก่ยี วกับสภาพปญั หาในชุมชนและสังคม ภูมิปญั ญาท้องถ่ินและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่อื มงุ่ พัฒนาคนให้มี ความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงามและความรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งนี้ใ ห้ สถานศึกษาร่วมกับองคก์ รที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสนับสนุนชมุ ชนให้มเี ลอื กสรรภมู ปิ ัญญา วทิ ยากร วธิ กี ารสนบั สนุน ให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การพัฒนา ตลอดจนให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มี ประสิทธภิ าพ แผนปฏบิ ัติการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๑ นอกจากนั้น เมื่อพิจารณาผลการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.และข้อเสนอแนะจากการ ประเมินตนเองของสถานศึกษา การประเมินภายในจากต้นสังกัด ซึ่งได้มีข้อเสนอแนะในการพัฒนาไว้หลาย ประการ ดังน้ีสถานศึกษาควรนำผลการประเมินหลักสูตรไปปรบั ปรงุ หลักสตู รใหเ้ หมาะสมกับบริบทของผู้เรยี น และท้องถิ่น และนำผลการประเมินการให้บริการแก่ประชาชน มาปรับปรุงพัฒนางาน และจดบันทึกให้ชัดเจน จัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิถชี วี ิตและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมการจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่สอดคล้อง กับบริบทของสังคม ทันสมัย และสนองตอบความต้องการของสังคม เศรษฐกิจ ฯลฯ ในยุคปัจจุบัน การจัด กิจกรรมควรเป็นการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ครูควรบันทึกหลังสอนเพื่อนำผลมาทำวิจัยเพื่อ พัฒนาผู้เรียน และแก้ปัญหาการขาดเรียน การพบกลุ่มและการขาดสอบ ซึ่งเป็นปัญหาที่ผู้เรียนไม่สำเร็จตาม เกณฑ์ การประเมินผลโครงการควรประเมินความพึงพอใจทุกโครงการ เพื่อนำผลมาปรับปรุงพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียนและท้องถิ่น สถานศึกษาควร นำผลการประเมินหลักสูตรไปปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียนและท้องถิ่น และนำผลการ ประเมินการให้บริการแก่ประชาชน มาปรับปรุงพัฒนางาน และจดบันทึกให้ชัดเจน ประกอบหลักสูตรที่เอ้ือ ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูผู้สอนโดยการมีส่วนร่วมของทั้งภาครัฐและ เอกชน ส่งเสริมการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตที่หลากหลายสอดคล้อง กบั สภาพ และความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายและชมุ ชน กศน.ตำบลหนองลาน จงึ ได้จดั ทำโครงการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบขัน้ พ้ืนฐาน เพ่ือส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพการจดั และให้บริการทางการศึกษา ในด้านการการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาคุณภาพการ จัดการเรียนรู้ คุณภาพสื่อการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรและมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อจัดการศึกษาให้กับประชาชนที่ยังไม่จบการศึกษาตามการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน 4.2 เพ่ือยกระดับการศึกษาของประชาชนใหส้ ำเรจ็ การศึกษาตามการศึกษาภาคบงั คับและการศึกษาข้ัน พื้นฐาน 5. เป้าหมาย 5.1 เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ นกั ศกึ ษาระดับประถมศึกษา จำนวน 1 คน นักศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 17 คน นักศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 25 คน รวม จำนวน 43 คน 5.2 เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 จดั และใหบ้ ริการทางการศกึ ษาตรงตามความตอ้ งการของผ้เู รียน 5.2.2 ผเู้ รียนจบการศกึ ษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 แผนปฏบิ ัติการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๒ 6. วิธดี ำเนินการ กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ 1. ขน้ั วางแผน (Plan) 1. เพอ่ื เตรยี มความ - ครู กศน.ตำบล 1.1 วางแผน พร้อมในการรบั สมัคร - ประชาชนใน 1 คน ต.หนองลาน 1-30 - นกั ศึกษา พ้ืนท่ีตำบล ปฏบิ ตั ิงาน 2. เพื่อประชาสมั พันธ์ หนองลาน 43 คน อ.