Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ Hügelkultur

คู่มือ Hügelkultur

Published by Sangthien Wongsiri, 2022-01-26 05:32:17

Description: คู่มือ Hügelkultur

Search

Read the Text Version

คมู่ อื องคค์ วามรู้ การทำแปลงแบบ Hügelkultur จัดทำโดย โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสงั คมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวทิ ยาลยั ) แขวงบางชนั เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร สถาบันค้นคว้าและพฒั นาผลิตภณั ฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2564

คูม่ ือองคค์ วามรู้ การทำแปลงแบบ Hügelkultur โดย โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสังคมรายตำบลแบบบรู ณาการ (1 ตำบล 1 มหาวทิ ยาลยั ) แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร สถาบันคน้ ควา้ และพัฒนาผลิตภณั ฑ์อาหาร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 สงิ หาคม 2564 คณะผ้จู ัดทำ ผู้จดั การแขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ดร.อรไท สวสั ดชิ ยั กลุ ผูจ้ ดั ทำ วงษศ์ ริ ิ นางสาวแสงเทยี น กระชั้นกลาง นางสาวณัฐกานต์ อยู่ยงค์ นางสาวอรงอนงค์ ภิญโญภาพ นายอนนั ต์ นำ้ ค้าง นายสรวศิ เลศิ นิธธิ ีรพร นายธนนิ โชต์ (ปกใน)

คำนำ คู่มือองค์ความรู้ เร่ือง การทำแปลงแบบ Hügelkultur จัดทำข้ึนเพ่ือ เผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีการทำแปลงแบบ Hügelkultur ซึ่งภายในคู่มือจะ กล่าวต้ังแต่ความเป็นมา รูปแบบของแปลง การเตรียมวัสดุ ขั้นตอนการทำ ไปจนถึง ข้อดี และขอ้ พจิ ารณาอน่ื ๆ ในการทำแปลงแบบ Hügelkultur ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือ เร่ือง การทำแปลงแบบ Hügelkultur จะเป็นประโยชน์แก่ชุมชน และรวมไปถึงผู้ท่ีสนใจท่ีจะนำไปใช้ประโยชน์ หรือ เป็นแนวทางในการนำไปทำการเกษตร หากมีขอ้ บกพรอ่ งประการใดผู้จดั ทำต้องขออภยั มา ณ โอกาสนี้ โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสงั คมรายตำบลแบบบรู ณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลยั ) แขวงบางชนั เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร สถาบนั ค้นคว้าและพัฒนาผลติ ภณั ฑอ์ าหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์



กิตตกิ รรมประกาศ คู่มือองค์ความรู้ เรื่อง การทำแปลงแบบ Hügelkultur เล่มน้ีสามารถ สำเร็จข้ึนได้ด้วยดีจากความกรุณาของ ดร.อรไท สวัสดิชัยกุล ผู้จัดการตำบล แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ท่ีให้คอยให้ความช่วยเหลือ รวมถึงคำชี้แนะต่างๆ จนทำใหค้ ู่มอื เล่มนสี้ ามารถเสรจ็ สมบูรณ์ข้นึ มาได้ ขอขอบพระคุณ Facebook ฟาร์มเช็งเชื่อ Chengcheu Permaculture Farm และศูนย์กสิกรรมไร้สารพิษวังน้ำเขียว ท่ีให้ความอนุเคราะห์ด้านข้อมูล และรปู ภาพ จนทำให้คูม่ ือเล่มน้ีมอี งค์ประกอบที่สมบูรณ์ สุดท้ายนี้ขอขอบคุณคณะทีมงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม รายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ที่ให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ จนทำให้ คู่มอื เล่มนี้เสรจ็ สมบูรณ์และพร้อมเผยแพรใ่ หแ้ ก่ชุมชน คณะผู้จัดทำ

สารบญั บทนำ.................................................................................................1 บทที่ 1 ..............................................................................................2 Hügelkultur คอื อะไร.........................................................................3 หลกั การ Hügelkultur........................................................................5 Hügelkultur กับ Permaculture แตกต่างกนั อย่างไร...........................9 Hügelkultur กับ Permaculture ในประเทศไทย...................................13 บทที่ 2.............................................................................................15 วิธีการทำแปลงแบบ Hügelkultur....................................................15 2.1 วสั ดุ และอุปกรณ.์ ...............................................................15 2.2 ขั้นตอนการข้ึนแปลงแบบ Hügelkultur..............................20 2.3 เทคนคิ การทำแปลงแบบ Hügelkultur...............................26 บทท่ี 3.............................................................................................28 ข้อดีและขอ้ พจิ ารณาอ่ืนๆ ในการทำแปลงแบบ Hügelkultur..................28

สารบัญ (ตอ่ ) ข้อดีของการทำแปลงแบบ Hügelkultur........................................................28 ขอ้ พจิ ารณาอ่นื ๆ ในการทำแปลงแบบ Hügelkultur....................................29 บทท่ี 4...............................................................................................31 ข้อดี – ข้อเสียวิธีการทำแปลงปลูกแบบใชด้ นิ แตล่ ะประเภท.........................31 เอกสารอา้ งองิ ....................................................................................34



บทนำ ใน ปั จ จุ บั น ก า ร ท ำ เก ษ ต ร เริ่ ม ก ลั บ ม า เป็ น ที่ ส น ใจ ข อ ง คนในประเทศมากข้ึน ไม่ว่าจะในต่างจังหวัด หรือในเมืองเอง เรม่ิ หนั กลับมาทำเกษตรรูปแบบง่ายๆ ภายในบา้ น เพ่ือไวป้ ลกู ผกั ทาน เองภายในครัวเรือน ซ่ึงการทำเกษตรน้ันมีหลากหลายสารพัดวิธี และ Hügelkultur เป็นอีกวิธีหน่ึง ซ่ึงเป็นภาษาเยอรมัน แปลเป็น ภาษาอังกฤษได้ว่า mound culture ซึ่งคนไทยมักเรียกเป็นภาษาไทย ว่า เกษตรบนเนินดิน คือ รูปแบบหนึ่งท่ีเป็นแนวคิดจากต่างชาติ ที่ ค น ไท ยอ าจ จ ะไม่ ค่ อ ยคุ้ น เค ย ห รื อ อ าจจ ะ พ อ ได้ ยิ น ม าบ้ างแ ล้ ว Hügelkultur เปน็ การทำแปลงปลูกรูปแบบหนง่ึ ที่เกิดจากการสังเกต ธรรมชาติ ว่าในบริเวณต้นไม้หรือกิ่งไม้ที่ล้มท่ีร่วงทับถมกันในป่าน้ัน จะเป็นพ้ืนท่ีที่สามารถรักษาความชื้นได้ดีกว่าบริเวณอ่ืนๆ โดยรอบ และมักจะมีตะไคร่ มอส หรือเห็ดเกาะตามท่อนไม้ ทำให้เกิดความอุดม สมบูรณ์ของพืชที่อยู่รอบบริเวณนั้น จึงทำให้มีการนำมาดัดแปลง เพ่ือทำเป็นแปลงปลูกผักโดยการเลียนแบบหลักการของธรรมชาติ คือ การนำท่อนไม้ ก่ิงไม้ ใบไม้ มาวางกองสุมกันเป็นช้ันๆ แล้วปกคลุมทับ ด้วยดิน เมื่อเวลาผ่านไปเกิดกระบวนการย่อยสลายจึงเริ่มปลูกพืชได้ พืชที่ปลูกน้ันจะเจริญงอกงามมาก ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดวิธีการทำ แปลง Hügelkultur เปน็ วิธีทส่ี ามารถทำไดง้ า่ ย 1

