เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม หัวข้อการจัดงาน \"วิจัยและพัฒนา บนฐาน เศรษฐกิจ BCG สู่การพัฒนาประเทศอย่าง ยั่งยืน\" เรื่อง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้าง ดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal” วันที่ 14 พฤษภาคม 2566 Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Duis iaculis orci a felis consectetur mollis. Praesent a consectetur felis, a imperdiet nulla. 0-3410-9300 ต่อ 3565 www.facebook.com/NPRUNursing อาคารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
คำนำ แนวปฏิบตั ิที่ดีเป็นสว่ นหนง่ึ ของการประกนั คณุ ภาพการทำงานได้ว่ามีกระบวนการทำงานที่ เปน็ ระบบทง้ั การวางแผน การดำเนินการ การตรวจสอบทบทวน และการแก้ไขเมื่อพบปัญหา รวมถงึ การนำไป พฒั นาในรอบปตี ่อไปให้ดยี ่ิงข้ึน และจะส่งผลกระทบไดเ้ ปน็ วงกวา้ งทเี่ ปน็ ประโยชน์สูงสดุ แก่สถาบันการศึกษา อนื่ รวมถึงองค์กรอ่ืนๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งยงั ต้องมีการเผยแพร่ออกไปภายนอกรว่ มดว้ ย คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้ตระหนักเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดเวทีการจัดการความรู้ (knowledge management) ซ่ึงเป็น การแลกเปล่ียนสงิ่ ที่ดีที่ผ่านการปรับปรงุ พฒั นาตามกระบวนการคุณภาพมาแล้วมาแบ่งปันซึ่งกันและกันในด้าน ต่างๆ ท้ังการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ กิจการนักศึกษา รวมถึงการปฏิบัติการ พยาบาลของอาจารย์ร่วมด้วย โดยจัดขึ้นในกำหนดการประชุมวิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 15 มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครปฐมหัวข้อการจัดงาน \"วิจัยและพัฒนา บนฐานเศรษฐกิจ BCG สู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน\" และ การประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal” ระหว่างวันท่ี 13-14 กรกฎาคม 2566 ขอขอบพระคุณอย่างสูงสำหรับคณะพยาบาลศาสตร์ ในสถาบันที่ร่วมมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวปฏิบัติที่ดีในครั้งน้ี ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบรุ ี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี และ มหาวิทยาลยั ลัยราชภัฏนครปฐม คณะกรรมการวิจยั และบริการวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม 14 กรกฎาคม 2566
สารบัญ 1. แนวปฏบิ ตั ทิ ีด่ ดี ้านบรหิ ารจัดการทรพั ยากรบคุ คลเพ่ือลดความขาดแคลนอาจารย์พยาบาล หนา้ โดย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์วริยา จันทรข์ ำ และนางสาวโศรยา นุม่ สร้อย 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม 10 2. แนวทางการบรู ณาการงานสอน งานวิจัย งานบรกิ ารวิชาการ ผลักดันการพฒั นาอาจารย์จาก 16 ชุดความคิดการบริหารเพื่อสร้างความโดดเดน่ ดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ทัศนยี ์ สนุ ทร 22 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี 31 44 3. แนวปฎิบตั ทิ ด่ี ีในการจัดการสถาบนั ทางการศึกษาและการจดั การศึกษาสำหรับหลกั สตู ร พยาบาลศาสตร์ แบบ 3C NPRU model 63 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารยว์ รยิ า จันทร์ขำ และนางสาวฐาปนี ซ่วั เซ่งอี่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 70 4. การจดั การเรยี นการสอนด้วยสถานการณจ์ ำลองเสมือนจริง 83 โดย อาจารย์รัชนี ผิวผอ่ ง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บุรีรัมย์ 92 5. แนวปฏบิ ตั กิ ารปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลของอาจารย์พยาบาล (Faculty Practice) ลงสงู่ านวจิ ัย โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา สายสิทธ์ิ และนางสาวมณฑริ า วฒุ พิ งษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 6. แนวปฏิบตั ิ เรอื่ ง PCK together : การเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยและผลงานวชิ าการในระดับชาติ และนานาชาติ โดย อาจารย์ ดร.จินตนา ทองเพชร วิทยาลยั พยาบาลพระจอมเกล้า จงั หวัดเพชรบรุ ี 7. แนวปฏิบตั ทิ ด่ี :ี กิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาสนู่ กั จัดการภยั พิบตั ิ โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เรยี ม นมรักษ์ นางสาวอญั ธิกา เข็มเอก และนางสาวพิมพ์อร บุญวธิ วาเจริญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 8. การจัดการความรู้เรื่องการส่งเสริมทกั ษะทางปญั ญาผา่ นการจดั การเรียนการสอนดว้ ย สถานการณจ์ ำลอง (Simulation Based Learning: SBL) โดย อาจารย์ ดร.รัศมี ศรนี นท์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี 9. แนวปฏิบตั ิการพัฒนาสมรรถนะทมี แกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุขในการบริหาร จัดการโครงการแบบบูรณาการเพอื่ รองรับสงั คมสูงอายรุ ะดับสดุ ยอด โดย อาจารย์บุญทิพย์ ลิขติ พงษ์วิทย์ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี 10. แนวปฏิบัตกิ ารสรา้ งเสริมความเปน็ เลิศทางวชิ าการเพื่อเตรียมความพร้อมเป็นพยาบาล วิชาชีพ:แนวทางการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน (BCNR 4P Model)
โดย อาจารยก์ รรณิการ์ กิจนพเกยี รติ หน้า วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี 105 11. แนวปฏิบตั ิการพยาบาลตามความเชยี่ วชาญของอาจารย์ (Faculty practice) (online) โดย รองศาสตราจารย์ดร.วรรณี เดยี วอิศเรศ คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏรำไพพรรณี
แนวปฏิบัตทิ ่ดี ี ด้านแนวปฏบิ ัติ : แนวปฏิบตั ิทด่ี ีด้านบรหิ ารจดั การทรัพยากรบุคคล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชภฎั นครปฐม ชื่อผลงาน แนวปฏิบตั ิที่ดีด้านบริหารจดั การทรพั ยากรบุคคล แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ดี า้ นบรหิ ารจดั การทรพั ยากรบุคคลเพอื่ ลดความขาดแคลนอาจารย์พยาบาล “การบริหารจัดการระเบยี บทุนการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาเป็นอาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์” หนว่ ยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎนครปฐม คณะทำงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรยิ า จันทรข์ ำ และนางสาวโศรยา นุ่มสรอ้ ย งานบรหิ ารท่ัวไป- บทสรุปโครงการ จากการดำเนนิ งานในปี งบประมาณ พ.ศ. 2562-2563 คณะพยาบาลศาสตร์ ประสบปัญหาการขาด แคลนอาจารยพ์ ยาบาลจำนวนมาก และไมส่ ามารถดำเนินการรบั บุคคลาการทางการศึกษาได้ครบตามแผนการ รับสมคั ร คณะฯ ใชก้ ารปรบั แผนเปดิ รับสมัคร และหาแนวทางในการเปิดรับสมัครบคุ ลากรก็ยังคงประสบกับ ปญั หาการเพ่มิ อตั รากบั กำลังของอาจารยไ์ ม่เป็นไปตามแผน จงึ แมจ้ ะมีการปรบั แผนการดำเนนิ การระหว่างปี โดยการเปิดรับสมัครอาจารย์ใหม่ จำนวน 6 ครั้งต่อปี การใช้กลยุทธ์ในการเชิญชวน ประชาสัมพันธ์ทาง ชอ่ งทางต่างๆ เพิม่ ขึน้ กย็ ังไมส่ ามารถดำเนนิ รับสมคั รอาจารยต์ ามเป้าหมายทีก่ ำหนดได้ คณะ ฯ จึงทำการวิเคราะห์แนวโน้มอัตรากำลังคณะพยาบาลศาสตร์และหาแนวทางแก้ไขปัญหา ดังกล่าวเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะ และได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิฯ เรื่องแนวทางการให้ ทุนการศึกษาเพอื่ พัฒนาเปน็ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ โดย คณะฯ ศกึ ษาระเบียบ กฎ ขอ้ บังคับต่างๆ เพื่อ วางแผนในการยกร่างระเบียบทุนการศึกษาในการดำเนินการในลำดับถัดไป ปัจจุบัน คณะฯ ได้รับอนุมัติ งบประมาณเพ่อื ใหท้ ุนนกั ศึกษาคณะพยาบาลศาสตรเ์ พื่อพัฒนาเป็นอาจารย์พยาบาล จำนวน 80 คน คณะฯ สามารถดำเนนิ การรบั บคุ คลกรเพือ่ พฒั นาเปน็ อาจารย์ในระดับปรญิ ญาตรี จำนวน 27 คน ในระดับปริญญาโท จำนวน 26 คน รวมทั้งสิ้น 53 คน ซึ่งดำเนินการภายในระเบียบทุนระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมวา่ ด้วยการให้ทนุ นกั ศกึ ษาคณะพยาบาลศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาเป็นอาจารยพ์ ยาบาล พ.ศ. 2563 Page | 1 1 / 119
ที่มาและความสำคญั ของโครงการ คณะพยาบาลศาสตร์เปน็ คณะที่กอ่ ต้งั มาทัง้ หมด 13 ปี ปจั จบุ ันคณะพยาบาลศาสตร์ มีจำนวนอาจารย์ ที่ 22 คน และมอี ัตราการการลาออกสงู จากการดำเนนิ งานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะพยาบาลศาสตร์ ไม่สามารถดำเนนิ รบั บุคคลาการทางการศกึ ษาได้ครบตามแผนการรบั สมัคร คือ จำนวน 18 คน เดิมมีอาจารย์ คงเหลอื ตน้ ปี 25 คน มอี าจารย์สนใจเข้าสมัครเป็นอาจารยเ์ พียง 6 คน แต่ในขณะท่ีมีอาจารย์ลาออกจำนวน 4 คนทำให้จำนวนอาจารย์คงเหลือ 27 คน คณะพยาบาลศาสตร์ ยังคงประสบกับปัญหาการเพ่ิมอัตรากับกำลัง ของอาจารยไ์ มเ่ ป็นไปตามแผน จึงแมจ้ ะมีการปรับแผนการดำเนนิ การระหวา่ งปี โดยการเปดิ รับสมัครอาจารย์ ใหม่ จำนวน 6 ครั้งต่อปี การใช้กลยุทธ์ในการเชิญชวน ประชาสัมพันธ์ทางช่องทางต่างๆ เพิ่มขึ้น ก็ยังไม่ สามารถดำเนินรับสมัครอาจารยต์ ามเป้าหมายที่กำหนดได้ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 คณะพยาบาลศาสตร์ สามารถดำเนนิ รับบคุ คลาการทางการศึกษาได้เพ่มิ ขน้ึ จำนวน 3 คน มีอาจารย์ลาออกจำนวน 4 คน เกษยี ณอายรุ าชการ จำนวน 1 คน ทำให้จำนวนอาจารยค์ งเหลือ 25 คน คณะพยาบาลศาสตร์ ยังคงประสบกบั ปญั หาการเพมิ่ อัตรากบั กำลงั ของอาจารย์ไมเ่ ป็นไปตามแผน จากปัญหาดังกลา่ วคณะ นำเร่ืองเขา้ ปรกึ ษา ผู้ทรงคณุ วุฒิ ฯ หลังจากไดข้ ้อเสนอแนะจากผทู้ รงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการประจำคณะ คณะฯ จึงจดั ทำร่างระเบยี บทุนการศึกษาเพื่อพัฒนาเป็นอาจารย์คณะพยาบาล ศาสตร์ขึ้นหลังจากได้รับเสนอและความเห็นชอบจากกรรมการประจำคณะฯ จึงส่งร่างดังกล่าว ไปยัง มหาวทิ ยาลัยตามขั้นตอน เสนอตอ่ สภามหาวทิ ยาลัยฯ โดยไดร้ ับสภามหาวิทยาลัยอนุมตั ิให้ทุนการศึกษาเพื่อ พัฒนาเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 80 ทุน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 คณะฯ เริ่มดำเนิน โครงการดังกล่าวปลายปีงบประมาณ 2563 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2564 ขณะนี้สามารถรับนักศึกษาทุนเข้า โครงการจำนวน 7 ทนุ โดยเป็นนักศกึ ษาทุนระดบั ปรญิ ญาตรีจำนวน 5 คน มอี าจารยท์ ี่สนใจรับทนุ ในระดับจบ การศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 2 คน ทำคณะฯ สามารถวางแผนเรื่องอัตรากำลังได้และสามารถรับ นกั ศกึ ษาพยาบาลเพิม่ ขึน้ ไดใ้ นอนาคต จากข้อมลู ดังกล่าวคณะฯ จึงวางแผนรับสมัครอาจารย์ จำนวน 18 คน และทุนการศึกษาเพื่อพัฒนา เป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ ระดับปริญญาตรี จำนวน 10 คน และ ระดับปริญญาโท จำนวน 1คณะ ฯ จึงทำการวิเคราะห์แนวโน้มอัตรากำลังคณะพยาบาลศาสตร์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวเสนอต่อ คณะกรรมการประจำคณะ และได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวฒุ ิฯ เรื่องแนวทางการให้ทุนการศึกษาเพือ่ Page | 2 2 / 119