ท่ามะกา ตุลาคม 1.2 ประชา การรบั สมคั รนกั ศกึ ษา จ.กาญจนบุรี 2565 สมั พันธ์รับสมคั ร นักศกึ ษา 2. ขั้นดำเนนิ งาน (Do) 1. เพื่อรับสมคั ร - ครู กศน.ตำบล 1 คน ต.หนองลาน 1-30 - 2.1 ลงพน้ื ท่ีรบั สมัคร นักศกึ ษาการศกึ ษาขัน้ - ประชาชนใน 43 คน อ.ทา่ มะกา ตุลาคม - นกั ศกึ ษา พืน้ ฐานนอกระบบ พืน้ ทต่ี ำบล - ประจำปกี ารศึกษา หนองลาน จ.กาญจนบรุ ี 2565 2/2565 1 คน กศน.ตำบล 1-30 3. ข้ันตรวจสอบ 1. เพ่อื ตรวจสอบ - ครู กศน.ตำบล หนองลาน ตุลาคม หมทู่ ี่ 6 2565 (Check) หลกั ฐานการสมัคร ต.หนองลาน อ.ท่ามะกา 3.1 รายงานยอด เรียน จ.กาญจนบรุ ี นกั ศกึ ษา/ใบสมัคร กบั 1 คน กศน.ตำบล 1-30 หนองลาน ตลุ าคม ฝา่ ยทะเบียน หมู่ท่ี 6 2565 ต.หนองลาน 4. ขน้ั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข 1.เพอื่ สง่ ฝา่ ยทะเบยี น - ครู กศน.ตำบล อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบุรี (Action) นำข้อมูลนักศึกษาเขา้ สู่ 4.1 ตดิ ตามเอกสาร ระบบต่อไป นกั ศึกษาท่ียงั สง่ ไม่ครบ 7. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2566 ของสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี แผนงบประมาณ ขยาย โอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบอดุ หนนุ แผนปฏบิ ตั กิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๓ 8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลกั รวม แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ งบประมาณ 1. ประชาสัมพนั ธร์ ับสมคั ร ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 นักศึกษา (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.65) (ม.ค.– ม.ี ค. 66) (เม.ย.–มิ.ย. 66) (ก.ค.–ก.ย. 66) 2. จดั กิจกรรมการศึกษาขนั้ พื้นฐานนอกระบบ - / / / / / / รวม -- - - - 9. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ 9.1 นางสาวหนึง่ ฤทัย สินธพ ครู กศน.ตำบลหนองลาน 10. เครือขา่ ย 10.1 ผู้นำท้องถิ่น 10.2 องคก์ ารบริหารส่วนตำบล/เทศบาลตำบล 10.3 ผนู้ ำชมุ ชน 10.4 วัด 10.5 โรงเรียน 11. โครงการทเ่ี กย่ี วข้อง 11.1 โครงการส่งเสรมิ การรหู้ นงั สอื 11.2 โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชพี 11.3 โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทักษะชีวิต 11.4 โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน 12. ผลลัพธ์ 12.1 ผู้เรยี นสามารถศึกษาตอ่ ในระดบั สงู ขึ้น มีความภาคภูมใิ จและเชอื่ มน่ั ใจตนเอง 12.2 ผเู้ รยี นนำความรู้ทไ่ี ด้รบั ปรบั ปรงุ คุณภาพชีวติ และยกระดับความรู้ของตนเองให้สูงข้ึน 12.3 ผู้เรยี นไดร้ ับการยอมรบั ของบุคคลในครอบครัวและสงั คม 13. ตัวชวี้ ดั ผลสำเรจ็ โครงการ 13.1 ตวั ชวี้ ดั ผลผลิต (Outputs) นกั ศกึ ษาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน จบการศกึ ษา รอ้ ยละ 75 โดยประมาณ 13.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) นักศึกษาทจี่ บการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นำความรู้ที่ ได้รบั ไปพัฒนางานคิดเปน็ รอ้ ยละ 40 และนำไปศึกษาตอ่ ระดับสูงขน้ึ คิดเป็นร้อยละ 60 14. การตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการ 14.1 กรต./โครงงาน/แบบทดสอบ 14.2 กิจกรรม กพช. 14.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษา แผนปฏบิ ัตกิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๔ 2) โครงการจัดการศึกษาศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน (กล่มุ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) 1. ชื่อโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชา ผลิตภัณฑ์ จากหวายเทียม (ขันโตก) จำนวน 15 ชั่วโมง 2. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ ชว่ งวัยแรงงาน ขอ้ ที่1 จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทำท่สี อดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด ใหป้ ระชาชนสามารถนำไปประกอบอาชีพไดจ้ ริง 2.2 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงานสํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อท่ี 2.2 พฒั นาหลกั สูตรอาชพี ระยะสั้นที่ เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับบริบท พื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology และข้อท่ี 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างมลู คา่ เพิม่ พฒั นาสู่วิสาหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพนั ธ์และชอ่ งทางการจำหนา่ ย 3. หลกั การและเหตุผล การจัดการศึกษาอาชีพ เป็นกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นสนับสนุนให้ ประชาชนได้ประกอบอาชพี มีงานทำ ไมว่ ่าจะเป็นการประกอบอาชีพอสิ ระ หรอื การพัฒนาฝมี อื แรงงานเพื่อ เข้าสู่ตลาดแรงงาน หรือเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบ อาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจชุมชน โดยเน้น การบูรณาการให้ สอดคล้อง กับศักยภาพด้านตา่ ง ๆ โดยมุ่งเน้นพฒั นาคนไทยให้ได้รับการศกึ ษาแบบพฒั นาอาชพี และการมีงาน ทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคงจากการสำรวจความต้องการด้านอาชีพ และความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และความพร้อมของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชนให้ความรู้ ความสามารถในการพฒั นาชวี ติ ความเป็นอยู่ของตนเองและครอบครวั ให้ดีขนึ้ กศน.ตำบลหนองลาน ในฐานะเป็นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบ การจัดการศึกษานอกโรงเรียน ให้กับประชาชนในตำบล ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การจัดกลุ่มการพัฒนาอาชีพ การจัดวิชาชีพหลักสูตรต่าง ๆ ให้ตอบสนองนโยบายสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน และให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ตำบลหนองลา จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบ พัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชา ผลิตภัณฑ์จากหวายเทียม (ขันโตก) จำนวน 15 ชั่วโมง ขึ้นเพื่อให้ความรู้และส่งเสริมให้ประชาชน มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตาม ศกั ยภาพ 4. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 4.1 เพอื่ ให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรมมคี วามรู้และความเขา้ ใจในการทำผลิตภณั ฑ์จากหวายเทยี ม (ขนั โตก) 4.2 เพ่อื ให้ผ้เู ขา้ รับการอบรมนำความรูไ้ ปใชใ้ นการทำผลติ ภัณฑจ์ ากหวายเทยี ม (ขนั โตก) และ สามารถสร้างอาชพี ได้ 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ ประชาชนท่วั ไปในตำบลหนองลาน จำนวน 6 คน แผนปฏิบตั กิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๕ 5.2 เชงิ คุณภาพ 5.2.1 ผู้รับการฝึกอาชพี มคี วามรู้และความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การทำผลติ ภัณฑจ์ ากหวายเทยี ม (ขันโตก) 5.2.2 ผรู้ บั การฝกึ อาชีพสามารถสรา้ งเปน็ อาชีพเสรมิ /อาชพี หลกั สร้างรายไดใ้ ห้กับครวั เรือนได้ 6. วธิ ดี ำเนินงาน กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พื้นท่ีดำเนนิ การ ระยะเวลา งบ ประมาณ 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.เพอ่ื เตรียมความพร้อม - ผอ.กศน. 28 คน กศน.อำเภอ พฤศจิกายน 1.1 วางแผนปฏิบัตงิ าน ในการจัดทำโครงการ - ครู กศน. ท่ามะกา 2565 - 1.2 แตง่ ตง้ั คณะทำงาน 2.เพอ่ื จัดทำโครงการ อำเภอ 1.3 จดั ทำโครงการและขอ อนุมตั ิโครงการ ทา่ มะกา 1.4 ประชาสัมพนั ธ์โครงการ 2. ขัน้ ดำเนนิ งาน (Do) 1. เพอื่ ใหม้ ที ักษะความรู้ - ประชาชน 6 คน ณ ที่ทำการ วนั ท่ี 15-19 4,000 ผู้ใหญ่บ้าน เดอื น 2.1 ดำเนินจดั โครงการศนู ย์ ในเรือ่ งการประกอบ ในตำบล หม่ทู ่ี 2 บา้ น ธันวาคม ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (การศึกษา หนองลาน ดาปานนมิ ิตร แบบพัฒนาอาชีพระยะส้ัน อาชีพและสามารถเลอื ก พ.ศ.2565 กลมุ่ สนใจ) วชิ า ผลติ ภณั ฑ์ จากหวายเทยี ม (ขนั โตก) เป็นอาชพี เสรมิ ได้ ต.หนองลาน จำนวน 15 ชวั่ โมง 2. เพอื่ ใหป้ ระชาชนใน อ.ท่ามะกา ชมุ ชนร้จู กั การใช้เวลา ว่างให้เปน็ ประโยชน์ จ.กาญจนบรุ ี 3. ข้นั ตรวจสอบ (Check) 1. เพือ่ ประเมนิ ความ - ผอ.กศน. 4 คน ณ ทีท่ ำการ วันท่ี 15-19 - 3.1 การประเมินผลก่อนดำเนนิ เป็นไปได้ของโครงการ - ครู กศน. 6 คน ผใู้ หญ่บา้ น เดือน โครงการ หมทู่ ี่ 2 บา้ น ธันวาคม 2. เพอ่ื ประเมนิ ความ อำเภอ ดาปานนิมติ ร 3.2 การประเมินระหวา่ งดำเนนิ ก้าวหน้าของโครงการ ท่ามะกา ต.