วสั ดุสามารถหาได้ตามธรรมชาติ อีกท้งั เมอ่ื ทำแปลงแลว้ สามารถอยู่ได้ นานหลายปี เป็นแปลงผักท่ีไม่ต้องการการดูแลมากเพราะแปลง Hügelkultur สามารถกักเก็บและหมุนเวียนความชื้นไว้ภายในแปลงได้ ทำให้ไม่ต้องรดน้ำบ่อย ซ่ึงเหมาะกับวิถีชีวิตคนในปัจจุบันท่ีทำงาน นอกบ้านกันมากข้ึน จึงทำให้ไม่ค่อยมีเวลาแต่ต้องการที่จะปลูกผัก ไว้ทานเอง การทำแปลงแบบ Hügelkultur จึงเป็นอีกวิธีท่ีน่าสนใจ และทดลองทำ แถมยงั เป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อมอกี ด้วย โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร โดยสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงอยากถ่ายทอดความรู้ เร่ือง การทำแปลงแบบ Hügelkultur ภายใน เล่มคู่มือ เรื่อง การทำแปลงแบบ Hügelkultur นี้ จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ เรื่อง การทำแปลงแบบ Hügelkultur จะกล่าวตั้งแต่ ความเป็นมา รูปแบบของแปลง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ข้ันตอนการทำ ไปจนถึงขอ้ ดแี ละข้อพจิ ารณาอื่นๆ ในการทำแปลงแบบ Hügelkultur เพ่ือให้องค์ความรู้ดังกล่าวได้ถูกนำไปเผยแพร่และเป็นประโยชน์ สชู่ มุ ชนอย่างแทจ้ รงิ 22

บทที่ 1 Hügelkultur คืออะไร Hügelkultur (ฮูกูลคัลเจอร์) เป็นภาษาเยอรมัน ท่ีคนไทยมัก เรียกว่า เกษตรบนเนินดิน หรือคันดิน ซึ่งเกิดจากการสังเกตเห็นว่า ธรรมชาติบริเวณท่ีมีต้นไม้ล้มจะเป็นพ้ืนที่ที่สามารถรักษาความชื้นได้ ดีกว่า และมีความอุดมสมบรู ณ์มากกวา่ บรเิ วณอื่นๆ โดยรอบ จึงมีการ พัฒนานำท่อนไม้ขนาดใหญ่ หรือพวกก่งิ ไม้ เศษไม้ท่ผี พุ งั เศษใบไม้ ใบหญา้ มูลสัตว์ และเศษอนิ ทรีย์ วัตถุอ่ืนๆ มากองสุมเป็นชั้นๆ เป็นแกนกลางให้มีความสูง ตามต้องการแล้วปิดทบั ดา้ นบน ด้วยดิน เพอ่ื ทำเป็นแปลงปลูกพชื ภาพท่ี 1 Hügelkultur (ดงั ภาพท่ี 1) ทม่ี า : https://www.opsmoac.go.th/kalasin โด ย ภ าย ใน ก อ ง จ ะ เกิ ด ก ร ะ บ ว น ก า ร ย่ อ ย ส ล าย เป็ น ร ะ ย ะ เวลานาน ทำให้ปลดปล่อยสารอาหารออกมาอย่างช้าๆ และช่วยเก็บ กักธาตุอาหารส่วนเกินไว้ในดินด้านบนแทนท่ีจะถูกชะลงสู่ช้ันดิน 3

ด้านล่างหรือน้ำใต้ดินจึงเป็นแหล่งของสารอาหารท่ีม่ันคงในระยะยาว สำหรับพืช ประโยชน์หลักๆ ของแปลง Hügelkultur คือ ความสามารถ ในการเก็บกักน้ำได้ดีกว่าการใช้ดินอย่างเดียว เศษไม้ผุท่ีถูกฝังดิน จะทำหน้าท่ีเปรียบเสมือนเหมือนฟองน้ำ เมื่อเกิดกระบวนการย่อย สลายจะเกิดความช้ืนไว้ภายในท่อนไม้ และเมื่อฝนตกท่อนไม้ จะเก็บ กักน้ำและสารอาหารไว้ ทำให้มีน้ำสำหรับให้รากพืชดูดซึมได้ ตลอด เวลา จึงแ ท บ ไม่ต้ องมี การรดน้ ำและใส่ปุ๋ ยเลย แปลง Hügelkultur ที่สูง 1 – 1.5 เมตร สามารถเก็บกักน้ำไว้ได้นานถึง 3 สัปดาห์ ย่ิงแปลงท่ีมีความสูง ยิ่งสามารถเก็บกักน้ำไว้ได้นานขึ้น การปลูกพืชแบบ Hügelkultur มีการใช้ในการทำระบบการเกษตร แบบยง่ั ยืน ในประเทศเยอรมันและประเทศในแถบยโุ รปตะวนั ออกมา เป็นเวลานานหลายร้อยปี 44