พฒั นาเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ โดยคณะฯ ศกึ ษาระเบียบ กฎ ขอ้ บงั คับต่างๆ เพ่ือวางแผนในการยก ร่างระเบียบทนุ การศกึ ษา ในการดำเนินการในลำดบั ถัดไป จากการดำเนินงานในปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่าน คณะพยาบาลศาสตร์ สามารถดำเนินรับ บุคคลาการทางการศกึ ษาได้เพิ่มขนึ้ จำนวน 3 คน มอี าจารยล์ าออกจำนวน 4 คน เกษยี ณอายรุ าชการ จำนวน 1 คน ทำใหจ้ ำนวนอาจารยค์ งเหลือ 25 คน สำหรับทุนการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 80 ทุน ปกี ารศึกษา 2564 มีแผนการรับทนุ จำนวน 21 ทุน ระดับปริญญาตรีจำนวน 6 ทุน ระดับประสบการณว์ ิชาชีพการพยาบาลและ การผดงุ ครรภ์ชนั้ 1 จำนวน 3 ทุน ระดบั ปรญิ ญาโทจำนวน 5 ทนุ ผลการดำเนนิ การ ผไู้ ด้รับทนุ ทั้งสิ้นจำนวน 15 ทุน ระดับปริญญาตรจี ำนวน 6 ทนุ ระดบั ปรญิ ญาโทจำนวน 8 ทุน ระดบั ปริญญาโทไม่เกิน 1 ปี จำนวน 1 ทนุ ทง้ั นีม้ ีผู้ขน้ึ ทะเบียนระดบั ปรญิ ญาโทจำนวน 4 ทนุ จากข้อมูลดังกลา่ ว คณะฯ จงึ วางแผนรบั อาจารย์ในปีการศึกษา 2565 ดังนี้ 1. อาจารย์ท่ัวไปจำนวน 18 คน 2. อาจารยเ์ กษยี ณอายุราชการ จำนวน 1 คน 3. แผนการรับทุนจำนวน 20 ทุน - ระดบั ปริญญาตรจี ำนวน 10 ทนุ - ระดับประสบการณ์วิชาชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ชัน้ 1 จำนวน 1 ทนุ - ระดับปริญญาโทจำนวน 10 ทุน จากนโยบายดังกล่าว คณะพยาบาลศาสตร์จึงวางแผนพัฒนาบุคลากรเป็นไปตามแนวทางของ มหาวิทยาลัยในฐานะที่เป็นสถาบันอดุ มศึกษาเพอ่ื พัฒนาทอ้ งถ่นิ และชมุ ชน ให้ประสทิ ธภิ าพสูงสุดและสามารถ สนบั สนุนสง่ เสรมิ การดำเนินงานของคณะพยาบาลศาสตร์ซ่ึงประกอบด้วย 1. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรสายวชิ าการและสายสนับสนนุ 2. ศึกษาวเิ คราะห์สภาพความตอ้ งการปัญหาด้านการบรหิ ารบุคคลากร 3. ศกึ ษานโยบายและทิศทางการพัฒนาบคุ ลากรเป้าหมายและยทุ ธศาสตรข์ องมหาวทิ ยาลัย Page | 3 3 / 119
4. นำขอ้ มูลผลการวิเคราะหก์ รอบอัตรากำลังความต้องการบคุ ลากรสายวชิ าการและสายสนบั สนนุ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื วางแผนการสรรหาและการพัฒนาอตั รากำลังอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ นครปฐม 2. เพ่อื วางระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลเพ่ือลดความขาดแคลนอาจารยพ์ ยาบาล วงจรการพฒั นาคุณภาพ วงรอบที่/ วงจรการพัฒนาคุณภาพ ระยะเวลา 1มิถนุ ายน- Plan Do Check Act กันยายน - ยกร่างระเบยี บ - แกไ้ ขระเบียบ 2563 นกั ศกึ ษาทุนเพอื่ - ศกึ ษาข้อมูล ประเมินผล พฒั นาเป็น ทนุ เพิม่ เตมิ ใน อาจารยค์ ณะ ระเบยี บทนุ จาก การใชร้ ะเบยี บ สว่ นคา่ ใช่จ่าย พยาบาลศาสตร์ โดยประกาศ สถาบันต่างๆ ทุนพบวา่ มี เปน็ ระเบยี บ มหาวิทยาลัย - เปรียบเทยี บข้อดี ปญั หาเร่ือง ราชภัฏ นครปฐมวา่ ข้อเสีย การเบิกจา่ ย ด้วยการให้ทุน นักศกึ ษาคณะ - ศกึ ษาเรอ่ื ง ทุนใน พยาบาล ศาสตร์เพือ่ ระเบียบการเงิน รายละเอยี ด พัฒนาเป็น อาจารย์ จากแหล่งขอ้ มลู ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ พยาบาล (ฉบับที่ 2) ต่างๆ ทำใหเ้ บิกจ่าย พ.ศ. 2564 - ดำเนินการ - ร่างระเบียบทนุ ไมไ่ ด้ ประชาสัมพันธ์ ใน - สง่ รา่ งระเบยี บให้ พบปญั หาการ กลุ่มเป้าหมาย ผ้ทู รงพจิ ารณา เข้าถงึ ของ - สง่ รา่ งระเบียบไป กลุ่มเป้าหมาย ยงั นิตกิ ร - ส่งรา่ งระเบียบเข้า สู่กระบวนการ กลั่นกรอง - ไดร้ ับการผา่ น ความเหน็ ชอบ “ระเบียบ มหาวิทยาลัยราช Page | 4 4 / 119
วงรอบที่/ วงจรการพฒั นาคณุ ภาพ ระยะเวลา Plan Do Check Act 2 ตลุ าคม ในกลมุ่ ผูท้ ี่เขา้ 2564 – - วางแผนการ ภัฏนครปฐมว่า ศกึ ษาในระดับ กนั ยายน รบั สมคั รผ้มู ี ปรญิ ญาโท 2565 คุณสมบัติ ด้วยการให้ทนุ แบ่งเปน็ ระยะ - ทำหนงั สอื ออก ต่างๆ นักศึกษาคณะ จากคณะพยาบาล - วางแผนระบบ ศาสตร์แจง้ แหลง่ ทุน ติดตาม พยาบาลศาสตร์ เพอ่ื ให้รายงานผล ความกา้ วหน้า การศึกษาโดยตรง เพื่อพฒั นาเปน็ ต่อคณะพยาบาล ศาสตร์ในกรณที ่ีมี อาจารย์พยาบาล ปญั หาท่เี ก่ยี วขอ้ ง พ.ศ. 2563 - ขออนมุ ตั ทิ นุ เพอ่ื ดำเนินการ - และไดร้ บั ความ เห็นชอบอนุมตั ิงบ เงินงบประมาณ จำนวน 80 ทนุ จากสภา มหาวิทยาลัย - ดำเนนิ การเปดิ รบั ทุนปีงบปี การศึกษา 2563 วงรอบท่ี 1 - สรปุ ผลการ ดำเนนิ การทนุ เพ่อื พฒั นาเปน็ อาจารย์ - ดำเนนิ การสรรหา - ประเมนิ ผลการ และคัดสรรผูม้ ี ดำเนินการ คณุ สมบัติเพื่อรบั พบว่านกั ศกึ ษา ทุน ทุน มี - ดำเนินการแต่งต้งั ความก้าวหน้า อาจารยท์ ่ีปรึกษา ไม่ตรงตามแผน เพื่อเปน็ กลไกใน ตดิ ตาม Page | 5 5 / 119
วงรอบท/ี่ วงจรการพฒั นาคณุ ภาพ ระยะเวลา Plan Do Check Act - วางแผน กระบวนการ ความก้าวหนา้ - ผลภาษาอังกฤษ ส่งผลกระทบกับ ทำงานสำหรับ ผทู้ ีส่ ำเรจ็ ของนกั ศกึ ษาทุน ไมเ่ ป็นไปตาม การสำเรจ็ การศึกษา การศกึ ษา เพ่ือ กลบั เขา้ รบั เพ่อื พฒั นาเป็น เกณฑ์ - ปรบั แผนการรบั ราชการ - วางแผนการ อาจารย์ในระดบั - ผลการรปรับทนุ เพ่อื ใหส้ ามารถ พฒั นา คณุ สมบัติ ปรญิ ญาตรี ระดบั ไมเ่ ปน็ ไปตาม ดำเนินการไดบ้ รรลุ ความเป็น อาจารย์ ประสบการณ์ แผน เป้าหมาย - วางแผนธำรง รกั ษา และระดับ - จดั กิจกรรมเร่งรดั ปรญิ ญาโท ภาษาอังกฤษให้แก่ - ดำเนินการ อาจารย์ทุน ตดิ ตามทุนทุก 3 - มอบหมายให้ เดอื น อาจารย์ทนุ และวา่ - ดำเนนิ การ ท่อี าจารย์ทุนมี กิจกรรมพัฒนา ประสบการณ์สอน ความเป็นอาจารย์ ในระดบั หลกั สูตร โครงการอบรมครู Non degree ที่ พ่เี ล้ยี ง คณะพยาบาล - คา่ ยคณุ ธรรม ศาสตร์เปิดสอน ความเป็นครู - กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความเปน็ ผู้นำ - กิจกรรมการ พฒั นาผลงาน วชิ าการ - กิจกรรมพฒั นา ทักษะดา้ น ภาษาอังกฤษ - สรปุ ผลการ ดำเนินงานดังนี้ แผนการรบั ทนุ จำนวน 21 ทนุ ระดบั ปรญิ ญาตรี Page | 6 6 / 119
วงรอบท่ี/ วงจรการพัฒนาคุณภาพ ระยะเวลา Plan Do Check Act จำนวน 6ทนุ - ปรบั แผนรับโดย การประชาสัมพนั ธ์ ระดบั เชิงรุกไปยงั กล่มุ เป้าหมาย ประสบการณ์ วชิ าชพี การ พยาบาลและการ ผดงุ ครรภ์ชั้น 1 จำนวน 3 ทุน ระดับปรญิ ญาโท จำนวน 5 ทุน ผล การดำเนนิ การ ผู้ ได้รบั ทุนทงั้ สน้ิ จำนวน 15 ทนุ ระดับปรญิ ญาตรี จำนวน 6ทนุ ระดับปรญิ ญาโท จำนวน 8 ทุน ระดบั ปริญญาโท ไม่เกิน 1 ปี จำนวน 1 ทนุ ทงั้ นีม้ ผี ขู้ ้นึ ทะเบยี นระดบั ปริญญาโทจำนวน 4 ทนุ อาจารยท์ ่ี กลับมายังมี คุณสมบตั ไิ ม่ผ่าน ภาษาองั กฤษ 3 ตุลาคม - วางแผนการ - ดำเนินการสรรหา - ประเมนิ ผล 2565 - รับสมัครผู้มี เมษายน 66 คณุ สมบัติ และคดั สรรผมู้ ี การ คณุ สมบตั เิ พ่อื รับ ดำเนนิ การ ทุนเพอื่ ใหค้ รบ ตามแผน Page | 7 7 / 119
วงรอบท่ี/ Plan วงจรการพฒั นาคุณภาพ Act ระยะเวลา - วางแผนระบบ Do Check ติดตาม - ดำเนนิ การแต่งตัง้ Page | 8 ความกา้ วหน้า อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา - วางแผน เพ่ือเป็นกลไกใน กระบวนการ ติดตาม ทำงานสำหรบั ความก้าวหน้า ผูท้ ่สี ำเร็จ ของนกั ศึกษาทนุ การศกึ ษา เพ่ือ เพือ่ พัฒนาเป็น กลบั เขา้ รบั อาจารยใ์ นระดบั ราชการ ปริญญาตรี ระดบั - วางแผนการ ประสบการณ์ พฒั นา และระดบั คุณสมบตั ิ ปรญิ ญาโท ความเป็น - ดำเนนิ การ อาจารย์ ตดิ ตามทุนทุก 3 - วางแผนธำรง เดือน รักษา - ดำเนนิ การ กจิ กรรมพัฒนา ความเป็นอาจารย์ โครงการอบรมครู พี่เล้ียง - ค่ายคณุ ธรรม ความเปน็ ครู - กิจกรรมส่งเสรมิ ความเปน็ ผู้นำ - กจิ กรรมการ พัฒนาผลงาน วิชาการ - สรปุ ผลการ ดำเนินงานดังนี้ ปัจจุบนั ทีผ่ ูร้ ับทนุ แล้วทั้งส้นิ 8 / 119
วงรอบที่/ Plan วงจรการพัฒนาคุณภาพ Act ระยะเวลา Do Check จำนวน 27 คน ในระดบั ปรญิ ญา โท จำนวน 26 คน รวมทงั้ สน้ิ 53 คน ซงึ่ ดำเนนิ การภายใน ระเบียบทุน ระเบียบ มหาวิทยาลัยราช ภฏั นครปฐมวา่ ด้วยการใหท้ ุน นกั ศกึ ษาคณะ พยาบาลศาสตร์ เพอ่ื พัฒนาเป็น อาจารย์พยาบาล พ.ศ. 2563 ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ แนวทางการพฒั นาต่อไป - การสำเร็จการศึกษาของนกั ศึกษา หลงั จากสำเรจ็ การศกึ ษาแล้วยังมกี ระบวนการดำเนนิ การทาง ธุรการทำให้นกั ศกึ ษาทนุ ที่สำเร็จการศกึ ษายังไมส่ ามารถกลบั ปฏิบตั ิงานได้เนื่องจากยังไม่มีใบ อนุมัตปิ ริญญา ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนา - กระบวนการ PDCA ในการทำงานช่วยใหส้ ามารถบรรลกุ ารดำเนนิ การได้ ปจั จยั ความสำเรจ็ - ระบบและไก กระบวน การติดตามและการรายงานความกา้ ว มีความสำคัญทำให้สามารถกำกบั ติดตามให้นกั ศกึ ษาสำเรจ็ การศึกษาได้ตามแผน Page | 9 9 / 119
แนวปฏิบตั ิทดี่ ี ดา นแนวปฏบิ ตั ิ : แนวทางการบรู ณาการงานสอน งานวจิ ยั งานบรกิ ารวชิ าการ ผลักดนั การพัฒนาอาจารยจากชดุ ความคิดการบรหิ ารเพ่อื สรา งความโดดเดนดานวิชาการและวิชาชพี คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี 1. ช่อื เรอื่ ง / แนวปฏิบตั ิ แนวทางการบูรณาการงานสอน งานวิจัย งานบรกิ ารวิชาการ ผลกั ดนั การพฒั นา อาจารยจ ากชดุ ความคิดการบรหิ ารเพ่ือสรางความโดดเดนดานวิชาการและวชิ าชพี 2. ชือ่ หนวยงาน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ านี 3. คณะทำงาน คณะกรรมการฝายแผนและทรัพยากรบคุ คล 4. บทสรุปโครงการ การบริหารงานทรัพยากรบุคคลคณะพยาบาลศาสตรทั้งสายวิชาการและสาย สนบั สนุน ไดม องหากลยุทธก ารดำเนินการเพื่อคณาจารยคณะพยาบาลศาสตร ภายใตช ุดความคดิ “ทำนอ ยได มาก” จึงไดจัดทำ “แนวทางการบูรณาการงานสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ ผลักดันการพัฒนาอาจารย จากชุดความคิดการบริหารเพื่อสรางความโดดเดนดานวิชาการและวิชาชีพ”ขึ้นในปงบประมาณ 2564 ผลการ ดำเนินงานตอเนื่องจนถึงปงบประมาณ 2566 เกิดผลลัพธตอการเลื่อนขั้นประเมินเงินเดือน การเพิ่มจำนวน ผลงานวิจัยของอาจารย และการขอตำแหนงทางวิชาการของอาจารยเพิ่มมากขึ้น ปจจัยสำเร็จ เกิดจากการ สรางระบบและกลไกที่มีความรวมมือกัน มีการตกลงรวมกันของบุคลากรทุกคนในคณะกอนดำเนินการ เห็น เปาหมายความสำเร็จทั้งระดับบุคคล และประโยชนตอหนวยงาน องคกร ฝายบริหารสามารถขับเคลื่อนกล ยุทธบรรลุเปาหมาย ผานกระบวนการมสี วนรวม เห็นคุณคารวมกัน ลดความกดดันใหกับบุคลากรและยงั เพม่ิ ความสขุ และความภาคภมู ใิ จ 5. ท่มี าและความสำคญั ของโครงการ การบริหารงานทรัพยากรบุคคลคณะพยาบาลศาสตรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนนุ มุงผลลัพธตอ ยอดเพื่อรวมกันพัฒนาคณะพยาบาลศาสตรสูการเปนสถาบันการศึกษาผลิตพยาบาลที่เปนเลิศดานการจัด การศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร เปนหลักดานสุขภาพของพื้นที่ มีความเปนสากล การทำงานของ คณะกรรมการฝายงานแผนและพัฒนาบุคคลตกผลึกทางความคิดของการบริหารจัดการที่ดี นอกจากเนน ผลลพั ธความสำเร็จของเปาหมาย กระบวนการดำเนินงานทล่ี ดข้ันตอน ลดการทำงานซ้ำซอ น ชุดความคดิ “ทำ Page | 1 10 / 119
นอยไดมาก” มองหารูปแบบการทำงานที่ตอบโจทยหลายพันธกิจ โดยเฉพาะกลุมบุคลากรสายวิชาการที่มี เงื่อนไขภาระงานสอน งานวิจัยและงานวิชาการอื่นๆ งานทำนุศิลปะวัฒนธรรมและงานพัฒนานักศึกษา นำสู การใชกลยุทธก ารบูรณาการภาระงานคูขนานกับการขับเคลื่อนวิสยั ทัศนองคกร จึงเกิดการพัฒนา “แนวทาง การบูรณาการงานสอน งานวจิ ยั งานบริการวิชาการ ผลักดนั การพฒั นาอาจารยจ ากชุดความคิดการบรหิ ารเพ่ือ สรางความโดดเดนดานวิชาการและวิชาชพี ” เปนชุดความคดิ การบริหารของคณะกรรมการฝายงานแผนและ ทรพั ยากรบคุ คลดว ยความพยายามสรา งระบบและกลไกใหเกดิ ข้ึน เอือ้ อำนวยตอ คณาจารยท ่ีเปน รปู ธรรม 6. วัตถุประสงค 1. เพอื่ สรา งระบบและกลไกการบูรณาการภาระงานอาจารยค ขู นานกับการขบั เคลอื่ นวสิ ัยทศั นองคกร 2. เพื่อเกิดแนวปฏิบัติทน่ี ำสกู ารปฏิบัตอิ ยางเปนรปู ธรรม 7.แนวปฏบิ ตั ทิ ีด่ ี คณะกรรมการฝายงานแผนและพัฒนาบุคลากรไดรบั โอกาสใหมีการนำเสนอภาระกจิ และเปาประสงค เม่ือไดร ับโอกาสเหน็ ชอบจากบคุ ลากรในคณะพยาบาลศาสตรท้งั สายวิชาการและสายสนับสนนุ และถูกแตงต้ัง โดยคณบดคี ณะพยาบาลศาสตร เม่ือวันที่ 25 เดือนมิถุนายน พศ.2563 การทำงานในแตละปงบประมาณผาน การวิเคราะห สังเคราะห ดวยหลักการ SWOT analysis and TOWS จากภาพสะทอนของทีมคณะทำงาน และบุคลากรทุกทานในแตละป หลากหลายชองทางการสื่อสาร นำสูปรับปรุงพัฒนสูแนวปฏิบัติอยางเปน รูปธรรมและเกิดระบบและกลไกการบรู ณาการภาระงานอาจารยคูขนานกับการขับเคลื่อนวิสยั ทัศนองคก รใน ที่สุดในปงบประมาณ พศ.2566 สามารถอธิบายพอสังเขปตามกรอบ PDCA ของเดมมิ่ง (Deming Cycle: Plan-Do-Check-Act) ดังนี้ 7.1 ขั้นวางแผน (P) เมื่อคณะกรรมการฝายงานแผนและทรัพยากรบุคคลไดรับการแตงตั้งโดย คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร เมื่อวันที่ 25 เดือนมถิ ุนายน พศ.2563 รองคณบดฝี า ยแผนและทรัพยากรบุคคล เปนประธานกรรมการ นดั ประชมุ และรว มพจิ ารณาประเดน็ ตา งๆ เพื่อวางแผนการดำเนินงานตามภาระกิจให บรรลเุ ปาหมายของคณะตามเลม แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปงบประมาณ 2564 ที่เกดิ จากความรว มมือ รวม จัดทำและตกลงรว มกันของบุคลากรคณะ หน่งึ ในหลายๆมติที่ตกผลกึ รว มกันคือการผลกั ดนั ใหเกิดระบบและ กลไกการบูรณาการภาระงานอาจารยคูขนานกับการขับเคลื่อนวิสัยทัศนองคกร ในการทำงานของ คณะกรรมการฝา ยงานแผนและทรัพยากรบคุ คลและสรา งแนวปฏบิ ตั ทิ น่ี ำสูการปฏบิ ตั ิอยา งเปนรูปธรรม Page | 2 11 / 119
ขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห สังเคราะห ดวยหลักการ SWOT analysis and TOWS จากภาพ สะทอนของทีมคณะทำงานและบคุ ลากรท้ังคณะ ในปงบประมาณ พศ.2563 ไตรมาส 3 พบวา อาจารยสวน ใหญส ะทอนจดุ ออ นท่กี ระทบตออาจารยในการปฏิบัตงิ านในแตละภาระกิจในสัดสวนที่ไมสมดุลและสงผลตอ การเลื่อนขั้นเงินเดือน การไมตอสัญญาจางของอาจารยตำแหนงพนักงานมหาวิทยาลัย สาเหตุหลักคือขาด ผลงานดานวิชาการและงานวิจัย เมื่อวิเคราะหเชิงลึกพบประเด็นการบริหารจัดการเวลาของแตละบุคคล เปน ไปดว ยความยากลำบากในการจัดสรรเพอื่ ปฏบิ ัตใิ หค รบทุกภาระกิจ การบริหารเวลาเพ่อื การพัฒนาตนเอง ในการเขา รวมอบรม ประชุมวิชาการ และพฒั นาสมรรถนะดานวิชาชพี ตดิ กบั ดกั ตารางการสอนของแตละป การศึกษามกี ารลอ็ คชวงเวลาของรายวิชาของแตล ะสาขาวิชาทไ่ี มส ามารถปรับ เล่อื นภาคการศึกษาได โอกาส การพัฒนาตนเองเพื่อเขา รบั การอบรมในหลักสูตรที่เฉพาะเพิ่มความเชีย่ วชาญในศาสตรสาขาของอาจารยแต ละสาขาวิชานั้นไมสามารถทำไดในบางสาขา แตอาจารยไดสะทอนจุดแข็งของคณะที่ไดจัดสรรงบประมาณ และมีระบบและกลไกในการดำเนินการผานหวั หนาสาขาวิชารวมกบั คณะกรรมการฝา ยงานแผนและพัฒนา ทรพั ยากรบุคคล วางแผน จัดทำโครงการ กำกบั ติดตาม ใหอาจารยไ ดมกี ารพัฒนาศกั ยภาพดานวิชาการและ วิชาชีพผาน “โครงการเสริมสรางความเชี่ยวชาญและสมรรถนะของบุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุน กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะทางคลนิ ิกของอาจารย (Faculty Practice)” มุง เปา อาจารยร อ ยละ 100 7.2 ข้นั ดำเนินการ (D) ขั้นตอนการดำเนินงานสามารถลำดับกิจกรรมและผรู ับผดิ ชอบตามผังการดำเนนิ การดงั น้ี 1. จัดทำและประกาศใหอาจารยท ราบแนวทางการกำกบั ตดิ ตามภาระงานอาจารยทกุ พันธกจิ สอดคลองตามประกาศมหาวทิ ยาลยั (จัดทำฉบับทป่ี รบั ปรงุ ครั้งท1ี่ /2563) ดงั น้ี 2. หัวหนา สาขาวิชามีการนำเสนอแผนการพัฒนาอาจารยรายบุคคลทุกสาขาในการประชมุ วาระเพื่อ พิจารณาแตละปงบประมาณเสนอมายังคณะกรรมการฝายงานแผนและทรัพยากรบุคคล ประกอบดวย Page | 3 12 / 119
รายละเอยี ดดงั น้ี แผนกจิ กรรมรายบุคคลของอาจารย ไดแก 1) พัฒนาทักษะทางคลินิกของอาจารย (Faculty Practice) 2) อบรมเฉพาะทาง (หลกั สตู รระยะสนั้ ) 3) กจิ กรรมพฒั นาบุคลากรสายวชิ าการและสายสนับสนุน วิชาการเพื่อเขาสูตำแหนงที่สูงขึ้น และ 4) กิจกรรมอบรมการพยาบาลเฉพาะทางสาขาศาสตรแ ละศิลปการ สอนทางการพยาบาล เพอื่ รวมจัดสรรงบประมาณและการบริหารจัดการเวลาเชงิ ระบบ แกปญ หาการจัดการ ระดับบุคคลที่พบวา ไมสามารถทำไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ 3. คณะกรรมการฝายงานแผนและทรัพยากรบุคคลไดรวมหารือทีมบริหารคณะ และประชุมหารือ อาจารยท ้ังคณะเพื่อขอความรวมมือและถายทอดแนวทางการดำเนินงานตามขอ 1 มีดำเนินการปฏิบัติใชใน ปง บประมาณ 2564 โดยพรอมเพรียงกนั 4. รองคณบดีฝายวิชาการซึ่งเปนผูกำกับติดตามผลลัพธความสำเร็จ กิจกรรมการพัฒนาทักษะทาง คลินิกของอาจารย (Faculty Practice) ของอาจารยทั้งคณะไดเขารวมประชุมและแลกเปลี่ยนกับสถาบัน อน่ื ๆ และโรงพยาบาลซึง่ เปนแหลง ฝก ในการตกผลึกผลลพั ธท ี่สามารถทำใหเกดิ ประโยชนต อ ทัง้ อาจารยผูเขา พัฒนาทักษะ ผูใชบริการ พยาบาลวิชาชีพ สหวิชาชีพ สถานพยาบาล หนวยงานองคกรตางๆที่มีหนาท่ี ขับเคลื่อนงานสุขภาพ ไดมีการสรุปผลลัพธความสำเร็จโครงการที่มุงใหอาจารยดำเนินการที่สอดคลองกับ ภาระกจิ ดังนี้ 1. ดา นการสอน คอื การเพิม่ ทักษะปฏบิ ัติ Direct Care หรือ Consultation เชน เม่ือมีผปู วย Advanced heart failure หรอื โรคอนื่ ๆ ที่มปี ญ หาสุขภาพซบั ซอนตองเขา รบั การรักษาใน โรงพยาบาล อาจารยอ าจใหก ารพยาบาลโดยตรง/ช้แี นะ/เปน ท่ีปรกึ ษาแกพยาบาลประจาํ หนวย บริการน้ัน ๆ รวมถงึ การจัดตงั้ คลนิ ิก ใหคาํ ปรึกษาปญหาสขุ ภาพท้งั ดานปญหาโรคทางกายและปญ หา สุขภาพจติ 2. ดา นการวจิ ัย คอื การสรางความรวมมือ ผลติ ช้ินผลงานทางวชิ าการ การทาํ วิจัยรว มกับเครอื ขา ย พยาบาล สหวชิ าชีพ ผลติ ชิ้นผลงานวชิ าการ นวัตกรรม เพ่ือพัฒนาระบบบริการและคุณภาพการ พยาบาล 3. งานบริการวิชาการ คอื ใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ เปน ผูเชีย่ วชาญ รวมเปนวทิ ยากรแลกเปลยี่ น และใหการวิพากษชิน้ ผลงาน เพื่อพัฒนาระบบบรกิ ารและคณุ ภาพการพยาบาล 5. คณะกรรมการบรหิ ารคณะไดเ หน็ ชอบกลยุทธการดำเนินการขับเคล่ือนกิจกรรมดังกลาว และมีมติ ใหนำผลลพั ธภาระกิจของอาจารยทีเ่ กิดประโยชนเ ปน ไปตามคาเปาหมายของคณะนำไปคดิ คำนวณเพ่ือเลื่อน ขน้ั เงนิ เดือนโดยเพิ่มตัวคณู ชว่ั โมงภาระงานโครงการวจิ ยั ทไี่ ดรว มกบั หนว ยงานภายนอกและไดทุนสนบั สนุน Page | 4 13 / 119
7.3 ขั้นตรวจสอบ (C) การดำเนินการในปงบประมาณ 2564 ไดมีการประชุมติดตามตามแผนที่กำหนด รายงานผลลัพธ ความสำเรจ็ เปน ไปตามคาเปาหมายหรือไม ในแผนปฏบิ ัติงานราชการประจำ โครงการติดตามการดำเนินงาน พัฒนาบุคลากร ซึ่งเปนการประชุมคณะกรรมการฝายงานแผนและทรพั ยากรบุคคลรวมกบั หัวหนาสาขาวิชา และนำขอ มลู ทไ่ี ดสกู ารหารอื และใหอ าจารย บคุ ลากรสายสนับสนนุ สะทอ นขอ มลู ปจจยั ความสำเร็จของการ ปฏิบัติภาระกิจบรรลุเปาหมาย ในขณะเดียวกันเปดโอกาส รับฟงขอจำกัดของอาจารยบางรายท่ีไมสามารถ ดำเนินการตามแผนของสาขาวชิ าท่ไี ดม มี ตติ กลงกัน ประเดน็ ปญหาทเี่ กดิ จากสาเหตหุ ลกั หรอื ปจจัยแทรกซอน ใดบาง เพ่อื เขา สูก ารปรบั ปรุงแผนพัฒนาในไตรมาสถัดไปกอนสน้ิ ปง บประมาณ 7.4 ข้นั ปรบั ปรุง (A) จากการดำเนินการ 2 ปงบประมาณอยางตอเนื่อง คือ ปงบประมาณ 2564 และ ปงบประมาณ 2565 พบวา ผลการประเมนิ เลอ่ื นข้นั อาจารยต ามประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฎสรุ าษฎรธ านี เรอื่ ง หลกั เกณฑ และวิธการคำนวณภาระงานฯ เปนที่นาชื่นชมดวยอาจารยรอยละ 100 มีการดำเนินการครบทุกพันธกิจได อยางกาวกระโดด ผลการประเมินเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดินรอบการประเมินครั้งที่ 2 1 เมษายน – 30 กันยายน 2564 จนถงึ ณ ปจ จุบนั หนว ยช่วั โมงคาภาระงานพนั ธกจิ เรียงลำดับจากสงู สุดไปตำ่ สุด คือ ดา นการสอน ดา น การวิจัย ดานบริการวิชาการ พัฒนานักศึกษา และทำนุบำรุงศลิ ปะวัฒนาธรรม ตามลำดับ และพันธกิจดา น การสอนและการวิจัยมีคา หนว ยชว่ั โมงท่ีใกลเคียงกนั มากในแตล ะรอบการประเมิน 8. ผลกระทบที่เปน ประโยชนห รอื สรางคุณคา การดำเนินงานภายใตเงื่อนไขภาระงานอาจารยตามพันธกิจและตองมีคาภาระงานขั้นต่ำตามที่ มหาวิทยาลัยกำหนดนน้ั สง ผลใหอาจารยท่มี ีวฒุ กิ ารศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท และไมอยใู นแผนการลาศึกษาตอ ปริญญาเอกตองลูการขอตำแหนงทางวิชาการภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนดเพื่อรักษาสภาพสัญญา การจาง เปนกลุมที่ตองติดตามและกำกับภาระงานโดยเฉพาะภาระงานดานวิจัย ชิ้นผลงานบทความวิจัย หัวหนางานสำนักงานคณบดีเปนผูใหขอมูล ประสานกับกองการเจาหนาท่ีมหาวิทยาลัย แจงใหอาจารย รบั ทราบเงือ่ นไขการตอ สญั ญาจา ง และติดตามเปน รายบคุ คล ใหสทิ ธอิ าจารยแตล ะบุคคลในการดำเนินการตอ ตามระดับการรับรูและการประเมินความเสี่ยงตอ โอกาสการสิ้นสุดสัญญาจาง ภายหลังการนำเอาแนวปฏิบตั ิ “การบูรณาการงานสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ ผลักดันการพัฒนาอาจารยจ ากชุดความคิดการบริหาร เพื่อสรางความโดดเดนดานวิชาการและวิชาชีพ” มาใชในหนวยงาน พบวา ระบบการติดตาม ชวยเหลือ Page | 5 14 / 119
สนบั สนุนใหอ าจารยปฏิบตั ิหนาท่ีครบทกุ พันธกิจแลวน้นั ยงั สามารถทำใหอาจารยม ีชิน้ ผลงานวชิ าการเพ่ิมมาก ขึน้ หัวหนา สาขา คณะกรรมการฝา ยงานแผนและทรพั ยากรบคุ คล เขา มามีบทบาทในการแกไ ข และสนบั สนุน จากการสะทอนในหองประชุม และการไดแลกเปลี่ยนเรียนรูของการดำเนนิ การของสาขาวชิ าที่บรรลุเปาหมาย มคี วามโดดเดน สูสาขาวิชาอนื่ 9. ปจจยั แหง ความสำเรจ็ การสรางระบบและกลไกที่มีความรวมมือกัน มีการตกลงรวมกันของบุคลากรทุกคนในคณะกอน ดำเนนิ การ เหน็ เปาหมายความสำเร็จทั้งระดบั บุคคล และประโยชนตอหนว ยงาน องคกร ฝายบริหารสามารถ ขบั เคล่ือนกลยทุ ธบ รรลเุ ปาหมาย ผา นกระบวนการมสี วนรวม เหน็ คณุ คารวมกนั ลดความกดดันใหก บั บุคลากร และยงั เพิ่มความสุข และความภาคภมู ิใจ 10. ปญหาอปุ สรรคและแนวทางการแกไ ข ในชวงแรกของการดำเนนิ การ คณะกรรมการฝายงานพัฒนาบุคลากรและหัวหนาสาขาตองดำเนินการ รวมกันในการขับเคลื่อนกลยุทธ การประสานและติดตามจำเปนตองใชชุดความคิดแบบ growth mindset รูปแบบการสื่อสารเชิงบวก และเชื่อวาบุคลากรมีความมุงมั่นตั้งใจทุกทาน ผลลัพธที่แตกตางกันในแตละ สาขาวิชา การแลกเปล่ียนดว ยความจรงิ ใจ มงุ ใหเ กดิ การเปล่ยี นแปลงไปในทศิ ทางทด่ี ีขึ้น ทกุ คนตองเปดใจและ กลา ขอความชวยเหลอื ขอความรว มมอื เพอ่ื ใหก ารดำเนนิ การแบบมุงเปา เหน็ ผลลพั ธในระยะสั้น 6-8 เดือน ไม เกิน 1 ป การประชมุ ในแตล ะครั้งจะนำสมู ติทเ่ี ปนไปในทศิ ทางทส่ี ามารถดำเนินการไดทันที 11. แนวทางในการจัดการความรู แนวทางการบูรณาการงานสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ ผลักดันการพัฒนาอาจารยจากชุด ความคิดการบริหารเพื่อสรางความโดดเดนดานวิชาการและวิชาชีพ มีการนำเสนอในที่ประชมุ คณาจารยแ ละ รวมแลกเปลี่ยนเพื่อปรับปรุงอยางตอเนื่อง นำเสนอตอทีมสภาการพยาบาลในการรับรองสถาบันที่ผานมา (กุมภาพันธ 2565) ไดร บั คำแนะนำ ขอ มลู ทเี่ ปน ประโยชนในการตอยอดและปรับปรุงใหสอดคลอ งกับนโยบาย ของสภาการพยาบาล เขยี นโดย ผศ.ดร.ทศั นีย สนุ ทร รองคณบดฝี ายแผนและทรัพยากรบคุ คล คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ านี Page | 6 15 / 119
แนวปฏิบัตทิ ่ีดี ด้านแนวปฏบิ ตั ิ : แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี Faculty of Nursing NPRU: 3C Models คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชภัฎนครปฐม ชอ่ื ผลงาน แนวปฏิบตั ทิ ีด่ ี Faculty of Nursing NPRU: 3C Models คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชภฎั นครปฐม หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฎนครปฐม ผู้พฒั นา รองศาสตราจารย์ดร. หทัยชนก บัวเจรญิ ทมี ดำเนินงาน ผู้ช่วยศาตราจารย์วรยิ า จนั ทร์ขำ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธ์ิ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลภู. ถนอมสตั ย์ และฐาปนยี ์ ซวั่ เซงอ่ี บทสรปุ โครงการ จากการดำเนินงานในปี งบประมาณ พ.ศ. 2560-2564 คณะพยาบาลศาสตร์ นำบทเรยี นการบริการ จัดการคณะฯ มาถอดบทเรียนพบว่า การขบั เคล่อื นคณะพยาบาลศาสตรใ์ ห้ประสบผลสำเร็จ ต้องประกอบไป ด้วย การขับเคลือ่ นยทุ ธศ์ าสตร์ ดา้ นการเรียนการสอน ซ่งึ เปน็ พนั ธะกิจหลกั ของคณะพยาบาลศาสตร์ที่ จะเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้มุ่งสูค่ วามเป็นเลิศในระดับสากล ดังวิสัยทัศน์ “คณะพยาบาลศาสตร์จะเป็นสถาบนั การศึกษาพยาบาลที่มีมาตรฐานวิชาชีพเป็นเลิศด้วยคุณภาพในระดับสากล” ส่งเสริมการพัฒนากำลังคน พัฒนาสมรรถนะ ความเปน็ มืออาชีพ ของบุคคลกร สายวิชาชพี และสายสนับสนุนให้สามารถพฒั นานกั ศกึ ษาได้ ตามแผนทำกำหนด และการรับรู้ ผ่านการกระบวนการ การเข้าถึงและความผกู พนั ในชมุ ชน ทำให้บณั ฑติ คณะ พยาบาลศาสตรม์ ีสมรรถนะพัฒนาความเป็นมืออาชพี เป็นท่ยี อมรับในสังคม คณะฯ เปน็ ส่วนหนึ่งของชุมชน ในฐานผูน้ ำด้านสขุ ภาพ และได้รบั การยอมรับความมมี าตรฐานโดยผ่านการรับรองสถาบันทางการพยาบาลจาก สภาการพยาบาล จำนวน 5 ปี ในปี พ.ศ. 2566-2570 Page | 1 16 / 119