หนองลาน พ.ศ.2565 โครงการ 3. เพื่อประเมนิ ผลสำเรจ็ - ผูเ้ ข้ารว่ ม 3.3 การประเมนิ เมอื่ เสรจ็ สิน้ โครงการ ของโครงการ โครงการ อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบุรี 4. ข้ันปรับปรุงแกไ้ ข (Action) เพือ่ ปรบั ปรุง แก้ไข และ - ผอ.กศน. 4 คน กศน.อำเภอ ธนั วาคม - 4.1 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ พัฒนาการดำเนนิ - ครู กศน. ขอ้ มูล สรุปและจัดทำรายงาน โครงการ อำเภอ ท่ามะกา 2565 การประเมนิ โครงการ ท่ามะกา 4.2 ประชุมคณะทำงานเพื่อ นำเสนอข้อมลู จากรายงาน การประเมินโครงการเพ่ือ นำไปปรบั ปรงุ แก้ไข และ พฒั นาการดำเนินโครงการ แผนปฏบิ ตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๖ 7. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2566 โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ์ พื่อสนับสนุนด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรม ส่งเสรมิ ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนงบรายจา่ ยอืน่ จำนวนเงนิ 4,000 บาท (ส่ีพนั บาทถว้ น) แบ่งเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยดังนี้ - คา่ ตอบแทนวิทยากร 15 ชว่ั โมง x 200 บาท จำนวน 3,000 บาท - คา่ วัสดุฝึกในโครงการ จำนวน 1,000 บาท รวม 4,000 บาท หมายเหตุขอถัวจ่ายตามรายการทจี่ ่ายจริง 8. แผนการเบิกจา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก รวม แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ งบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.65) (ก.ค.–ก.ย. 66) (ม.ค.– ม.ี ค. 66) (เม.ย.–ม.ิ ย. 66) 4,000 - 1.ดำเนินการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ 4,000 -- ชุมชน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 4,000 4,000 - (การศกึ ษาแบบพฒั นาอาชีพระยะสั้น -- กลมุ่ สนใจ) วิชา ผลิตภณั ฑ์จากหวาย เทียม (ขนั โตก) จำนวน 15 ช่วั โมง รวม 9. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ครู กศน.ตำบลหนองลาน 9.1 นางสาวหนงึ่ ฤทัย สนิ ธพ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 9.2 นางสาวปารชิ าติ รุง่ เรืองกาญจน์ 10. ภาคีเครือข่าย 10.1 เทศบาลตำบลหนองลาน 10.2 ผู้นำชุมชนตำบลหนองลาน 11. ความสัมพันธก์ ับโครงการอื่น 11.1 โครงการจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง 11.2 โครงการศูนย์การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 12. ผลลัพธ์ ผู้รับการอบรมมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกบั อาชีพและนำความรู้ไปใชใ้ นการสร้างอาชพี ได้ 13. ดัชนีชว้ี ัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ช้ีวัดผลผลิต (Outputs) รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้ารบั การอบรมมีความรู้และความเข้าใจในการทำผลติ ภณั ฑ์จากหวาย เทียม (ขันโตก) 13.2 ตวั ช้วี ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารับการอบรมนำความรไู้ ปใช้ในการสรา้ งอาชพี ได้ แผนปฏบิ ัติการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๗ 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 ประเมินก่อนดำเนินโครงการเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 14.2 ประเมินระหว่างดำเนินโครงการเพื่อศึกษาความก้าวหนา้ ของโครงการ 14.3 ประเมนิ หลังเสร็จสนิ้ โครงการเพอ่ื ศกึ ษาความสำเร็จของโครงการ แผนปฏบิ ัตกิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๘ 2. ชื่อโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชา ผลิตภัณฑ์ จากหวายเทยี ม (ขนั โตก) จำนวน 15 ช่วั โมง 2. ความสอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ ชว่ งวัยแรงงาน ขอ้ ที1่ จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำท่สี อดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนำไปประกอบอาชีพไดจ้ ริง 2.2 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงานสํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.2 พัฒนาหลกั สตู รอาชีพระยะส้ันที่ เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับบริบท พื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology และข้อที่ 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถนิ่ เพื่อสรา้ งมลู คา่ เพ่ิม พฒั นาสู่วิสาหกจิ ชมุ ชน ตลอดจนเพ่ิมชอ่ งทางประชาสมั พนั ธแ์ ละช่องทางการจำหนา่ ย 3. หลกั การและเหตุผล การจัดการศึกษาอาชีพ เป็นกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นสนับสนุนให้ ประชาชนไดป้ ระกอบอาชีพ มงี านทำ ไมว่ า่ จะเป็นการประกอบอาชีพอสิ ระ หรือการพัฒนาฝมี อื แรงงานเพื่อ เข้าสู่ตลาดแรงงาน หรือเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบ อาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจชุมชน โดยเน้น การบูรณาการให้ สอดคล้อง กับศักยภาพด้านตา่ ง ๆ โดยมุ่งเน้นพัฒนาคนไทยให้ไดร้ ับการศกึ ษาแบบพฒั นาอาชพี และการมีงาน ทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคงจากการสำรวจความต้องการด้านอาชีพ และความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และความพร้อมของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชนให้ความรู้ ความสามารถในการพฒั นาชวี ติ ความเปน็ อยูข่ องตนเองและครอบครวั ให้ดีขึ้น กศน.ตำบลหนองลาน ในฐานะเป็นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบ การจัดการศึกษานอกโรงเรียน ให้กับประชาชนในตำบล ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การจัดกลุ่มการพัฒนาอาชีพ การจัดวิชาชีพหลักสูตรต่าง ๆ ให้ตอบสนองนโยบายสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน และให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ และความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีตำบลหนองลา จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบ พัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชา ผลิตภัณฑ์จากหวายเทียม (ขันโตก) จำนวน 15 ชั่วโมง ข้ึน เพื่อใหค้ วามรแู้ ละส่งเสรมิ ให้ประชาชน มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และพฒั นาคุณภาพชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ 4. วัตถุประสงคข์ องโครงการ 4.1 เพือ่ ใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรแู้ ละความเข้าใจในการทำผลติ ภัณฑจ์ ากหวายเทียม (ขันโตก) 4.2 เพือ่ ใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรมนำความร้ไู ปใชใ้ นการทำผลิตภณั ฑ์จากหวายเทยี ม (ขนั โตก) และ สามารถสรา้ งอาชพี ได้ 5. เปา้ หมาย 5.1 เชิงปริมาณ ประชาชนท่วั ไปในตำบลหนองลาน จำนวน 6 คน แผนปฏบิ ตั กิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๓๙ 5.2 เชงิ คุณภาพ 5.2.1 ผรู้ บั การฝกึ อาชพี มีความรแู้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การทำผลิตภณั ฑจ์ ากหวายเทียม (ขนั โตก) 5.2.2 ผรู้ บั การฝกึ อาชีพสามารถสร้างเปน็ อาชพี เสรมิ /อาชีพหลกั สร้างรายได้ให้กบั ครัวเรอื นได้ 6. วิธดี ำเนินงาน กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พืน้ ทด่ี ำเนินการ ระยะเวลา งบ ประมาณ 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.เพอื่ เตรยี มความพร้อม - ผอ.กศน. 28 คน กศน.อำเภอ พฤศจิกายน 1.1 วางแผนปฏิบตั งิ าน ในการจดั ทำโครงการ - ครู กศน. ทา่ มะกา 2565 - 1.2 แตง่ ต้งั คณะทำงาน 2.เพ่อื จดั ทำโครงการ อำเภอ 1.3 จดั ทำโครงการและขอ อนมุ ัติโครงการ ท่ามะกา 1.4 ประชาสมั พนั ธ์โครงการ 2. ขน้ั ดำเนินงาน (Do) 1. เพอ่ื ให้มที ักษะความรู้ - ประชาชน 6 คน ณ ศาลา วนั ท่ี 20-24 4,000 วดั หนองลาน เดือน 2.1 ดำเนินจดั โครงการศูนย์ ในเร่อื งการประกอบ ในตำบล ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (การศึกษา หนองลาน หมทู่ ่ี 3 ธนั วาคม แบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น อาชีพและสามารถเลือก กลมุ่ สนใจ) วชิ า ผลิตภัณฑ์ บ้านหนองลาน พ.ศ.2565 จากหวายเทียม (ขนั โตก) เปน็ อาชีพเสรมิ ได้ จำนวน 15 ชว่ั โมง ต.หนองลาน 2. เพ่อื ใหป้ ระชาชนใน ชมุ ชนรู้จกั การใช้เวลา อ.ท่ามะกา วา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ จ.กาญจนบุรี 3. ข้ันตรวจสอบ (Check) 1. เพื่อประเมนิ ความ - ผอ.