หลักการ Hügelkultur หลักการ Hügelkultur (ฮูกูลคัลเจอร์) หรือการเพาะปลูก บนเนินดิน คือ การใช้ท่อนไม้หรือพวกกิ่งไม้ เศษใบไม้ใบหญ้าต่างๆ มากองเป็นฐานและก่อเป็นแปลงผักให้สูงข้ึนเพื่อใช้ในการปลูกผัก หรือจะขุดหลุมฝังกองไม้ไว้ข้างใต้ ซ่ึงเปรียบเสมือนเป็นอ่างเก็บน้ำใต้ดิน เพราะจะมีความชื้นจะคอยหมุนเวียนอยู่ภายในกองตลอด โดยกองจะ ก่อเป็นฐานแบบไล่ระดับ วัสดุที่ย่อยสลายช้าจะวางไว้ข้างล่างสุด วัสดุท่ีย่อยสลายเร็วจะวางไว้ข้างบน (ดังภาพที่ 2) ซ่ึงท่อนไม้ข้างล่าง จะทำหน้าท่ีเปรียบเสมือนฟองน้ำ คอยดูดซับความช้ืน เมื่อท่อนไม้ต่างๆ เร่ิมย่อยสลายจะเกิดสภาวะร้อนช้ืน ซ่ึงเหมาะสมกับการเจริญเติบโต และเป็นท่ีอยู่ของจุลินทรีย์ท่ีดี ที่จะคอยช่วยทำให้ท่อนไม้และวัสดุต่างๆ ยอ่ ยสลายได้อย่างสมบูรณ์ จนทำให้เกิดเป็นฮิวมัส ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ ที่เกิดจากการทับถมและย่อยสลายของซากพืช มีบทบาทสำคัญที่ ช่วยทำให้ดินสามารถอุ้มน้ำได้ดีข้ึน ทั้งยังเป็นสารอาหารให้แก่พืช และจุลินทรีย์ในดิน ซึ่งกระบวนการย่อยสลายจะเกิดข้ึนอย่างช้าๆ เป็นระยะเวลานาน ทำให้ ภายในแปลง Hügelkultur จะค่อยๆ ปลดปล่อยสารอาหารออกมาให้กับพืช และช่วยเก็บกักธาตุอาหาร สว่ นเกนิ ไว้ในดนิ ด้านบน แทนที่จะถูกชะลงสู่ช้นั ดินดา้ นล่างหรือน้ำใต้ ดินจึงเป็นแหล่งของสารอาหารที่ม่ันคงในระยะยาวสำหรับพืช 5

กอง Hügelkultur ที่ถมเปรียบเสมือนการสร้างอุโมงห้อง แบบปิด ทำให้ความช้ืนที่เกิดภายในระเหยลอยข้ึนไปยังรากพืช ด้านบน และสะท้อนกลับกล่ันลงมาด้านล่างอีกคร้ัง หรือจะขุดคลอง ไสไ้ ก่ไว้อยดู่ ้านข้างแปลง เพอ่ื ทำหนา้ ท่ีเปรียบเสมือนทอ่ คอยเติมน้ำลง ใต้ดิน เพ่ือให้ซึมผ่านและกักเก็บเข้าสู่กอง Hügelkultur ทำให้ ประหยัดน้ำที่คอยใช้รดน้ำต้นไม้ หรือแทบจะไม่ต้องรดน้ำอีกเลย ซง่ึ เป็นแนวคดิ การเพาะปลูกบนเนนิ ดนิ ท่ีใช้นำ้ น้อย และมปี ยุ๋ ใชน้ ับ 10 ปี (ดงั ภาพท่ี 2) ช้ันบนสดุ ให้นำฟางหรอื หญ้าแห้งมาคลุมดนิ ใบไม้ ,เศษอาหาร ปกคลมุ ด้านบน และมลู สตั ว์ ดว้ ยดิน รอ่ งนำ้ กงิ่ ไม้ ท่อนไม้ การดดู ซับนำ้ และกระจายความช้ืน ทำใหเ้ กิดการกักเกบ็ หมนุ เวยี นความชนื้ ภายในกอง ภาพที่ 2 กระบวนการทำงานของแปลง Hügelkultur 66

วิธีการทำนั้นมีหลากหลายวิธี ตามสภาพพ้ืนดิน และความ ต้องการของผูป้ ลูก โดยมรี ายละเอียดดังน้ี แบบ A ถ้าหน้าดินตื้น, ขุดดินยาก และเราสามารถหาดิน แบบวางบนดนิ จากที่อื่นในพ้ืนที่ หรือจากภายนอกได้ วิธีแรก จะค่อนข้างง่ายที่สุด คือเอาท่อนไม้มากองสุม กันจนสูง แล้วเอาดินที่หาได้มาโรยทับหนา ประมาณ 1 - 2 น้ิว คลุมด้วยวัสดุคลุมดิน เชน่ ฟาง แบบ B ถ้าไม่สามารถหาดินจากที่อ่ืนได้ วิธีท่ี 2 คือ แบบฝงั ใต้ดนิ การขดุ ดิน ขดุ ความลกึ ประมาณ 30 - 60 ซม. แ ล้ ว เอ า ท่ อ น ไ ม้ ม า ว า ง ก อ ง ไ ว้ ใน บ ริ เว ณ ที่ ขุดดนิ ไว้ จากนนั้ โรยดินท่ีขดุ ทับกองไม้อีกครัง้ แบบ C วิธีน้ีจะคล้ายกับ วิธีที่ 2 แต่จะขุดร่องข้างๆ กอง เพื่อไว้สำหรับกักเก็บน้ำไว้ ทำให้ไม่ต้อง รดน้ำบ่อยๆ เพราะท่อนไม้ภายในกองจะ ทำหน้าท่ีเป็นฟองน้ำ และส่งน้ำขึ้นไปด้านบน แบบฝังใต้ดินและขดุ รอ่ งน้ำ ทำให้พชื สามารถดูดซมึ น้ำไดต้ ลอด 7

นอกจากวิธีการทำท่ีหลากหลายแล้ว รูปทรงของ Hügelkultur ก็ยังสามารถออกแบบไดต้ ามความต้องการของผ้ปู ลกู ได้เช่นกัน เช่น ทรงปกติ ทรงผอมสูง ทรงสามเหลี่ยม แบบก้ันขอบดว้ ยหินขนาดใหญ่ แบบกัน้ ขอบดว้ ยทอ่ นไม้ ภาพท่ี 3 รปู ทรง Hügelkultur ที่มา : https://www.opsmoac.go.th/kalasin ในการทำแปลงแบบ Hügelkultur น้ัน สามารถทำได้ง่าย และผู้ปลูกสามารถออกแบบวิธีการทำ รูปแบบ และรูปทรง ได้ตามที่ ผปู้ ลูกต้องการ โดยคำนึงถึงบริบทของพื้นที่ และการใช้ประโยชน์ของ ผู้ปลูกเอง เพือ่ ให้แปลงผักเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด 88