ท่ีมาและความสำคญั ของโครงการ คณะพยาบาลศาสตร์เปน็ คณะทกี่ อ่ ตั้งมาทั้งหมด 13 ปี ปจั จบุ ันคณะพยาบาลศาสตร์ ไดร้ บั การรับรอง สถาบันทางการพยาบาลจากสภาการพยาบาลเป็นระยะเวลา 5 ปี จากการดำเนินการที่ผ่าน คณบดีคณะ พยาบาลรองศาสตราจารย์ ดร.หทัยชนก บัวเจริญ ไดว้ างนโยบายการบริหารงานท้งั ด้านการเรียนการสอน โดย วางกรอบในเรอื่ งของการเรยี น โดยมี วสิ ัยทัศน์ วา่ “คณะพยาบาลศาสตร์จะเป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลท่ี มีมาตรฐานวิชาชีพเป็นเลิศด้วยคุณภาพในระดับสากล” คณะฯ มุ่งพัฒนาคุณภาพหลักสูตร จึงมีการจัดทำ หลักสูตรตามกรอบ AUN-QA เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายด้านการจัดการเรียนการสอน หรือ C1 Curriculum: AUN-QA มุ่งผลิตบัณฑิตพยาบาลนักปฏิบัติที่มีคุณภาพ ได้รับการยอมรับมาตรฐานวิชาชีพและยึดมั่นใน จริยธรรมแห่งวชิ าชพี มอี ัตลกั ษณ์ ทีป่ ระกอบดว้ ย มคี วามสามารถในการคิดเชงิ ระบบ (systemic thinking) มี ความสามารถในการสอ่ื สาร และการประสานงาน การทำงานในชุมชน (communicator: collaborator) มี ความเป็นผู้นำท่ีสร้างสรรค์ (leadership creator) และสามารถสร้างสรรค์ และนำใช้นวัตกรรมในชุมชนได้ อย่างเหมาะสม ดังอตั ลักษณ์ “พร้อมเรียนรู้ มีจติ ใหบ้ รกิ าร” การพัฒนาองคก์ ารให้มคี ุณภาพจำเป้นต้องมีการเตรยี มความพร้อมบุคลากรด้านวชิ าการ ให้สามารถ ทำงานด้านวิชาการได้เตม็ ศักยภาพ และมสี ายสนบั สนุนเพ่ือหนนุ เสริมการทำงานใหม้ ีศกั ยภาพ และสมมรถนะ ความเป็นมืออาชีพ ภายใต้ ค่านิยม NPRU competency ซึ่งประกอบด้วยความเป็นมืออาชีพ ความ รับผิดชอบ และความเป็นน้ำหนึ่งใจเดี่ยวกันของคณะพยาบาลศาสตร์ราชภัฏนครปฐม ซึ่ง คือ C2 competency NPRU Nurse การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื จำเป็นตอ้ งสรา้ งเขา้ ถงึ ผกู พัน ไว้วางใจจากชมุ ชน หรือ C3 - Community Engagement: ผ่านกระบวนการ HEALTH CARE SERVICE ผ่านการทำงานของสถาบนั เสรมิ สุขภาพสำหรบั ผสู้ งู อายุ แสวงหาคคู่ วามร่วมมอื ผลติ พยาบาลจากชมุ ชนและคณะ ฯ สร้างความยั่งยนื ในอนาคตเพื่อเปน็ เครื่อง ประกนั ความมั่นคงในการพัฒนาองคก์ รโดยใหท้ ุนแก่นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์เพื่อพัฒนาเป็นอาจารยค์ ณะ พยาบาล(FUNDING for nursing student) จำนวน 80 ทนุ ดำเนินการภายในระเบียบทุนระเบียบ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐมว่าด้วยการใหท้ ุนนักศกึ ษาคณะพยาบาลศาสตร์เพ่ือพฒั นาเป็นอาจารยพ์ ยาบาล พ.ศ. 2563 จากการดำเนิน คณะฯ ทำการถอดบทเรียนจากการนำและการบริหารองค์ และวางทิศทางเพื่อให้ คณะพยาบาลศาสตรส์ ามารถบรรลุ วสิ ัยทศั น์ทก่ี ำหนด และไดร้ ับรองจากสภาการพยาบาลเปน็ ระยะเวลา 5 ปี Page | 2 17 / 119
วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ วางแผนการพัฒนาองค์กรคณะพยาบาลศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐมในเชิงบรูณาการ ประกอบด้วย 1) ดา้ นการเรยี นการสอน 2) การวิจยั และบริการวชิ าการ ผา่ นกระบวนการเข้าถึงผูกพัน ไว้วางใจจากชมุ ชน 3) ระบบบริหารจัดการทรพั ยากรบุคคล และการพัฒนาคณะอย่างยง่ั ยนื Page | 3 18 / 119
วงจรการพัฒนาคณุ ภาพ วงรอบท/ี่ วงจรการพัฒนาคุณภาพ ระยะเวลา 1มิถุนายน- Plan Do Check Act กนั ยายน - ยกร่างแผน 2563 ยทุ ธศาสตร์ ระยะ 4 - ศึกษาข้อมลู ประเมินผลการ - จัดทำระเบยี น ปี เพื่อบรหิ ารจัดการ คณะพยาบาล ย้อนหลังคณะ ดำเนินการพบว่า มี ทนุ ระเบยี บ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั พยาบาลศาสตร์ ปญั หาเรื่องจำนวน ราชภฏั นครปฐม ว่าดว้ ยการให้ทนุ - ทำ SWAT analysis อาจารย์ คณะ นักศกึ ษาคณะ - เปรียบเทยี บจุดอ่อน พยาบาลศาสตร์ และ พยาบาลศาสตร์ จำนวนงานวิจยั ท่ี เพอ่ื พฒั นาเป็น จุดแขง็ คณะ อาจารย์ เปน็ ไปในจำนวนที่ พยาบาล (ฉบับ - ศกึ ษาเปรยี บเทยี บ นอ้ ย ไมบ่ รรลุ ท่ี 1) พ.ศ. 2563 เปา้ หมาย แนวการบรหิ ารท่ดี ี - ดำเนินการ จากแหลง่ ข้อมลู วางแผนให้ ต่างๆ อาจารย์ ดำเนินการวจิ ยั - สง่ ร่างแผน และตีพมิ พ์ 1คน 1 เรอ่ื ง/ปี โดย ยทุ ธศาสตร์เขา้ สู่ ใหท้ ำบันทึก ขอ้ ตกลงระหว่าง กระบวนการ คณะฯ และ อาจารย์ กลั่นกรอง วางแผนพฒั นา - ไดร้ บั การผ่านความ หลักสตู รเป็นแบบ AUN-QA เพอ่ื มุ่ง เห็นชอบ จาก พฒั นาผู้เรยี นตามผล การเรียนรทู้ ่คี าดหวัง กรรมการประจำ เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพ บณั ฑติ คณะ - ดำเนินการตามแผน ยทุ ธศาสตร์ และ แผนปฏบิ ัตกิ าร วงรอบท่ี 1 - สรุปผลการ ดำเนินการ 2 ตุลาคม - ปรับแผนยทุ ธ์ - นำผลการดำเนินการ - ประเมนิ ผลการ 2563 – กนั ยายน2564 ศาสตรเ์ พ่อื ให้ ตามแผนยทุ ธศาสตร์ ดำเนนิ การพบว่า สอดคล้องกับ สถานการณแ์ ละ มาวเิ คราะห์ ปรับ - ผลการสอบยังไม่ สามารถบรรลุ ตวั ชี้วัด แผนรว่ มกนั เป็นไปตาม - สรุปผลการ เปา้ หมาย ดำเนนิ การคณะมี อาจารย์ทนุ เป็นไป ตามเป้าหมาย Page | 4 19 / 119
วงรอบท/่ี วงจรการพัฒนาคณุ ภาพ ระยะเวลา Plan Do Check Act - มีงานวิจยั เป็นไป ตามเป้าหมาย ตุลาคม 2564 - ปรบั แผนยทุ ธ์ - ดำเนินการตาม - ประเมินผลการ - เผยแพร่ 3C - กนั ยายน 65 ศาสตร์และวาง กระบวนการพฒั นา ดำเนนิ การโดย models ไปยงั แผนการจดั ทำ หลักสูตร แบบ หลักสตู รตามกรอบ ใช้ 3C models หนว่ ยงานในเครอื ข่าย AUN-QA AUN-QA ในการบริหาร - พัฒนาบคุ คลากร จดั การองคก์ ร ตามกรอบ AUN-QA ได้ประสทิ ธผิ ล - ดำเนินถอดบทเรียน บรรลุตวั ชว้ี ดั 100 ความสำเร็จการ ทำงานวิจยั และการ ทำ Faculty practice - ถอดบทเรยี นการทำ กับชุมชน - สรุปบทเรยี น ใน รปู การบรหิ ารงาน เปน็ 3C models ตุลาคม 65 - - ใชก้ าร - ดำเนินการงานใน - ประเมินผล เผยแพร่ 3C เมษายน 66 บรหิ ารงาน 3C คณะแบบ 3C ดำเนินการโดย models ไปยงั models models ใช้ 3C models หน่วยงานในเครือข่าย - คณะได้รบั การ ในการบริหาร รบั รองสถาบนั จัดการองค์กร ทางการพยาบาล ได้ประสทิ ธผิ ล จากสภาการ พยาบาลเปน็ ระยะเวลา 5 ปี Page | 5 20 / 119
หทยั ชนก บัวเจรญิ (2565). ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ แนวทางการพฒั นาต่อไป - การดำเนนิ การใชร้ ะยะเวลานาน จงึ เห็นผลในเชงิ รปู ธรรม ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนา - กระบวนการ PDCA ในการทำงานชว่ ยใหส้ ามารถบรรลุการดำเนินการได้ ปจั จยั ความสำเร็จ - ระบบและไก กระบวน การตดิ ตามและการรายงานความก้าว มคี วามสำคัญทำให้สามารถกำกับ ติดตามให้องค์กรดำเนินการสำเร็จการศึกษาไดต้ ามแผน Page | 6 21 / 119
แนวปฏบิ ตั ิที่ดี ดา้ นแนวปฏิบตั ิ : การจัดการเรียนการสอน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบรุ รี ัมย์ 1. ชื่อเร่ือง / แนวปฏิบัติ การจดั การเรียนการสอนดว้ ยสถานการณจ์ าลองเสมือนจรงิ 2. ชื่อหนว่ ยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย์ 3. คณะทางาน - อาจารยร์ ชั นี ผิวผอ่ ง - อาจารย์ ดร.ณรงคก์ ร ชัยวงศ์ - อาจารยน์ งนชุ หอมเนียม - อาจารยเ์ พมิ่ พูล บุญมี - อาจารย์สุกัญญา บรุ วงศ์ - อาจารยญ์ าสณิ ี ทองมี 4. บทสรุปโครงการ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ได้จัดทาแนวปฏิบัติที่ดีการจัดการเรียนการสอน ด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริง มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนด้วย สถานการณจ์ าลองเสมือนจริง โดยมกี ารจดั การแลกเปล่ียนเรียนรู้ และมีการดาเนินการในปีการศึกษา 2564 - 2565 ตามกระบวนการ PDCA สรุปเป็น 4 ด้าน แบ่งเป็น 20 ข้อ ดังน้ี ด้านท่ี 1 การพัฒนาอาจารย์และ บุคลากรห้องปฏิบัติการ ด้านท่ี 2 การพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน ด้านท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบ SBL และด้านที่ 4 เครือขา่ ยความร่วมมือการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL การประเมินผลลัพธ์ พบว่า อาจารย์และบุคลากรห้องปฏิบัติการ ผ่านการอบรมการจัดการเรียน การสอนด้วย SBL คิดเปน็ ร้อยละ 100 และมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดการเรียนการสอนดว้ ย SBL หลังเรียนดีกว่าก่อนเรียน มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากท่ีสุด กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่มีการนารูปแบบ SBL ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนมากที่สุด จานวน 5 รายวิชา อาจารย์ได้รับการคัดเลือกในการแข่งขัน ความเป็นเลิศด้านการจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริง ผลลัพธ์การเรียนรู้ในหัวข้อท่ี จดั การเรียนการสอนดว้ ย SBL อยูใ่ นระดบั ดี เกิดการทางานร่วมกบั เครือข่ายเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน ด้วย SBL นกั ศึกษามคี วามพึงพอใจต่อรปู แบบจดั การเรียนการสอนดว้ ย SBLในระดบั มากที่สดุ Page | 1 22 / 119
5. ทม่ี าและความสาคัญของโครงการ การจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริง (Simulation based learning : SBL) เป็นรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนโดยผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) โดยกระบวนการเรียนรู้ ทถี่ ูกสร้างข้ึน ตามเป้าหมายท่ีต้องการเพื่อให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ท่ีจาเป็น (O’Donnell et al., 2014) เป็น รปู แบบที่นามาใช้ในการสอนนักศึกษาพยาบาลมากขึ้นในปัจจุบัน การจดั การเรยี นการสอนแบบ SBL ส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดความรู้ ทักษะปฏิบัติ ความสนใจในการเรียนรู้ มีการคิดวิเคราะห์ เกิดทักษะในการแก้ปัญหาทาง คลินิก เกิดความมั่นใจ รวมทั้งความเอื้ออาทร และการทางานร่วมกับผู้อื่น (La Cerra et al., 2019; Li, Au,Tong, Ng & Wang, 2022; Tonapa, Mulyadi, Ho, & Efendi, 2023) และส่งเสรมิ ให้เกิดการเรียนรูแ้ บบ ผู้ใหญ่ (adult learning) และเป็นการเรียนการสอนแบบ active learning เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วมและมี ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรม ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ โดยครูจะเป็นผู้ช่วยให้เกิดกระบวนการ เปลี่ยนแปลง ท้ังด้านความรู้ทักษะ พฤติกรรม ค่านิยม และทัศนคติ ซึ่งครูจะไม่เป็นผู้สอนอย่างเดียว แต่จะมี บทบาทเป็นผู้อานวยความสะดวกในการเรียน (Learning Facilitator) หรือเป็นผู้ร่วมกิจกรรม ซึ่งสัมพันธ์กับ ความพึงพอใจในกิจกรรมการเรียน การแจ้งวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และการเกิดความมั่นใจในการจัดการผู้ป่วย ในสถานการณ์จาลองเสมือนจรงิ (La Cerra et al., 2019) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ได้เปิดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิตเมื่อปีการศึกษาถึงปัจจุบันเป็นเวลา 6 ปี และได้เร่ิมการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL เมื่อปีการศึกษา 2564 ทั้งในรายวิชาทฤษฎีและการประเมินทักษะการปฏิบัติการพยาบาล การจัดการเรียน การสอนด้วยสถานการณ์เสมือนจริง การเตรียมความพร้อมก่อนฝึกทักษะทางการพยาบาลในหอผู้ป่วย ซึ่งอยู่ ในช่วงเร่ิมต้นในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL คณะผู้จัดกิจกรรมการจัดการองค์ความรู้จึงได้ จัดการถอดบทเรียนและองค์ความรู้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ SBL และเพื่อเป็นแนวทางสาหรับการ พัฒนาในการเรยี นสถาบนั การศึกษาท่เี ริ่มใช้รปู แบบการเรียนการสอนด้วย SBL ต่อไป 6. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริง คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย์ 7.แนวปฏบิ ัติที่ดี ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะพยาบาลศาสตร์เร่มิ นารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนด้วย SBL มาใช้คร้งั แรก มกี ารวางแผนโดย คณะกรรมการบรหิ ารคณะมนี โยบายให้นารปู แบบการจดั การเรียนการสอนด้วย SBL Page | 2 23 / 119
มาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน การเตรียมนักศึกษาก่อนขึ้นฝกึ ปฏบิ ัตปิ ระสบการณ์วิชาชพี แตย่ ังไมใ่ ห้นามา ประเมนิ ผลนักศึกษา และมีแนวทางในการพัฒนาทัง้ หมด 10 ขอ้ ดงั ต่อไปนี้ 1. การพฒั นาอาจารย์และบุคลากรหอ้ งปฏบิ ัติการ 1.1 การเรียนรู้และฝึกทกั ษะพน้ื ฐานเกี่ยวกับเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ การใชง้ านหนุ่ จาลองเสมอื นจริง ระดบั สงู 1.2 อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการใชส้ ถานการณ์จาลองเสมือนจริงระดับสูง (high fidelity simulation) 1.3 อบรมเชิงปฏิบัติการการออกแบบสถานการณจ์ าลองเสมือนจริง (Scenario) โดยความ รว่ มมอื จากเครือข่ายโรงพยาบาลบรุ รี ัมย์ 1.4 สง่ ตัวแทนอาจารย์เขา้ รับการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยสถานการณ์ จาลอง 1.5 ส่งบคุ ลากรห้องปฏบิ ัติการอบรมหลกั สตู รนกั ปฏบิ ัตกิ ารเพื่อการจัดการเรยี นการสอนดว้ ย สถานการณจ์ าลองเสมือนจรงิ 2. การพัฒนาหอ้ งปฏบิ ัติการ โดยจดั หอ้ งปฏบิ ตั ิการเสมือนจริงคล้ายกับหอผปู้ ว่ ยจริง รวมทง้ั จดั หาวัสดุ อปุ กรณ์ตา่ งๆใหเ้ สมอื นกับอยู่ในโรงพยาบาล 3. นโยบายของผ้บู รหิ าร โดยใหม้ ีการนารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมอื น จริงไปใช้ในกระบวนการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ าทางการพยาบาล อยา่ งน้อย 1 หวั ขอ้ ทุก รายวิชา โดยยังไม่ใชเ้ ปน็ เกณฑ์วดั และประเมินผล 4. การศึกษาดงู านห้องปฏิบตั ิการเสมือนจริงของโรงพยาบาลบรุ ีรมั ย์ 5. การวางแผนความรว่ มมือการจดั การเรียนการสอนด้วยสถานการณ์เสมืนจริงแบบสหสาขาวิชาชีพกับ โรงพยาบาลบุรรี ัมย์ การประเมินผล 1. อาจารย์และบุคลากรหอ้ งปฏิบตั ิการ มีความรู้ความเขา้ ใจในกระบวนการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ไมเ่ พียงพอ 2. การนารปู แบบ SBL ไปใชไ้ ม่ครบทุกกลุ่มวิชา 2. รูปแบบการจดั การเรียนการสอนด้วย SBL ยงั ไมช่ ัดเจน 3. แนวทางในการประเมินผลลัพธข์ องนักศึกษา ยังไมม่ ี 5. มโี จทยส์ ถานการณ์ยังไมห่ ลากหลาย 4. ความรว่ มมือกบั เครือข่ายยังไมเ่ กิดการจัดการเรยี นการสอนแบบสหสาขาวชิ าชีพ ขอ้ เสนอแนะ ควรมีการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรห้องปฏิบัติการเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดการ เรียนการสอนด้วย SBL การพัฒนาโจทย์สถานการณ์ให้มีความหลากหลายเพ่ือนาไปใช้ในการจัดการเรียนการ Page | 3 24 / 119
สอนเพิ่มข้ึน ควรมีการจัดทาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL และการประเมินผลลัพธ์ที่ชัดเจน ควรมีการจัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL และควรพัฒนาการจัดการเรียนการสอน SBL แบบสหสาขาวชิ าชพี ปีการศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตร์ได้ปรับปรุงแนวทางในการนารูปแบบการจัดการเรียน การสอนดว้ ย SBL จากขอ้ เสนอแนะในปีการศกึ ษา 2564 ตามกระบวนการ PDCA ดงั ตอ่ ไปน้ี 7.1 การวางแผน (Plan) 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมเพื่อวางแผนการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ในกลุ่มวิชาตา่ งๆ และการสรา้ งบรรยากาศท่ีเอือ้ ต่อการจัดการเรียนการสอนดว้ ย SBL 2. คณะกรรมการบริหารประชุมเพื่อวางแผนงบประมาณในการพัฒนาอาจารย์ บุคลากร ห้องปฏิบัติการให้มีความรู้และทักษะ ส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL และการ วางแผนความรว่ มมือกบั เครอื ขา่ ยในการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL 3. กลุ่มวิชาจดั ประชุมเพอ่ื วางแผนการนารปู แบบการจัดการเรียนการสอนแบบ SBL ไปใช้ ในรายวิชาทีก่ ลุ่มรบั ผิดชอบ 7.2 ข้ันดาเนินการ (Do) โดยมีแนวทางพฒั นา 4 ด้าน แบง่ เป็น 20 ขอ้ ดงั นี้ ดา้ นท่ี 1 การพัฒนาอาจารย์และบุคลากรห้องปฏบิ ัตกิ าร 1.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการภายใน จานวน 2 เรอ่ื งคือ 1) การจัดการเรียนการสอนโดย ใช้สถานการณ์จาลองเสมือนจริง และ2) การพัฒนารูปแบบโจทย์สถานการณ์เพ่ือใช้ในการจัดการเรียนการ สอนดว้ ยสถานการณจ์ าลองเสมอื นจรงิ 1.2 ส่งอาจารย์เข้าแข่งขันด้านความเป็นเลิศด้านการจัดการเรียนการสอนด้วย สถานการณจ์ าลองเสมือนจรงิ 1.3 ส่งอาจารย์เป็นกรรมการตัดสินการจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลอง เสมือนจริง 1.4 บุคลากรห้องปฏิบัติการเรียนรู้เก่ียวกับการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมสถานการณ์ จาลอง และเรียนรู้การเป็นผู้ป่วยจาลอง (Standard patient) และการเปน็ ผชู้ ว่ ยสถานการณ์ (confederate) 1.5 การพัฒนาอาจารย์ในทีมผสู้ อนให้เรียนรู้บทบาทผู้สอนในการทาหนา้ ทตี่ ่างๆในการ จัดการเรียนการสอน SBL โดยการมอบหมายดังนี้ 1) Facilitator จานวน 1 คน 2) ผู้ทาหนา้ ท่ีควบคุมระบบ 1 คน อาจารย์ผ้สู งั เกตการณ์และทาหนา้ ที่ debrief 2-3 คน Page | 4 25 / 119
ดา้ นที่ 2 การพฒั นาสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน 2.1 การจัดโครงการแข่งขันทักษะการตัดสินใจในคลินิกโดยใช้สถานการณ์จาลอง เสมอื นจริง 2.2 จัดทาแบบฟอรม์ การออกแบบโจทยส์ ถานการณ์ 2.3 ส่งนักศึกษาและอาจารย์เข้าร่วมการแข่งขันทักษะโดยการใช้สถานการณ์จาลอง เสมือนจรงิ 2.4 การแสดงความชนื่ ชมยนิ ดกี ับอาจารย์และนักศกึ ษาท่ีเข้าร่วมการแขง่ ขันกบั เก่ยี ว สถานการณจ์ าลองเสมือนจรงิ ทางไลน์กลมุ่ เวบไซด์ และเฟคบุ๊คคณะพยาบาลศาสตร์ ดา้ นท่ี 3 ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ SBL 3.1 การเลือกหัวข้อในการสอนแบบ SBL โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและ อาจารย์ผู้ร่วมสอน แนวทางในการเลือกโดยเป็นสถานการณ์ที่ไม่ได้พบบ่อยในทางคลินิก และเป็นปัญหาท่ีมี ความทา้ ทาย 3.2 การออกแบบสถานการณ์จาลอง โดยต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ของรายวิชา ประสบการณ์ของผู้เรียน และระยะเวลาในการเรียน กาหนดให้มีปัญหาเพ่ือให้เกิดทักษะการแก้ไขปัญหา ทางคลินกิ ภายใตข้ อบเขตของวิชาชพี พยาบาล และไม่ควรซับซอ้ นมากเกินไป 3.3 การออกแบบการวัดและประเมินผลด้วย SBL โดยใช้แบบ check list มีข้อให้ เลือกคือปฏิบัติ และไม่ปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์ท่ีคาดหวังของรายวิชา และแจ้งนักศึกษาให้ทราบใน การปฐมนิเทศและอัพโหลดในระบบ E-learning 3.4 การทดสอบการดาเนินสถานการณ์และการปรับปรุงแก้ไขโดยการทดสอบ แบบอลั ฟา่ โดยอาจารย์ผู้รว่ มสอน และทดสอบเบต้าโดยใช้นกั ศึกษาทม่ี ีคุณสมบัตใิ กลเ้ คยี งกนั 3.5 การจัดกลุ่มนักศึกษา จานวน 3-4 คนตอ่ กลุ่ม 3.6 การเตรียมนกั ศึกษา โดยการปฐมนเิ ทศ ในประเด็นดงั น้ี การจัดการเรียนการสอน ดว้ ย SBL การวัดและประเมนิ ผล บทบาทของผ้เู รยี น การทางานเป็นทมี ทักษะทจี่ าเป็นในการการจัดการ เรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลอง ทักษะการสื่อสารโดยใช้ SBAR ทกั ษะการใช้เทคโนโลยี ทักษะการ บริหารเวลา 3.7 จัดทาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนดว้ ย SBL 3 ข้ันตอน คือ 1) Pre-brief 2) Scenario, และ 3) Debrief 3.8 ข้ันตอนการสอนด้วยรูปแบบ SBL แบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ คือ 1) ระยะเกร่นิ นาหรือการนาเขา้ ส่สู ถานการณ์ (Pre-brief /Introduction) ใช้เวลา 15- 20 นาที ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของนักศึกษา โดยผู้สอนชี้แจงวัตถุประสงค์ มอบหมายบทบาทผู้เรียน แนะนา Page | 5 26 / 119
อุปกรณ์และสถานที่ และให้ผู้เรียนสามารถทดลองใช้หยิบจับเพื่อสร้างความคุ้นเคย แจ้งนักศึกษาให้ปฏิบัติกับ หนุ่ เหมือนผู้ป่วยจริง และแจ้งข้อจากัดของอุปกรณ์ตา่ งๆ แนะนาผู้ชว่ ยในสถานการณ์วา่ มีบทบาทใครบา้ ง ชแ้ี จง กติกาการเข้าร่วม ช้ีแจงโจทย์สถานการณ์ และเวลาในการทาสถานการณ์ และใช้เทคนิค psychology safety เม่อื ผู้เรยี นแบ่งบทบาทหนา้ ที่เรียบร้อย ให้อาจารย์แจง้ เร่ิมสถานการณ์ 2) ระยะลงมือปฏิบตั ิ (Simulation/Scenario running/Observation) ใช้เวลา 15-20 นาที นักศึกษาปฏิบัติหน้าที่ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัว โดยการทางานร่วมกันเป็นทีม อาจารย์ทา หน้าท่ีดาเนินสถานการณ์ ควบคุมสถานการณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเอื้ออานวยการฝึกปฏิบัติของ นักศึกษาอย่างใกล้ชิด และคอยสังเกตนักศึกษาในตาแหน่งท่ีไม่ใกล้เกินไป ผู้ช่วยเหลือทาหน้าที่ตามบทบาทที่ ได้รับและเข้าช่วยเหลือเมื่อนักศึกษาเกิดปัญหา เม่ือนักศึกษาปฏิบัติครบตามสถานการณ์หรือสิ้นสุดเวลา อาจารย์ประกาศสนิ้ สดุ สถานการณ์ 3) ระยะซักถามและสรุปประเด็นการเรียนรู้(Debrief) ใช้เวลา 20 นาที โดยใช้วิธีของ GAS คือ การฟังว่าผู้เรียนรู้สึกอย่างไร (Gather:G) การสะท้อนการปฏิบัติในสถานการณ์จาลอง (Analysis:A) ผู้เรียนบอกแนวทางในการพัฒนาตนเองให้ดีข้ึน (Summarize) อาจารย์ใช้คาถามปลายเปิด เร่ิมสนทนาด้วย มมุ มองด้านบวกสรา้ งความชัดเจนในพฤติกรรมหรือการเรียนรู้ อาจารย์ควรสร้างส่ิงแวดล้อมและบรรยากาศใน การสะทอ้ นคิด ได้แก่ นั่งเป็นวงกลม มีการสะท้อนคิดทางบวกไม่คุกคามผู้เรยี น 3.9 การประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน ใช้เป็นแบบประเมินทางออนไลน์ และ การใหป้ ระเมนิ โดยการสะทอ้ นคิดการจดั การเรยี นการสอนแบบ SBL ดา้ นท่ี 4 เครอื ขา่ ยความร่วมมอื การจดั การเรียนการสอนด้วย SBL 4.1 การออกแบบโจทย์สถานการณจ์ าลองเสมอื นจริงรว่ มกันและการวพิ ากษ์โจทย์ สถานการณ์ 4.2 การร่วมเปน็ กรรมการแข่งขันทกั ษะการตัดสนิ ใจในคลินิกโดยใช้สถานการณจ์ าลอง เสมือนจรงิ 7.3 ขั้นตรวจสอบ (Check) 1. อาจารยแ์ ละบคุ ลากรหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เข้ารบั การอบรมครบทกุ คน คดิ เป็นร้อยละ 100 2. อาจารย์และบุคลากรห้องปฏิบัติการมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดการเรียน การสอนด้วย SBL หลังเรยี นดกี วา่ กอ่ นเรียน 3. อาจารย์และบุคลากรห้องปฏิบัติการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมการอบรม SBL อยู่ ในระดบั มากที่สุด 4. มีการนารูปแบบ SBL ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสาขาการพยาบาลผู้ใหญ่มาก ที่สุด จานวน 5 รายวิชา โดยใช้จัดการเรียนการสอนในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1, 2 Page | 6 27 / 119
สอนทฤษฎีรายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 1 หัวข้อ การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาไตวายเรื้อรัง การ พยาบาลผู้ใหญ่ 2 หัวข้อการช่วยชีวิตขั้นสูง ซ่งึ ใช้ในรูปแบบ formative และ summative evaluation โดย นามาเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึกปฏิบัติจริงในโรงพยาบาล และการสอบ OSCE เม่ือสิ้นสุดการฝึก ปฏบิ ัติ 5. อาจารย์ได้รับการคัดเลือกเข้ารอบ 5 ทีมสุดท้ายในการแข่งขันความเป็นเลิศด้านการ จัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริงที่มหาวิทยาลัยบูรพา และได้รับการคัดเลือกนาเสนอ ในการประกวด SBL รอบตดั สนิ ในการแขง่ ขันทีค่ ณะพยาบาลศาสตร์เกือ้ การุณ 6. ผลลพั ธก์ ารเรียนรใู้ นหัวข้อที่จัดการเรียนการสอนดว้ ย SBL อยูใ่ นระดบั ดี 7. มีการทางานร่วมกับเครือข่ายเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL จานวน 2 กจิ กรรม 8. ยงั ไม่เกดิ การจัดการเรียนการสอนดว้ ย SBL แบบทีมสหสาขาวชิ าชีพ 9. นักศึกษามคี วามพึงพอใจต่อรูปแบบจัดการเรยี นการสอนด้วย SBLในระดับมากที่สุดและ มีข้อเสนอแนะการจดั การเรยี นการสอนดว้ ย SBL ดงั นี้ - ชอบการเรยี นในหอ้ งปฏบิ ัตสิ ถานการณจ์ าลองการเสมือนจรงิ ห้องทาใหไ้ ด้ประสบการณ์ มากมาย อยากให้มีการลองเข้าใชห้ ้องน้ีบ่อยๆ เพราะจะได้เรียนรดู้ ว้ ยตวั เองทุกคน - เพม่ิ ตารางการจดั ซ้อมนอกเวลาให้กับนกั ศึกษา - ควรมีการให้ลองปฏบิ ัติสถานการณ์จาลองการเสมือนจรงิ ก่อนเขา้ สอบหลายๆคร้ัง 7.4 ข้นั ปรับปรงุ (Act) ปกี ารศึกษา 2566 ควรมกี ารปรบั ปรุง ดังนี้ 1) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรกาหนดนโยบายเก่ียวกับการจัดการเรียนการ สอนด้วย SBL และวางแผนการใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นการสอนดว้ ย SBL ในทุกกลุม่ วิชา 2) คณะกรรมการบริการวิชาการควรมีการวางแผนการนารูปแบบ SBL ไปใช้ในการ บรกิ ารวิชาการรว่ มกบั เครือขา่ ย 3) อาจารยผ์ ู้สอนพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนด้วย SBL โดยการทาวิจยั ในช้ันเรยี น 4) อาจารย์ผู้สอนกาหนดชั่วโมงเพื่อให้นักศึกษามีการฝึกซ้อมใช้สถานการณ์จาลอง เสมือนจริงให้ชัดเจน 5) คณะกรรมการบริหารคณะและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดทาแผนปฏิบัติการ การจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ร่วมกับเครือข่ายโรงพยาบาลบุรีรัมย์ หรือเครือข่ายอ่ืนในมหาวิทยาลัย เช่น คณะสาธารณสุขศาสตร์ เพอื่ ออกแบบการเรียนการสอนแบบสหสาขาวิชาชพี ดว้ ย SBL Page | 7 28 / 119
7) คณะกรรมการบริหารพัฒนาศักยภาพอาจารย์โดยการสนับสนุนให้เข้าอบรมและเป็น ผสู้ อนในการจดั การเรยี นการสอนดว้ ย SBL 8) คณะกรรมการบริหารพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏิบัติการโดยการสนับสนุนให้เข้า อบรมหลักสูตร Simulation operation 9) คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรจัดทาคู่มือการจดั การเรยี นการสอนด้วย SBL ออกแบบ การประเมินทใ่ี ชร้ ว่ มกันในทุกกลุ่มวชิ า จดั ทาคลังสถานการณจ์ าลอง 10) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดทาแผนการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ของ นกั ศกึ ษาชั้นปีท่ี 1-4 และกาหนดการวดั สมรรถนะชั้นปดี ้วย SBL 8. ผลกระทบทเี่ ปน็ ประโยชน์หรอื สร้างคุณค่า 1. อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผสู้ อนมีแนวทางและการปรบั เปลี่ยนรปู แบบการสอนแบบ active learning มากขนึ้ 2. นักศึกษาสอบข้นึ ทะเบียนผปู้ ระกอบวชิ าชพี สูงขนึ้ จาก 33% เป็น 60% 3. เกดิ ความรว่ มมือที่ดีกบั เครือขา่ ยด้านการผลติ บัณฑติ ในการทากิจกรรมกบั ทางคณะ 9. ปัจจยั แห่งความสาเรจ็ ภายใน ภายนอก 1) ผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตร์ให้ความสาคัญและสนบั สนนุ การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนดว้ ย สถานการณ์จาลองเสมือนจริง ทง้ั ในด้านนโยบายและการสนบั สนุนงบประมาณต่างๆ 2) ทมี อาจารย์ในกล่มุ การสอนฯ มีการร่วมแรงรว่ มใจและมีส่วนรว่ มในการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ สถานการณจ์ าลอง 3) มีความพร้อมของอุปกรณ์ และสงิ่ สนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนด้วยสถานการณจ์ าลองเสมือนจริง 4) มีผูเ้ ช่ยี วชาญ เครือขา่ ยพยาบาลพ่เี ลี้ยง และแพทย์จากโรงพยาบาลให้ความช่วยเหลอื ชี้แนะ 5) นกั ศกึ ษามีความรบั ผิดชอบ กระตือรือร้นในการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณจ์ าลอง 6) ผู้บรหิ ารมหาวทิ ยาลยั ใหค้ วามสาคัญในการจดั การเรียนการสอนแบบ active learning 7) มหาวทิ ยาลัยสนบั สนนุ งบประมาณสนับสนนุ สง่ิ สนบั สนุนการเรยี นรู้ และงบประมาณในการพฒั นา อาจารยแ์ ละส่งนักศึกษาเข้าแขง่ ขัน 10. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแกไ้ ข - อาจารยผ์ ู้สอนใชเ้ วลาในการจัดการเรียนการสอนดว้ ย SBL มากกวา่ เวลาท่ีกาหนดในตาราง ซงึ่ มีการ ช้แี จงในวนั ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาและกาหนดไวใ้ นตารางเรียนอย่างชัดเจน Page | 8 29 / 119
- ทีมอาจารย์ผสู้ อนมคี วามกังวลในการใช้เทคโนโลยี และการจัดการเรยี นการสอนด้วย SBL ได้มีการ แกไ้ ขโดยหัวหนา้ กลุ่มวชิ าเป็นพเ่ี ล้ยี งและมีการผลัดเปลยี่ นบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ในการจดั การเรยี นการ สอนดว้ ย SBL เพ่ือใหอ้ าจารยไ์ ด้เรยี นร้กู ารทางานในตาแหน่งอ่ืนๆ - นักศึกษาชน้ั ปีที่ 2 ซ่ึงมีการใชก้ ารเรียนการสอนแบบ SBL เป็นครั้งแรกไมเ่ ข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ และมีความต่ืนเต้น แก้ไขโดยการใชเ้ วลาในการปฐมนิเทศการใชอ้ ุปกรณ์ เครอ่ื งมือ และบทบาทหน้าท่ีของ ผู้เรยี นรวมทง้ั ทกั ษะทจ่ี าเปน็ มากขน้ึ 11. แนวทางในการจดั การความรู้ 1. ประชมุ อาจารยเ์ กี่ยวกบั การจดั การเรยี นการสอนโดยใชส้ ถานการณจ์ าลอง 2. ถอดบทเรยี นจากอาจารย์ โดยเฉพาะอาจารย์ทม่ี คี วามสนใจและเปน็ แกนนาในการจดั การเรยี นการ สอนด้วย SBL และเข้าร่วมการแขง่ ขนั SBL 3. วิธกี ารเสาะหาความรู้ มีหลายชอ่ งทาง เช่น จากพส่ี อนน้อง การศกึ ษาคน้ คว้าเพ่มิ เติม การเข้ารว่ ม ประชุมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้กับวทิ ยากรที่มคี วามเช่ียวชาญในการจดั การเรียนการสอนดว้ ย SBL การจดั อบรมเชิง ปฏบิ ัติการ การเขา้ รว่ มแขง่ ขันทักษะ 4. รวบรวมองค์ความรจู้ ากเอกสารผลงานวิชาการท่ีเผยแพร่ 5. การจัดระบบขององค์ความรู้จดั การเรยี นการสอนด้วย SBL 6. เผยแพร่องคค์ วามรู้การจัดการเรียนการสอนดว้ ย SBL ทางเวบไซด์ D-space ของมหาวิทยาลัย Page | 9 30 / 119
แนวปฏิบตั ิทดี่ ี ด้านแนวปฏบิ ัติ :การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลของอาจารย์ (Faculty Practice) สู่ผลลพั ธง์ านดา้ นวจิ ยั คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม 1. ช่อื เร่อื ง / แนวปฏิบตั ิ การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลของอาจารย์ (Faculty Practice) สูผ่ ลลพั ธง์ านด้านวจิ ัย 2. ช่อื หนว่ ยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม 3. คณะทำงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสิทธิ์ และนางสาวมณฑริ า วฒุ ิพงศ์ 4. บทสรุปโครงการ การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์ (Faculty Practice) เป็นการนำความเชี่ยวชาญของอาจารย์ พยาบาลไปพัฒนาให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้รับบริการทั้งในสถานที่โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล รวมถึงการเยี่ยมบ้าน โดยคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้ดำเนินการส่งเสริมให้ อาจารย์ทำ Faculty Practice เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้รับบริการและต่อยอดงานสู่งานวิจัยได้ ภายใต้ แนวคิดของเดมมิ่ง (Deming’s cycle) ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพตาม PDCA ประกอบด้วยขั้นตอน การวางแผน (Plan: P) การลงมือทำ (Do: D) การตรวจสอบ (Check: C) และการปรบั ปรงุ (Act: A) โดยคณะ พยาบาลศาสตร์ได้ดำเนินการและปรับปรุงมาอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่วงรอบที่ 3 ซึ่งได้มีทิศทางของการ Faculty Practice ที่ชัดเจนขึ้นในปีการศึกษา 2566 น้ี คือ การพัฒนาสมรรถนะด้านนักจัดการสุขภาพในทุก กลุ่มวิจัย ซึ่งผลลัพธ์ท่ีคาดหวังคอื ผู้รับบรกิ ารมคี ุณภาพชีวติ ที่ดีและอาจารย์รวมถงึ พยาบาลวชิ าชีพสามารถตอ่ ยอดไปสงู่ านวิจยั และงานวิชาการอ่นื ๆ ไดต้ อ่ ไป 5. ท่ีมาและความสำคัญของโครงการ การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์ (faculty practice) เป็นการนำทักษะการปฏิบัติและความรู้ท่ี เชี่ยวชาญของอาจารย์ไปพัฒนาผลลัพธ์สุขภาพของผู้รับบริการให้ดีขึ้นและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่แหล่งที่ ต้องการใช้ประโยชน์นั้นๆ ทั้งในส่วนของการส่งเสริม ป้องกัน ดูแล และฟื้นฟูในกลุ่มบุคคลทุกช่วงวัยให้มีสุข ภาวะที่ดีและยั่งยืน โดยคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เป็นสถาบันการศึกษาที่มีอาจารย์ พยาบาล 5 กลุ่มวิชา ได้แก่ การพยาบาลสูติศาสตร์ การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น การพยาบาลผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ การพยาบาลชุมชน และการพยาบาลจิตเวช ซึ่งจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติท่ี Page | 1 31 / 119
อาจารย์จะต้องมีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติทางคลินิก (clinical competent) อาจารย์พยาบาลจึงมีความจำเป็นที่ต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องโดยการเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติการ พยาบาลของอาจารย์ตามความเชี่ยวชาญในศาสตร์ของตน โดยบูรณาการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย และหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นพื้นฐานของการให้บริการ มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้รับบริการมีสุขภาวะที่ ดีและย่งั ยนื ทุกช่วงวัย (Sustainable Development Goal 3; SDG3) การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์ หมายถึง กิจกรรมทุกกิจกรรมที่เป็นการบริการของอาจารย์ เป็น การพัฒนาอาจารย์ในทางวิชาการ เป็นการเพิ่มความเชี่ยวชาญอาจารย์ เพื่อนำไปสู่การเป็นนักวิชาการทาง คลินิก (clinical scholarship) โดยมีการบูรณาการบทบาทของการเป็นนักปฏิบัติ ผู้สอน นักวิจัย ผู้ให้ คำปรึกษา และนักบริหาร เข้าไว้ด้วยกัน (สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ, 2562; ธนิษฐา สมัย, 2558; ฉวีวรรณ ธงชัย, กรรณิการ์ กันทะรักษา, มนัสนิตย์ บุญยธรรพ และพรทิวา ทักษิณ, 2553) โดยคุณลักษณะของการปฏิบัติการ พยาบาลของอาจารย์ต้องมีคุณลกั ษณะดังต่อไปน้ี (ธนษิ ฐา สมัย, 2558) 1. มีการวางแผน ติดตอ่ ประสานงาน มีขอ้ ตกลง และจัดการอย่างเป็นทางการและเปน็ ระบบ ระหว่างอาจารย์กับแหล่งฝึกปฏิบัติหรือสถานบริการพยาบาล โดยระบุเป้าหมายและขอบเขตของการ ปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์อยา่ งชัดเจน 2. ใหบ้ ริการแกผ่ ู้ใช้บรกิ าร ทั้งในดา้ นการสอน การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล รวมถงึ การวิจยั 3. แสดงออกถึงบทบาทของการบรู ณาการในหลายบทบาท เช่น นักปฏบิ ัติ ผูส้ อน นักวจิ ัย หรอื นัก บรหิ าร 4. ปฏบิ ตั ิในสาขาและกลุม่ ผูใ้ ชบ้ รกิ ารที่อาจารย์มีความเชยี่ วชาญ 5. อยใู่ นสถานการณจ์ ริงของปัญหาสุขภาพของผใู้ ชบ้ รกิ าร 6. ม่งุ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธข์ องการดแู ลสขุ ภาวะของกลุ่มผู้ใชบ้ รกิ ารท่ีเป็นเป้าหมาย 7. พฒั นาทักษะการปฏบิ ตั ิของอาจารย์ รวมถึงยกระดับความกา้ วหนา้ ของการพยาบาลและวิชาชพี 8. สรา้ งผลงานที่แสดงออกถึงความเปน็ นกั วิชาการทางคลินกิ ซึ่งผลลัพธ์จากการปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์พยาบาลนอกจากเป็นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้รับบริการ แล้ว ยังสามารถต่อยอดเป็นผลงานด้านวิชาการของอาจารย์และพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติการพยาบาลร่วมกัน ได้หลากหลายรปู แบบ เช่น โครงการวิจยั หนังสอื แนวทาง แนวปฏิบัติ เป็นต้น โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งงานวิจัยเป็น อีกภาระกิจที่สำคัญอีกภาระกิจหนึ่งของอาจารย์ที่ช่วยพัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอนรวมถึงคุณภาพ การพยาบาลได้ และส่งผลตอ่ การมีคุณสมบัติของการเป็นอาจารยป์ ระจำหลกั สตู รต่อไป Page | 2 32 / 119