กศน. 4 คน ณ ศาลา วนั ที่ 20-24 - 3.1 การประเมินผลก่อนดำเนิน เปน็ ไปได้ของโครงการ - ครู กศน. วัดหนองลา เดอื น โครงการ 2. เพ่ือประเมินความ อำเภอ หมู่ที่ 3 ธันวาคม 3.2 การประเมนิ ระหวา่ งดำเนนิ กา้ วหนา้ ของโครงการ ท่ามะกา โครงการ บา้ นหนองลาน พ.ศ.2565 3. เพอ่ื ประเมนิ ผลสำเร็จ - ผูเ้ ขา้ รว่ ม 6 คน ต.หนองลาน 3.3 การประเมินเมอื่ เสรจ็ สน้ิ โครงการ ของโครงการ โครงการ อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี 4. ขนั้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Action) เพ่ือปรบั ปรุง แก้ไข และ - ผอ.กศน. 4 คน กศน.อำเภอ ธันวาคม - 4.1 รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ พัฒนาการดำเนิน - ครู กศน. ขอ้ มูล สรปุ และจัดทำรายงาน โครงการ อำเภอ ทา่ มะกา 2565 การประเมนิ โครงการ ท่ามะกา 4.2 ประชมุ คณะทำงานเพอ่ื นำเสนอข้อมูลจากรายงาน การประเมนิ โครงการเพ่ือ นำไปปรบั ปรงุ แก้ไข และ พฒั นาการดำเนนิ โครงการ แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๔๐ 7. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2566 โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ์ พื่อสนับสนุนด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรม ส่งเสรมิ ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนงบรายจา่ ยอืน่ จำนวนเงนิ 4,000 บาท (ส่ีพนั บาทถว้ น) แบ่งเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยดังนี้ - คา่ ตอบแทนวิทยากร 15 ชว่ั โมง x 200 บาท จำนวน 3,000 บาท - คา่ วัสดุฝึกในโครงการ จำนวน 1,000 บาท รวม 4,000 บาท หมายเหตุขอถัวจ่ายตามรายการทจี่ ่ายจริง 8. แผนการเบิกจา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก รวม แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ งบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.65) (ก.ค.–ก.ย. 66) (ม.ค.– ม.ี ค. 66) (เม.ย.–ม.ิ ย. 66) 4,000 - 1.ดำเนินการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ 4,000 -- ชุมชน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 4,000 4,000 - (การศกึ ษาแบบพฒั นาอาชีพระยะสั้น -- กลมุ่ สนใจ) วิชา ผลิตภณั ฑ์จากหวาย เทียม (ขนั โตก) จำนวน 15 ช่วั โมง รวม 9. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ครู กศน.ตำบลหนองลาน 9.1 นางสาวหนงึ่ ฤทัย สนิ ธพ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 9.2 นางสาวปารชิ าติ รุง่ เรืองกาญจน์ 10. ภาคีเครือข่าย 10.1 เทศบาลตำบลหนองลาน 10.2 ผู้นำชุมชนตำบลหนองลาน 11. ความสัมพันธก์ ับโครงการอื่น 11.1 โครงการจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง 11.2 โครงการศูนย์การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 12. ผลลัพธ์ ผู้รับการอบรมมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกบั อาชีพและนำความรู้ไปใชใ้ นการสร้างอาชพี ได้ 13. ดัชนีชว้ี ัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ช้ีวัดผลผลิต (Outputs) รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้ารบั การอบรมมีความรู้และความเข้าใจในการทำผลติ ภณั ฑ์จากหวาย เทียม (ขันโตก) 13.2 ตวั ช้วี ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารับการอบรมนำความรไู้ ปใช้ในการสรา้ งอาชพี ได้ แผนปฏบิ ัติการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๔๑ 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 ประเมินก่อนดำเนินโครงการเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 14.2 ประเมินระหว่างดำเนินโครงการเพื่อศึกษาความก้าวหน้าของโครงการ 14.3 ประเมนิ หลังเสร็จสนิ้ โครงการเพอ่ื ศกึ ษาความสำเร็จของโครงการ แผนปฏบิ ัตกิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๔๒ 3. ชื่อโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชา ผลิตภัณฑ์ จากหวายเทยี ม (แกว้ เยต)ิ จำนวน 9 ชั่วโมง 2. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ ชว่ งวยั แรงงาน ข้อท่ี1 จดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำท่สี อดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความตอ้ งการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนำไปประกอบอาชีพได้จรงิ 2.2 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงานสํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อท่ี 2.2 พัฒนาหลกั สตู รอาชีพระยะสั้น ที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับบริบท พื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความ ต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology และข้อที่ 2.3 ยกระดับ ผลิตภณั ฑ์ สินค้า บรกิ ารจากโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน ท่ีเน้น “ส่งเสริมความรู้ สรา้ งอาชีพ เพิ่มรายได้ และ มีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้าง มูลค่าเพม่ิ พฒั นาสวู่ สิ าหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสมั พันธ์และช่องทางการจำหน่าย 3. หลักการและเหตผุ ล การจัดการศึกษาอาชีพ เป็นกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นสนับสนุนให้ ประชาชนได้ประกอบอาชีพ มีงานทำ ไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาชีพอิสระ หรือการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อ เข้าสู่ตลาดแรงงาน หรือเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบ อาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจชุมชน โดยเน้น การบูรณาการให้ สอดคล้อง กับศักยภาพด้านตา่ ง ๆ โดยมุ่งเน้นพฒั นาคนไทยให้ได้รับการศึกษาแบบพฒั นาอาชพี และการมีงาน ทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคงจากการสำรวจความต้องการด้านอาชีพ และความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และความพร้อมของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชนให้ความรู้ ความสามารถในการพฒั นาชีวิตความเปน็ อยู่ของตนเองและครอบครวั ใหด้ ีขึ้น กศน.ตำบลหนองลาน ในฐานะเป็นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบ การจัดการศึกษานอกโรงเรียน ให้กับประชาชนในตำบล ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การจัดกลุ่มการพัฒนาอาชีพ การจัดวิชาชีพหลักสูตรต่าง ๆ ให้ตอบสนองนโยบายสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน และให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ และ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ตำบลหนองลาน จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบ พฒั นาอาชีพระยะส้นั กลมุ่ สนใจ) วชิ า ผลติ ภัณฑ์จากหวายเทยี ม (แก้วเยต)ิ จำนวน 9 ชั่วโมง ขึน้ เพื่อให้ความรู้ และสง่ เสริมใหป้ ระชาชน มที ักษะ ความรู้ ความสามารถ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ 4. วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 4.1 เพ่อื ให้ผเู้ ข้ารับการอบรมมคี วามรแู้ ละความเข้าใจในการทำผลิตภัณฑ์จากหวายเทยี ม (แก้วเยต)ิ 4.2 เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมนำความรไู้ ปใช้ในการทำผลิตภัณฑจ์ ากหวายเทียม (แก้วเยต)ิ และ สามารถสรา้ งอาชพี ได้ 5. เปา้ หมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ - ประชาชนท่ัวไปในตำบลหนองลาน จำนวน 6 คน 5.2 เชงิ คณุ ภาพ - ผู้รบั การฝกึ อาชีพมคี วามรแู้ ละความเข้าใจเกี่ยวกบั การทำผลิตภัณฑ์จากหวายเทียม (แก้วเยต)ิ - ผู้รับการฝกึ อาชพี สามารถสร้างเป็นอาชีพเสริม/อาชพี หลักสร้างรายไดใ้ ห้กบั ครัวเรือนได้ แผนปฏบิ ัตกิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๔๓ 6. วิธดี ำเนินงาน กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เปา้ หมาย พื้นที่ดำเนินการ ระยะเวลา งบ ประมาณ 1. ขน้ั วางแผน (Plan) 1.เพื่อเตรยี มความพร้อม - ผอ.กศน. 28 คน กศน.อำเภอ ธนั วาคม ท่ามะกา 2565 - 6 คน 1.1 วางแผนปฏิบตั ิงาน ในการจดั ทำโครงการ - ครู กศน. ณ บ้านหนงั สอื 4 คน ชุมชน 1.2 แต่งต้งั คณะทำงาน 2.เพ่อื จัดทำโครงการ อำเภอ 6 คน หมทู่ ี่ 8 4 คน 1.3 จดั ทำโครงการและ ทา่ มะกา บ้านหนอง ไมแ้ ก่น ขออนุมตั ิโครงการ ต.หนองลาน อ.ทา่ มะกา 1.4 ประชาสัมพนั ธ์ จ.กาญจนบุรี ณ บา้ นหนังสือ โครงการ ชมุ ชน หมู่ท่ี 8 2. ข้ันดำเนนิ งาน (Do) 1. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะความรู้ - ประชาชน บ้านหนอง วันที่ 2,781 ไมแ้ ก่น 26-28 2.1 ดำเนินจดั โครงการ ในเร่อื งการประกอบ ในตำบล ต.หนองลาน เดือน ศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน หนองลาน อ.ทา่ มะกา ธันวาคม (การศึกษาแบบพัฒนา อาชีพและสามารถเลอื ก จ.กาญจนบุรี พ.ศ.2565 อาชพี ระยะส้ันกลุ่มสนใจ) กศน.อำเภอ วชิ า ผลติ ภัณฑจ์ ากหวาย เปน็ อาชีพเสรมิ ได้ ท่ามะกา เทยี ม (แกว้ เยต)ิ จำนวน 9 ชั่วโมง 2. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนใน ชุมชนรจู้ ักการใชเ้ วลา ว่างให้เปน็ ประโยชน์ 3. ข้ันตรวจสอบ (Check) 1. เพื่อประเมนิ ความ - ผอ.กศน. วันท่ี - 3.1 การประเมินผลกอ่ น 26-28 ดำเนนิ โครงการ เป็นไปได้ของโครงการ - ครู กศน. เดือน 3.2 การประเมินระหว่าง ธนั วาคม ดำเนนิ โครงการ 2. เพ่ือประเมินความ อำเภอ พ.ศ.2565 3.3 การประเมนิ เมือ่ เสรจ็ กา้ วหน้าของโครงการ ท่ามะกา สนิ้ โครงการ 3. เพอ่ื ประเมนิ ผลสำเรจ็ - ผเู้ ขา้ รว่ ม ของโครงการ โครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข เพอ่ื ปรับปรุง แก้ไข และ - ผอ.กศน. ธันวาคม - (Action) พัฒนาการดำเนนิ - ครู กศน. 2565 4.1 รวบรวมข้อมูล โครงการ อำเภอ วเิ คราะหข์ ้อมูล สรปุ และ ท่ามะกา จัดทำรายงานการ ประเมนิ โครงการ 4.2 ประชุมคณะทำงาน เพื่อนำเสนอข้อมูลจาก รายงานการประเมิน โครงการเพ่ือนำไป ปรับปรุง แก้ไข และ พัฒนาการดำเนนิ โครงการ แผนปฏิบตั ิการ ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๔๔ 7. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2566 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรม ส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนงบรายจ่ายอื่น จำนวนเงิน 2,781 บาท (สองพันเจ็ดร้อยแปดสิบเอ็ดบาทถ้วน) แบง่ เปน็ ค่าใชจ้ ่ายดงั น้ี - คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 9 ชัว่ โมง x 200 บาท จำนวน 1,800 บาท - คา่ วสั ดุฝึกในโครงการ จำนวน 981 บาท รวม 2,781 บาท หมายเหตุขอถวั จ่ายตามรายการท่ีจา่ ยจรงิ 8. แผนการเบกิ จา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก รวม แผนการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณ 1.ดำเนินการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ชุมชน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษา (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.65) (ก.ค.–ก.ย. 66) แบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) (ม.ค.– มี.ค. 66) (เม.ย.–ม.ิ ย. 66) วิชาผลิตภัณฑ์จากหวายเทียม (แก้วเยติ) 2,781 2,781 - จำนวน 9 ชว่ั โมง -- 2,781 2,781 - รวม -- 9. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ครู กศน.ตำบลหนองลาน 9.1 นางสาวหน่ึงฤทัย สินธพ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 9.2 นางสาวปาริชาติ รุ่งเรอื งกาญจน์ 10. ภาคีเครือขา่ ย 10.1 เทศบาลตำบลหนองลาน 10.2 ผนู้ ำชมุ ชนตำบลหนองลาน 11. ความสมั พันธ์กบั โครงการอ่นื 11.1 โครงการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง 11.2 โครงการศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ 12. ผลลัพธ์ ผ้รู ับการอบรมมีความรู้และความเขา้ ใจเกี่ยวกับอาชีพและนำความรู้ไปใช้ในการสรา้ งอาชีพได้ 13. ดัชนชี ี้วดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ (Outputs) ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้และความเขา้ ใจในวิชาผลิตภณั ฑจ์ ากหวายเทยี ม (แก้วเยติ) 13.2 ตวั ชว้ี ัดผลลพั ธ์ (Outcomes) รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้ารบั การอบรมนำความรูไ้ ปใช้ในการสร้างอาชีพได้ แผนปฏิบตั กิ าร ปีงบประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
๔๕ 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 ประเมินก่อนดำเนินโครงการเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 14.2 ประเมินระหว่างดำเนินโครงการเพื่อศึกษาความก้าวหน้าของโครงการ 14.3 ประเมนิ หลังเสร็จสนิ้ โครงการเพอ่ื ศกึ ษาความสำเร็จของโครงการ แผนปฏบิ ัตกิ าร ปงี บประมาณ 2566 กศน.ตำบลหนองลาน
Search