Hügelkultur กับ Permaculture แตกตา่ งกนั อย่างไร Hügelkultur และ Permaculture ท้ัง 2 หลักการนี้ แตกต่างกัน อย่างไร จากข้อมูลข้างต้นจะทราบว่า Hügelkultur (ฮูกูลคัลเจอร์) เปน็ เทคนิคการทำแปลงปลูกจากทรพั ยากรธรรมชาติ ส่วน Permaculture (เพอร์มาคลั เจอร)์ น้นั จะเป็นแนวคิดการออกแบบพนื้ ทใ่ี ห้เกิดความยั่งยืน โดยทั้ง 2 หลักการน้ีเกิดจากการเลียนแบบระบบนิเวศตามธรรมชาติ การพ่ึงพาอาศัยกันของพืชและสิ่งมีชีวิต สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง กลมกลืน และสร้างความสมดุล ทำให้เกิดมีความสุข เกิดความย่ังยืน และมน่ั คงในการดำรงชีวิต หลักการ Permaculture เป็นแนวคิดในการทำเกษตรกรรม รูปแบบหน่ึงท่ีคิดค้นโดย Bill Mollison ได้ทำการค้นคว้าและเรียบเรียง ข้ึนอย่างเป็นระบบต้ังแต่ในช่วงปี 1974 Permaculture มาจากคำว่า Permanent (เพอร์มาเนนท์) มาจากภาษาละตินแปลว่า ยืนยาวหรือ ย่ังยืน และคำว่า Culture (คัลเจอร์) หมายถึง กิจกรรมท่ีเก่ียวกับ การผลิตและสิ่งมนุษย์สร้างขึ้น โดยหัวใจหลักของ Permaculture คือ การสนใจธรรมชาติ และส่ิงมีชีวิต เพ่ือให้เราน้ันสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ เลือกใช้ทรพั ยากรที่จำเป็น และคืนส่ิงท่ีดีกลับสู่ธรรมชาติด้วย การจัดการ พ้ืนท่ีแบบ Permaculture ยังเน้นการจัดวางท่ีทำให้เมื่อสิ่งต่างๆ 9

เมื่ออยู่รวมกันแล้วจะต้องเกิดประโยชน์สูงสุดในตัวเอง โดยต้องใช้ พลังงาน แรงงาน และสรา้ งขยะให้น้อยที่สดุ ภาพที่ 4 Permaculture ทม่ี า : https://www.rakbankerd.com/ การจัดการพื้นท่ีแบบ Permaculture แบ่งออกเป็น 6 โซน - โซนที่ 1 ทอี่ ยอู่ าศัย - โซนที่ 2 ผกั ใกลบ้ า้ น (พืชผกั สวนครวั ) - โซนท่ี 3 พืชหมนุ เวียน (ตามฤดกู าล) - โซนท่ี 4 พืชทข่ี ายได้ (ไม้ผลทว่ั ไป) - โซนท่ี 5 พืน้ ทก่ี ง่ึ ปา่ (พชื สมุนไพรหรือต้นไม้ที่สามารถขายได้) - โซนท่ี 6 พ้นื ทปี่ ่า (ปลกู ตน้ ไมท้ ิง้ ไว้ให้ธรรมชาตจิ ัดการตัวเอง) การออกแบบพื้นท่ีเช่นน้ที ำใหร้ ะบบนิเวศและส่ิงมีชวี ิตสามารถเกื้อหนุน กนั และกัน ส่งผลทำใหเ้ กิดความยั่งยนื (ดังภาพที่ 4) 10 10

ภาพที่ 5 รปู แบบ Permaculture ทมี่ า : Facebook ฟารม์ เช็งเช่อื Chengcheu Permaculture Farm ดังน้ัน Permaculture จึงหมายถึง องค์ประกอบการผลิตที่ สนับสนุนการดำรงอยู่ของมนุษย์และสังคมอย่างยืนยาว โดยมีแนวคิด วา่ ต้องมีการออกแบบรูปแบบการเพาะปลูกและการจัดการผลิตอย่าง เป็นระบบ มีการวางเผนการบริหารจัดการในไร่ นา สวน การจัดรูปแบบ การใช้พลังงานอย่างเหมาะสม กระบวนการทั้งหมดต้องมีการใช้ ทรัพยากรและพลังงานร่วมกันได้อย่างคุ้มค่า เอ้ืออำนวยให้ธรรมชาติ และเกษตรกรรมมีความสอดคล้อง กลมกลืน และเก้ือหนุนกัน พื้นฐาน สำคัญของการทำเกษตรกรรมแบบ Permaculture จะต้องพิจารณา ร่วมกันระหว่างองค์ประกอบท่ีเป็นรูปธรรมและวิถีของชุมชนท่ีมี ความสัมพนั ธก์ นั อย่างลกึ ซ้ึงเปน็ อันหนึง่ อนั เดียวกัน (ดงั ภาพท่ี 5) 11

โดยทั้ง 2 หลักการ Hügelkultur หรือ Permaculture ถ้าหาก เปรียบเทยี บกับประเทศไทย คงจะคุ้นกบั หลักการใช้ชีวิตแบบพอเพยี ง หรอื เกษตรผสมผสานมากกว่า ซ่ึงมีแนวคิด วิธีคิด ที่ไม่ได้ต่างกันมากนัก แต่แนวคิดน้ีไม่ได้จำกัดเพื่อแค่เรื่องเกษตรกรรมเท่านั้น แต่ยัง ครอบคลุมถึงการออกแบบวิถีชีวิต รูปแบบการใช้ชีวิตท่ีสอดคล้องกับ วิถีธรรมชาติ ท้ังนี้การออกแบบสามารถนำปรับเปลี่ยนได้ หรือ ออกแบบเพ่อื ให้เข้ากับวถิ ีชีวิตของคนในพ้ืนท่ีน้นั เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์ และเกิดความยั่งยืนในชีวิตต่อไป 12 12