6. วตั ถปุ ระสงค์ 6.1 เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้เกดิ ผลลพั ธท์ ดี่ ตี ่อผ้รู บั บริการ 6.2 เพอื่ ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดคณุ ภาพการพยาบาลและการเรยี นการสอนใหม้ ีประสทิ ธิภาพ อาจารย์พยาบาลเกิดความเชี่ยวชาญในศาสตรข์ องตนอยา่ งตอ่ เน่ือง 6.3 เพื่อสง่ เสรมิ ให้อาจารย์มกี ารพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองและมคี ณุ สมบัติของอาจารย์ประจำ หลกั สูตร 7.แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี คณะพยาบาลศาสตร์ได้ดำเนินงาน การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์สู่ผลลัพธ์งานด้านวิจัยตาม แนวคิดของเดมมิ่ง (Deming’s cycle) ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพตาม PDCA (ภาพที่ 1) มาตั้งแต่ ปกี ารศึกษา 2564-2566 จำนวน 3 วงรอบ รายละเอียดดงั นี้ ภาพที่ 1 วงจรเดมมง่ิ Page | 3 33 / 119
วงรอบที่ 1 เรมิ่ ดำเนินการต้ังแตป่ กี ารศึกษา 2564 (ภาพท่ี 2) หมายเหตุ ภาพท่ี 2 วงรอบที่ 1 ของ การทำ Faculty Practice to Research FP : Faculty Practice ในปีการศึกษา 2564 คณะพยาบาลศาสตร์ได้เริ่มดำเนินการวางแผน (P) Faculty Practice ภายใต้ ผู้รับผิดชอบคือรองคณบดีฝ่ายดูแลงานวิจัยและบริการวิชา ร่วมกับคณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ ตั้งแต่การสำรวจความต้องการทำ Faculty Practice โดยให้สอดคล้องกันกับความต้องการของแหล่งฝึกปฏบิ ัติ โดยศึกษาเงื่อนไขการทำ Faculty Practice ที่กำหนดโดยสภาการพยาบาลร่วมด้วย หลังจากนั้นจัดประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์การทำ Faculty Practice กับแหล่งฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน (ภาพ 3) และ ดำเนินการทำข้อตกลงรว่ มกันทางวิชาการดา้ น Faculty Practice ทุกโรงพยาบาลที่อาจารย์ไปปฏิบตั ิ (ภาพ 4) ในขณะเดียวกันอาจารย์ได้ทำแผนพัฒนาตนเองส่วนบุคคลด้าน Faculty Practice และได้จัดทำนโยบาย Faculty Practice และออกแบบแบบบนั ทึก รวมถึงแผนการกำกับติดตามอย่างต่อเนอื่ ง หลังจากนั้นอาจารย์ได้ทำ (D) Faculty Practice ตามแผนของตนเองโดยดำเนินการตามระเบียบ ราชการและเวลาไม่ซ้อนทับกับการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาล (ภาพ 5) และเมื่อได้มีการกำกับติดตาม ตรวจสอบ (C) การทำ Faculty Practice พบวา่ ได้มีสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 Page | 4 34 / 119
(COVID19) เกิดขึ้น ร่วมกับความเข้าใจไม่ตรงกันของอาจารย์ จึงได้นำปัญหาดังกล่าวมาวางแผนปรับแก้ไข (A) เพื่อนำไปสู่การพัฒนาต่อไป คือ ให้มีการปรับวิธีการการไปเข้าพื้นที่ในโรงพยาบาลเปลี่ยนเป็นการให้ คำปรึกษาด้านวิชาการ (ภาพ 6) เนื่องจากโรงพยาบาลปิดรับการเข้าปฏิบัติการพยาบาลทุกอย่างของทุก สถาบันการศึกษา และมีการจัดอบรมบรรยายพิเศษเรื่องการทำ Faculty Practice โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ (ภาพ 7) และนำเขา้ การประชุมวาระพิจารณาของคณะกรรมการบรหิ ารคณะตามลำดบั ภาพท่ี 3 ประชมุ ชี้แจงวัตถปุ ระสงคก์ ารทำ Faculty Practice กบั แหล่งฝึกปฏิบัติ Page | 5 35 / 119
ภาพที่ 4 ตวั อยา่ งการทำ MOU ภาพที่ 5 ตวั อย่างการทำ Faculty Practice ก่อนสถานการณ์ COVID19 Page | 6 36 / 119
ภาพที่ 6 ตัวอย่างการทำ Faculty Practice หลงั สถานการณ์ COVID19 ภาพที่ 7 การจดั อบรมบรรยายพเิ ศษเร่อื งการทำ Faculty Practice โดยวิทยากรผ้เู ช่ยี วชาญ Page | 7 37 / 119
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นด้านงานวิจัยของอาจารย์ที่นอกเหนือจากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการ ปีการศึกษา 2564 มีจำนวนผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน 2 เรื่อง โครงร่างวิจัยจำนวน 1 เรื่อง บทความวิชาการที่ ตีพิมพ์เผยแพร่จำนวน 1 เรื่อง (ร่าง) บทความวิชาการ จำนวน 1 เรื่อง สื่อการสื่อสารต่างวัฒนธรรม จำนวน 1 เรื่องและจากการติดตามประเมินผลการทำ Faculty Practice พบว่ายังมีอุปสรรคเรื่องสถานการณ์ COVID19 อยู่ แต่ขณะเดียวกันคณะพยาบาลศาสตร์ได้ตระหนักถึงเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาการพยาบาลและ การผดงุ ครรภ์จากสภาการพยาบาลในตวั บ่งชที้ ่ี 9 ร้อยละของอาจารยท์ ส่ี อนวิชาการพยาบาลและวิชารักษาโรค เบื้องต้น ปฏิบัติการพยาบาลในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ (ตัวบ่งชี้สำคัญ) ต้องมีแผนเพิ่มเติมในการจัดทำแผน ระดับบุคคล ระดับกลุ่มวิชา และระดับคณะ เพื่อให้สามารถปรับแผนการทำได้ยืดหยุ่น เน้นการปฏิบัติที่ เกดิ ผลลัพธ์โดยตรงกบั ผรู้ ับบริการ (direct care) ทีม่ คี วามเชอ่ื มโยงและเป็นทศิ ทางเดียวกนั จึงได้เปน็ แนว ทางการปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ในปกี ารศึกษา 2565 ตอ่ ไป (ภาพท่ี 8) วงรอบท่ี 2 เรมิ่ ดำเนนิ การต้ังแตป่ กี ารศึกษา 2565 (ภาพที่ 8) ภาพท่ี 8 วงรอบที่ 2 ของ การทำ Faculty Practice to Research Page | 8 38 / 119
ในปีการศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตร์ได้เริ่มดำเนินการวางแผน (P) Faculty Practice ภายใต้ ผู้รับผิดชอบคือรองคณบดีฝ่ายดูแลงานวิจัยและบริการวิชา ร่วมกับคณะกรรมการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ และ ได้นำผลจากการทำ Faculty Practice ของอาจารย์ในปีการศกึ ษา 2564 มาปรบั ปรุง ดังนี้ 1) มีการจัดทำ แผนระดับบคุ คลท่ีชัดเจน ระบุช่วงเวลา และกิจกรรมการ Faculty Practice ที่เนน้ direct care และการ ต่อยอดงาน 2) มีการจัดทำแผน Faculty Practice ระดับกลุ่มวิชาโดยผู้ประสานกลุ่มวิชา หรือหัวหน้า กลุ่มวิชา โดยผ่านการหารือร่วมกันกับอาจารย์ในกลุ่มเรียบร้อยแล้ว และเชื่อมโยงกับ 3) แผน Faculty Practice ระดับคณะที่จัดทำโดยรองคณบดีดูแลงานด้านวิจัยและบริการวิชาการ โดยมีเป้าหมายในการ พัฒนาผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย (ภาพที่ 9) ที่ผ่านการประชุมหารือกับอาจารย์ภายใน คณะ และผา่ นการพิจารณาจากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและคณะกรรมการประจำคณะ ภาพที่ 9 เป้าหมายการทำ Faculty Practice ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม ปีการศึกษา 2565 หลังจากนั้นอาจารย์ได้ทำ (D) Faculty Practice ตามแผนของตนเองโดยดำเนินการตามระเบียบ ราชการและเวลาไม่ซ้อนทับกับการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาล และเมื่อได้มีการกำกับติดตามตรวจสอบ (C) การทำ Faculty Practice พบว่ามีอาจารย์บางส่วนที่มีแนวโน้มไม่สามารถทำ Faculty Practice ได้ Page | 9 39 / 119
ตามแผน ส่งผลให้ผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามแผนเช่นเดียวกัน โดยมีสาเหตุจากการจัดการบริหารเวลาและ กิจกรรมบางส่วนของคณะพยาบาลศาสตร์และมหาวิทยาลัย จึงได้นำปัญหาดังกล่าวมาวางแผนปรับแก้ไข (A) เพื่อนำไปสู่การพัฒนาต่อไป คือ ช่วยหาแนวทางในการบริหารจัดการเวลาและให้แนวทางเพิ่มเติมในการทำ Faculty Practice พร้อมทงั้ กำกบั ตดิ ตามอยา่ งใกล้ชิด ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นด้านงานวิจัยของอาจารย์ที่นอกเหนือจากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการ ปีการศึกษา 2565 มีจำนวนผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน 7 เรื่อง ทั้งนี้จากผลที่เกิดขึ้นคณะพยาบาลศาสตร์ได้นำผล การทำ Faculty Practice มาวิเคราะห์เพิ่มเติมร่วมกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งนำมาวางแผนต่อในปี การศกึ ษา 2566 ตอ่ ไป วงรอบที่ 3 เรมิ่ ดำเนนิ การต้ังแต่ปีการศกึ ษา 2566 (อยรู่ ะหว่างการดำเนินการ) (ภาพท่ี 10) ภาพท่ี 10 วงรอบท่ี 3 ของ การทำ Faculty Practice to Research Page | 10 40 / 119
ในปีการศึกษา 2566 คณะพยาบาลศาสตร์ได้เริ่มดำเนินการวางแผน (P) Faculty Practice ภายใต้ ผู้รับผิดชอบคือรองคณบดีฝ่ายดูแลงานวิจัยและบริการวิชา ร่วมกับคณะกรรมการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ และ ได้นำผลจากการทำ Faculty Practice ของอาจารย์ในปีการศึกษา 2565 มาปรับปรุง เพิ่มเติมคือให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย โดยกำหนดทิศทางในการทำ Faculty Practice คือ การมี สมรรถนะด้านการจัดการสุขภาพด้านการส่งเสริม ป้องกัน ดูแล และฟื้นฟูสุขภาพในทุกกลุ่มวัย โดย 1) กลุ่มวิชาการพยาบาลสูติศาสตร์และกลุ่มวิชาเด็กและวัยรุ่น เน้นสมรรถนะการจัดการสุขภาพด้านการผู้นำ การส่ือสาร 2) กลมุ่ วิชาการพยาบาลผใู้ หญ่และผู้สูงอาย เน้นสมรรถนะการตัดการสขุ ภาพดา้ นการเป็นผู้นำ และ 3) กลุ่มวิชาการพยาบาลชุมชนและการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช เน้นสมรรถนะการจัดการ สุขภาพด้านการคิดอย่างเป็นระบบ (ภาพที่ 11) ทั้งนี้มีการดำเนินการจัดทำแผนระดับบุคคลที่แผน Faculty Practice ระดับกลุ่มวิชาโดยผู้ประสานกลุ่มวิชา หรือหัวหน้ากลุ่มวิชา โดยผ่านการหารือร่วมกันกับอาจารย์ใน กล่มุ เรียบร้อยแลว้ และเชือ่ มโยงกับ 3) แผน Faculty Practice ระดับคณะท่จี ดั ทำโดยรองคณบดีดูแลงานด้าน วิจัยและบริการวิชาการที่ผ่านการประชุมหารือกับอาจารย์ภายในคณะ และผ่านการพิจารณาจากคณะ กรรมการบรหิ ารหลักสตู รและคณะกรรมการประจำคณะ โดยขณะน้อี ยรู่ ะหวา่ งการดำเนนิ การ ภาพท่ี 11 ทศิ ทางการ Faculty Practice ประจำปีการศึกษา 2566 Page | 11 41 / 119
8. ผลกระทบท่ีเปน็ ประโยชน์หรือสร้างคณุ คา่ 8.1 ผรู้ ับบรกิ าร หรือผ้ปู ่วยมผี ลลพั ธท์ างดา้ นสุขภาพดีขน้ึ 8.2 องคก์ รวิชาชีพพยาบาลและอาจารย์มกี ารพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอื่ ง 9. ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็ 9.1 ผูน้ ำมีวิสยั ทัศนท์ กี่ ว้างไกล และเปน็ ผนู้ ำที่ตนื่ ตัวกับการเปลยี่ นแปลง 9.2 คณะมีระบบและกลไก รวมถึงการกำกับตดิ ตามทีช่ ัดเจน 9.3 มหาวทิ ยาลยั เหน็ ถงึ ความสำคัญและใหก้ ารสนบั สนนุ ดา้ นการดำเนินงานทเ่ี กี่ยวข้อง 9.4 แหล่งฝกึ ปฏบิ ัติและพยาบาลวิชาชพี ให้ความร่วมมอื และรว่ มใจในการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาล รว่ มกัน 9.5 อาจารยต์ ระหนักในความสำคัญของการทำ Faculty Practice ท่ีส่งผลลพั ธ์ท่ีดีต่อผรู้ บั บริการ และสามารถเป็นการตอ่ ยอดงานสูง่ านวิจยั ไดต้ อ่ ไป 9.6 เจ้าหน้าทสี่ ายสนับสนนุ ให้ความช่วยเหลือและสนับสนนุ ใหก้ ารดำเนินงาน Faculty Practice เป็นไปไดอ้ ย่างราบรน่ื 10. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแกไ้ ข ดา้ นอาจารย์ จะมีภาระงานสอนและภารกิจด้านอ่ืนๆ ท่อี าจส่งผลกระทบต่อแผนการทำ Faculty Practice ท้งั นจ้ี ากการกำกบั ติดตามเป็นระยะสามารถช่วยให้อาจารย์มแี นวทางในการทำ Faculty Practice ได้ตามแผน 11. แนวทางในการจดั การความรู้ นำเสนอและแลกเปลย่ี นเรยี นร้แู กส่ ถาบนั อนื่ ๆ ตอ่ ไป Page | 12 42 / 119