Hügelkultur กับ Permaculture ในประเทศไทย ปัจจุบัน Hügelkultur & Permaculture เริ่มมีเกษตรกร นำมาปรับใช้ผสมผสานกับ โคก หนอง นา โมเดล ที่ประยุกต์มาจาก เกษตรทฤษฎีใหม่ โดยใช้หลัก Permaculture และโคก หนอง นา โมเดล ในการออกแบบพื้นท่ี การจัดสรรทรัพยากร และการวาง แผนการปลูก ส่วนของพื้นท่ีแปลงใช้หลัก Hügelkultur ในการทำ แปลงสำหรับปลูกพืชผัก ซึ่งเป็นวิถีทางการเกษตรท่ีเน้นเรื่อง การสร้างความยั่งยืนของชีวิตและส่ิงแวดล้อม และการพ่ึงพาตนเอง เป็นหลัก และยังสามารถปรับใช้ได้ในทุกพื้นที่ ไม่ว่าจะคนชนบท คนเมือง ก็สามารถนำวิธีการและแนวคิดนี้มาปรับใช้ได้เช่นกัน จากตัวอย่างเช่น จากศูนย์กสิกรรมไร้สารพิษวังน้ำเขียว อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา ท่ีใช้หลัการ Hügelkultur & Permaculture ผสมผสานกับ โคก หนอง นา โมเดล ในส่วนของการจัดสรรพ้ืนที่ใช้ หลัก Permaculture และโคก หนอง นา โมเดล นำมาประยุกต์เข้า ด้วยกัน เพ่ือออกแบบให้เข้ากับพ้ืนที่ (ดังภาพท่ี 6) ส่วนของพื้นที่ แปลงได้มีการแบ่งพ้ืนท่ีไว้เพ่ือใช้หลัก Hügelkultur ในการทำแปลง สำหรบั ปลกู พชื ผกั (ดังภาพท่ี 7) 13

ภาพที่ 6 ศูนยก์ สิกรรมไร้สารพษิ วงั นำ้ เขียว ทม่ี า : Facebook ศนู ยก์ สกิ รรมไรส้ ารพิษวังนำ้ เขยี ว ตอนกำลังทำแปลง หลงั ทำแปลงเสรจ็ และปลูกผักเรยี บรอ้ ย ภาพที่ 7 แปลง Hügelkultur ณ ศนู ยก์ สิกรรมไรส้ ารพิษวังนำ้ เขียว ทม่ี า : Facebook ศนู ยก์ สกิ รรมไร้สารพิษวงั นำ้ เขยี ว 14 14

บทที่ 2 วธิ กี ารทำแปลงแบบ Hügelkultur วิธีการทำแปลงแบบ Hügelkultur สามารถทำได้ง่าย แต่วัสดุท่ีต้องเตรียมน้ันอาจจะมีหลายอย่าง แต่สามารถหาได้ง่าย ตามธรรมชาติ และสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม ซ่ึงประกอบด้วย 2.1 วสั ดแุ ละอุปกรณ์ 1. ท่อนไม้ กงิ่ ไม้ ใบไม้ ท่อนไม้ 15

กิ่งไม้ ใบไม้ 2. มูลสัตว์ เชน่ มลู ไก่ มูลวัว เป็นตน้ 16 16

4. เศษอาหาร 3. ดิน 17

4. ฟางหรอื หญ้า 5. จุลนิ ทรยี ส์ ังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria : PSB) 18 18

6. อุปกรณ์สำหรบั ขุดดนิ เชน่ จอบ เสียม เปน็ ต้น 7. บวั รดน้ำ 19

2.2 ขน้ั ตอนการขนึ้ แปลงแบบ Hügelkultur 1. โดยท่ัวไปนิยมทำแปลงที่มีความกว้างประมาณ 1 - 1.5 เมตร แนวยาวกำหนดได้ตามความท่ีต้องการสามารถปรับขนาด หรือวิธี การทำได้ตามความเหมาะสมของพ้ืนที่ และสภาพดินในพื้นที่น้ันๆ (สามารถยอ้ นดแู ตล่ ะวิธไี ดใ้ นหน้าท่ี 7 ทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว) ภาพที่ 8 การเตรียมแปลง ท่มี า : https://greenspace.market/ ดังภาพท่ี 8 จะเป็นวิธีแบบ B ซ่ึงเป็นแบบขุดดิน โดยทำการ ขุดดินให้เป็นหลุมลงไปประมาณ 30 - 60 ซม. เพื่อให้สามารถไว้วาง ท่อนไม้ได้ ทำให้ช่วยประหยัดการใช้ดินคลุมด้านบน และยังช่วยให้ เกดิ กระบวนการยอ่ ยสลายงา่ ยขึ้น 20 20

2. หลังจากเตรียมพื้นท่ีเสร็จ ให้วางท่อนไม้ท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุดใน ช้ันแรก จากน้ันวางกิ่งไม้ขนาดเล็กลงมาด้านบนเป็นช้ันๆ ให้สูงตาม ต้องการ แล้วนำน้ำที่ผสมจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง หรือ PSB มารด ทอ่ นไมแ้ ละกิง่ ไม้ใหช้ ุ่ม ดงั ภาพท่ี 9 ภาพที่ 9 การวางท่อนไม้ ที่มา : https://greenspace.market/ 21

3. หลังจากนั้นให้นำใบไม้ เศษอาหาร และมูลสัตว์ มาใส่ลงใน ชอ่ งวา่ งของกิ่งไมใ้ หเ้ ตม็ เพ่อื เปน็ การเพ่มิ ธาตุ ดงั ภาพท่ี 10 ภาพท่ี 10 การเรยี งวัสดุ ที่มา : https://greenspace.market/ 22 22

ใบไม้ ,เศษอาหาร ฟางหรือหญา้ แห้ง และมลู สตั ว์ ไวป้ กคลมุ ดนิ ดิน กิง่ ไม้ ทอ่ นไม้ ภภาาพพทที่ 1ี่ 112กกอองงHHüüggeelklkuultluturr ดังภาพที่ 11 จะเห็นได้ว่าภายในกองเราจะเรียงวัสดุขนาด ใหญ่ท่ีย่อยสลายช้าไว้ด้านล่าง และค่อยๆไล่ลำดับเป็นวัสดุท่ีเล็กลง ย่อยสลายเร็วกว่า เพ่ือให้เกิดกระบวนการย่อยสลายอยู่ตลอด ทำให้ ต้นพืชได้รับสารอาหารอย่างต่อเนื่องนั้นเอง และการที่ใส่เราใบไม้ เศษอาหาร และมูลสัตว์ เป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้กับกองและให้ อาหารกับจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในดิน ที่จะเป็นส่วนช่วยที่ทำให้ กระบวนการย่อยสลายน้ันเอง ในส่วนของน้ำท่ีผสมจุลินทรีย์ สังเคราะห์แสง หรือ PSB จะเป็นตัวช่วยกระตุ้นให้จุลินทรีย์ในดินน้ัน ทำงาน ทำให้กระบวนการย่อยสลายเกิดได้อย่างสมบูรณ์ ท้ังน้ีวัสดุ สามารถปรบั เปลย่ี นได้ตามความเหมาะสม 23

4. ปิดคลุมชั้นบนด้วยดิน ให้มีความหนาประมาณ 2 น้ิว แล้วคลุมด้วยฟางหรือหญ้าแหง้ แลว้ นำนำ้ ที่ผสมจุลินทรีย์สงั เคราะหแ์ สง หรอื PSB มารดใหท้ ้งั แปลง ดังภาพที่ 12 ภาพท่ี 12 แปลง Hügelkultur ทม่ี า : https://greenspace.market/ 24 24

หลังจากทำแปลงเสร็จ ควรปล่อยทงิ้ ไว้ประมาณ 1-2 อาทิตย์ ก่อนเร่ิมปลูกพืช เพื่อให้เกิดการย่อยสลายของสารอินทรีย์อย่าง สมบูรณ์ ป้องกันพืชขาดธาตุไนโตรเจน และเพ่ือให้สามารถปรับ บริเวณที่ยุบตัวให้เท่ากัน เมื่อเวลาผ่านไปแปลง Hügelkultur จะค่อยๆ ปล่อยสารอาหารออกมาอย่างช้าๆ ทำให้ช่วยประหยัด ค่าใช้จ่ายในการซ้ือปุ๋ยได้ และแปลงจะคอยกักเก็บและหมุนเวียน ความช้ืนอยู่ภายในแปลง ทำให้แปลงมีความชื้นเพียงพอให้กับต้นพืช จงึ ทำใหเ้ ราไมต่ อ้ งคอยรดน้ำให้พืชบ่อยๆ เพราะแปลงจะหมุนเวียนน้ำ และความชื้นข้ึนสู่ด้านบนทำให้พืชสามารถดูดซับน้ำจากแปลง ไดต้ ลอด 25

2.3 เทคนิคในการทำแปลงแบบ Hügelkultur วิธีการเรียงวัสดุคือ ใช้ท่อนไม้หรือพวกก่ิงไม้ เศษใบไม้ใบหญ้า ตา่ งๆ มากองสุมเป็นฐาน และก่อเป็นแปลงผักให้สูงข้ึน แนะนำให้เอา ไม้หรือซากพืชที่สามารถย่อยสลายได้ในระยะเวลาส้ันๆ จำพวกไม้ เนื้ออ่อน เศษใบไม้ท่ีมีกากใยน้อยๆ หรือถ้าหากนำไม้สดมากองสุม ตามธรรมชาติต้องใช้เวลาเป็นนานกว่าจะเกิดกระบวนการย่อยสลาย เพื่อจะให้ได้แปลงท่ีพร้อมสำหรับการปลูกพืช อาจใช้เศษพืชผัก และ จุลินทรีย์เป็นตัวช่วยเร่ง (คล้ายกับการทำกองปุ๋ยหมัก) เพื่อใช้ในการ ปลูกผักหรือทำประโยชน์ต่างๆ ด้านการเกษตรอินทรีย์ ซึ่งประโยชน์ ของการปลูกผักโดยวิธีนี้ คือ พืชผักท่ีเราปลูกน้ันจะได้รับสารอาหาร จากท่อนไม้ เศษก่ิงไม้ ใบไม้ ท่ีนำมากองเอาไว้และถูกย่อยสลายด้วย ธรรมชาติ เป็นการช่วยให้สารอาหารและความช้ืนตามธรรมชาติ น่ันก็ คือการนำวัสดุขนาดใหญ่ย่อยสลายช้าไว้ด้านล่าง และวัสดุย่อยสาย ง่ายไว้ด้านบน เมื่อวางวัสดุเรียบร้อยจึงทำการปกคลุมวัสดุทั้งหมด ด้วยดนิ และปกคลมุ ดนิ ดว้ ยฟางหรอื หญ้า การคลุมฟางกจ็ ะชว่ ยรักษา ความช้ืนให้หน้าดินให้ชุ่มชื้นตลอดเวลา ท้ังน้ีจะคลุมฟางหรือไม่คลุมก็ได้ (ดงั ภาพท่ี 13) 26 26

ฟาง ดิน มูลสตั ว์ ใบไม้ ก่ิงไม้ ภาพท่ี 12 กอง Hügelkultur ท่อนไม้ ภาพที่ 13 กอง Hügelkultur ทีม่ า : https://vegogarden.com/blogs/academy โดยแปลงเกษตรแบบน้ีแทบจะไม่ต้องรดน้ำเลย หรือใช้น้ำ น้อยมากในการรดน้ำให้พืชผักประสิทธิภาพที่จะได้สำหรับการปลูก ผกั บนคันดิน หรือการทำคันดินปลกู ผักดว้ ยวธิ ี Hügelkultur น้ีคือเรา จะต้องทำให้แปลงผักกองสุมนี้ให้สูงและกว้างยิ่งสูงมาก กว้างมาก ก็ย่ิงไม่ ต้ อ งเป ลื องน้ ำใน ก ารรด แ ป ลงบ่ อ ยๆ ก ารท ำแ ป ล ง Hügelkultur 1 คร้ัง สามารถใชง้ านได้ยาวนานเกิน 10 ปี และไม่ต้อง กงั วลไปกับเร่ืองการย่อยสลาย และเกิดความร้อนทำให้รากพืชไม่เดิน เพราะเมื่อมีการใช้ท่อนไม้ขนาดใหญ่ และไม่ใช่การสุมอัดลงใน พ้ืนท่ีจำกัด แบบการทำปยุ๋ หมักที่ต้องทบั ถมกนั จนแน่น ความร้อนที่มี จึงน้อยมาก อีกอย่างการปล่อยให้ย่อยสลายไปก่อน ในช่วงเวลาหน่ึง จึงม่ันใจได้ว่า ระบบการย่อยสลายที่มีต่อหลังการปลูกพืชแล้วจะ ไมก่ ระทบกับรากพชื อย่างแน่นอน 27