เอกสารอ้างองิ ฉวีวรรณ ธงชยั , กรรณกิ าร์ กนั ทะรกั ษา, มนัสนิตย์ บญุ ยธรรพ และพรทวิ า ทักษิณ. (2553). รปู แบบการ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลข้ันสูงของอาจารย.์ วารสารสภาการพยาบาล, 25(4), 46-46. ธนิษฐา สมัย. (2558). บทบาทและสมรรถนะของอาจารย์พยาบาลที่มกี ารปฏิบัตกิ ารพยาบาลสัมพนั ธก์ บั บทบาทการพยาบาลขน้ั สงู สาขาการพยาบาลอายรุ ศาสตร-์ ศัลยศาสตร.์ วารสารพยาบาลศาสตร,์ 78-86. ทศั นา บุญทอง. (2562). มตทิ ป่ี ระชุมพยาบาลแหง่ ชาตคิ รัง้ ที่ 16 : slide ประกอบการประชมุ : การพลกิ โฉมวชิ าชีพการพยาบาลสสู่ ขุ ภาวะถ้วนหน้าอย่างสมบรู ณ์ , วันท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2562. สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ. (2562). การบรรยายพเิ ศษเร่อื งการปฏิบัตกิ ารพยาบาลของอาจารย์ (faculty practice) วันที่ 26 พฤศจกิ ายน 2562 ห้องประชุม 6305 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . 8. ผลกระทบทีเ่ ปน็ ประโยชน์หรือสรา้ งคณุ คา่ Page | 13 9. ปจั จัยแห่งความสำเร็จ 10. ปญั หาอปุ สรรคและแนวทางการแกไ้ ข 11. แนวทางในการจดั การความรู้ 43 / 119
แนวปฏิบัติทีด่ ี ด้านแนวปฏิบตั ิ : การวิจยั วทิ ยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จงั หวดั เพชรบรุ ี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก 1. ช่อื เรือ่ ง / แนวปฏิบัติ : PCK together : การเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการในระดับชาตแิ ละ นานาชาติ 2. ชือ่ หน่วยงาน วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จงั หวัดเพชรบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก 3. คณะทางาน อาจารย์ ดร.จนิ ตนา ทองเพชร หวั หน้างานดา้ นวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ อาจารย์ ดร.อจั ฉราวดี ศรียะศักดิ์ รองผู้อานวยการด้านวิจัยและบรกิ ารวิชาการ และอาจารยป์ ระจางานวิจยั และการจัดการความรู้ 4. บทสรุปโครงการ การพัฒนาผลงานการผลิตและเผยแพร่ผลงานวิจัยของสถาบันการศึกษาให้ได้ตามเกณฑ์ประกัน คุณภาพการศึกษานับเป็นประเด็นที่ท้าทาย เนื่องจากการสร้างองค์ความรู้จากการวิจัยต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ความสนใจและความกระตือรือร้นของผู้วิจัย รวมทั้งต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจและกา ร เอื้ออานวยของบุคลกรทุกระดับ นอกจากน้ี ผู้วิจัยต้องมีศักยภาพในการเผยแพร่ผลงานท้ังในรูปแบบต่างๆ ไม่ ว่าจะเป็นการนาเสนอในการประชุมในเวทีวิชาการที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ และการ เขียนตีพิมพ์บทความวิจัยและผลงานวิชาการลงในวารสารท่ีได้รับการยอมรับตา มเกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษา การประกนั คณุ ภาพการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ประสบกับปัญหาด้านผลลัพธ์การเขียนตีพิมพ์ เผยแพร่ ต่ากว่าเกณฑ์มาโดยตลอดเม่ือประเมินเป็นรายสาขาวิชาหรือความเชี่ยวชาญ และจานวนนักวิจัยรุ่น ใหมม่ ผี ลงานค่อนขา้ งน้อย แม้วา่ ผู้บริหารและบุคลากรจะตะหนักถึงความสาคัญและพยายามแก้ปัญหามาอย่าง ต่อเน่ือง อย่างไรก็ตามจากการเรียนรู้ร่วมกันและการถอดบทเรียน รวมท้ังการนากระบวนการ PDCA (Plan Do Check Act) มาพัฒนาค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีในการส่งเสริมการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงาน วิชาการ ซึ่งวิทยาลัยผ่านการพัฒนาปรับปรุงตามกระบวนการ PDCA มาเป็นระยะเวลา 4 ปี พัฒนาปรับปรุง วิธีการปฏิบัติ แก้ไขปัญหาอุปสรรคร่วมกัน ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตามความเหมาะสม จนวิทยาลัยเกิดผล ลัพธ์และประสบความสาเร็จแบบก้าวกระโดด จนนาไปสู่การ สรปุ เปน็ “แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ีในการส่งในการส่งเสริม การตพี มิ พ์เผยแพร่ผลงานวจิ ัยและผลงานวิชาการ” แนวปฏิบัติท่ดี ี เรื่อง “การส่งเสรมิ การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานวชิ าการ” โดยงานจัดการ ความรู้ วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข เป็นแนวปฏิบัติที่จัดทาข้ึน เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาการดาเนินงานด้านวิจัย ท้ังด้าน Page | 1 44 / 119
การผลิตผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการ และการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เกิดผลลัพธ์เชิงประจักษ์ สอดคล้องกับพันธกิจ นโยบาย ด้านการวิจัย และ พระราชบัญญัติ สถาบันพระบรมราชชนก ที่ต้องการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ รวมทั้งตอบสนองนโยบายและ ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ซึ่งแนวทางปฏิบัติน้ีประกอบด้วยการวางระบบ กลไกการผลิตและเผยแพร่ ผลงานวิจัยท่ีเป็นกระบวนการท่ีต่อเนื่องเป็นรูปธรรม การพัฒนาศักยภาพนักวิจัย การเตรียมนักวิจัยรุ่นใหม่ การสรา้ งระบบการให้คาปรึกษา การช่วยเหลือเก้ือกูลในรูปแบบกัลยาณมิตร จติ อาสา สทุ รียสนทนา การสร้าง เสริมขวัญกาลังใจแบบพลวัตร การจัดทาคู่มือและแนวปฏิบัติต่างๆ การเอ้ืออานวยความสะดวก รวมท้ังผนวก การจัดการความรู้ เร่ือง การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ จัดต้ัง เป็นชุมชนนักปฏิบัติ Community of Practice : CoP) ที่ช่วยให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ จากความรู้และ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรงทั้งจากภายในวิทยาลัย และผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก รวมทั้งกิจกรรมการ จัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ ผลจากความมุ่งมั่นตั้งใจ ความรักและผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร ทาให้เกิดการประสานความร่วมมืออย่างดยี ิ่ง ทาให้ปงี บประมาณ 2562-2565 วทิ ยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี มีผลงานการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการเพ่ิมขึ้นแบบก้าวกระโดด จานวน 26, 36 40 และ 35 เรอื่ ง คดิ เปน็ ผลรวมถว่ งนา้ หนกั 53.89, 59.29,70.36 และ 57.88 ตามลาดับ ซงึ่ เป็นการ สร้างสรรค์องค์ความรู้ท่ีมีการบูรณาการวิจยั กับทุกพันธกิจพร้อมกับการพัฒนาให้อาจารย์ประจามีคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับตาแหน่งทางวิชาการ พัฒนางานวิจัย/ผลงานทางวชิ าการตามหลกั จรรยาบรรณของนักวิจัยที่ดี และจริยธรรมการวจิ ัย วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแนวปฏิบัติท่ีดี เร่ือง การส่งเสริมการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยและ ผลงานวิชาการ เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อคณาจารย์ ผู้บริหารและนักวิจัยในการการนากระบวนการ การ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการวิจัย ไม่ว่าจะเป็นการผลิต เผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวชิ าการ ในรูปแบบ ตารา หนังสือ และนวัตกรรม ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง วิชาชีพ องค์กร สุดท้ายองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัย และผลงานวชิ าการ จะเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อบณั ฑิต องค์กร วิชาชพี ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาตติ ่อไป 5. ท่ีมาและความสาคญั ของโครงการ การวิจัยเป็นพันธกิจสาคัญประการหน่ึงที่สถาบันการศึกษาต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ สถาบันต้นสังกัด ยุทธศาสตร์ของกระทรวง ยุทธศาสตร์การพัฒนาของประเทศและคณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก ซ่ึงมุ่งเน้น ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการเร่งรัดผลิตและเผยแพร่ผลงานวิชาการท่ีมี คุณภาพ ให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติและอาเซียน โดยวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ได้ กาหนดเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ให้มีการผลิตผลงานวิจัยและผลงานวิชาการท่ีเน้นชุมชนให้เป็นที่ยอมรับใน ระดับชาติและอาเซียน มุ่งเน้นให้มีการพัฒนาองค์ความรู้เพ่ือสุขภาวะท่ีย่ังยืน กาหนดให้มีกลยุทธ์ในการ ผลักดันการผลิตและเผยแพร่งานวิจัยและผลงานวิชาการ ให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ/นานาชาติ มีการ Page | 2 45 / 119
ถ่ายทอดสู่แผนปฏิบัติการ เพ่ือให้เกิดการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพเทียบเคียงได้กับเกณฑ์มาตรฐานและ สถาบนั ชนั้ นา การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เป็นเครื่องมือหรือวิธีการในการพัฒนา ประสิทธิภาพในการทางาน การพัฒนาบุคลากร เพอื่ คนทางานทง้ั ระดับปฏบิ ตั ิและบรหิ ารท่ตี ้องการเรียนรู้เร่ือง การจัดการความรู้ โดยเน้นมุมมองใกล้ตัวท่ีง่าย สั้น และกระชับ เป็นจุดเร่ิมต้นสาหรับการศึกษาให้กว้างขวาง ลึกซึ้งต่อไป ซึ่งผู้ที่ทางานในองค์กรใด ไม่ว่าจะเป็นผู้ปฏิบัติงานหรือผู้บริหารก็ต้องมีส่วนร่วมในการจัดการ ความรู้ อาจจะอยู่ในระดับท่ีเป็น เคร่ืองมือ หรือ ตัวช่วย ให้สามารถทางานได้มากข้ึนและดีข้ึน โดยการสร้าง ความมั่นใจ สะดวก ง่าย รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซ่ึงผลที่ตามมาคือ องค์กรอยู่รอดและเติบโตอย่างย่ังยืน ใน สถานการณท์ ม่ี ีการแข่งขันสูงอยา่ งในปจั จุบัน จากการประเมินเพื่อรับรองสถาบันการศึกษาของสภาการพยาบาล เม่ือปีการศึกษา 2559 มี ข้อเสนอแนะจากสภาการพยาบาลให้วิทยาลัยลดจานวนการแพร่ผลงานวิจัยในรูปแบบรายงานสืบเนื่องจาก การประชุม (Proceeding) และเพิ่มการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ีอยู่ในฐาน TCI และวารสารท่ีได้รับการ ยอมรับ ดังนั้น วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี จึงได้มีนโยบายเร่งรัดการตีพิมพ์เผยแพร่ ผลงานวิจยั โดยวางแผนใหค้ ณาจารยไ์ ดร้ ่วมกนั ตั้งเปา้ หมายการพฒั นาจานวนการตพี ิมพ์เผยแพรผ่ ลงานวิจัยใน ระดับชาติและนานาชาติ กาหนดให้เป็นภาระงานรายบุคคลของอาจารย์ โดยฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ รับผิดชอบพัฒนาระบบและกลไกปรับปรุงระบบสนับสนุน สร้างขวัญกาลังใจแก่ผู้มีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ ผลงานวิจัยอย่างหลากหลายและเป็นพลวัตร มกี ารนากระบวนการจัดการความรู้มาใชใ้ นการพฒั นาแนวปฏิบัติ ท่ีดี มีการจัดกิจกรรม/โครงการเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านการผลิตผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการ การเขียน ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการในวารสารท่ีได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ มีกระบวนการ ช่วยเหลือเก้ือกูลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้หลักคิด หลักการทางาน ชื่อว่า “PCK-together” รวมท้ังใช้ กระบวนการพัฒนาคุณภาพ PDCA มาพฒั นาระบบงานอยา่ งต่อเนื่องเปน็ ระบบ เพ่อื ให้วิทยาลัยมีแนวปฏิบัติที่ ดีในการสง่ เสริมสนับสนุนการตีพิมพ์ผลงานวจิ ยั และผลงานวิชาการให้วทิ ยาลัยก้าวสู่ความองค์กรทม่ี ีสมรรถนะ สูงและอาจารย์ประจามีผลงานวิจัยและผลงานวิชาการท่ีมีคุณภาพ สามารถใช้ในการนาเสนอเข้าพิจารณาการ ขอตาแหนง่ ทางวิชาการตาม พระราชบัญญัตสิ ถาบันพระบรมราชชนกตอ่ ไป 6. วัตถปุ ระสงค์ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ประจาด้านการเขียนบทความวิจัย/บทความวิชาการ ตีพมิ พ์เผยแพรผ่ า่ นกระบวนการจดั การความรู้ 2.เพื่อผลักดันการเผยแพร่ผลงานวิจัยให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติให้บรรลุ ตามเกณฑ์ประกนั คุณภาพการศึกษาและสภาการพยาบาล 3.เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเขียนตีพิมพ์เผยแพร่ ของอาจารย์ประจาของ วิทยาลยั โดยผ่านกระบวนการจดั การความรู้ 4.เพ่ือวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ท่ีได้จากการจัดการความรู้ จัดทาเป็นคลังความรู้ ดา้ นการตีพมิ พเ์ ผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั /ผลงานวิชาการ Page | 3 46 / 119
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123