บทท่ี 3 ข้อดี และขอ้ พจิ ารณาอน่ื ๆ ในการทำแปลงแบบ Hügelkultur ในการทำแปลงแบบ Hügelkultur มีท้ังข้อดี และข้อที่ควร พจิ ารณาอื่นๆ ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติ ดังนี้ ขอ้ ดีของการทำแปลงแบบ Hügelkultur 1. รากพชื เจรญิ เติบโตไดด้ ีและขยายไดเ้ ร็วขึ้น 2. ไม่ต้องใส่ปุ๋ยตลอด เพราะในแปลงมีธาตุอาหารเพียงพอ สำหรับพืช ทำให้ชว่ ยลดค่าใช้จ่ายเรอื่ งปุ๋ย 3. แปลงผักสามารถกักเก็บน้ำได้ดี ทำให้ช่วยลดค่าใช้จ่าย เรือ่ งนำ้ 4. ใช้งานไดน้ าน บางพื้นที่สามารถใช้งานไดเ้ กิน 10 ปี 28 28

ข้อพจิ ารณาอนื่ ๆ ในการทำแปลงแบบ Hügelkultur 1. ขนาดของแปลง Hügelkultur ไม่ได้มีการกำหนดขนาด ท่ีตายตัว สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการ แต่การทำแปลง Hügelkultur ท่ีมีความสูงน้อยเกินไปจะทำให้ไม่เห็นผลของเทคนิคน้ี เท่าท่ีควร เนื่องจากมีปริมาณของเศษไม้ไม่มากพอ การทำแปลงที่มี ความสูงและความกว้างเหมาะสม จะเป็นการเพิ่มพ้ืนที่ในการเพาะ ปลูกพืชได้มากกว่าแปลงท่ีมีความกว้างหรือเต้ียเกินไป โดยท่ัวไปนิยม ทำแปลงท่ีมีความกว้างประมาณ 1 - 1.5 เมตร โดยให้สัมพันธ์กับ ความสูง อย่างไรก็ตาม การทำขนาดแปลงควรพิจารณาจากประเภท ของพืชท่ีต้องการจะปลูก หากต้องการปลูกไม้ที่มีลำต้นสูงใหญ่ ควรทำแปลงใหม้ ีขนาดใหญ่ขึน้ 2. การใช้ไม้เน้ือแข็งเกินไป จะทำให้การย่อยสลายเกิดได้ ชา้ มาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงการขุดหลุมฝังท่อนไม้ในพ้ืนที่ท่ีมีน้ำท่วมขัง นานๆ อาจทำให้ไม้ไม่เกิดการย่อยสลาย และคงสภาพอยู่ได้เป็นเวลา เป็นสิบหรือร้อยปี ดังนั้นจึงควรใช้ไม้ที่มีสภาพผุพังแล้ว หรือใช้ ไม้เนือ้ ออ่ น 29

3. แปลง Hügelkultur อาจจะทำแบบฝังใต้ดิน ซึ่งเหมาะกับ พื้นท่ีท่ีมีน้ำน้อย เพราะจะสามารถเก็บกักน้ำได้มากกว่าแบบบนดิน แต่อาจไม่เหมาะกับพ้นื ที่ที่มีระดบั น้ำใต้ดินสูง หรอื น้ำท่มี คี วามเคม็ 4. แปลง Hügelkultur อาจกลายเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของ ปลวก จึงควรทำให้ห่างจากตัวบ้านพอสมควร แต่โดยปกติการรักษา ความชน้ื ให้มากพอ สามารถป้องกนั ปลวกไมใ่ หม้ าทำรังได้ 5. ในบางกรณี หากมีฝนตกหนักและเกิดน้ำไหลแรง อาจทำให้ แปลง Hügelkultur ท่ตี ั้งอยู่ขวางทางน้ำถกู พดั ลอยไปตามน้ำได้ 6. การใส่วัสดุท่ีมีปริมาณไนโตรเจนมากเกินไป อาจทำให้ ภายในแปลงเกิดสภาพเป็นกรด ทำให้พืชตายได้ จึงควรท้ิงระยะเวลา ไว้ใหเ้ กดิ การยอ่ ยสลายอย่างสมบรู ณก์ อ่ นจะท่ีเริม่ ปลกู พชื 30 30

บทที่ 4 ขอ้ ดี – ขอ้ เสียวิธีการทำแปลงปลกู แบบใช้ดิน แตล่ ะประเภท การปลูกพืชใช้ดินในปัจจุบันมีหลากหลายประเภทท่ีหลายคน ต่างก็คุ้นเคยกันดี เช่น แปลงดินธรรมดา แปลงผักยกสูง & raised bed และแปลงแบบยกร่อง ในส่วนของแปลงแบบ Hügelkultur อาจจะไม่เป็นที่รู้จักนัก จึงพอสรุปเป็นตาราง เพื่อให้สามารถเห็น ความแตกต่างของการปลกู พืชโดยการใช้ดิน ไดด้ ังนี้ วธิ ีการ ข้อดี ข้อเสยี ระยะเวลา ความยาก ปลูก - งา่ ย แปลงดิน - ในแปลงจะมี - เมื่อใส่ธาตุอาหาร ควรพรวน ง่าย ธรรมดา ธาตุอาหารและ และปุ๋ยจะถูก ดินตากทิ้ง จลุ ินทรยี ธ์ รรมชาติ ดดู ซับในบรเิ วณ ไว้ 1 อาทติ ย์ ท่ีเปน็ ประโยชน์พชื กวา้ งทำใหพ้ ืช กอ่ นทำการ ไดร้ บั สารอาหาร ปลูกพชื ไม่เพียงพอ 31

วิธีการ ขอ้ ดี ข้อเสีย ระยะเวลา ความยาก ปลูก - ง่าย แปลงดิน - การลงทนุ ในการ - การใช้พ้นื ที่มาก ธรรมดา ปลกู พชื ตำ่ ไมเ่ หมาะกบั คน (ตอ่ ) เมือง เหมาะกับ การเป็นพืน้ ทที่ ่ี จะทำการเกษตร มากกวา่ แปลงผกั - ทำไดง้ า่ ยและ - มคี ่าใช้จ่ายใน สามารถ ง่ายปาน ปลูกพืชได้ กลาง ยกสงู สะดวกสบาย การซอ้ื อุปกรณ์ ทนั ที raised bed ควบคุมปริมาณปยุ๋ - มขี อ้ จำกดั ใน /กระบะ ดนิ พืชผกั โตเร็ว ดา้ นพชื พันธ์ุ เชน่ ปลกู ผกั - ดแู ลกำจดั วชั พืช ไม้ยืนตน้ อาจจะ และแมลงศตั รพู ืช ไม่สามารถปลูกได้ ได้งา่ ยเคลื่อนย้าย ได้งา่ ยสามารถดีไซน์ - ต้องมคี วามรู้ เร่อื งดิน ควรเลอื ก เปน็ สวนโชว์ได้ ดินทร่ี ่วนซุย ถา่ ยเทอากาศและ ระบายน้ำได้ดี 32 32

วธิ กี าร ขอ้ ดี ขอ้ เสีย ระยะเวลา ความยาก ปลกู - งา่ ย แปลงแบบ - ปอ้ งกันการเกดิ - ถ้ามพี ้ืนท่ีแปลง ควรพรวน ง่ายปาน ยกรอ่ ง ปญั หานำ้ ทว่ มไม่ให้ ปลูกมากจะมีคา่ ดินตากท้ิง กลาง มผี ลกระทบตอ่ ใช้จา่ ยสงู ไว้ 1 อาทติ ย์ ผลผลติ - ต้องค ำนึ งถึง กอ่ นทำการ - สามารถเกบ็ กกั ปลกู พืช ลั ก ษ ณ ะ ปั ญ ห า นำ้ ได้ ของสภาพแวดล้อม และสภาพดินใน พนื้ ที่ Hügelkultur - วสั ดุสามารถหาได้ - ต้องเตรยี มวัสดุ ควรพรวน งา่ ย ตามธรรมชาติ ค่อนขา้ งเยอะ ดินตากท้ิงไว้ - รากพืชเจริญเติบโต - อาจเกดิ ปลวก 1-2 อาทติ ย์ ได้ดีและขยายได้ ขึ้นได้ หากควบคุม กอ่ นทำการ ปลกู พชื เรว็ ขึน้ ความชื้นไม่ดี - ดูแลง่ายเหมาะ กับผูท้ ่ีมีเวลาน้อย - ลดคา่ ใชจ้ ่ายเรอื่ ง นำ้ และปยุ๋ - อายุการใช้งานนาน 33

เอกสารอ้างอิง บลิ มอลลิสัน และมีอา สเลย์. (2558). “ความรู้เบ้ืองต้นเพอร์มาคลั เชอร์. แปลจาก Introduction to Permaculture”. แปลโดย วิฑูลย์ ปัญญากุล และรวิมาศ ปรมศริ ิ. กรงุ เทพฯ บทสัมภาษณ์ อ.คำนงึ นวลมณีย์ ใน Facebook Live Tainae Moongmachan เรอ่ื ง เรียนรู้ \"วธิ ีการทำเพอร์มาคลั เชอร์ (permaculture)\" เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/watch?v=MGaFkgg8rco (วนั ทเ่ี ข้าถงึ 2 สิงหาคม 2564) ยทุ ธนา ตันวงศ์วาล. 2563. การทำเกษตรบนเนนิ ดนิ (Hügelkultur). (ออนไลน)์ . เข้าถึงได้ จาก : http://utcc2.utcc.ac.th/divisions/academicaffairs/document/jonnal1.pdf. (วนั ท่ีเข้าถึง 3 สิงหาคม 2564) รกั บ้านเกิด. 2563. “Permaculture วิถีเกษตรในยุค 70”. เข้าถงึ ได้จาก : https://www.rakbankerd.com/agriculture/infographic-view.php?id=99 (วันที่เขา้ ถงึ 2 สิงหาคม 2564) เอม มฤคทัต. “บทที่ 5: Bill Mollison คณุ ลุงผู้สร้างเพอรม์ าคัลเจอร์ วิถีเกษตรยคุ 70 ทีเ่ ชื่อในระบบนิเวศ ที่ยง่ั ยืน”. (ออนไลน์) เขา้ ถึงได้จาก : https://www.greenery.org/articles/bill- mollison-permaculture/ (วนั ที่เข้าถึง 2 สิงหาคม 2564) อาภรณ์ ภมู ิพันนา. ผู้แปล. 2535. \"เพอรม์ าคัลเซอร์ (Permacuture) หนทางสู่เกษตรกรรมถาวร จากคำบรรยายของ Bll Molison\". ณ ศาลาธรรม จงั หวดั นครปฐม. 20 - 24 พฤศจิกายน 2535. Adams, A. 2013. Hügelkultur Gardening Technique Does Not Result in Plant Nutrient Deficiencies and is a Potential Source Reduction Strategy for Yard Trimmings Wastes. University of Wisconsin-Madison Student Project Report. Linda Chalker-Scott. 2017 . \" HUGELKULTUR: WHAT IS IT, AND SHOULD IT BE USED IN HOME GAR\". Washington State University 34 34

คณะทมี งานโครงการยกระดบั เศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบรู ณาการ (1 ตำบล 1 มหาวทิ ยาลยั ) แขวงบางชนั เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร โดยสถาบนั ค้นคว้าและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์อาหาร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้จดั การตำบล ดร.อรไท สวัสดชิ ัยกุล ทมี งาน JOB 1 วเิ คราะห์ขอ้ มลู (Data Analytic) 1. นางสาวอรอนงค์ อยยู่ งค์ 3. นายอนันต์ ภิญโญภาพ 2. นายธนนิ โชตน์ เลิศนิธธิ รี พร JOB 2 จัดการขอ้ มลู ติดตาม/เฝา้ ระวงั COVD (ร่วมกบั ศบค.) 1. นางสาวณฐั กานต์ กระช้ันกลาง 3. นางสาวจรรจริ า เข็มแมน้ หมดั 2. นางสริ ินทร์ บุรษุ นันท์ JOB 3 จดั การขอ้ มลู ราชการในพนื้ ท่เี ป็นข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (รว่ มกบั กพร.) 1. นางสาวชมพนู ชุ จอมเกาะ 2. นางสาวพชรพรรณ พูลเอ่ยี ม JOB 4 การพัฒนาสัมมาชพี และสร้างอาชพี ใหม่ 1. นางสาวเบญจมาภรณ์ ยศแสน 4. นางสุดคะนึง ศรสี ะอาด น้ำคา้ ง 2. นางสาวอรพรรณ ดอกโศรก 5. นายสรวิศ 3. นายอภิรักต์ ทองสัมฤทธ์ิ JOB 5 การพฒั นาทกั ษะอาชพี ใหม่ 3. นายพันธกานต์ ปทมุ วนั 1. นางสาวสรรคส์ ริ ิ พิมพกันต์ 2. นางสาววรรณวิสา กรเศษ JOB 6 การถา่ ยทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม 1. นางสาวสธุ ิดา อุดมทรพั ย์ 3. นางสาวแสงเทยี น วงษศ์ ริ ิ 2. นางสาวสุณสิ า ทินอยูว่ งษ์ 35

36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook