Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม

เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม

Published by Bensiya Panpunyadet, 2016-03-06 22:06:03

Description: ปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเคยถูกมองว่ามีความสำคัญน้อยกว่าปัญหาทาง เศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง ได้กลายเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น

Keywords: สิ่งแวดล้อม, ปัญหาสิ่งแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์กับสิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

ชดุ ความรนู โยบายสาธารณะทางเศรษฐศาเคสรอ่� ตงมรอื  เพอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ ม ศาสตราจารย ดร.มง่ิ สรรพ ขาวสอาด รองศาสตราจารย ดร.กอบกลุ รายะนาคร

เครอ่ื งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศาสตร์​เพอ่ื ​การจ​ ดั การ​สง่ิ ​แวดลอ้ ม ศาสตราจารย​์ ​ดร.​​มิ่งส​ รรพ์​​ขาว​สอาด​ ร​อง​ศาสตราจารย​์ ​ดร.​ก​ อบ​กลุ ​ร​า​ยะน​ าคร

กฎหมาย​วา่ ด​ ว้ ยเครอ่ื ง​มอื ท​ าง​เศรษฐศาสตร​์เพอ่ื ก​ าร​จดั การส​ ง่ิ ​แวดลอ้ มผเู้ ขยี น: ศาสตราจารย์​ด​ ร.​ม​ ่ิงส​ รรพ์​ข​าวส​ อาด​ ​รอง​ศาสตราจารย​์ ​ดร.​​กอบก​ ุล​ร​าย​ะน​ าครเอกสารวิชาการ: ชดุ ความรนู้ โยบายสาธารณะสนับสนุนโดย: สำนกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) ภายใต้ แผนงานสรา้ งเสริมการเรยี นรกู้ บั สถาบนั อุดมศึกษาไทย เพ่อื การพฒั นานโยบายสาธารณะทด่ี ี (นสธ.) สถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ เครือขา่ ยสถาบันทางปญั ญาพมิ พค์ รั้งท่ี 1 ตลุ าคม 2552 จำนวน 1,000 เล่มออกแบบ/จัดพิมพ์: ล๊อคอนิ ดีไซนเ์ วิรค์ 1/19 หมบู่ ้านล้านนาวิลล่า ต.ชา้ งเผอื ก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทร.0 5321 3558, 08 9835 1789

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มคำนำ การ​พัฒนา​ทาง​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​ของ​ประเทศไทย​ใน​ช่วง​กว่า​สาม​ทศวรรษ​ทผ​ี่ า่ นม​ าไ​ดก​้ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ป​ ญั หาส​ ง่ิ แ​วดลอ้ มแ​ละค​ วามเ​สอ่ื มโทรมข​องท​ รพั ยากรธรรมชาต​ิเป็น​อย่าง​มาก​ ​ปัญหา​สิ่ง​แวดล้อม​ซึ่ง​เคย​ถูก​มอง​ว่า​มี​ความ​สำคัญ​น้อย​กว่า​ปัญหา​ทาง​เศรษฐกจิ ​ส​งั คม​แ​ละก​ ารเมอื ง​ไ​ดก​้ ลายเ​ปน็ ป​ ญั หาท​ ท​่ี วค​ี วามร​นุ แรงม​ ากข​น้ึ ต​ ามล​ำดบั ​จน​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​ขัด​แย้ง​ระหว่าง​ประชาชน​ผู้​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบ​หรือ​ความ​เสีย​หาย​จาก​กิจกรรมห​ รือ​โครงการต​ า่ งๆ​ก​ ับ​ภาคร​ัฐ​ผูร้ บั ​ผิดช​อบ​ใน​การ​บริหารจ​ัดการส​ ่ิงแ​วดลอ้ ม​​และ​ภาค​เอกชน​ซ่ึง​เป็น​ผู้​ประกอบ​การ​ใน​กิจการ​ที่​ก่อ​ให้​เกิด​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม​และ​สุขภาพ​ของ​ประชาชน​ ​ปัญหา​ส่ิง​แวดล้อม​ท่ี​กำลัง​เกิด​ข้ึน​ใน​พ้ืนท่ี​มาบตาพุด​เป็น​ตัวอย่าง​ล่าสุด​ของ​ความ​ขัด​แย้ง​ท่ี​ต้องการ​ทางออก​ ​เพ่ือ​ให้การ​พัฒนา​ทาง​เศรษฐกิจ​และส​ ังคม​ของ​ประเทศ​สามารถก​ า้ วเ​ดนิ ต​ อ่ ​ไปไ​ด้​ ​เท่า​ที่​ผ่าน​มา​ ​กฎหมาย​ส่ิง​แวดล้อม​ของ​ไทย​ที่​เน้น​มาตรการ​กำกับ​และ​ควบคุม​เป็น​หลัก​ยัง​มี​ข้อ​จำกัด​ใน​การ​แก้ไข​ปัญหา​ส่ิง​แวดล้อม​ ​เน่ืองจาก​ความ​ไม่​เข้ม​งวด​ใน​การ​บังคับ​ใช้​กฎหมาย​ ​บท​ลงโทษ​และ​ค่า​ปรับ​ตาม​กฎหมาย​ต่ำ​ ​และ​หน่วย​งาน​รัฐ​ขาดก​ารต​ ดิ ตามต​ รวจส​อบแ​หลง่ ก​ำเนดิ ม​ ลพษิ ด​ว้ ยเ​หตผุ ลด​า้ นบ​ คุ ลากรแ​ละง​บป​ ระมาณ​ผู้​ท่ี​ต้อง​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบ​จาก​ความ​ไม่​เป็น​ธรรม​และ​ความ​ขาด​ประสิทธิภาพ​ใน​การ​จดั การ​ส่งิ แ​วดลอ้ ม​มกั ไดแ​้ ก่​กลุม่ ​คนท​ ย่​ี ากจนแ​ละ​ด้อยโ​อกาส​ในส​ ังคม​​​ ใน​ปัจจุบัน​ ​นานา​ประเทศ​ได้​นำ​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​​(​Economic​​​Instruments​)​ ​มา​เสริม​มาตรการ​กำกับ​และ​ควบคุม​ใน​การ​จัดการ​ปัญหา​ส่ิง​แวดล้อม​มาก​ข้ึน​ ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เป็น​กลไก​สำคัญ​อัน​หนึ่ง​ใน​การ​ทำให้​สินค้า​และ​บริการ​สะท้อน​ต้นทุน​ทาง​ด้าน​ส่ิง​แวดล้อม​ตาม​หลัก​การ​ผู้​ก่อ​มลพิษ​เป็น​ผู้​จ่าย​(P​olluter​P​ays​P​rinciple​)​เ​ป็นม​ าตรการท​ ส่ี​ ร้าง​แรง​จงู ใจใ​ห้​ผู้ก​ ่อม​ ลพษิ ​และ​ผ​ู้บริโภค​เปลยี่ นแปลง​พฤตกิ รรม​และด​ ำเนินก​ ิจกรรมท​ ล่​ี ด​การส​ รา้ ง​มลพิษ​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ​ กฎหมายเ​ครอ่ื งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศาสตรเ​์ พอ่ื ก​ ารจ​ดั การส​งิ่ แ​วดลอ้ มเ​ปน็ น​ วตั กรรม​ท่ี​จะ​มา​ช่วย​เสริม​ความ​เข้ม​แข็ง​ให้​แก่​กฎหมาย​ส่ิง​แวดล้อม​ ​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัติ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เป็น​ความ​หวัง​และ​ทางออก​อัน​หน่ึง​ไป​สู่​การ​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​ที่​ดี​ขึ้น​ ​การ​ขับ​เคล่ือน​เพื่อ​ให้​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัติ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพ่ือ​การ​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​มี​ผล​ใช้​บังคับ​โดย​เร็ว​จึง​มี​ความ​สำคัญ​อ​ยา่ งย​งิ่ ​เ​นอ่ื งจากเ​ปน็ ก​ ฎหมายแ​มบ่ ทท​ จ​่ี ะเ​ปดิ ใ​หห​้ นว่ ยง​านต​ า่ งๆ​ส​ามารถน​ ำเ​ครอ่ื งม​ อื ​​ทาง​เศรษฐศาสตร์​มา​ใช้​ใน​การ​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​ได้​อย่าง​หลาก​หลาย​ตาม​ความ​เ​หมาะส​ ม​แ​ละต​ ามพ​ นั ธก​ จิ ข​องแ​ตล่ ะห​ นว่ ยง​าน​ร​วมท​ งั้ ส​ ง่ เ​สรมิ ก​ ารกร​ะจ​าย​อำน​ าจใ​ห​้องคก์ ร​ปกครอง​สว่ น​ท้องถ​ น่ิ เ​ขา้ ม​ า​มบี​ ทบาท​และม​ ร​ี ายไ​ดจ้​ากก​ ารจ​ดั การ​สงิ่ ​แวดล้อม​​ ​ ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​น้ำ​ และ​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎกี าจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างอ​ากาศถ​ อื วา่ เ​ปน็ ก​ า้ วแ​รกใ​นก​ ารนำเ​ครอ่ื งม​ อื ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​มา​ใช้​ใน​การ​จัดการ​สิ่ง​แวดล้อม​ภาย​ใต้​กฎหมาย​แม่บท​ฉบับ​นี้​แผน​งาน​สร้าง​เสริม​การ​เรียน​รู้​กับ​สถาบัน​อุดมศึกษา​ไทย​เพ่ือ​การ​พัฒนา​นโยบาย​สาธารณะ​ท่ี​ดี​​(​นสธ​.​)​ ​เห็น​ความ​สำคัญ​ของ​การ​ร่วม​ขับ​เคล่ือน​กฎหมาย​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​ตาม​แนวทาง​ที่​กล่าว​มา​นี้​ ​บทความ​น้ี​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​ชุด​ความ​ร​ู้เพอ่ื เ​ผยแ​พรข่​อ้ มลู แ​ละส​ รา้ งค​ วามเ​ขา้ ใจร​่วมก​ ันใ​นส​ งั คม​ห​ ากส​ งั คมไ​ทยม​ ค​ี วามเ​ขา้ ใจ​เก่ียว​กับ​ประโยชน์​ของ​กฎหมาย​ที่​นำ​เสนอ​ใน​บทความ​น้ี​ ​ก็​จะ​นำ​ไป​สู่​การ​ใช้​เครื่อง​มือ​เศรษฐ​ศาสตร์​อน่ื ๆ​​ตอ่ ไ​ปใ​น​อนาคต​​ซง่ึ จ​ะ​ม​ีผลใ​หส้​ งั คม​ได​้ประโยชนส​์ องต​ ่อ​ท​ งั้ จ​าก​คณุ ภาพส​ง่ิ แ​วดลอ้ มท​ ด​่ี ข​ี นึ้ ​แ​ละจ​ากร​ายไ​ดท้ เ​ี่ กดิ จ​ากภ​ าษแ​ี ละค​ า่ ธ​รรมเนยี มส​งิ่ แ​วดลอ้ ม​ที่​นำก​ ลบั ​มาส​รา้ งป​ ระโยชน์​ต่อ​สว่ นร​วม​ ศาสตราจารย​์ ด​ ร​.​มิ่ง​สรรพ​์ ​ขาว​สอาด​ ​รอง​ศาสตราจารย​์ ​ดร.​ก​ อบ​กลุ ​ร​าย​ะน​ าคร​ ส​ ถาบนั ศ​ กึ ษาน​ โยบายส​ าธารณะ​ม​ หาวิทยาลยั เ​ชยี งใหม่​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มสารบญั 7 ความ​เป็น​มาแ​ละ​ความ​สำคญั ​ของ​ปัญหา​ 8 เ​ครอื่ งม​ อื ​ทางเ​ศรษฐศาสตรเ​์ พ่อื ​การ​จดั การส​ ิ่ง​แวดล้อม​ 11 ประเภท​ของ​เครอื่ งม​ ือ​ทางเ​ศรษฐศาสตร​์ 15 ป​ ระสบการณ์จ​ากต​ า่ ง​ประเทศ​ 25 ก​ ารจ​ัด​ทำ​กฎหมายว​า่ ด​ ้วย​เครื่อง​มอื ท​ างเ​ศรษฐศาสตร์​เพื่อ​การ​จัดการ​สิง่ แ​วดล้อม​ 26 ร​า่ งพ​ ระร​าชบ​ ญั ญตั ​เิ ครือ่ ง​มอื ท​ างเ​ศรษฐศาสตรเ​์ พือ่ ​การจ​ัดการส​ ิ่งแ​วดล้อม​ 31 ​รา่ ง​พระร​าชก​ ฤษฎกี า​จดั เ​กบ็ ภ​ าษก​ี าร​ปลอ่ ย​มลพิษ​ทาง​นำ้ จ​าก​ค่าบ​ ​ีโอ​ดี​(​​BOD​)​​ และป​ รมิ าณส​ าร​แขวนลอย​​(​TSS​)​ 38 ร่างพ​ ระร​าช​กฤษฎีกา​จัด​เกบ็ ภ​ าษก​ี ารป​ ล่อย​มลพษิ ​ทางอ​ ากาศ​ จาก​ค่าซ​ัลเฟอร์​ได​ออกไซด​์ (​S​O2)​​​ออกไซดข์​องไ​นโตรเจน​​(N​ OX)​​​ และฝ​ ุน่ ล​ ะอองร​วม​(​T​SP)​​ 42 ร่าง​พระร​าชก​ ฤษฎีกาก​ ำหนดภ​ าษแ​ี ละค​ ่าธ​รรมเนยี มส​ ิ่ง​แวดล​ ้อม​ อน่ื ๆ 44 บท​สรุป​ 46 บรรณานกุ รม​

6 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม เครอ่ื งม​ อื ท​ าง​เศรษฐศาสตร์​ เพอ่ื ก​ ารจ​ ดั การส​ ง่ิ แ​วดลอ้ ม

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 71 ความ​เปน็ ​มาแ​ละ​ความส​ ำคญั ​ ของป​ ญั หา ก​ ารเ​จรญิ เ​ตบิ โตท​ างเ​ศรษฐกจิ แ​ละส​ งั คมอ​ยา่ งร​วดเรว็ ข​องป​ ระเทศไทย​​ใน​ช่วง​​3​ ​ทศวรรษ​ที่​ผ่าน​มา​ได้​ส่ง​ผล​เสีย​ต่อ​สถานการณ์​สิ่ง​แวดล้อม​ ​และ​ก่อ​ให้​เกิด​ปัญหา​การ​ใช้​ทรัพยากร​อย่าง​ไม่​ยั่งยืน​ ​ได้แก่​ ​ปัญหา​ความ​เสื่อมโทรม​ของ​ทรัพยากรธรรมชาต​ิ ​ไมว​่ ่า​จะเ​ปน็ ท​ รัพยากร​ป่าไ​ม​้ ​ทด่ี นิ ​น​ ้ำ​​และ​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล​รวมท​ งั้ ป​ ญั หาม​ ลพษิ ท​ ท​ี่ วค​ี วามร​นุ แรงม​ ากข​น้ึ ​ท​ งั้ ด​ า้ นม​ ลพษิ ท​ างน​ ำ้ ​ม​ ลพษิ ท​ างอ​ากาศ​ขยะ​ ​และ​ของ​เสีย​อันตราย​ ​ซ่ึง​ก่อ​ให้​เกิด​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สุขภาพ​และ​ชีวิต​ความ​เป็น​อยู่​ของป​ ระชาชน​ส​ งั คมไ​ทยก​ ำลงั ก​ า้ วไ​ปส​ ส​ู่ งั คมบ​ รโิ ภคซ​งึ่ จ​ะม​ ก​ี ารท​ งิ้ ข​ยะแ​ละผ​ ลติ ภณั ฑ​์อุตสาหกรรม​ที่​ใช้​แล้ว​จาก​ชุมชน​เพ่ิม​มาก​ข้ึน​เรื่อยๆ​ ​จาก​การ​ประมาณ​การ​ของ​ก​ รมค​ วบค​ม​ุ ลพษิ ใ​นป​ ​ี พ​ .​ศ​.​​2551​ม​ ข​ี ยะท​ ่ีไ​ดร​้ บั ก​ ารจ​ดั การอ​ยา่ งถ​ กู ต​ อ้ งเ​พยี ง​15.44​ต​ นั ​​ตอ่ ว​ัน​​หรอื ป​ ระมาณร​้อย​ละ​37​​ของ​ปริมาณ​ขยะท​ ่วั ​ประเทศ​ส​ ำหรบั ข​อง​เสีย​อันตราย​คาด​ว่าจ​ะม​ ปี​ ระมาณ​1​.86​ล​ ้าน​ตนั ​​สว่ น​ใหญ​่มา​จาก​ภาคอ​ ุตสาหกรรมค​ ดิ ​เปน็ ​​1.45​​ล้าน​ตัน​ ​และจ​ากช​ุมชน​ประมาณ​​0.41​ ​ล้านต​ ัน​ ก​ าร​กำจัดข​ยะอ​ ย่าง​ไม่​ถูกต​ อ้ งแ​ละ​​การท​ ง้ิ ​ผลิตภณั ฑ​ท์ ​ีม่ ีส​ าร​อันตรายร​วม​กับม​ ลู ฝอยท​ ัว่ ไป​ก​ อ่ ​ให​เ้ กิดป​ ัญหาก​ ารป​ นเ​ปือ้ น​ของม​ ลพษิ แ​ละข​องเ​สยี อ​ นั ตรายใ​นด​ นิ ​น​ ำ้ ​แ​ละช​น้ั น​ ำ้ ใ​ตด้ นิ ​ซ​ง่ึ จ​ะก​ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ผ​ ลกร​ะท​ บ​ต่อ​ส่งิ ​แวดล้อมซ​ง่ึ ย​ากท​ ​่ีจะเ​ยียวยาไ​ด้ใ​นร​ะยะย​าว​​ ​ต้นทุน​ค่า​ความ​เสีย​หาย​ทาง​เศรษฐศาสตร์​อัน​เน่ือง​มา​จาก​ความ​เส่ือมโทรม​ของ​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​ส่ิง​แวดล้อม​ใน​ประเทศไทย​นั้น​สามารถ​คิด​เป็น​มูลค่า​ได้​นับ​หมืน่ ​ลา้ นบ​ าทต​ ่อป​ ​ี ค​ วาม​เสยี ​หาย​ทเ่ี​กดิ ​จากม​ ลพิษไ​ด​เ้ พม่ิ ข​้นึ จ​าก​ประมาณ​​8,000​​ล้านบ​ าทต​ ่อป​ ี​ในช​่วง​​พ​.​ศ.​​2​520​​เป็น​1​8,000​ล​ า้ น​บาทต​ อ่ ป​ ีใ​น​พ​ .​​ศ​.​​25461​1​ ​สถาบันวิจัย​เพ่ือ​การ​พัฒนา​ประเทศไทย​,​ ​การ​จัด​ลำดับ​ความ​สำคัญ​ของ​ปัญหา​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​ส​ ่ิงแ​วดลอ้ ม​,​2​549.​

8 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม2 ​เครอ่ื ง​มอื ท​ างเ​ศรษฐศาสตร​์ เพอ่ื ก​ ารจ​ ดั การส​ ง่ิ แ​วดลอ้ ม​ ​เท่า​ท่ี​ผ่าน​มา​ต้นทุน​ใน​การ​จัดการ​สิ่ง​แวดล้อม​มัก​ถูก​ผลัก​ให้​เป็น​ภาระ​ของ​สังคม​ ​และ​รัฐบาล​มีหน้า​ท่ี​หลัก​ใน​การ​จัดการ​ปัญหา​สิ่ง​แวดล้อม​ที่​เกิด​จาก​มลพิษ​และ​ความ​เส่ือมโทรม​ของ​ทรัพยากรธรรมชาติ​ ​มาตรการ​ที่​รัฐ​ใช้​ใน​การ​จัดการ​​สิ่ง​แวดล้อม​นับ​จนถึง​ปัจจุบัน​ยัง​คง​ยึด​หลัก​การ​กำกับ​และ​ควบคุม​ ​(​command​ ​and​​control)​​เ​ปน็ ห​ ลกั ​ไ​ดแ้ ก​่ ก​ ารก​ ำหนดค​ า่ ม​ าตรฐานม​ ลพษิ จ​ากแ​หลง่ ก​ ำเนดิ ​แ​ละก​ ำหนด​วิธี​การ​ให้​เจ้าของ​หรือ​ผู้​ครอบ​ครอง​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ต้อง​ปฏิบัติ​เพื่อ​บำบัด​มลพิษ​ก่อนป​ ล่อยอ​ อกส​ ู่ส่งิ แ​วดลอ้ มภ​ ายนอก​​กฎหมาย​สำคัญไ​ดแ้ ก่​พ​ ระร​าชบ​ ญั ญตั ​ิโรงงาน​พ.​​ศ​.​​2535​​พระ​ราชบ​ ัญญตั สิ​ ง่ ​เสรมิ ​และ​รักษาค​ ุณภาพ​ส่ิงแ​วดล้อม​​พ.​​ศ​.​​2535​แ​ละ​พระ​ราช​บัญญัติ​การ​สาธารณสุข​ ​พ​.​ศ​.​​2535​ ​อย่างไร​ก็​ดี​ ​การ​ใช้​มาตรการ​กำกับ​และ​ควบคุม​แต่​เพียง​อย่าง​เดียว​ทำให้​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​สามารถ​ปล่อย​มลพิษ​ได้​มาก​ตาม​ต้องการ​ตราบ​ใด​ที่​น้ำ​ทิ้ง​หรือ​อากาศ​เสีย​เป็น​ไป​ตาม​มาตรฐาน​ที่​กฎหมาย​กำหนด​​จึง​ขาด​แรง​จูงใจ​ที่​จะ​ปรับปรุง​กระบวนการ​ผลิต​และ​ใช้​เทคโนโลยี​ท่ี​สะอาด​ ​กฎหมาย​สิ่ง​แวดล้อม​ขาด​การ​ส่ง​สัญญาณ​ให้​ผู้​บริโภค​ทราบ​ว่า​ผลิตภัณฑ์​บาง​ชนิด​ที่​ตน​ใช้​อย​ู่จะส​ง่ ผ​ ลเ​สยี ต​ อ่ สง่ิ แ​วดลอ้ มห​ ากไ​มไ​่ ดร​้ บั ก​ ารบ​ ำบดั ห​ รอื จ​ดั การอ​ยา่ งถ​ กู ต​ อ้ ง​น​ อกจากน​ ​ี้กฎหมาย​ยัง​ขาดประสิทธิภาพ​เน่ืองจาก​ข้อ​จำกัด​ด้าน​บุคลากร​ ​ความ​ไม่​เข้ม​งวด​ใ​นก​ารบ​ งั คบั ใ​ชก​้ ฎหมาย​แ​ละบ​ ทล​งโทษแ​ละค​า่ ป​ รบั ต​ ามก​ฎหมายส​งิ่ แ​วดลอ้ มฉ​บบั ต​ า่ งๆ​ไม่​รุนแรงพ​ อที่จ​ะท​ ำให​้ผู้ก​ ่อ​ความเ​สยี ​หายต​ ่อส​ ่ิง​แวดลอ้ ม​ปฏบิ ตั ติ​ าม​กฎหมาย​ได้​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 9 ​ ความ​เสื่อมโทรม​ด้าน​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​ส่ิง​แวดล้อม​ใน​ช่วง​กว่า​สาม​ทศวรรษ​ที่​ผ่าน​มา​ทำให้​ประเทศ​ต่างๆ​ ​รวม​ท้ัง​ประเทศไทย​ให้​ความ​สนใจ​แก่​การนำเ​ครอ่ื งม​ อื ​ทางเ​ศรษฐศาสตร​์ ​(​Economic​​Instruments)​​ ม​ า​ใชใ​้ น​การ​จัดการ​สงิ่ แ​วดลอ้ ม​มากข​ึ้น​​เครอื่ งม​ ือท​ างเ​ศรษฐศาสตร์​เป็นก​ ลไก​สำคญั อ​ นั ​หนึง่ ​ใน​การท​ ำให้​สนิ คา้ แ​ละบ​ รกิ ารส​ะทอ้ นต​ น้ ทนุ ท​ างด​า้ นส​ง่ิ แ​วดลอ้ ม​ต​ ามห​ ลกั ก​ารผ​ก​ู้ อ่ ม​ ลพษิ เ​ปน็ ผ​จ​ู้ า่ ย​​(P​olluter​​Pays​P​rinciple​:​P​PP​)​ อ​ ันจ​ะม​ ีผ​ ลท​ ำให้ผ​ ผ​ู้ ลติ ​และผ​ ู้​บริโภคเ​ปลี่ยนแปลง​พฤตกิ รรมใ​นก​ าร​ผลติ แ​ละ​บริโภค​​ ห​ ลกั ​PPP​เ​ปน็ ห​ ลกั ก​ ารท​ างเ​ศรษฐศาสตรท​์ อ​่ี งคก์ ารค​ วามร​ว่ มม​ อื ท​ างเ​ศรษฐกจิ ​และก​ ารพ​ ัฒนา​​(​Organization​​for​E​conomic​C​ o-​o​peration​a​nd​D​ evelopment​:​O​ ECD)​​น​ ำ​เสนอ​มา​ต้งั แตต่​ ้นท​ ศวรรษ​​1970​แ​ละไ​ดร้​ับก​ าร​ยอมรับ​อย่างก​ วา้ งข​วาง​ตง้ั แตน​่ ้นั ​เปน็ ตน้ ​มา​​สาระ​สำคญั ​ของ​หลกั ​​PPP​ก​ ​ค็ ือ​​การ​สง่ เ​สรมิ ใ​ห้​นำเ​อาต​ ้นทนุ ​ดา้ น​ส่ิง​แวดล้อม​ซึ่ง​เป็นต้น​ทุน​ภายนอก​บวก​เข้าไป​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​ต้นทุน​การ​ผลิต​สินค้า​และบ​ รกิ าร​(​i​nternalization​o​f​e​nvironmental​​costs)​​ม​ ิ​เชน่ ​นั้นแ​ลว้ ​​ก็​จะ​กอ่ ใ​ห้​เกิด​สภาวการณ​ท์ เ่​ี รียกว​า่ ​​“​ความล​ ม้ เ​หลวข​องต​ ลาด​”​(​“​m​ arket​​failure​”​)​ก​ ลา่ ว​คอื ​เ​ม่อื ​ราคา​สินค้า​และ​บริการ​ไม่​สะท้อน​ต้นทุน​ที่แท้​จริง​ ​ก็​จะ​ทำให้​มี​การ​บริโภค​สินค้า​และ​บริการน​ น้ั ​มาก​ข้ึน​​ผู้ผ​ ลิตก​ ย็​งิ่ ​ผลิตม​ ากข​น้ึ ​ท​ ำให้ส​ ่ิง​แวดลอ้ ม​เสอื่ มโทรม​ลง​ไปเ​รื่อยๆ​​ ใ​นร​ะยะแ​รกท​ ม​ี่ ก​ี ารนำห​ ลกั ​P​PP​ม​ าใ​ช​้ ค​ วามส​นใจส​ว่ นใ​หญจ​่ ะอ​ยท​ู่ ก​่ี ารค​ วบคมุ ​การ​ปลอ่ ย​มลพิษ​จาก​ภาคอ​ ตุ สาหกรรม​อ​ ยา่ งไรก​ ต็ าม​​หลัก​P​PP​ส​ ามารถน​ ำ​มาใ​ชก้​ ับ​การจ​ดั การท​ รพั ยากรธรรมชาตไ​ิ ดเ​้ ชน่ ก​นั ​โ​ดยก​ำหนดใ​หผ​้ ใ​ู้ ชท​้ รพั ยากรเ​ปน็ ผ​รู้ บั ผ​ดิ ช​อบ​ในค​ า่ เ​สอื่ มโทรมข​องท​ รพั ยากรซ​ง่ึ เ​ปน็ ตน้ ท​ นุ ต​ ามธ​รรมชาตด​ิ ว้ ย​ห​ ลกั ​PPP​จ​งึ ส​ ามารถ​แปรเ​ปน็ ​หลักผ​ ใ้​ู ช้​เป็น​ผจ​ู้ ่าย​(User​​Pays​​Principle​:​U​ PP​)​​ได​้ดว้ ย​ ​ใน​ปัจจุบัน​ ​ยัง​มี​การนำ​หลัก​​PPP​ ​มา​ใช้​น้อย​มาก​ใน​กฎหมาย​ไทย​ ​ส่วน​ใหญ่​อยู่ใ​นร​ปู ข​องค​า่ ธ​รรมเนยี มก​ารใ​ชท​้ รพั ยากร​ค​า่ บ​ รกิ าร​แ​ละค​า่ บ​ รหิ าร​เ​ชน่ ​ค​า่ ภ​ าคห​ ลวง​จากก​ ารใ​ช​ท้ รัพยากรต​ าม​กฎหมาย​ปา่ ​ไม​้ ​คา่ ​บรกิ าร​บำบดั น​ ้ำ​เสียต​ ามพ​ระ​ราชบ​ ญั ญัต​ิสง่ ​เสรมิ แ​ละ​รกั ษา​คุณภาพส​ ิ่งแ​วดลอ้ ม​ พ​ .​ศ​ .​​​2535​ แ​ละ​ค่า​ธรรมเนยี ม​การเ​กบ็ ​ ​ขน​​และก​ ำจดั ​มูลฝอยต​ ามพร​ะร​าชบ​ ญั ญัตกิ​ าร​สาธารณสุข​พ​ .​​ศ.​​2​535​​เปน็ ต้น​

10 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม​ อยา่ งไรก​ด​็ ​ี ค​า่ ธ​รรมเนยี มส​ว่ นใ​หญท​่ จ​่ี ดั เ​กบ็ ย​งั อ​ยู่ใ​นอ​ตั ราท​ ต​ี่ ำ่ แ​ละไ​มค​่ รอบคลมุ ​ตน้ ทนุ ห​ รอื ค​ า่ ใ​ชจ​้ า่ ยใ​นก​ ารจ​ดั บ​ รกิ ารส​าธารณะ​ม​ อ​ี งคก์ รป​ กครองส​ว่ นท​ อ้ งถ​ นิ่ ​(อ​ปท.​)​​เพยี งไ​มก​่ แ​ี่ หง่ ท​ ี่ไ​ดเ​้ รม่ิ เ​กบ็ ค​ า่ บ​ ำบดั น​ ำ้ เ​สยี 2​ส​ว่ นใ​หญย​่ งั ไ​มม่ ก​ี ารเ​กบ็ ค​ า่ บ​ รกิ ารด​ งั ก​ ลา่ ว​แมแ้ ต่ใ​นก​ รงุ เทพมหานคร​ ​สำหรับค​ า่ ธ​รรมเนยี มก​ ารเ​ก็บ​ ​ขน​ แ​ละ​กำจัด​มูลฝอย​น้นั ​ก็ย​ัง​เก็บใ​น​อัตรา​ท​ต่ี ่ำ​มากแ​ละไ​ม​่สะทอ้ น​ตน้ ทนุ ท​ ี่แทจ​้ รงิ ​ใน​การจ​ัดการ​มลู ฝอย3​​​2 องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถ่ิน​ท่ี​จัด​เก็บ​ค่า​บำบัด​น้ำ​เสีย​แล้ว​ ​ได้แก่​ ​เทศบาล​นคร​หาดใหญ่​ ​เมือง​พัทยา​ ​และ​เทศบาล​เมือง​แสนสขุ ​จ​ังหวัด​ชลบรุ ​ี3​ ​กฎ​กระทรวง​ว่า​ด้วย​อัตรา​ค่า​ธรรมเนียม​การ​ให้​บริการ​เก็บ​ ​ขน​ ​และ​กำจัด​ส่ิง​ปฏิกูล​หรือ​มูลฝอย​ ​และ​อัตรา​ค​ ่าธ​รรม​เนยี ม​ อ่ืนๆ​​พ​.​ศ​.​​2545​​ออกต​ าม​ความ​ในพ​ ระ​ราชบ​ ัญญตั ิก​ าร​สาธารณสุข​พ​ .​​ศ.​​​2535​​ยกต​ วั อยา่ งเ​ช่น​อัตรา​ค่า​เก็บ​และ​ขน​มูลฝอย​ทั่วไป​ประจำ​ราย​เดือน​ ​ที่​มี​ปริมาณ​วัน​หนึ่ง​ไม่​เกิน​​20​ ​ลิตร​ ​แต่​ไม่​เกิน​​500​ ​ลิตร​​​เก็บ​เดอื นล​ ะ​​40​​บาท​เ​ป็นต้น

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 113 ป​ ระเภทข​ องเ​ครอ่ื ง​มอื ​ ทางเ​ศรษฐศาสตร​์เครือ่ งม​ ือ​ทางเ​ศรษฐศาสตรม​์ ีว​ตั ถปุ ระสงค​์สำคัญอ​ ย่างน​ อ้ ย​​2​ป​ ระการ​​คอื ​ ​ 1. เพอื่ เ​ปลย่ี นแปลงพ​ ฤตกิ รรมข​องผ​ ผ​ู้ ลติ แ​ละผ​ บ​ู้ รโิ ภคใ​นก​ ารล​ ดก​ ารก​ อ่ ม​ ลพษิ ​เชน่ ​ล​ ด​การก​ อ่ ​ให​้เกิดข​ยะห​ รือ​ของ​เสยี ​​ลดก​ ารใ​ช้พ​ ลงั งาน​แ​ละ​เลือก​ใช​้ผลิตภัณฑ์​ท่​ีไม​่กอ่ ​ใหเ้​กิด​ความเ​สีย​หาย​ตอ่ ​สิ่ง​แวดล้อม​​เป็นต้น​​ 2. เพอ่ื ส​ ร้างแ​รงจ​ูงใจใ​หล้​ ด​(​​disincentive​)​​การ​กอ่ ม​ ลพษิ ​​เช่น​​การเ​กบ็ ​ภาษ​ีมลพษิ ต​ ามป​ รมิ าณน​ ำ้ เ​สยี ห​ รอื อ​ากาศเ​สยี ท​ ร​ี่ ะบายอ​ อกส​ส​ู่ ง่ิ แ​วดลอ้ ม​ท​ ำใหผ​้ ก​ู้ อ่ ม​ ลพษิ ​พยายาม​ดำเนิน​มาตรการ​หรือ​ปรับปรุง​กระบวนการ​ผลิต​เพื่อ​ทำให้​เกิด​น้ำ​เสีย​น้อย​ลง​​เปน็ ต้น​ ก​ ารใ​ชเ​้ ครอ่ื งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศาสตรไ์​ม่ใชก​่ ารก​ ำกบั แ​ละค​ วบคมุ ​แ​ตเ​่ ปน็ การส​รา้ ง​แรง​จูงใจ​ทาง​เศรษฐกิจ​เพื่อ​ให้​บุคคล​หรือ​องค์กร​ตระหนัก​ถึง​ต้นทุน​ที่แท้​จริง​ของ​ทรพั ยากร​​และ​คำนึงถ​ ึง​ผลกร​ะ​ทบ​ภายนอก​​(​external​​cost​)​ข​อง​กิจกรรม​นน้ั ​จ​งึ ​เปน็ ​การ​เปิด​โอกาส​ให้​ผู้​ผลิต​หรือ​ผู้​บริโภค​ตัดสิน​ใจ​เอง​ว่า​จะ​ดำเนิน​มาตรการ​หรือ​เลือก​ใช้​ผลติ ภัณฑท​์ ​่กี ่อใ​ห​้เกดิ ​มลพิษ​นอ้ ยล​ ง​หรือ​ไม​่ ​เ​คร่ืองม​ ือ​ทาง​เศรษฐศาสตรส​์ ามารถ​แบ่งอ​ อก​ได​้เปน็ ​ประเภทต​ ่างๆ​​ดังนี​้ • ​ค่า​ธรรมเนียม​การ​อนุญาต​​(​Administrative​​Fess​)​ ​เป็น​ค่า​ธรรมเนียม​ท่ี​เรียก​เก็บ​เพ่ือ​เป็น​ค่า​ใช้​จ่าย​สำหรับ​หน่วย​งาน​ที่​มี​อำนาจ​หน้าที่​ออก​ใบ​อนุญาต​ให้​

12 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มประกอบ​กิจการ​อย่าง​ใด​อย่าง​หนึ่ง​ ​โดย​ท่ัวไป​จะ​เรียก​เก็บ​เป็น​จำนวน​น้อย​และ​เก็บ​ใน​อัตรา​เดยี วกัน​จาก​ผู้​ขอ​อนุญาต​ทุก​ราย​ ​จงึ ​มี​ผล​ค่อน​ข้าง​น้อย​ใน​การ​สรา้ ง​แรง​จงู ใจ​ให้​ลดก​ าร​กอ่ ม​ ลพษิ ​ • ค​ า่ ธ​รรมเนยี มก​ารใ​ช​้(U​ ser​Fees​ห​ รอื ​User​Charges)​​ไ​ดแ้ ก​่ ค​ า่ ธ​รรมเนยี มท​ ​ี่เรยี กเ​กบ็ จ​ากผ​ใ​ู้ ชป​้ ระโยชนจ​์ ากท​ รพั ยากรธรรมชาต​ิ ห​ รอื ผ​ใ​ู้ ชบ​้ รกิ าร​เ​พอื่ เ​ปน็ ค​ า่ ใ​ชจ​้ า่ ย​ใ​น​การ​จัดการ​มลพษิ ​เ​ช่น​ค​ า่ ธ​รรมเนียมก​ าร​จัดการ​น้ำเ​สีย​ค​ า่ ​ธรรมเนยี มก​ าร​เก็บ​ขน​และก​ ำจัดข​ยะม​ ูลฝอย​เ​ปน็ ตน้ ​ ​ • ค่า​ปรับ​ ​(​Fines​)​ ​เป็น​มาตรการ​ป้อง​ปราม​มิ​ให้​มี​การ​ฝ่าฝืน​กฎหมาย​ขอ้ จ​ำกดั ข​องม​ าตรการน​ ก​ี้ ค​็ อื ​ก​ ารป​ รบั จ​ะเ​กดิ ข​น้ึ ห​ ลงั จ​ากม​ ก​ี ารกร​ะท​ ำผ​ ดิ ก​ ฎหมายแ​ลว้ ​และส​ ว่ นใ​หญเ่​ปน็ ​กรณี​ทีม​่ ีค​ วามเ​สยี ห​ าย​เกดิ ​ขึ้น​แล้ว​​นอกจาก​น​้ี ค​ ่าป​ รับ​ตามก​ ฎหมาย​อาจจ​ะต​ ำ่ เ​กนิ ก​ วา่ จ​ะส​ รา้ งแ​รงจ​งู ใจใ​หผ​้ ก​ู้ อ่ ม​ ลพษิ ป​ รบั เ​ปลยี่ นพ​ ฤตกิ รรม​โ​ดยย​อมจ​า่ ย​คา่ ป​ รบั ​แทนท่​จี ะล​ ดก​ าร​ก่อ​มลพิษ​ ​ • คา่ ​ภาษ​กี ารป​ ล่อยม​ ลพิษ​​(P​ollution​T​ax​ห​ รอื ​​Pollution​​Fees)​​​เป็น​ภาษ​ีทเ​ี่ รยี กเ​กบ็ จ​ากบ​ คุ คลห​ รอื ผ​ ป​ู้ ระกอบก​ ารท​ ป​่ี ลอ่ ยม​ ลพษิ อ​อกส​ส​ู่ งิ่ แ​วดลอ้ ม​ท​ ี่ใ​ชก​้ นั ม​ าก​ในป​ ระเทศต​ า่ งๆ​ไดแ้ ก​่ ก​ารเ​กบ็ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างน​ ำ้ ​แ​ละภ​ าษม​ี ลพษิ ท​ างอ​ากาศ​โดยเ​รยี กเ​กบ็ ต​ ามป​ รมิ าณห​ รอื ป​ ระเภทข​องม​ ลพษิ ท​ ป​่ี ลอ่ ยอ​อกม​ า​เ​ชน่ ​ก​ารเ​กบ็ ภ​ าษก​ี าร​ปลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ าง​น้ำต​ ามป​ ริมาณ​หรือ​ค่าบ​ ี​โอ​ดี​​(​Biological​​Oxygen​​Demand​:​B​OD​)​ต​ ะกอนแ​ขวนลอย​ในน​ ำ้ ​​(​Total​S​uspended​​Solids​:​T​SS​)​ ​และ​โลหะ​หนกั ​(​​Heavy​​Metals​)​ ​เป็นต้น​ ​สำหรับ​ตัวอย่าง​การ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​อากาศ​ ​ได้แก่​การ​เกบ็ ​ภาษต​ี ามป​ รมิ าณซ​ลั เฟอร์ไ​ดอ​ อกไซด​์ ​(S​O2)​​อ​ อกไซดข์​องไ​นโตรเจน​​(N​ OX​)​​และ​ฝนุ่ ล​ ะอองร​วม​เ​ป็นตน้ ​​ • การ​ซื้อ​ขาย​หรือ​โอน​ใบ​อนุญาต​การ​ปล่อย​มลพิษ​ ​(​Marketable​ ​or​​T​radable​Permits)​​เ​ปน็ ร​ะบบท​ อ​ี่ อกใ​บอ​นญุ าตซ​ง่ึ ก​ ำหนดป​ รมิ าณม​ ลพษิ ท​ ผ​ี่ ก​ู้ อ่ ม​ ลพษิ ​แตล่ ะร​ายส​ ามารถป​ ลอ่ ยอ​อกส​ส​ู่ ง่ิ แ​วดลอ้ มไ​ด​้ โ​ดยผ​ ก​ู้ อ่ ม​ ลพษิ ส​ ามารถซ​อ้ื ข​ายห​ รอื โ​อน​ใบ​อนญุ าต​การ​ปลอ่ ยม​ ลพษิ ไ​ด​้ ก​ ลา่ ว​คอื ​​ผู​้ท​มี่ คี​ วาม​จำเป็นต​ ้อง​ปล่อย​มลพิษม​ ากเ​กนิ ​กวา่ ป​ รมิ าณท​ ต​ี่ นไ​ดร​้ บั อ​ นญุ าตส​ ามารถซ​อื้ ส​ ทิ ธก​ิ ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ จ​ากผ​ อ​ู้ น่ื ท​ ย​่ี งั ไ​มไ​่ ดใ​้ ช​้สิทธิ​ท้ังหมด​ตาม​ใบ​อนุญาต​ ​จึง​เป็น​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​ที่​เหมาะ​สมใน​กรณี​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 13ที่​ต้องการ​ควบคุม​ปริมาณ​มลพิษ​โดย​รวม​ใน​พ้ืนที่​ใด​พ้ืนท่ี​หนึ่ง​ ​นอกจาก​จะ​ใช้​ใน​กรณี​ซ้ือ​ขาย​สิทธิ​การ​ปล่อย​มลพิษ​แล้ว​ ​อาจ​ประยุกต์​ใช้​มาตรการ​นี้​ใน​การ​ควบคุม​การ​ใช้​ทรพั ยากรธรรมชาติ​ท​ม่ี ี​อย่จ​ู ำกัด​เ​ช่น​​การ​กำหนดส​ ิทธ​ิการ​ใช​้นำ้ ​​และ​อนญุ าตใ​หซ​้ ื้อ​ขาย​สทิ ธ​กิ าร​ใช้​น้ำ​ระหวา่ งผ​ ใ​ู้ ชน​้ ้ำห​ รอื ก​ ลมุ่ ผ​ ู​้ใช้​นำ้ ​ในภ​ าค​เศรษฐกจิ ​ต่างๆ​​เปน็ ต้น​ ​ • ภาษี​หรือ​ค่า​ธรรมเนียม​ผลิตภัณฑ์​​(​Product​​Surcharge​)​ ​เป็น​ภาษี​หรือ​ค่า​ธรรมเนียม​ท่ี​เรียก​เก็บ​จาก​ผลิตภัณฑ์​หรือ​วัตถุดิบ​ท่ี​ก่อ​ให้​เกิด​มลพิษ​ ​ซึ่ง​จะ​ทำให้​ผลิตภัณฑ์​หรือ​วัตถุดิบ​ท่ี​ถูก​เก็บ​ค่า​ธรรมเนียม​มี​ราคา​สูง​ข้ึน​ ​เน่ืองจาก​ใน​ทาง​ปฏิบัติ​ผู้​ผลิต​สามารถ​ผลัก​ภาระ​อย่าง​น้อย​บาง​ส่วน​ไป​ให้​ผู้​บริโภค​โดย​บวก​ค่า​ธรรมเนียม​เข้าไป​ใน​ราคา​สินค้า​ ​มาตรการ​น้ี​เหมาะ​สม​ที่​จะ​ใช้​ใน​กรณี​ท่ี​ต้องการ​สร้าง​แรง​จูงใจ​ให้ผ​ ้​บู รโิ ภค​ลดก​ ารใ​ชผ​้ ลิตภณั ฑ์​น้นั ​​เชน่ ​ก​ ารเ​ก็บค​ ่าธ​รรมเนียมจ​าก​วัตถุ​อันตราย​ป​ ุ๋ย​ยา​ฆ่า​แมลง​ ​แบตเตอร่ี​ ​น้ำมัน​หล่อ​ล่ืน​ ​สาร​ที่​ทำลาย​ช้ัน​โอโซน​ ​บรรจุ​ภัณฑ์​ ​และ​ผลิตภัณฑ์​ต่างๆ ที่​ก่อ​ให้​เกิด​ของ​เสีย​อันตราย​เม่ือ​ผู้​บริโภค​ใช้​หรือ​ท้ิง​หลัง​จาก​ใช้​แล้ว​​เป็นต้น​ ​ค่า​ธรรมเนียม​ที่​เรียก​เก็บ​ได้​สามารถ​นำ​กลับ​มา​ใช้​เพ่ือ​จัดการ​ซาก​ผลิตภัณฑ์​​เช่น​เ​ปน็ ค​ า่ ​ใช​้จ่าย​ใน​การร​ีไซเคลิ ​​บำบัด​แ​ละ​กำจดั ข​องเ​สียอ​ ยา่ งป​ ลอดภยั ​​ ​ • ระบบ​มัดจำ​คืน​เงิน (​deposit​-​refund​​system​)​ ​เป็น​มาตรการ​ที่​มัก​ใช้​ควบคไ​ู่ ปก​ บั ก​ ารเ​กบ็ ค​ า่ ธ​รรมเนยี มผ​ ลติ ภณั ฑ​์ ก​ ลา่ วค​ อื ​ผ​ บ​ู้ รโิ ภคท​ ซ​ี่ อ้ื ส​ นิ คา้ แ​ละจ​า่ ยค​ า่ ​ธรรมเนียม​ท่ีร​วม​อยู่​ใน​ราคาส​ ินค้า​แลว้ ​จ​ะไ​ด้ร​ับเ​งนิ ค​ ืนเ​มอ่ื น​ ำซ​ากผ​ ลติ ภณั ฑ์​ท่ีใ​ช​แ้ ลว้ ​มาค​ นื ท​ ศ​่ี นู ยร​์ บั ซ​อื้ ค​ นื ​ม​ าตรการน​ ม​ี้ ค​ี วามเ​หมาะส​มในก​ รณท​ี ี่ไ​มต​่ อ้ งการใ​หผ​้ บ​ู้ รโิ ภคท​ ง้ิ ​ซากผ​ลติ ภณั ฑด​์ งั ก​ ลา่ วร​วมไ​ปก​ บั ข​ยะม​ ลู ฝอยท​ ว่ั ไป​จ​งึ เ​ปน็ การส​ง่ เ​สรมิ ก​ ารค​ ดั แ​ยกข​ยะ​โดย​เฉพาะ​อยา่ งย​ิง่ ​ขยะ​อันตรายท​ ​ค่ี วรไ​ด​้รบั ก​ ารจ​ัดการ​อย่าง​ถูก​ต้อง​ ​แทนทีจ่​ะป​ ลอ่ ย​ให​ถ้ กู ​ฝัง​กลบ​รวมก​ ับม​ ูลฝอย​ท่วั ไป​ดัง​เชน่ ​ทีเ​่ ปน็ อ​ ยู่ใ​น​ปจั จุบนั ​ • ​การ​ใช้​อัตรา​ภาษี​ที่​แตก​ต่าง​กัน ​(​Tax​​Differentiation​)​ ​เป็น​มาตรการ​ท่ี​สร้าง​แรง​จูงใจ​ให้​คน​หัน​ไป​บริโภค​ผลิตภัณฑ์​หรือ​สินค้า​ที่​ก่อ​ให้​เกิด​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม​น้อย​กว่า​ ​เช่น​ ​การ​เก็บ​ภาษี​สรรพ​สามิต​จาก​น้ำมัน​ไร้​สาร​ตะกั่ว​ใน​อัตรา​ต่ำ​กว่า​น้ำมัน​ท่ี​มี​สาร​ตะก่ัว​ ​เก็บ​ภาษี​จาก​แบตเตอรี่​ที่​ใช้​ตะก่ัว​รีไซเคิล​ใน​อัตรา​ต่ำ​กว่า​แบตเตอรี่​ท่ี​ใช้​ตะกั่ว​จาก​แหล่ง​ธรรมชาติ​ ​และ​เก็บ​ภาษี​รถ​จักรยานยนต์​​4​ ​จังหวะ​ใ​น​อตั ราท​ ​ีต่ ำ่ ​กวา่ ​รถจ​ักรยานยนต์​2​​จ​งั หวะ​​เปน็ ตน้ ​

14 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ​ • การว​างป​ ระกนั ค​ วามเ​สย่ี งห​ รอื ค​ วามเ​สยี ห​ ายต​ อ่ ส​ง่ิ แ​วดลอ้ ม ​ (​P​erformance​Bonds​)​ ​เป็น​มาตรการ​ที่​กำหนด​ให้​ผู้​ประกอบ​กิจการ​ท่ี​อาจ​มี​ผลก​ระ​ทบ​รุนแรง​ต​ ่อส​ ิง่ ​แวดลอ้ มต​ อ้ ง​วางป​ ระกนั ​เป็น​เงิน​​พนั ธบัตร​​หรือส​ ัญญา​ค้ำ​ประกันข​อง​ธนาคาร​หรือ​สถาบัน​การ​เงิน​ไว้​กับ​หน่วย​งาน​ผู้​อนุญาต​ ​เพ่ือ​เป็นการ​ประกัน​ความ​เสีย​หาย​ท่ี​อาจ​จะ​เกิด​ขึ้น​ต่อ​ส่ิง​แวดล้อม​ ​โดย​ผู้​ประกอบ​การ​จะ​ได้​รับ​เงิน​คืน​เมื่อ​ส้ิน​สุด​โครงการ​​หาก​การ​ประกอบ​กิจการ​นั้น​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​เสีย​หาย​ต่อ​ส่ิง​แวดล้อม​ ​ก็​ให้​หัก​เงิน​จากเ​งนิ ป​ ระกนั ไ​ด​้ แ​ตถ​่ า้ ห​ ากผ​ ป​ู้ ระกอบก​ ารใ​ชค​้ วามร​ะมดั ระวงั แ​ละไ​มก​่ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ค​ วาม​เสยี ห​ ายเ​ลย​ก​ จ​็ ะไ​ดร​้ บั เ​งนิ ค​ นื เ​ตม็ จ​ำนวน​ม​ าตรการน​ เ​ี้ หมาะท​ จ​ี่ ะใ​ชก​้ บั ก​ จิ การท​ อ​่ี าจก​ อ่ ​ใหเ​้ กดิ ค​ วามเ​สยี ห​ ายม​ ากจ​นย​ากท​ เ​่ี ยยี วยาแ​กไ้ ขใ​หค​้ นื ดีไ​ดใ​้ นก​ รณท​ี เ​ี่ กดิ ก​ ารร​วั่ ไ​หลห​ รอื ​แพรก​่ ระจาย​ของม​ ลพิษ​​ • มาตรการ​อุดหนุน​​(​Subsidy​)​ ​ใช้​ใน​กรณี​ท่ี​ต้องการ​สนับสนุน​กิจกรรม​ทล​่ี ดก​ ารก​ อ่ ม​ ลพษิ ​ห​ รอื ช​ว่ ยร​กั ษาส​ งิ่ แ​วดลอ้ ม​โ​ดยห​ ลกั แ​ลว้ ค​ วรจ​ำกดั ไ​วเ​้ ฉพาะก​ จิ การ​​ที่​ต้อง​มี​การ​ลงทุน​สูง​ ​หรือ​เป็น​กิจการ​ที่​ให้​ผล​ตอบแทน​ไม่​คุ้ม​ทุน​ ​แต่​รัฐ​ต้องการ​ส่ง​เสริม​เนื่องจาก​เป็น​กิจการ​ที่​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​ส่ิง​แวดล้อม​ ​การ​ให้​เงิน​อุดหนุน​อาจ​มห​ี ลาย​รูปแ​บบ​เ​ชน่ ​​การ​ให้เ​งิน​ช่วย​เหลือ​​การใ​หเ้​งนิ ก​ ดู้​ อกเบีย้ ​ต่ำ​​และ​การ​สร้างแ​รง​จูงใจด​ า้ น​ภาษี​​เป็นตน้ ​ ​ใน​ปัจจุบัน​ ​มี​การนำ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​บาง​ประเภท​เหล่า​น้ี​มา​ใช้​ใน​กฎหมาย​ไทยบ​ ้าง​เ​ชน่ ​ค​ า่ ธ​รรมเนยี ม​ตา่ งๆ​ดงั ไ​ด้​กลา่ วม​ าแ​ลว้ ​​การ​กำหนดอ​ ัตราภ​ าษี​ทแ​่ี ตกต​ า่ งก​ นั ต​ ามพร​ะร​าชบ​ ญั ญตั ภ​ิ าษส​ี รรพส​ามติ แ​ละพ​ ระร​าชบ​ ญั ญตั พ​ิ กิ ดั อ​ตั ราภ​ าษ​ีสรรพสามิต​​พ.​​ศ​.​​2​527​แ​ละ​มาตรการ​อุดหนุนด​ ้าน​อากร​ขาเ​ขา้ ​ตามพร​ะร​าชบ​ ัญญัต​ิส่ง​เสริม​และ​รักษา​คุณภาพ​ส่ิง​แวดล้อม​แห่ง​ชาติ​ ​พ​.​ศ​.​​2535​ ​สำหรับ​การนำ​เข้า​เครื่องจกั ร​อ​ ปุ กรณ​์ ​เครอ่ื งม​ อื ​เ​ครอ่ื ง​ใช​้ แ​ละว​สั ด​ทุ ่​ีจำเป็นส​ ำหรับก​ าร​จดั ​ให​้มี​ระบบ​บำบัด​อากาศเ​สีย​ร​ะบบบ​ ำบัดน​ ้ำ​เสยี ​​และร​ะบบก​ ำจดั ​ของเ​สีย​อยา่ ง​อ่ืน​​เปน็ ตน้

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 154 ​ประสบการณ​์ จากต​ า่ งป​ ระเทศ​ ใน​ปัจจุบัน​ ​หลายๆ​ ​ประเทศ​ได้​นำ​มาตรการ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ใน​รูป​แบบ​ใด​รูป​แบบ​หน่ึง​มา​ใช้​เพ่ือ​สร้าง​แรง​จูงใจ​ให้​ผู้​ก่อ​มลพิษ​ลด​การ​ปล่อย​มลพิษ​​โดยภ​ าพ​รวม​แล้ว​ ก​ าร​เกบ็ ภ​ าษีก​ าร​ปล่อยม​ ลพษิ ท​ างน​ ำ้ ม​ ​ตี วั อย่าง​ใหเ​้ หน็ ​มากกวา่ ​การ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​อากาศ​ ​ใน​บรรดา​ประเทศ​ที่​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทางน​ ำ้ ​ป​ รากฏว​า่ ​B​OD​แ​ละ​T​SS​จ​ะถ​ กู ก​ ำหนดใ​หเ​้ ปน็ ม​ ลพษิ เ​ปา้ ห​ มายเ​สมอ​เ​นอ่ื งจาก​มี​วิธี​การ​และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ตรวจ​วัด​ที่​ง่าย​และ​ถูก​กว่า​มลพิษ​ตัว​อื่น​ ​นอกจาก​น้ี​ใน​กระบวนการบ​ ำบัดน​ ำ้ ท​ ้ิงเ​พื่อล​ ด​ปริมาณ​​BOD​​และ​​TSS​ม​ ลพิษท​ างน​ ำ้ ​อื่นๆ​ทเ​่ี ปน็ ​โลหะห​ นกั จ​ะถ​ กู บ​ ำบดั ไ​ปด​ ว้ ยพ​ รอ้ มก​ นั ใ​นร​ะดบั ห​ นง่ึ ​ส​ ำหรบั ป​ ระเทศไทย​ก​ ารเ​กบ็ ภ​ าษ​ีการ​ปล่อย​มลพิษท​ าง​น้ำ​โดยเ​รมิ่ เ​ก็บ​จากป​ ริมาณ​B​OD​แ​ละ​​TSS​ด​ ู​จะ​เปน็ ​จุดเ​รม่ิ ต​ ้น​ท​ี่สมเ​หตุผลเ​ช่น​กนั 4​ ​ ​ใน​ส่วน​ของ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​อากาศ​น้ัน​ ​ประเทศ​ต่างๆ​ มัก​กำหนด​มลพิษ​เป้า​หมาย​เหมือน​กัน​ ​ได้แก่​ ​ซัลเฟอร์​ได​ออกไซด์​​(​SO2​)​ ​ไนโตรเจน​ออกไซด์​(​NOX)​​​ฝนุ่ ​ละอองแ​ขวนลอย​​(T​SP​ห​ รอื ​P​M10​)​​คารบ์ อน​มอนน​ อก​ไซด์​(​​CO)​​​และ​ตะก่ัว​(​P​b)​​แ​หล่งก​ ำเนิด​มลพษิ ​ประเภท​​CO​​ไดแ้ ก่​ภาค​คมนาคม​ขนส่ง​ส​ ่วน​​SO2​​NOX​แ​ละ​T​SP​​จะ​มา​จาก​ภาค​อตุ สาหกรรมแ​ละ​ภาคพ​ ลังงานเ​ปน็ ​หลกั ​​สำหรับม​ ลพษิ ​ทาง​อากาศ​ซ่ึง​เป็น​สารประกอบ​อินทรีย์​​(​VOC​)​ ​มัก​ไม่​อยู่​ใน​กลุ่ม​มลพิษ​เป้า​หมาย​ของ​การใ​ช​เ้ คร่อื ง​มอื ​ทางเ​ศรษฐศาสตร์​เ​นื่องจากเ​ป็น​มลพิษ​ที​เ่ กิดจ​ากก​ าร​ระเหย​หรอื ​4​A​ sian​D​ evelopment​​Bank​,​ร​ายงานก​ ารศ​ ึกษา​ตาม​โครงการ​C​ apacity​​B​uilding​​for​​Pollution​​Taxation​and​R​esources​M​ obilization​f​or​E​nvironmental​a​nd​​Natural​R​esources​–​ ​​Phase​I​I​,​2​007,​​ห​ นา้ ​​81.​

16 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มรั่ว​ซึม​เปน็ ​ส่วน​ใหญ่​แ​ละจ​ะ​เปล่ียนโ​ครงสร้างง​่าย​เม่ือ​ม​ีการท​ ำ​ปฏิกริ ิยา​ระหว่างม​ ล​พษิ ​หลายๆ​ ​ตัว​จาก​ภาค​ขนส่ง​ ​หาก​ประเทศไทย​จะ​ออก​กฎหมาย​เพื่อ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษท​ างอ​ ากาศ​​การเ​ก็บภ​ าษ​ีจาก​ปรมิ าณ​การป​ ล่อย​S​O2​NOX​แ​ละ​​TSP​​หรอื ​​PM10​ดู​จะเ​หมาะส​ มท​ ส่ี ดุ 5​ตัวอย่าง​การเ​ก็บ​ภาษี​การป​ ล่อย​มลพิษ​​รวม​ทง้ั ​ขอ้ ​เสนอก​ ารเ​ก็บ​ภาษีม​ ลพษิ ใ​นป​ ระเทศ​ต่างๆ​ไ​ดแ้ ก​่ • เวียดนาม​ ​มี​การ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​น้ำ​จาก​มลพิษ​ประเภท​ต่างๆ​หลายช​นดิ ​ร​วมท​ งั้ โ​ลหะห​ นกั ​อ​ ตั ราท​ เ​ี่ รยี กเ​กบ็ ข​นึ้ อ​ ยก​ู่ บั ป​ ระเภทข​องแ​หลง่ น​ ำ้ ท​ ร​ี่ องรบั ​น้ำ​ท้ิง​จาก​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ ​เช่น​ ​หาก​เป็นการ​ระบาย​น้ำ​ท้ิง​ลง​ใน​แหล่ง​น้ำ​ประเภท​ที่​ใช้​เพ่ือ​การ​อุปโภค​บริโภค​ ​จะ​เก็บ​ใน​อัตรา​สูง​กว่า​การ​ระบาย​น้ำ​ทิ้ง​ลง​ใน​แหล่ง​น้ำ​ประเภทท​ ่ีใ​ช​้เพือ่ ​การ​ชลประทาน​ ก​ ารเ​พาะป​ ลูก​ แ​ละก​ าร​เพาะ​เลย้ี งส​ ตั ว​์นำ้ ​ ​เป็นตน้ ​​การเ​ก็บภ​ าษม​ี ลพิษท​ างน​ ำ้ ค​ ิดจ​าก​คา่ ​B​OD​​COD​ ​และ​​TSS​ น​ อกจากน​ ย​ี้ ังม​ ​ีการ​เกบ็ ​ภาษีก​ าร​ปลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ าง​นำ้ ท​ ี่​เปน็ โ​ลหะ​หนกั ​ไ​ด้แก่​​ปรอท​ส​ ารหน​ู ​แคดเมยี ม​​และ​ตะกั่ว​ ​ซ่ึง​หาก​เป็นการ​ระบาย​ลง​ใน​แหล่ง​น้ำ​ท่ี​ใช้​ใน​การ​อุปโภค​บริโภค​ ​จะ​ถูก​จัด​เก็บ​ใ​น​อัตราส​ ูงสุดต​ งั้ แต่​5​00,000​V​ ND​​ต่อก​ โิ ลกรมั ใ​น​กรณข​ี องต​ ะกั่ว​1​,000,000​​VND​ตอ่ ก​ ิโลกรมั ​​ใน​กรณขี​อง​สารหนู​และ​แคดเมียม​จ​นถึง​​20,000,000​V​ ND​ต​ ่อก​ ิโลกรมั ​ในก​ รณ​ขี องป​ รอท​(​B​enoit​​Laplante​,​​2007)​​ ​เป็น​ท่ี​น่า​สังเกต​ว่า​ ​ใน​ขณะ​นี้​เวียดนาม​กำลัง​จัด​ทำ​กฎหมาย​เพ่ือ​จัด​เก็บ​ภาษี​การป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างอ​ ากาศจ​ากค​ า่ ​T​SP,​​S​O2,​​N​ OX​แ​ละ​C​ O​ต​ ามร​า่ งก​ ฎหมายท​ เ​ี่ สนอ​ผ​ูม้ ีหนา้ ​ท​เี่ สียภ​ าษี​ไ​ดแ้ ก่​ • ผ​ ป​ู้ ระกอบก​ ารใ​นก​ จิ การท​ ม​ี่ ก​ี ารใ​ชเ​้ ชอื้ เ​พลงิ ฟ​ อสซลิ ​ใ​หช​้ ำระภ​ าษท​ี ส​่ี ำนกั งาน​คลังใ​น​ทอ้ งถ​ ่นิ ​​ • เ​จ้าของย​าน​พาหนะท​ ี่ใ​ชเ​้ ชือ้ ​เพลงิ ฟ​ อสซลิ ​ใ​ห​้เกบ็ ภ​ าษี​ณ​ ​จ​ดุ จ​ำหน่าย​น้ำมนั ​เชือ้ เ​พลิง​ทว่ั ​ประเทศ​โ​ดยผ​ จ​ู้ ำหนา่ ย​นำ้ มนั ​จะ​ได้​รับ​คา่ ต​ อบแทน​ร้อย​ละ​​5​​จากจ​ำนวน​ภาษี​ท่จ​ี ัด​เก็บ​ได้​5​ เพิง่ อา้ ง หนา้ 82

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 17 ก​ ารป​ ระเมนิ ป​ รมิ าณม​ ลพษิ ท​ ป​ี่ ลอ่ ยอ​อกม​ าใ​หค​้ ำนวณจ​าก​(​1​)​​ช​นดิ แ​ละค​ ณุ ภาพ​ของเ​ชอื้ เ​พลงิ ท​ ่ีใ​ช​้(​2​)​​ป​ รมิ าณข​องเ​ชอื้ เ​พลงิ ท​ ี่ใ​ช​้(​3​)​​เ​ทคโนโลยท​ี ี่ใ​ชก​้ บั เ​ครอื่ งจกั รห​ รอื ​อปุ กรณ์ท​ ่ีใ​ช้​เชอ้ื เ​พลงิ น​ ้นั ​แ​ละ​​(4​​)​​ระบบ​บำบดั ม​ ลพษิ ​ก่อน​ปล่อยอ​ อกส​ ่สู​ ่งิ แ​วดลอ้ ม​ ​ ​ • ​ฟิลิปปินส์​ การ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​น้ำ​ใน​ฟิลิปปินส์​ ​ประกอบ​ด้วยอ​ ัตรา​ภาษ​คี งท​่ี (​F​ixed​F​ee)​​​และ​อัตราภ​ าษี​แปรผัน​(​​Variable​F​ee​)​อ​ ัตราภ​ าษี​คงที่​ขึ้น​อยู่​กับ​ปริมาณ​น้ำ​ท้ิง​ ​และ​คุณภาพ​น้ำ​ท้ิง​ว่า​มี​มลพิษ​ที่​เป็น​โลหะ​หนัก​หรือ​ไม่​ตาม​ตาราง​ท่​ี 1​​ ​ ​ตารางท​ ี​่ ​1 ​อตั ราภ​ าษีค​ งทข่ี​องก​ าร​เกบ็ ​ภาษ​ีการ​ปลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างน​ ำ้ ใ​นฟ​ ิลปิ ปินส์​ อ​ ตั รา​ภาษสี​ ำหรับ อ​ ตั รา​ภาษสี​ ำหรับ​ปริมาณนำ้ ท​ ้งิ ​​ น​ ำ้ ​ทิ้งท​ ีไ่​มม่ ีโ​ลหะห​ นัก​ น้ำท​ ิง้ ​ท​ม่ี ี​โลหะห​ นัก​(m​ 3​/​วัน​)​ (​บ​ าท​)​น​ ้อยก​ ว่า​3​0​ ​4,630​ ​6,400​ระหวา่ ง​​30​-​​1​00​ ​5,340​ 7​,120​​ระหว่าง​1​00​​-​​150​ 6​,050​ ​7,830​​มากกวา่ ​1​50​ 7​,120​ 8​,900​ท​มี่ า:​​B​enoit​​Laplante,​​2​007.​​ห​ มายเหต:ุ​ ​1​ฟ​ ลิ ปิ ปนิ ส์​เปโ​ซ = 0.712​​บาทสำหรับ​อัตรา​ภาษี​แปรผัน​ ​คิด​ตาม​ปริมาณ​มลพิษ​ใน​น้ำ​ท้ิง​ดังน้ี​​(​Benoit​​Laplante​,​​2007)​​​ • 5​​ฟิลิปปนิ ส​เ์ ป​โซ​ต​ อ่ ​ก​ โิ ลกรัมข​อง​​BOD​o​r​​TSS​ ​ • หาก​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ปล่อย​มลพิษ​ท่ี​เป็น​สาร​อินทรีย์​ ​ให้​เก็บ​ภาษี​จาก​ค่า​ BOD​ข​องน​ ้ำ​ท้ิง​ ​ • หากแ​หล่งก​ ำเนิดม​ ลพิษ​ปล่อยม​ ลพษิ ท​ ​่ีเปน็ ส​ า​รอน​ ​นิ ทร​ีย์​ใ​หเ​้ ก็บภ​ าษีจ​าก​คา่ ​ TSS​ข​องน​ ้ำท​ ้งิ ​

18 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม • จ​ีน​ป​ ระเทศ​จีน​มรี​ะบบ​การอ​ อกใ​บ​อนุญาตป​ ล่อยม​ ลพษิ ​(D​ ischarge​Permit​System:​​DPS)​​ซ​ง่ึ จ​ำกดั ท​ ง้ั ป​ รมิ าณแ​ละค​ วามเ​ขม้ ข​น้ ข​องม​ ลพษิ ใ​นน​ ำ้ ท​ งิ้ แ​ละอ​ากาศเ​สยี ​ท่ี​สถาน​ประกอบ​การ​ระบาย​ออก​สู่​ส่ิง​แวดล้อม​ ​เจ้าของ​สถาน​ประกอบ​การ​จะ​ต้อง​จดท​ ะเบยี น​กับส​ ำนกั งานส​ งิ่ ​แวดล้อม​​(​Environmental​P​rotection​B​ureaus​:​​EPBs​)​​ใน​ระดับม​ ณฑล​E​PBs​​จะป​ ระเมิน​ความส​ ามารถ​ในก​ ารร​องรับม​ ลพิษข​อง​สง่ิ ​แวดล้อม​และ​ออก​ใบ​อนุญาต​ท่ี​กำหนด​ปริมาณ​มลพิษ​ที่​สถาน​ประกอบ​การ​สามารถ​ระบาย​​ออก​สู่​สิ่ง​แวดล้อม​ได้​ตาม​แนวทาง​ที่​องค์การ​คุ้มครอง​ส่ิง​แวดล้อม​แห่ง​รัฐ​ ​(​State​Environmental​​Protection​​Agency​:​​SEPA​)​ ​กำหนด​ ​การ​บังคับ​ใช้​ระบบ​​DPS​ข้ึน​อยู่​กับ​รัฐบาล​ท้อง​ถิ่น​ที่​สามารถ​นำ​ไป​ปรับ​ใช้ได้​ตาม​ความ​เหมาะ​สม​ ​เช่น​ ​มณฑล​ยูน​นาน​ได้​พัฒนา​ระบบ​ใบ​อนุญาต​การ​ปล่อย​มลพิษ​สำหรับ​ใช้​บังคับ​กับ​ภาค​อุตสาหกรรม 21​ ​ประเภท​ ​รวม​ทั้ง​กิจการ​เหมือง​แร่​ ​นอกจาก​น้ี​มี​โครงการ​นำร่อง​ที่​ทดลอง​นำ​ระบบ​ซ้ือ​ขาย​สิทธิ​ในการ​ปล่อย​มลพิษ​ไป​ใช้​ท่ี​เมือง​หนา​นทง​ ​(​Nantong​)​​ในม​ ณฑลเ​จยี ง​ซู (J​iangsu​​province​)​​(O​ ECD,​​​2006​)​ ​การ​จัดเ​กบ็ ภ​ าษีก​ ารป​ ลอ่ ยม​ ลพิษใ​น​ประเทศจ​นี ​ม​มี า​ตง้ั แต​่ ​ค​.​ศ​.​​1980​ ล​ ่าสุด​​ใน​เดือน​ธันวาคม​ ​ค​.​ศ​.​​2002​ ​มี​การ​ปฏิรูป​นโยบาย​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ซ่ึง​มี​ผล​ใช้​บังคับ​ต้ังแต่​วัน​ท่ี​​1​ ​กรกฎาคม​ ​ค​.​ศ​.​​2003​ ​เป็นต้น​มา​ ​โดย​สาระ​สำคัญ​ระบบ​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ใหม่​ของ​จีน​มี​ความ​แตก​ต่าง​จาก​ระบบ​ท่ี​ใช้​อยู่​กอ่ นห​ น้า​น้นั ​​4​​ประการ​ค​ อื 6​​​ (1) การเ​กบ็ ภ​ าษค​ี รอบคลมุ ม​ ลพษิ ท​ ง้ั หมดท​ ป​ี่ ลอ่ ยอ​อกจ​ากแ​หลง่ ก​ ำเนดิ ม​ ลพษิ ​ แทนท​จี่ ะ​คิด​เฉพาะจ​าก​มลพิษ​ทป่ี​ ลอ่ ยเ​กนิ ค​ า่ ม​ าตรฐาน​ท่​กี ฎหมาย​กำหนด​ (2) การ​คำนวณ​ภาษี​คิด​จาก​มวลสาร​ท้ังหมด​ของ​มลพิษ​​(​total​​mass​​of​ pollutants)​​แ​ทนทจี่​ะค​ ดิ ​จากค​ วามเ​ข้มข​้น​ของ​มลพิษ​ (3) ก​ าร​เกบ็ ภ​ าษ​ีคดิ ​เปน็ ​หนว่ ย​ทีเ​่ รียก​ว่า​“​​pollution​​equivalents”​​(​P​Es)​​​เชน่ ​ 1​​pollution​​equivalent​ ม​ คี​ า่ ​เทา่ กับ​​1​k​g​C​ OD​ ห​ รอื ​​0.95​​kg​S​O2​​ ​(​ใน​อดีต​คิด​จาก​จำนวน​คร้ัง​ท่ี​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​มลพิษ​ท่ี​ปล่อย​ออก​มา​ มี​คา่ ​สงู เ​กินค​ ่าม​ าตรฐาน​)​6 Wang Jinnan, The Development of Pollution Charge in China, Chinese Academy for EnvironmentalPlanning, Beijing, ระบบออนไลน์ ทีม่ า http://www.caep.org.cn 12 ตุลาคม 2552.

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 19 ​ (4) คิด​ภาษี​จาก​มลพิษ​ทุก​ตัว​ที่​ปล่อย​ออก​มา​ ​แทนท่ี​จะ​คิด​เฉพาะ​จาก​มลพิษ​​ ตัว​ท​่มี ี​การ​ปลอ่ ยเ​กนิ ค​ า่ ม​ าตรฐานบ​ ่อย​คร้งั ​ทีส่ ดุ ​ ​ภาย​ใต้​ระบบ​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​ใหม่​นี้​ ​มี​มลพิษ​ประมาณ​​100​ ​ชนิด​ที่​ถูก​จัด​อยู่​ใน​บัญชี​ของ​มลพิษ​ท่ี​ต้อง​นำ​มา​คำนวณ​ค่า​ภาษี​ ​มลพิษ​ที่​ปล่อย​ออก​มา​จะ​ต้อง​ถูก​แปร​​เปน็ ค​ ่า​P​Es​​และก​ ารค​ ดิ ภ​ าษจ​ี ะค​ ดิ ​ตามห​ นว่ ยแ​ละ​อัตราต​ ่อห​ น่วย​P​Es​​มลพิษท​ าง​นำ้ ​​ท่ี​ถูก​นำ​มา​คิด​ภาษี​มี​​18​ ​ชนิด​ ​ตาม​ชนิด​ท่ี​มี​การ​กำหนด​ค่า​มาตรฐาน​มลพิษ​ที่​ปล่อย​ออก​จาก​แหล่ง​กำเนิด​​(​OECD​,​​2006​)​ ​นอกจาก​น้ี​ ​เน่ืองจาก​ปัญหา​มลพิษ​ท่ี​เพิ่ม​ข้ึน​อยา่ ง​รวดเรว็ ​จาก​การ​พฒั นา​ทาง​เศรษฐกจิ ​ใน​ชว่ ง​ทศวรรษ​​1990​ ​ทำให​ร้ ะบบ​บำบดั นำ้ ​เสยี ​รวม​และ​ระบบ​กำจัด​ของ​เสีย​รวม​ใน​เขต​เทศบาล​ต่างๆ ​ไม่​สามารถ​รองรับ​น้ำ​เสีย​และข​องเ​สยี ​ได้​​องคก์ ารค​ มุ้ ครอง​ส่งิ แวดล้อมแ​ห่ง​รฐั ​​(​SEPA​)​แ​ละค​ ณะ​กรรมาธิการ​การ​พัฒนา​และ​การ​ปฏิรูป​แห่ง​ชาติ​​(​National​​Development​​and​ ​Reform​​Commission​:​​NDRC​)​ ​จึง​จัด​ทำ​ข้อ​เสนอ​อัตรา​ค่า​ธรรมเนียม​การ​จัดการ​มลพิษ​ใหม่​ที่​จะเ​รียกเ​ก็บ​จากป​ ระชาชน​​และ​เสนอ​ต่อ​คณะ​มนตรี​แหง่ ​ชาต​ใิ น​ชว่ ง​ตน้ ​ค​ .​​ศ.​​​2002​​เพื่อ​ให้​มี​งบ​ประมาณ​มาก​ขึ้น​ใน​การ​ดำเนิน​งาน​ระบบ​บำบัด​น้ำ​เสีย​และ​ระบบ​กำจัด​ของเ​สยี ร​วม​อ​ตั ราค​ า่ บ​ ำบดั น​ ำ้ เ​สยี แ​ละจ​ดั การข​องเ​สยี ท​ เ​่ี สนอใ​หมไ​่ ดร​้ บั ค​ วามเ​หน็ ช​อบ​อย่างร​วดเร็ว​ แ​ละน​ ำ​ไป​ใช้บ​ งั คบั ใ​น​2​0​ ​มณฑล​ใน​ ​ค.​ศ​ ​.​2​003​ ต​ ามข​้อ​เสนอ​ใหม่​น้ี​ประชาชน​และ​ทุก​ครัว​เรือน​จะ​ต้อง​จ่าย​ค่า​บำบัด​น้ำ​เสีย​และ​ค่า​กำจัด​ขยะ​มูลฝอย​ใน​อัตรา​ท่ี​เพียง​พอ​ต่อ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​บำบัด​น้ำ​เสีย​และ​กำจัด​ของ​เสีย​ ​ค่าน้ำ​ประปา​ในน​ ครเ​ปย่ จ​์ งิ (​B​eijing)​​ใ​นป​ จั จบุ นั จ​งึ ม​ อ​ี ตั ราส​ งู ข​นึ้ เ​ปน็ ส​ องเ​ทา่ ​เ​นอ่ื งจากผ​ ใ​ู้ ชน​้ ำ้ ต​ อ้ ง​จ่าย​คา่ ​บำบดั ​น้ำเ​สีย​ในอ​ ัตรา​​1​ห​ ยวน​ต่อน​ ำ้ ​1​​​ตนั ท​ ่บ​ี ริโภค​ใน​แต่ละว​นั 7​ ส​ ำหรบั อ​ตั ราภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างอ​ากาศท​ ค​่ี ดิ จ​ากค​ า่ ​S​O2​ณ​ ​ป​ ​ี ค​ .​ศ​ .​​2005​อยท​ู่ ี่​0​.63​ห​ ยวน​ตอ่ ก​ โิ ลกรัม​แ​ละท​ ี่​คดิ จ​าก​ออกไซด​ข์ องไ​นโตรเจน​N​ OX​ ณ​ ​​ป​ี ค​ ​.ศ​ .​​2004​​อย่ท​ู ่​ี ​0.6​​หยวน​ต​ ่อ​​กโิ ลกรัม​​(​OECD​,​2​006​)​ ผ​ ​กู้ ่อม​ ลพิษม​ ​เี วลา​​20​ว​ัน​​ใน​การ​เสยี ภ​ าษ​ีราย​เดอื น​ห​ าก​ไม่ช​ำระภ​ าษภี​ ายใน​เวลาท​ ก​ี่ ำหนด​จ​ะ​ตอ้ งเ​สียเ​งนิ เ​พิม่ ใ​น​อตั ราร​้อย​ละ​​0.2​ต​ ่อว​ัน​เ​พื่อ​ส่งเ​สริม​ใหม้​ ี​การล​ ด​7 Wang Jinnan, อา้ งแล้ว

20 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มมลพิษ​ค​ ่าภ​ าษี​จะเ​พ่มิ ข​น้ึ ต​ ามร​ะยะ​เวลาท​ ่ี​ไมป่​ ฏิบตั ต​ิ าม​กฎหมาย​น​ อกจาก​น​ี้ ห​ ลงั ​จาก​สอง​ปแ​ี รก​ของ​การจ​่ายภ​ าษี​​ภาษี​จะเ​พมิ่ ​ขนึ้ ใ​น​อตั รา​รอ้ ยล​ ะ​5​​ต​ อ่ ​ป​ี (​O​ ECD​,​​2006​)​ ​ใน​ปี​ ​ค​.​ศ​.​​2003​ ​มี​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​จาก​สถาน​ประกอบ​การ​​และ​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​จำนวน​ ​700,000​ ​แห่ง​ทั่ว​ประเทศ​ ​มี​ราย​ได้​จาก​ภาษี​เป็น​จำนวน​เงิน​​6,000​ ​ล้าน​หยวน​ ​ซึ่ง​คิด​เป็น​อัตรา​เพ่ิม​ขึ้น​ร้อย​ละ​​120​ ​จาก​ภาษี​ท่ี​จดั เ​กบ็ ไ​ดใ​้ นป​ ี ค.​ศ​ .​​19968​เ​งนิ ภ​ าษท​ี จ​ี่ ดั เ​กบ็ ไ​ดใ​้ หน​้ ำส​ง่ ก​ ระทรวงก​ ารค​ ลงั ​ซ​ง่ึ จ​ะจ​ดั สรร​​เงิน​ได้ ดัง​กล่าว​เพ่ือ​การ​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​ ​ได้แก่​ ​การ​ดำเนิน​มาตรการ​คุ้มครอง​ส่ิง​แวดลอ้ ม จัด​ซ้ือ​เคร่ือง​มือ​และ​อปุ กรณ​์ในก​ าร​ติดตามต​ รวจ​สอบม​ ลพิษ​​และก​ ารใ​ช้​เทคโนโลยี​ใหมๆ่ ​เ​งินภ​ าษที​ จ่ี​ดั ​เก็บ​ได้ถ​ กู จ​ัดสรรใ​ห​้รัฐบาล​กลางใ​น​สัดส่วน​ร้อยล​ ะ​​10​ส่วน​ท่ี​เหลือ​ร้อย​ละ​​90​ ​ให้​จัดสรร​ให้​รัฐบาล​ท้อง​ถ่ิน​ใน​ระดับ​มณฑล​ ​เทศบาล​ ​และ​หนว่ ย​งานนอก​เขต​เทศบาล​(​O​ ECD,​​​2006​)​ กลอ่ ง​ท่ี​​1 ​พัฒนาการเ​รอื่ งก​ ารจ​ดั ​เกบ็ ภ​ าษมี​ ลพษิ ข​อง​จีน​ แ​นวคดิ ​เรอื่ งก​ าร​จดั เ​ก็บภ​ าษ​กี าร​ปลอ่ ย​มลพษิ ​(​​Pollution​​Charge)​​ ​ถูก​เสนอ​เป็น​ครั้ง​แรก​เม่ือ​ ​ค​.​ศ​.​​1978​ ​ใน​รายงาน​ของ​กลุ่ม​ผู้นำ​ด้าน​ สงิ่ แ​วดล้อมข​องค​ ณะ​มนตรแี​หง่ ​รัฐ​​(​State​C​ ouncil​)​​เพ่ือข​อ​ความ​เห็น​ชอบ​ จากค​ ณะก​ รรมการก​ ลางข​องพ​ รรคค​ อมมวิ นสิ ต​์ ใ​นป​ ต​ี อ่ ม​ า​ข​อ้ เ​สนอด​ งั ก​ ลา่ ว​ ถกู ​บรรจลุ​ งใ​น​กฎหมาย​คุ้มครองส​ ่งิ แ​วดลอ้ ม​(​E​nvironmental​P​rotection​​ Law​)​ ข​อง​จนี ​ ซ​ึ่งก​ ำหนด​ให​ส้ ถาน​ประกอบ​การ​และ​แหลง่ ​กำเนิดม​ ลพิษ​ทกุ ​ ประเภทต​ อ้ งจ​า่ ยค​ า่ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ต​ ามป​ รมิ าณแ​ละค​ วามเ​ขม้ ข​น้ ข​อง​ มลพษิ ท​ ร​ี่ ะบายอ​อกส​ส​ู่ งิ่ แ​วดลอ้ มใ​นก​ รณท​ี ม​ี่ ลพษิ ด​ งั ก​ ลา่ วม​ ค​ี า่ ม​ าตรฐานเ​กนิ ​ กว่า​ที่​กฎหมาย​อนุญาต​​ ​โครงการ​นำร่อง​ใน​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ดำเนิน​การ​ คร้ัง​แรก​ท่ี​เมือง​ซู​โจว​ ​(​Suzhou​)​ ​ใน​มณฑล​เจียง​ซู​ ​นับ​จนถึง​ปลาย​ปี​ ค.​ศ​ ​.​​1981​ ม​ กี​ าร​ทดลองเ​ก็บภ​ าษ​กี าร​ปล่อย​มลพษิ ใ​นเ​มอื ง​ตา่ งๆ​ ของ​​28​​ มณฑลแ​ ละ​เขต​เทศบาล​​8 Wang Jinnan, อา้ งแล้ว

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 21 ใ​น​​ค.​ศ​ ​.​1​982​​คณะม​ นตรีแ​ห่ง​รัฐ​ได​อ้ อก​คำส​ ่งั ฉ​ บบั ท​ ​ี่ 2​1​ทเ​่ี รียกว​่า​The​​Tentative​P​rovisions​​on​​Pollution​​Charge​ซ​ง่ึ ก​ ำหนดว​ัตถปุ ระสงค​์ของก​ ารจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ​อ​ตั ราแ​ละส​ตู รใ​นก​ ารค​ ำนวณภ​ าษ​ี แ​ละ​การ​จัดการ​เงิน​ท่ี​ได้​จาก​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​ ​เงิน​ได้​จาก​ภาษี​มี​บทบาท​สำคัญ​ใน​การ​สนบั สนุน​กิจกรรมท​ ี่​ลด​มลพษิ ​แ​ละช​่วย​เสรมิ ส​ รา้ งส​ มรรถนะ​ของ​หนว่ ย​งาน​ส่งิ ​แวดลอ้ ม​ในร​ะดบั ท​ ้องถ​ น่ิ ​​(E​PBs)​​ใ​น​ช่วงก​ วา่ ส​ องท​ ศวรรษ​ทผ่ี​ า่ น​มา​ ร​ายงาน​การ​วจิ ัย​ใน​ป​ี ค​ .​​ศ.​​1​990​​เกย่ี ว​กับ​ปญั หาม​ ลพษิ ​ทาง​อากาศ​และส​ภาวะฝ​นก​รดท​ เ​ี่ กดิ จ​ากก​ารป​ ลอ่ ยก​า๊ ซ​SO2​ท​ ำใหค​้ ณะม​ นตรแ​ี หง่ ร​ฐั อ​อก​มาตรการ​ใน​ค​ .​ศ​ .​​1​992​​ใหเ​้ กบ็ ​ภาษีก​ าร​ปลอ่ ย​SO2​​จาก​ภาค​สาธารณูปโภค​ซง่ึ ป​ ล่อย​S​O2​​ใน​สัดส่วนส​ ูง​ถึง​รอ้ ย​ละ​​46​ข​องป​ ริมาณท​ ้งั หมด​ในป​ ระเทศ​​โดย​ส่วนใ​หญ่ใ​ห​้เรยี กเ​กบ็ ​จากโ​รงไ​ฟฟ้า​ท่ี​ใช้​ถ่านหนิ เ​ปน็ ​เช้ือ​เพลิง​ ตลอด​ช่วง​ทศวรรษ​​1990​ ​ระบบ​การ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ของ​จีน​ได้​รับ​การ​วิพากษ์​วิจารณ์​เป็น​อย่าง​มากว่า​ยัง​อยู่​ใน​อัตรา​ที่​ต่ำ​เกิน​กว่า​ท่ี​จะ​สร้าง​แรง​จูงใจ​ให้​ลด​การ​ก่อ​มลพิษ​ ​ใน​ช่วง​เวลา​ดัง​กล่าว​​ธนาคารโลก​ไดป​้ ระเมิน​วา่ ม​ ลพษิ ​ทางอ​ ากาศ​ของ​จีน​กอ่ ใ​ห​้เกดิ ​ความเ​สียห​ าย​ทาง​เศรษฐกิจ​คิด​เป็น​ร้อย​ละ​ ​7​ ​ของ​ ​GDP​ ​ต่อ​มา​ใน​ ​ค​.​ศ​.​ ​1994​​ธนาคารโลก​ได้​จัด​ทำ​ข้อ​ตกลง​ความ​ร่วม​มือ​กับ​รัฐบาล​จีน​ใน​การ​ดำเนิน​โครงการว​ิจยั ข​นาดใ​หญ่​​(​ประกอบ​ดว้ ยส​ ถาบนั วิจยั ​​20​ ​แห่ง​ ​และ​นกั ว​ิจยั ​​322​ ​คนใน​โครงการ​ ​ครอบคลุม​สถาน​ประกอบ​การ​ท่ี​เป็นก​ลุ่ม​ตัวอย่าง​ประมาณ​ ​20,000​ ​แห่ง​)​ ​เพ่ือ​ศึกษา​ผลก​ระ​ทบ​ที่​อาจ​เกิด​ขึ้น​จาก​การ​กำหนด​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ใน​อัตรา​ต่างๆ​ ​การ​ศึกษา​ดำเนิน​การ​แล้ว​เสร็จ​ใน​ ​ค​.​ศ​.​​1997​ ​และ​ผล​การ​ศึกษา​ถูก​นำ​เสนอ​ต่อ​คณะ​มนตรี​แห่ง​รัฐ​ใน​ ​ค​.​ศ​.​​2000​ ​พร้อม​ข้อ​เสนอ​ให้​มี​การ​ปฏิรูป​นโยบาย​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ ​จน​นำ​ไป​สู่​การ​ปรับปรุง​ระบบ​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อยม​ ลพษิ ​ใน​​ค​.​ศ​.​2​002​ทม่ี า​: ​Wang​​Jinnan​,​T​he​​Development​​of​​Pollution​​Charge​i​n​C​ hina,​​h​ttp:​/​/​​www​.​caep​.o​rg​.c​n​.

22 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม • สหรัฐอเมริกา​ การ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​เป็น​มาตรการ​ท่ี​ใช้​กัน​แพรห​่ ลายใ​นม​ ลรฐั ต​ า่ งๆ​ของส​หรฐั อเมรกิ า​ก​ ฎหมายค​ วบคมุ ม​ ลพษิ ท​ างน​ ำ้ ข​องส​หรฐั ฯ​(​​The​​Federal​W​ ater​P​ollution​​Control​A​ ct​​of​​1972​)​​กำหนด​ใหแ​้ หล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ท​ กุ ป​ ระเภทต​ อ้ งไ​ดร​้ บั ใ​บอ​ นญุ าตใ​นก​ ารร​ะบายน​ ำ้ ท​ งิ้ ​(​N​ ational​P​ollution​D​ ischarge​Elimination​S​ystem​:​​NPDES​​permits)​​ส​ ำนกั งาน​คมุ้ ครอง​ส่ิงแ​วดล้อม​ของส​ หรฐั ฯ​(​U​.​S​.​​Environmental​​Protection​​Agency​:​​EPA​)​ ​ได้​มอบ​อำนาจ​ให้​​40​ ​มลรัฐ​ทำห​ นา้ ทอ​่ี อกใ​บอ​นญุ าตร​ะบายน​ ำ้ ท​ ง้ิ ​แ​ละส​ ำนกั งานเ​ขต​(​r​egional​o​ffices)​​ข​อง​E​PA​เปน็ ​ผ้​อู อก​ใบอ​ นญุ าต​เองใ​น​อกี ​1​0​​มลรฐั ​​​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​ของ​มลรัฐ​ต่างๆ​ ​ใน​รูป​ของ​ค่า​ใบ​อนุญาต​ปล่อย​น้ำ​ทิ้ง​สามารถ​แบ่ง​ได้​เป็น​3​​​ลกั ษณะ​ค​ อื ​ ​ (1) ประมาณ​11​ม​ ลรฐั จ​ดั เ​กบ็ ใ​นอ​ตั ราค​ งทห​่ี รอื เ​หมาจ​า่ ย​บ​ างม​ ลรฐั แ​บง่ อ​ตั รา​ การ​จัด​เก็บ​ตาม​ประเภท​หรือ​ขนาด​ของ​อุตสาหกรรม​ ​หรือ​แหล่ง​กำเนิด​ มลพษิ ​​​ (2) ประมาณ​1​8​ม​ ลรัฐจ​ัด​เกบ็ ต​ ามป​ ริมาณ​ของ​นำ้ ​ท้ิง​​​ (3) ประมาณ​1​0​ ม​ ลรฐั ​ ​จัดเ​กบ็ ต​ ามป​ รมิ าณ​นำ้ ​ทงิ้ ​ แ​ละต​ าม​ปริมาณม​ ลพิษ​ (t​oxicity)​​ใ​นน​ ำ้ ท​ ้งิ ​ ยก​ตวั อยา่ งเ​ช่น​​รัฐล​ ยุ เซยี นา​(​L​ouisiana)​​​กำหนดค​ ่าใ​บอ​ นญุ าตร​ะบายน​ ้ำท​ ้งิ ​รายป​ เี​ป็นห​ น่วย​(​​worksheet​a​ssigning​​points​)​​โดยค​ ำนวณ​บน​ฐานข​อง​1​​)​ค​ วาม​ซบั ซ​อ้ น​ของแ​หล่งก​ ำเนิดม​ ลพษิ ​​(​facility​c​omplexity​)​2​)​​​ปริมาณแ​ละป​ ระเภทข​อง​น้ำท​ ง้ิ ​​3)​​ม​ ลพษิ ใ​นน​ ้ำท​ ้ิง​​4)​​​ความร​อ้ น​หรอื อ​ ุณหภูม​ิของ​น้ำ​ทิ้ง​​5)​​ค​ วาม​เป็น​อันตราย​ต่อ​การ​สาธารณสขุ ​(​p​otential​p​ublic​​health​t​hreat)​​​และ​6​​)​​แหลง่ ​กำเนิดม​ ลพิษ​นนั้ ถ​ กู จ​ดั เ​ปน็ ข​นาดใ​หญห​่ รอื เ​ลก็ ​จ​ากน​ น้ั ใ​หน​้ ำห​ นว่ ยท​ ี่ไ​ดม​้ าค​ ณู ด​ ว้ ยอ​ ตั รา​U​ SD​9​7.50​สำหรับ​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​นอก​ภาค​อุตสาหกรรม​​(​municipal​​facilities​)​ ​และ​คูณ​ดว้ ย​​USD​1​70.63​​สำหรับแ​หล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ใน​ภาคอ​ ุตสาหกรรม​อตั ราข​้นั ต​ ำ่ ข​อง​ค่า​ใบ​อนญุ าตร​าย​ปค​ี อื ​​USD​​227.50​แ​ละ​อตั ราส​ ูงสุด​คอื ​U​ SD​​90,0009​​​9​ ​Effluent​​Charge​​Systems​,​​National​​Center​​for​​Environmental​​Economics​,​​U​.​S​.​​Environmental​Protection​A​ gency,​​ท​ ่มี า:​​h​ttp:​​/​/y​osemite​.​epa​.g​ov​/e​e​/​epa​,​​last​u​pdated​O​ ctober​​5th,​​​2009​.

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 23​ตวั อยา่ งอ​ ัตรา​ภาษกี​ ารป​ ลอ่ ยม​ ลพิษท​ าง​อากาศท​ ป​ี่ ระเทศ​ต่างๆ​​จดั เ​กบ็ ​ ป​ ระเทศ​ท​่เี กบ็ ภ​ าษี​การป​ ล่อยม​ ลพิษ​ทางอ​ ากาศส​ ว่ นใ​หญ่​ไ​ด้แก​่ ​ประเทศน​ อก​ภาค​พืน้ เ​อเชยี ด​ ังแ​สดงใ​น​ตารางท​ ​ี่ 2​​ตาราง​ท่ี​2​ อตั รา​ภาษ​กี ารป​ ล่อยม​ ลพิษ​ทาง​อากาศข​องป​ ระเทศ​ต่างๆ​ อตั ราภ​ าษ​ี (​เหรียญส​ หรฐั ​)​ประเทศ​ SO2​ NOX​ C​ O​บัลแกเรยี ​ 0​.02​/k​g​ ​0.05​/k​g​​สา​ธารณ​รฐั ​เช็ก​ ​30/​​ton​​to​4​5/​t​on​ 30​/​ton​​to​​45​/t​on​ 2​2​/t​on​t​o​3​3/​t​on​​เดนมารก์ ​ ​1.60​/k​g​​เอ​สโ​ต​เนีย​ ​2/​t​on​​to​​95​/t​on​ 4/​​ton​​to​2​16​/t​on​ 0.27​/t​on​​to​​1.36​/​ton​ฟ​ นิ แลนด​์ 3​ 0​/​m3​o​ f​​diesel​ฝ​ ร่ังเศส​ ​32​/​ton​ 2​7/​t​on​ฮ​ ังการี​ ​2.40​/​ton​ ​4/​​ton​อติ าล​ี 62​/​ton​ 123​/t​on​ลิ​ทัว​เนีย​ ​46/​t​on​ 6​7/​​ton​ 1​.75​/​ton​โ​ปแลนด์​ 8​3/​​ton​ 8​3​/​ton​ 22​/​ton​​รัสเซีย​ ​1.22​/​ton​​to​6​.10​t​on​ 1.02/​​ton​​to​5​.08​/​ton​ 0.02​/t​on​t​o​0​.09​/t​on​​สโลว​ะ​เกีย​ 33/​t​on​ 27​/t​on​ 20​/t​on​สเปน​ ​35/​​ton​​สวเี ดน​ 5/​k​g​ทมี่ า​:​B​enoit​L​aplante​,​​2007.​ ​นอกจาก​นี้​ ​ยัง​มี​ตัวอย่าง​ของ​อัตรา​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​อากาศ​ใน​มณฑล​​British​C​ olumbia​​ของแ​คนาดา​​ซงึ่ ​ประกอบด​ ว้ ยอ​ ัตรา​ภาษี​คงที่​​และอ​ ัตรา​แปรผนั ​​ดังนี​้ ค​ ือ​

24 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ​ • อัตรา​ภาษคี​ งท่ี​​=​8​5​เ​หรยี ญแ​คนาดา​โ​ดยจ​ดั เ​กบ็ จ​าก​แหล่ง​กำเนิดม​ ลพษิ ​ ทกุ ป​ ระเภท​ • อ​ ัตรา​แปรผนั ​เ​กบ็ ต​ ามป​ ระเภท​ของม​ ลพิษ​โ​ดยค​ ดิ ต​ าม​ปรมิ าณข​องม​ ลพิษ​ ที่​ระบาย​ออกส​ ู่​สิ่งแ​วดล้อม​ต​ าม​อตั รา​ใน​ตารางท​ ี​่ 3​​ต​ าราง​ท่ี​3​​แ​สดงอ​ ตั รา​ภาษ​ีแปรผนั ส​ ำหรับม​ ลพิษ​ประเภท​ตา่ งๆใ​น​​British​​Columbia​มลพษิ ​ เ​หรยี ญแ​คนาดา​/ต​ ัน​CO​ 0​.33​NOX​ 8​.40​SO2​ ​9.75​TSP​ ​12.50​Ammonia​ 1​2.50​Chlorine​d​ ioxide​ ​8.40​F​luorides​ ​500.00​​Hydrocarbons​ ​12.50​​Metals​ ​500.00​​ทม่ี า​:​​Benoit​L​aplante,​​​2007.​​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 255 การจดั ทำกฎหมายวา่ ดว้ ยเครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การ สง่ิ แวดลอ้ ม ​นับ​ตั้งแต่​ ​พ​.​ศ​.​​2545​ ​เป็นต้น​มา​ ​หลาย​หน่วย​งาน​ที่​มี​ภารกิจ​ด้าน​​ส่ิง​แวดล้อม​มีน​โย​บาย​ที่​จะ​นำ​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​มา​ใช้​ใน​การ​จัดการ​สิง่ แ​วดล้อม​มากข​นึ้ ​ย​กต​ วั อย่าง​เชน่ ​​กรม​โรงงานอ​ ุตสาหกรรม​​เคย​จัดท​ ำร​่างพ​ ระร​าช​บัญญตั ก​ิ าร​จดั การม​ ลพษิ ​โรงงาน​ซ​ง่ึ ​กำหนด​ให้​ผปู้​ ระกอบก​ ิจการ​โรงงานต​ ้อง​ชำระค​ ่า​เรยี กเ​กบ็ เ​พอ่ื น​ ำเ​งนิ ม​ าจ​ดั ต​ ง้ั ก​ องทนุ ส​ำหรบั ก​ ารจ​ดั การส​ง่ิ แ​วดลอ้ ม​ก​ รมค​ วบคมุ ม​ ลพษิ ​กระทรวง​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​สิ่ง​แวดล้อม​ ​ได้​จัด​ทำ​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัติ​สง่ ​เสริม​การ​จัดการ​ของ​เสีย​อันตราย​จาก​ผลิตภัณฑ์​ที่​ใช้​แล้ว​ ​ซ่ึง​กำหนด​ให้​ผู้​ผลิต​และ​ผู้นำ​เข้า​ผลิตภัณฑ์​ท่ี​จะ​กลาย​เป็น​ขยะ​อันตราย​เม่ือ​ผู้​บริโภค​ใช้​แล้ว​ ​ต้อง​ชำระ​ค่า​ธรรมเนียม​ผลิตภัณฑ์​ ​และ​นำ​เงิน​ที่​จัด​เก็บ​ได้​มา​จัด​ตั้ง​กองทุน​เพื่อ​เป็น​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​จัด​ระบบ​รับ​ซื้อ​คืน​ซาก​ผลิตภัณฑ์​จาก​ผู้​บริโภค​ ​โดย​มี​วัตถุประสงค์​ให้​เกิด​การ​คัด​แยก​ขยะ​อันตราย​ออก​จาก​ขยะ​ท่ัวไป​ ​ซ่ึง​จะ​เป็นการ​ส่ง​เสริม​การนำ​ขยะ​ที่​ใช้ได้​กลับ​มา​ใช้​ใหม่​​และ​ทำให้​ขยะ​อันตราย​ส่วน​ท่ี​ไม่​สามารถ​นำ​มา​ใช้ได้​อีก​ได้​รับ​การ​บำบัด​และ​กำจัด​อย่าง​ถูก​ตอ้ ง​​ ​ ลา่ สดุ ​ใ​น​​พ​.ศ​ .​​​2550​​สำนกั งานเ​ศรษฐกจิ ก​ าร​คลงั ​​กระทรวง​การค​ ลัง​โ​ดย​ความร​ว่ มม​ อื แ​ละก​ ารส​ นบั สนนุ จ​ากธ​นาคารพ​ ฒั นาเ​อเชยี ​(​A​ DB)​​ไ​ดจ​้ ดั ท​ ำร​า่ งพ​ ระร​าช​บัญญัติ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพื่อ​การ​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​ ​โดย​มี​วัตถุประสงค์​เพอื่ ใ​หเ้​ปน็ ​กฎหมาย​แม่บทซ​งึ่ ห​ นว่ ยง​านต​ า่ งๆ​ ทีม​่ พ​ี ันธก​ ิจ​ด้านส​ งิ่ แ​วดล้อมส​ ามารถ​นำ​เครอื่ งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศาสตรท​์ เ​่ี หมาะส​มม​ าใ​ชใ​้ นก​ารจ​ดั การส​งิ่ แ​วดลอ้ มไ​ดโ​้ ดยจ​ดั ท​ ำเ​ปน็ ​พระ​ราชก​ ฤษฎกี า​​

26 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม6 รา่ ง​พระร​ าช​บญั ญตั ​ิ เครอ่ื งม​ อื ท​ าง​เศรษฐศาสตร์​ เพอ่ื ​การ​จดั การ​สง่ิ แ​วดลอ้ ม​ ว​ตั ถปุ ระสงค์ใ​นก​ ารจ​ดั ท​ ำร​า่ งพ​ ระร​าชบ​ ญั ญตั ฉ​ิ บบั น​ ก​ี้ ค​็ อื ​เ​พอ่ื ใ​หเ​้ ปน็ ​กฎหมายแ​มบ่ ทท​ ก​่ี ำหนดเ​ครอื่ งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศาสตรป​์ ระเภทต​ า่ งๆ​สำหรบั ใ​หห​้ นว่ ยง​าน​รัฐ​นำ​ไป​ใช้​ใน​การ​จัดการ​ปัญหา​สิ่ง​แวดล้อม​ได้​ตาม​พันธ​กิจ​ของ​ตนเอง​ ​กฎหมาย​นี้​จึง​เปรียบ​เสมือน​เต็นท์​ใหญ่​ท่ี​เปิด​ให้​หน่วย​งาน​ต่างๆ​ ​สามารถ​มา​ออก​บูธ​ได้​ ​สำหรับ​ราย​ละเอียด​เก่ียว​กับ​หลัก​เกณฑ์​ ​วิธี​การ​ ​และ​เงื่อนไข​ใน​การ​ใช้​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​แต่ละ​ประเภท​น้ัน​ให้​กำหนด​โดย​จัด​ทำ​เป็น​พระ​ราช​กฤษฎีกา​ซ่ึง​เป็น​กฎหมาย​ระดบั ​รองอ​ ีก​ชน้ั ​หนึ่ง​​​เคร่อื ง​มอื ​เศรษฐศาสตร​เ์ พือ่ ​การจ​ดั การส​ งิ่ แ​วดล้อมต​ ามร​า่ งพ​ ระ​ราชบ​ ัญญตั ิ​น​ี้ ​ได้แก​่​ (1) ภาษ​ีส่งิ ​แวดลอ้ ม​​​ (2) คา่ ธ​รรมเนยี มก​ ารจ​ดั การ​ (3) ​ภาษแี​ละค​ า่ ธ​รรมเนยี มผ​ ลิตภณั ฑ์​​ (4) การว​าง​เงนิ ​ประกนั ค​ วามเ​สยี่ ง​หรอื ​ความ​เสยี ​หาย​ต่อส​ ิง่ ​แวดลอ้ ม​​ (5) การ​ซื้อ​ขายส​ ทิ ธ​กิ ารใ​ช​ท้ รัพยากรธรรมชาติ​หรือส​ ิทธ​ิการป​ ลอ่ ยม​ ลพิษ​ (6) ​การ​ใหเ​้ งนิ อ​ ุดหนุน​​มาตรการส​ นับสนนุ ​ห​ รือ​สิทธพ​ิ เิ ศษ​อ่นื ๆ​​รา่ ง​กฎหมายน​ ​้ีม​จี ดุ ​เดน่ ห​ รอื ​เป็นน​ วัตกรรม​ทางก​ ฎหมาย​ด​ ว้ ย​เหตผุ ล​​3​​ประการค​ ือ​​ ​หนงึ่ ​​เปน็ ​กา​รบู​รณาก​ ารใ​ห้ก​ ระทรวงต​ ่างๆ​ส​ ามารถใ​ช้ก​ ฎหมายน​ ร​ี้ ่วมก​ นั ​ได้​​ ​สอง​ ​เป็น​กฎหมาย​ฉบับ​แรก​ท่ี​ให้​อำนาจ​แก่​องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถ่ิน​ใน​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 27การ​จัด​เก็บ​ภาษี​และ​ได้​รับ​การ​จัดสรร​ราย​ได้​จาก​ภาษี​ท่ี​จัด​เก็บ​ได้​ใน​สัดส่วน​ที่มา​กก​ว่า​สว่ น​กลาง​โ​ดย​ใหส​้ ง่ ค​ นื เ​พยี ง​บางส​ ว่ นใ​ห​้กับ​รัฐบาล​แ​ละ​​ สาม​ เปิด​ให้​ผู้​มี​ส่วน​ได้​เสีย​ใน​ภาค​เอกชน​เข้า​มา​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​ใช้​ประโยชน์​จาก​ราย​ได้ท​่ีเกดิ จ​ากก​ ารเ​กบ็ ภ​ าษี​และ​ค่า​ธรรมเนยี มต​ ามก​ ฎหมาย​น้ี​กรอบ​แนวคิด​ใน​การ​จัด​ทำ​กฎหมาย​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพื่อ​การ​จัดการ​ส่งิ ​แวดล้อม​สามารถแ​สดง​ใหเ​้ หน็ ไ​ด​้ตามแ​ผนภาพ​ท​่ี ​1​ด​ งั นี้​​พ.ร.ฎ.ภาษี พ.ร.ฎ.ภาษี มลพษิ มลพษิ ทางน้ำ ทางอากาศ พ.ร.บ.เคร่ืองมอื ทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อการจดั การ สิง่ แวดล้อม พ.ร.ฎ. พ.ร.ฎ.คา่ ธรรมเนียม ฯลฯ ผลติ ภัณฑ์แผนภาพท​ ​่ี1​ แ​สดงก​ รอบแ​นวคดิ ใ​นก​ ารจ​ดั ท​ ำก​ ฎหมายว​า่ ด​ ว้ ยเ​ครอ่ื งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศาสตร​์ใน​การจ​ัดการส​ ิง่ แ​วดล้อม

28 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มรา่ งพ​ ระร​าชบ​ ญั ญตั เ​ิ ครอ่ื งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศาสตรก​์ ำหนดร​ะบบส​ถาบนั เ​พอื่ เ​ออื้ อ​ำนวยใ​ห​้เกดิ ​การ​บู​รณาก​ ารร​ะหว่าง​กระทรวงต​ า่ งๆ​ท​ ่ม​ี ภ​ี ารกจิ ​ด้านส​ งิ่ แ​วดลอ้ ม​​ท​่ีสำคญั ไ​ด้แก​่​ •​ ​คณะ​กรรมการ​กำกับ​นโยบาย​การ​ใช้​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพ่ือ​การ​จดั การส​งิ่ แ​วดลอ้ มท​ ม​่ี ร​ี ฐั มนตรว​ี า่ การก​ ระทรวงก​ ารค​ ลงั เ​ปน็ ป​ ระธาน​เ​พอ่ื ป​ ระสานง​าน​การ​ใช้​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​ใน​ภาพ​รวม​ ​คณะ​กรรมการ​ประกอบ​ด้วย​ผู้​แทน​จาก​หน่วย​งาน​รัฐ​ต่างๆ​ ​ท่ี​มี​พันธ​กิจ​ด้าน​การ​จัดการ​สิ่ง​แวดล้อม​ ​องค์กร​ปกครอง​​ส่วน​ท้อง​ถิ่น​ ​และ​ผู้​แทน​ของ​กลุ่ม​ผู้​มี​ส่วน​ได้​ส่วน​เสีย​กับ​การ​ใช้​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​ ​เมื่อ​หน่วย​งาน​ใด​หรือ​องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถ่ิน​มี​ความ​ประสงค์​ท่ี​จะ​นำ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​ประเภท​ใด​ประเภท​หน่ึง​ไป​ใช้​ใน​การ​จัดการ​​สงิ่ ​แวดลอ้ ม​ตามอ​ ำนาจห​ น้าที​ข่ องต​ น​​กส็​ ามารถเ​สนอใ​ห้​คณะก​ รรมการพ​ จิ ารณา​และ​เสนอ​ความ​เห็น​ต่อคณะ​รัฐมนตรี​เพ่ือ​มอบ​หมาย​ให้​รัฐมนตรี​ว่าการ​กระทรวง​การ​คลัง​จดั ท​ ำพระ​ราช​กฤษฎกี าซ​่งึ ก​ ำหนดห​ ลัก​เกณฑ์​ว​ธิ กี​ าร​​และ​เงอื่ นไข​ใน​การใ​ชเ​้ คร่อื ง​มอื ​​ทางเ​ศรษฐศาสตรน​์ ้ัน​ตามพ​ระ​ราชบ​ ญั ญัตน​ิ ้ีไ​ด้​ ​คณะ​กรรมการ​มี​อำนาจ​แต่ง​ต้ัง​ผู้ทรง​คุณวุฒิ​เป็น​ที่​ปรึกษา​ ​และ​แต่ง​ตั้ง​​คณะอ​ นกุ รรมการเ​พอ่ื ​พิจารณา​หรอื ป​ ฏิบัติก​ ารต​ ามท​ ​่ีคณะ​กรรมการม​ อบ​หมายไ​ด​้ ​•​ ​กองทุน​ภาษี​และ​ค่า​ธรรมเนียม​ส่ิง​แวดล้อม​ ​ประกอบ​ด้วย​ราย​ได้​จาก​การ​จดั เ​กบ็ ภ​ าษส​ี ง่ิ แ​วดลอ้ ม​แ​ละภ​ าษแ​ี ละค​ า่ ธ​รรมเนยี มผ​ ลติ ภณั ฑท​์ เ​่ี รยี กเ​กบ็ ต​ ามพร​ะร​าช​บัญญตั ิ​น​ี้ (​แ​ผนภาพท​ ่​ี ​2)​​​เงนิ ก​ องทนุ ม​ ​ีวตั ถุประสงค​์เพ่ือ​ใชใ​้ นก​ จิ การต​ า่ งๆ​ท่ี​เกีย่ วขอ้ ง​กับ​การร​ักษาส​ ่ิงแ​วดลอ้ ม​เชน่ ​ ​ (1​​) ​​อุดหนุน​หรือ​ให้​กู้​ยืม​แก่​โครงการ​ควบคุม​หรือ​ลด​การ​ปล่อย​มลพิษ​ซึ่ง​เสนอ​ โดยห​ น่วยง​าน​รฐั ​​และผ​ ​ปู้ ระกอบ​การภ​ าคเ​อกชน​​ ​ (​2​) ​​อุดหนุน​โครงการ​วิจัย​และ​พัฒนา​ท่ี​เก่ียวข้อง​กับ​การ​จัดการ​มลพิษ​และ​ ​การ​จัดการ​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​สิ่ง​แวดล้อม​ท่ี​เสนอ​โดย​หน่วย​งาน​รัฐ​ และอ​ งคก์ ร​เอกชน​ท่ีเ​ก่ยี วข้อง​กับ​การ​จดั การส​ ิ่งแ​วดลอ้ ม​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 29 ​ (​3)​​ ​เป็น​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​จัดการ​ของ​เสีย​และ​การ​จัดการ​ผลิตภัณฑ์​ท่ี​ใช้​แล้ว​​ ​รวมท​ ง้ั ก​ าร​จัด​ระบบ​รวบรวม​หรือ​รับซ​้ือ​คนื ​ผลติ ภัณฑ์ท​ ่ี​ใช้​แลว้ ​​ (​4​)​ เ​ปน็ เ​งนิ ช​ว่ ยเ​หลอื ห​ รอื ใ​หก​้ ย​ู้ มื แ​กก​่ จิ การน​ ำข​องเ​สยี ก​ ลบั ม​ าใ​ชซ​้ ำ้ ​ห​ มนุ เวยี น​ กลบั ​มา​ใชใ​้ หม​่ ​หรือ​นำก​ ลบั ม​ า​ใชอ​้ ีก​ (​5​)​ ​​อุดหนุน​กิจกรรม​หรือ​โครงการ​ท่ี​เก่ียวข้อง​กับ​การ​อนุรักษ์​ทรัพยากร​ ธรรมชาต​ิ แ​ละส​ ง่ิ ​แวดลอ้ มท​ เ​่ี สนอโ​ดย​หนว่ ยง​าน​ผู้รบั ​ผิด​ชอบ​​ ​ (​6​) เปน็ ค​ า่ ใ​ชจ​้ า่ ยใ​นก​ารฟ​ นื้ ฟส​ู งิ่ แ​วดลอ้ มท​ ส​ี่ ญู หายห​ รอื ไ​ดร​้ บั ค​ วามเ​สยี ห​ ายจ​าก​ การท​ ำลาย​​หรือจ​าก​การ​รว่ั ไ​หลห​ รือแ​พร​่กระจาย​ของม​ ลพิษ​ ​ (7​)​ ​อุดหนุน​หรือ​ใช้​จ่าย​ใน​กิจ​กา​รอ่ืนๆ​ ท่ี​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​จัดการ​ทรัพยากร​ ธรรมชาตแ​ิ ละส​ ง่ิ แ​วดล้อม​ตาม​ทคี่​ ณะก​ รรมการ​กำหนด​ กองทนุ ภาษี และ คา่ ธรรมเนียม สิง่ แวดล้อม ภาษีการปล่อย คา่ ธรรมเนียม เคร่อื งมืออ่นื ๆ มลพิษ ผลติ ภณั ฑ์ เพื่อการ แบตเตอร่ี มลพิษทางนำ้ ยางรถยนต์ อนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ มมลพิษทางอากาศ ขยะอิเลก็ ทรอนิกส์ ภาษีทอ่ งเทย่ี ว ภาษีโลกร้อน อน่ื ๆ อนื่ ๆ อืน่ ๆแผนภาพ​ท​ี่ 2​ โ​ครงสร้าง​เงินก​ องทนุ ภ​ าษีแ​ละค​ า่ ​ธรรมเนยี มส​ ิ่ง​แวดล้อม

30 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มการบ​ ริหาร​จดั การก​ องทุน​ (1) มค​ี ณะก​ รรมการก​ องทนุ ​ป​ ระกอบด​ ว้ ยป​ ลดั ก​ ระทรวงก​ ารค​ ลงั เ​ปน็ ป​ ระธาน​ อธิบดี​กรม​โรงงาน​อุตสาหกรรม​ ​อธิบดี​กรม​ควบคุม​มลพิษ​ ​เลขาธิการ​ สำนักงาน​นโยบาย​และ​แผน​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​ส่ิง​แวดล้อม​ ​และ​ กรรมการผ​ ้ทู รง​คณุ วุฒิท​ ี​่คณะร​ัฐมนตรี​แตง่ ​ตัง้ ​เป็นจ​ำนวน​ไมเ่​กิน​1​0​ ค​ น​ เป็น​กรรมการ​ ​ใน​จำนวน​ผู้ทรง​คุณวุฒิ​ ​ให้​มี​ผู้​แทน​ภาค​อุตสาหกรรม​ ภาคบ​ ริการ​ส​ มาคมส​ ันนบิ าตเ​ทศบาล​ส​ มาคมอ​ งคก์ าร​บรหิ ารส​ ว่ น​จังหวัด​ กรุงเทพมหานคร​ ​และ​ผู้ทรง​คุณวุฒิ​ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม​ ​ด้าน​การ​เงิน​และ​ ​ การจ​ดั การ​แ​ละผ​อ​ู้ ำนวยก​ารส​ำนกั งานเ​ศรษฐกจิ ก​ารค​ลงั เ​ปน็ ก​รรมการแ​ละ​ เลขานกุ าร​ (2) ​ให้​แยก​เงิน​ใน​กองทุน​ออก​เป็น​บัญชี​ตาม​ที่มา​ของ​เงิน​ได้​จาก​ภาษี​และ​ ค่าธ​รรมเนียม​ (3) ​แต่ละ​บัญชี​มี​ผู้​จัดการ​​(​สถาบัน​การ​เงิน​หรือ​นิติบุคคล​ที่​ได้​รับ​แต่ง​ต้ัง​จาก​ คณะ​กรรมการก​ องทุน)​​เ​พ่ือบ​ ริหารจ​ัดการเ​งิน​ในบ​ ญั ชีต​ าม​วตั ถปุ ระสงค์​ ​ (4) ผู้​จัดการ​กองทุน​มีหน้า​ที่​จัด​ทำ​แผน​ยุทธศาสตร์​และ​แผน​ดำเนิน​งาน​ของ​ กอง​ทุน​ ​ประเมิน​ข้อ​เสนอ​โครงการ​และ​อนุมัติ​เงิน​อุดหนุน​หรือ​เงิน​กู้​แก่​ โครงการแ​ละก​จิ กรรมต​ ามข​นาดแ​ละภ​ ายในว​งเงนิ ท​ ค​่ี ณะก​รรมการก​องทนุ ​ กำหนด​​ (5) ตอ้ ง​จดั ใ​ห​้กองทุน​มี​การต​ รวจส​ อบ​ภายใน​เกีย่ ว​กับก​ าร​เงิน​ก​ ารบ​ ัญชี​​และ​ พสั ดุข​องกอง​ทนุ ​​ (6) ​กองทุน​ต้อง​มี​งบ​การ​เงิน​ ​และ​มี​การ​สอบ​บัญชี​และ​ประเมิน​ผล​การ​ใช้​จ่าย​ เงนิ แ​ละท​ รพั ยส์ นิ ข​องกองท​ นุ ​โ​ดยส​ำนกั งานต​ รวจเ​งนิ แ​ผน่ ดนิ ​(​ส​ตง.​)​​ห​ รอื ​ บคุ คลภ​ ายนอกต​ ามท​ ค​ี่ ณะก​ รรมการก​ องทนุ แ​ตง่ ต​ ง้ั โ​ดยค​ วามเ​หน็ ช​อบข​อง​ สตง​.​ (7) ​มี​คณะ​กรรมการ​ประเมิน​ผล​ ​ซ่ึง​แต่ง​ตั้ง​โดย​คณะ​รัฐมนตรี​ ​เพ่ือ​ติดตาม​ ตรวจส​ อบ​แ​ละป​ ระเมนิ ผ​ ล​การด​ ำเนนิ ​งาน​ของกอง​ทุน

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 317 รา่ งพระราชกฤษฎกี าจดั เกบ็ ภาษี การปลอ่ ยมลพษิ ทางนำ้ จากคา่ บโี อดี (BOD) และปรมิ าณสารแขวนลอย (TSS) ​ภาย​ใต้​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัติ​นี้​ ​กระทรวง​การ​คลัง​ได้​จัด​ทำ​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​กำหนด​หลัก​เกณฑ์​ ​วิธี​การ​ ​แล​เง่ือนไข​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ท​ าง​น้ำจ​าก​ค่า​บโ​ี อ​ดี​(​​BOD​)​แ​ละ​ปรมิ าณส​ าร​แขวนลอย​​(T​SS​)​เ​สรจ็ เ​ปน็ ท​ ​่ีเรยี บร้อย​แล้ว​​ขณะ​นกี้​ ำลงั ​อยู่​ใน​ระหว่าง​การป​ รบั ปรุง​รา่ งก​ ฎหมาย​ใหส้​ มบูรณ​์ ​เหตผุ ล​ทม​ี่ ี​การ​จัด​ทำ​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​น้ี​ก่อน​ก็​เพราะ​การ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​น้ำ​เป็น​ภาษส​ี ง่ิ แ​วดลอ้ มท​ ม​่ี ค​ี วามเ​ปน็ ไ​ปไ​ดใ​้ นท​ างป​ ฏบิ ตั ม​ิ ากท​ ส่ี ดุ ใ​นข​ณะน​ ​้ี จ​ากข​อ้ มลู ท​ ป​ี่ รากฏ​ปญั หาม​ ลพษิ ท​ างน​ ำ้ จ​ากภ​ าคอ​ตุ สาหกรรมใ​นป​ ระเทศไทยจ​ะก​ ระจกุ ต​ วั อ​ยู่ใ​นพ​ นื้ ทเ​่ี พยี ง​ไมก่​ ่จ​ี งั หวดั ​​และ​จำกัดอ​ ยู่​ใน​อุตสาหกรรม​ไม่ก​ ี​่ประเภท​​ด​ งั น​ ัน้ ​เ​รา​จึง​นา่ จ​ะ​ลด​มลพษิ ​ทาง​น้ำ​จาก​ภาค​อุตสาหกรรม​ได้​เป็น​อย่าง​มาก​ ​หาก​นำ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​ท่ี​เหมาะส​ ม​มาใ​ชใ้​หถ้​ กู ​ตอ้ งใ​นอ​ ตุ สาหกรรมเ​ป้า​หมายแ​ละ​พ้ืนท่ท​ี ่ีเ​กีย่ วข้อง​​​ ​จาก​การ​ทบทวน​ระบบ​สถาบัน​ใน​การ​จัดการ​มลพิษ​ทาง​น้ำ​พบ​ว่า​ ​หน่วย​งาน​ที่​เก่ียวข้อง​ใน​ปัจจุบัน​มี​ฐาน​ข้อมูล​และ​ระบบ​การ​ติดตาม​ตรวจ​สอบ​ท่ี​ดำเนิน​การ​อยู่​แล้ว​มาก​เพียง​พอท่ี​จะ​รองรับ​การ​เก็บ​ภาษี​มลพิษ​ทาง​น้ำ​ได้​ ​มลพิษ​ทาง​น้ำ​จึง​ควร​เป็น​เป้า​หมาย​แรก​ใน​การ​เก็บ​ภาษี​สิ่ง​แวดล้อม​ท้ัง​ใน​ภาค​อุตสาหกรรม​และ​ภาค​นอก​อตุ สาหกรรม​โ​ดยใ​นร​ะยะแ​รกจ​ะเ​กบ็ จ​ากค​ า่ บ​ โ​ี อด​ ​ี(B​OD)​​แ​ละป​ รมิ าณส​ ารแ​ขวนลอย​(​TSS​)​ ​สำหรับ​มลพิษ​ทาง​น้ำ​อื่นๆ​ ​เช่น​ ​โลหะ​หนัก​ ​สามารถ​ออก​พระ​ราช​กฤษฎีกา​​เพ่ือ​จัด​เก็บ​เพิ่ม​เติม​ต่อ​ไป​ใน​ภาย​หลัง​ได้​ ​เมื่อ​ประเทศไทย​มี​ประสบการณ์​เพียง​พอ​เกยี่ วก​บั ก​ารจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างน​ ำ้ ​แ​ละห​ นว่ ยง​านท​ เ​่ี กย่ี วขอ้ งม​ ค​ี วามพ​ รอ้ ม​และส​ ามารถบ​ รหิ าร​ระบบ​ภาษีไ​ด้​

32 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม​ ใน​การ​ออกแบบ​ภาษี​ได้​ยึด​หลัก​การ​สำคัญ​​5​ ​ประการ​คือ​ ​ประสิทธิผล​​​(​effectiveness​) ความ​เป็น​ธรรม​​(​fairness​)​ ​เข้าใจ​และ​บริหาร​ง่าย​​(​simplicity​)​มี​ความ​ยืดหยุ่น​และ​เลี้ยง​ตัว​เอง​ได้​​(​self​-​sufficiency​)​ ​และ​ ​มี​ความ​เป็น​ไป​ได้​(​feasibility​)​ ​การนำ​มาตรการ​ภาษี​สิ่ง​แวดล้อม​มา​ใช้​ใน​ระยะ​แรก​จึง​อาจ​ไม่​สามารถ​ครอบคลุม​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​หรือ​ผู้​ก่อ​มลพิษ​ได้​ท้ังหมด​ ​แต่​จะ​ต้อง​กำหนด​กลุ่ม​เปา้ ห​ มาย​ซง่ึ ส​ ามารถ​นำ​ระบบ​การ​จัดเ​ก็บ​ภาษีไ​ป​ปฏิบตั ​ิได​้ก่อน​7.1 แ​ หลง่ ​กำเนดิ ​มลพษิ ซ​ ง่ึ ​มหี นา้ ท​ เ​่ี สยี ​ภาษ​มี ลพษิ ท​ างน​ ำ้ ​ ​ตาม​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​น้ี​ ​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ทุก​ประเภท​มีหน้า​ท่ี​ต้อง​เสีย​ภาษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ​โ​ดยส​ ามารถแ​บง่ ต​ ามป​ ระเภทแ​ละห​ นว่ ยง​านท​ ร​ี่ บั ผ​ ดิ ช​อบใ​นก​ าร​จดั ​เก็บภ​ าษี​ไดด​้ ังน้ี​​ (1​)​​ ​โรงงาน​จำพวก​ท่ี​​3​ ​ตาม​ประเภท​ ​ชนิด​ ​และ​ขนาด​ที่​ประกาศ​กระทรวง​อุตสาหกรรมก​ ำหนด​​โดยอ​ ตุ สาหกรรม​ทค่ี​ าดว​า่ จ​ะ​เป็น​เป้า​หมายก​ าร​จดั ​เก็บภ​ าษี​ก่อน​ไดแ้ ก่​BOD​ TSS​อ​ ุตสาหกรรม​เยือ่ ​กระดาษ​และ​กระดาษ​ อุตสาหกรรม​เหลก็ แ​ละเ​หลก็ ​ชบุ ​อตุ สาหกรรมน​ ำ้ ตาล​ อุตสาหกรรมเ​ยอ่ื ​กระดาษแ​ละ​กระดาษ​ผ​ ลติ ภณั ฑจ​์ ากป​ ลา​ ผลติ ภัณฑ์จ​าก​ยางพารา​การก​ลน่ั ​เหล้า​ผ​ ลติ ภัณฑ​์นม​​อุตสาหกรรมเ​คมี

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 33 ​ อตั ราภ​ าษท​ี เ​ี่ รยี กเ​กบ็ ข​นึ้ อ​ยก​ู่ บั ข​นาดข​องโ​รงงาน​ก​ ารก​ ำหนดข​นาดข​องโ​รงงาน​จะเ​ปน็ ไ​ปต​ ามป​ ระกาศก​ ระทรวงอ​ ตุ สาหกรรม10​ส​ ำหรบั ก​ ารเ​กบ็ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ​ทางน​ ำ้ ต​ ามค​ า่ บ​ โ​ี อด​ แ​ี ละป​ รมิ าณส​ ารแ​ขวนลอย​อ​าจก​ ำหนดข​นาดไ​ดโ​้ ดยพ​ จิ ารณาต​ าม​ปรมิ าณ​น้ำท​ ิง้ ด​ งั น้ี​​ • โรงงาน​ขนาด​เล็ก​​มปี​ รมิ าณ​นำ้ ​ทงิ้ ​1​-50​​ลูกบาศกเ​์ มตร​​ตอ่ ว​นั ​ • ​โรงงาน​ขนาดก​ ลาง​ม​ ป​ี รมิ าณน​ ำ้ ​ทง้ิ ม​ ากกวา่ ​​50​-500​ล​กู บาศกเ​์ มตร​ต​ อ่ ว​นั ​ • โ​รงงานข​นาดใ​หญ​่ ​ม​ปี รมิ าณ​นำ้ ท​ ง้ิ ​มากกวา่ ​5​00​​ลกู บาศกเ​์ มตร​ขน้ึ ไ​ป​​ตอ่ ​วนั ​ ​(​2)​​ ​โรงงาน​จำพวก​ที่​​1​ ​โรงงาน​จำพวก​ท่ี​​2​ ​และ​กิจการ​ที่​เป็น​อันตราย​​ต่อ​สุขภาพ​ตาม​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​การ​สาธารณสุข​ ​ตาม​ประเภท​ ​ชนิด​ ​และ​ขนาด​ที่​ประกาศ​กระทรวง​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​สิ่ง​แวดล้อม​กำหนด ​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ทค​ี่ าดว​า่ จ​ะจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษีใ​นเ​บอ้ื งต​ น้ ​ไ​ดแ้ ก​่ อ​าคารข​นาดใ​หญ​่ ห​ า้ งส​รรพส​นิ คา้ ​ภ​ ตั ตาคาร​และร​า้ น​อาหาร​ฯ​ลฯ​​ ​ผู้​ประกอบ​กิจการ​โรงงาน​และ​เจ้าของ​หรือ​ผู้​ครอบ​ครอง​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ซ่ึง​มีหน้า​ท่ี​ต้อง​เสีย​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​น้ำ​ตาม​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​น้ี​ต้อง​ตดิ ต​ งั้ เ​ครอ่ื งว​ดั อ​ตั ราก​ ารไ​หลข​องน​ ำ้ ท​ ง้ิ ท​ เ​่ี กดิ จ​ากก​ ารป​ ระกอบก​ จิ การแ​ละแ​หลง่ ก​ ำเนดิ ​มลพิษ​ของต​ น​7.2 อตั ราภ​ าษี​ อัตราภ​ าษีป​ ระกอบ​ดว้ ย​​ ​ (1) อัตรา​คงที​่ ​(​Fixed​F​ee​)​​ใชบ​้ งั คับ​กบั ผ​ ​ู้ประกอบ​กจิ การท​ ี​่เป็นโ​รงงานห​ รือ​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ขนาด​เล็ก​และ​ขนาด​กลาง​ ​อัตรา​ภาษี​คงที่​ถูก​ออกแบบ​มา​เพื่อ​10​​​ใน​กรณ​กี าร​จดั เ​ก็บภ​ าษม​ี ลพษิ ​ทางน​ ำ้ จ​าก​คา่ พ​ าราม​ เิ​ต​อร​์อน่ื ๆ​​อาจม​ ีห​ ลักเ​กณฑ​ก์ าร​แบง่ ​ขนาด​ของ​โรงงานแ​ตกต​ ่าง​ไป​จาก​น้ี​​เช่น​ห​ ากเ​ก็บ​ภาษ​ีจากค​ า่ ป​ ริมาณ​โลหะ​หนัก​จ​ะใ​ช้​เกณฑ​์การแ​บ่ง​ขนาด​โรงงานด​ ังนี้​ค​ อื ​ • โ​รงงาน​ขนาดเ​ล็ก​​ม​ีปริมาณน​ ้ำ​ทงิ้ ​1​-5​ล​ กู บาศก์​เมตร​ • ​โรงงาน​ขนาดก​ ลาง​​มี​ปรมิ าณน​ ้ำท​ ้ิง​5​-50​​ลูกบาศก์เ​มตร​ • โ​รงงานข​นาด​ใหญ่​​มี​ปริมาณน​ ำ้ ท​ ง้ิ ม​ ากกวา่ ​5​0​​ลูกบาศก์​เมตร​ข้นึ ไ​ป

34 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มครอบคลุม​ค่า​ใช้​จ่าย​ของ​หน่วย​งาน​ผู้​กำกับ​ดูแล​ใน​การ​ติดตาม​ตรวจ​สอบ​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ว่า​เสีย​ภาษี​ถูก​ต้อง​ ​และ​มี​วัตถุประสงค์​ให้​ระบบ​ภาษี​สามารถ​เล้ียง​ตัว​เอง​ได้​ใน​ระยะ​แรก​ของ​การ​บังคับ​ใช้​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​น้ี​ ​ผู้​ประกอบ​การ​ขนาด​เล็ก​และ​ขนาดก​ ลาง​จะ​มหี นา้ ​ท่เ​ี สยี ​ภาษี​ในอ​ ัตรา​คงที​่เทา่ นัน้ ​​โดยค​ ดิ ใ​นอ​ ตั ราด​ งั น้​ี • โ​รงงานห​ รอื แ​หลง่ ก​ำเนดิ ม​ ลพษิ ข​นาดเ​ลก็ ​เ​สยี ภ​ าษข​ี น้ั ต​ ำ่ ใ​นอ​ตั รา​1,000​บ​ าท​ ​ตอ่ ​ป​ี แ​ต่ไ​ม​เ่ กนิ ​3​,000​​บาทต​ ่อป​ ​ี • โ​รงงานห​รอื แ​หลง่ ก​ำเนดิ ม​ ลพษิ ข​นาดก​ลาง​เ​สยี ภ​าษข​ี นั้ ต​ำ่ ใ​นอ​ตั รา​3,000​บ​ าท​ ต​ ่อป​ ​ี ​แต​่ไม่​เกิน​1​0,000​​บาทต​ อ่ ​ปี​​ (2) อัตรา​แปรผัน​​(​Variable​​Fee​)​ ​ใช้​บังคับ​เฉพาะ​กับ​โรงงาน​หรือ​แหล่ง​กำเนดิ ม​ ลพษิ ข​นาดใ​หญ​่ ม​ ว​ี ตั ถปุ ระสงคเ​์ พอ่ื ส​รา้ งแ​รงจ​งู ใจใ​หเ​้ จา้ ของห​ รอื ผ​ค​ู้ รอบค​ รอง​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ลด​การ​ปล่อย​มลพิษ​ ​ซึ่ง​เป็น​ไป​ตาม​หลัก​การ​ด้าน​ประสิทธิผล​​เน่ืองจาก​ผู้​ที่​ก่อ​มลพิษ​มาก​ย่อม​ที่​จะ​ถูก​จัด​เก็บ​ภาษี​สูง​เป็น​จำนวน​มาก​ตาม​ไป​ด้วย​​การ​คำนวณ​ภาษี​ใน​อัตรา​แปรผัน​ให้​ใช้​ผล​การ​คูณ​อัตรา​ภาษี​ต่อ​หน่วย​ของ​มลพิษ​กับ​ปริมาณ​มลพิษ​ ​ผู้​ประกอบ​การ​ขนาด​ใหญ่​มีหน้า​ที่​ต้อง​เสีย​ภาษี​ใน​อัตรา​แปรผัน​ตาม​อตั รา​ดังน​้ี ​คอื ​ • ไ​มต​่ ำ่ ก​ วา่ ​2​,500​บ​ าท​แ​ตไ​่ มเ​่ กนิ ​1​0,000​บ​ าท​ต​ อ่ ต​ นั ข​องค​ า่ บ​ โ​ี อด​ ​ี แ​ละต​ อ่ ต​ นั ​ ข​องป​ รมิ าณ​สาร​แขวนลอย​​7.3 กลไก​การจ​ ดั เ​กบ็ ​ภาษี​​ การ​จัด​เก็บ​ภาษี​จาก​โรงงาน​จำพวก​ท่ี​​3​ ​ดำเนิน​การ​โดย​กรม​สรรพ​สามิต​หากเ​ป็นโ​รงงาน​ท่ตี​ งั้ อ​ ยู่ใ​น​เขตก​ รุงเทพมหานคร​ ​และโ​ดยส​ รรพส​ ามิตพ​ ื้นที่ใ​นก​ รณี​ท่​ีต้ัง​อยู่ต่าง​จงั หวัด​​ ​ผู้​ประกอบ​กิจการ​โรงงาน​จำพวก​ท่ี​​3​ ​มีหน้า​ที่​ยื่น​คำขอ​จด​ทะเบียน​ผู้​เสีย​ภาษี​การ​ปลอ่ ยม​ ลพิษท​ างน​ ำ้ ​​ณ​ก​ รม​สรรพสามติ ​​หรือส​ ำนกั งาน​สรรพ​สามิต​พ้นื ท​่แี ลว้ ​แต​่กรณ​ี ส​ ำหรับว​ิธีก​ ารช​ำระ​ภาษี​​ให้​ยื่น​แบบป​ ระเมนิ ภ​ าษก​ี ารป​ ล่อย​มลพษิ ท​ างน​ ำ้ ​พร้อม​เอกสาร​อ่ืน​ท่ี​เก่ียวข้อง​ต่อ​เจ้า​พนักงาน​ตาม​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​โรงงาน​ ​ณ​ ​กรม​โรงงาน​อตุ สาหกรรมห​ รอื ส​ ำนกั งานอ​ ตุ สาหกรรมจ​งั หวดั ใ​นท​ อ้ งท​ ซ​ี่ ง่ึ โ​รงงานน​ นั้ ต​ ง้ั อ​ ย​ู่ โ​รงงาน​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 35ขนาดเ​ลก็ แ​ละข​นาดก​ ลางม​ หี นา้ ท​ ย​่ี นื่ แ​บบป​ ระเมนิ ป​ ล​ี ะห​ นง่ึ ค​ รงั้ ​ส​ว่ นโ​รงงานข​นาดใ​หญ​่ต้อง​ย่ืน​แบบ​ประเมิน​ภาษี​ตาม​ระยะ​เวลา​ท่ี​รัฐมนตรี​ว่าการ​กระทรวง​อุตสาหกรรม​กำหนด​​แต​่ต้อง​ไม​น่ ้อยก​ ว่าป​ ี​ละส​ อง​คร้ัง​​ ​เมือ่ ​ผู้​ประกอบก​ ิจการ​โรงงาน​ยนื่ แ​บบป​ ระเมิน​แลว้ ​ เ​จา้ พ​ นักงาน​ตามก​ ฎหมาย​วา่ ด​ ว้ ยโ​รงงานจ​ะต​ รวจส​ อบค​ วามถ​ กู ต​ อ้ งข​องแ​บบป​ ระเมนิ น​ น้ั ​ห​ ากเ​หน็ ว​า่ การป​ ระเมนิ ​ภาษ​ีเปน็ ไ​ปโ​ดยถ​ กู ​ต้องแ​ลว้ ​​ก​จ็ ะอ​ อกใ​บรับ​รอง​ความถ​ ูกต​ อ้ ง​เพ่อื ​ให​ผ้ ป​ู้ ระกอบก​ จิ การ​โรงงาน​ดำเนิน​การ​ชำระ​ภาษี​ต่อ​เจ้า​พนักงาน​สรรพสามิต​ ​ใน​กรณี​ที่​เจ้า​พนักงาน​ต​ ามก​ ฎหมายว​า่ ด​ ว้ ยโ​รงงานพ​ จิ ารณาเ​หน็ ว​า่ ม​ ข​ี อ้ ผ​ ดิ พ​ ลาดใ​นแ​บบป​ ระเมนิ ท​ ผ​ี่ ป​ู้ ระกอบ​กิจการ​โรงงาน​ย่ืน​ ​ซึ่ง​ทำให้​จำนวน​ภาษี​ที่​ต้อง​เสีย​คลาด​เคล่ือน​ไป​ ​ก็​ให้​ดำเนิน​การ​แกไ้ ขเ​พมิ่ เ​ตมิ ร​ายการใ​นแ​บบป​ ระเมนิ ​แ​ละก​ ำหนดจ​ำนวนภ​ าษท​ี ถ​ี่ กู ต​ อ้ งพ​ รอ้ มก​ บั อ​อก​ใบรับ​รอง​เพ่ือ​ให้​ผู้​ประกอบ​กิจการ​โรงงาน​ย่ืน​แบบ​รายการ​ภาษี​และ​ชำระ​ภาษี​ต่อ​เ​จ้า​พนกั งาน​สรรพส​ ามติ ต​ ่อ​ไป​(​แ​ผนภาพท​ ่​ี 3​​)​ โรงงาน กรมโรงงาน ผปู้ ระกอบกจิ การประเมนิ ตนเอง ตรวจสอบ โรงงาน ยอมรบั ไมย่ อมรบั กองทนุ กรมสรรพสามติ ยตุ ิ 25% 3% คณะกรรมการ พจิ ารณาอทุ ธรณ์กรมโรงงาน ไมย่ อมรบั ศาลแผนภาพท​ ่​ี 3​ ​กลไก​และข​ัน้ ​ตอน​การ​จัดเ​ก็บภ​ าษ​จี ากโ​รงงาน​จำพวก​ท่​ี ​3​

36 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ​ การ​จัด​เก็บ​ภาษี​จาก​โรงงาน​จำพวก​ที่​​1​ ​และ​ ​จำพวก​ที่​​2​ ​และ​กิจการ​ท่ี​เป็น​อันตราย​ต่อ​สุขภาพ​ ​ดำเนิน​การ​โดย​องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถ่ิน​ท่ี​รับ​ผิด​ชอบ​ใน​พื้นที่​น้นั ​เ​นอ่ื งจากเ​ปน็ ​หน่วย​งาน​ท​่มี ี​ความเ​หมาะส​ ม​และ​มี​ความพ​ รอ้ มด​ ้านฐ​าน​ขอ้ มูล​เ​ช่น​มี​แผนท่ี​ภาษี​ ​ชื่อ​ ​และ​ท่ี​อยู่​ของ​กิจการ​ที่​เป็น​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ใน​พ้ืนที่​ของ​องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ท้องถ​ ิ่น​เ​ป็นต้น​น​ อกจากน​ ​้ี ​องคก์ รป​ กครองส​ ่วน​ท้อง​ถน่ิ ​ยังม​ ีก​ าร​สำรวจ​ขอ้ มลู ​ฐาน​ภาษข​ี องต​ นเอง​ให้​ทัน​สมยั ​ทกุ ๆ​​ปีเ​พ่อื ก​ ารจ​ดั ​เกบ็ ​ภาษ​ที ​่มี ​ปี ระสิทธิภาพ​​​ ​ โรงงาน​จำพวก​ท่ี​​1​ ​และ​จำพวก​ที่​​2​ ​และ​กิจการ​ที่​เป็น​อันตราย​ต่อ​สุขภาพ​ทกุ ขน​ าดท​ ม​ี่ หี นา้ ท​ เ​่ี สยี ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างน​ ำ้ ต​ อ้ งย​น่ื ค​ ำขอจ​ดท​ ะเบยี นผ​ เ​ู้ สยี ภ​ าษ​ีการ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​น้ำ​ ​ณ​ ​สำนักงาน​องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น​ใน​เขต​องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ทอ้ ง​ถ่ิน​ที​่แหลง่ ก​ ำเนดิ ​มลพษิ น​ นั้ ต​ ั้ง​อยู่​​​ ในก​ารช​ำระภ​ าษ​ี ผ​ป​ู้ ระกอบก​ารต​ อ้ งย​น่ื แ​บบร​ายการเ​พอ่ื ช​ำระภ​ าษส​ี ำหรบั ป​ ภ​ี าษ​ีที​่ลว่ ง​มาแ​ลว้ พ​ รอ้ มเ​อกสารอ​ นื่ ท​ เ​่ี กยี่ วขอ้ ง​ณ​ ​​สำนักงาน​องคก์ ร​ปกครองส​ ว่ น​ทอ้ งถ​ ิ่น​ใน​ทอ้ งท​ ซ​่ี ึง่ ​สถานป​ ระกอบก​ ิจการน​ ้นั ​ตัง้ อ​ ยู่​​โดยใ​ห้ก​ ระทำ​ภายในเ​ดอื นม​ ี​นาค​ มท​ กุ ๆ​ปี​ใน​กรณี​ที่​พนักงาน​ส่วน​ท้อง​ถ่ิน​พิจารณา​เห็น​ว่า​มี​ข้อ​ผิด​พลาด​ใน​แบบ​รายการ​ภาษี​นั้น​ซึ่ง​ทำให้​จำนวน​ภาษี​ที่​ต้อง​เสีย​คลาด​เคล่ือน​ไป​ ​ก็​ให้​ดำเนิน​การ​แก้ไข​เพิ่ม​เติม​รายการ​ใ​นแ​บบร​ายการภ​ าษ​ี พ​ รอ้ มก​ บั ก​ ำหนดจ​ำนวนภ​ าษท​ี ถ​ี่ กู ต​ อ้ งเ​พอ่ื ใ​หผ​้ ป​ู้ ระกอบก​ ารด​ ำเนนิ ​การ​ยนื่ แ​บบ​รายการแ​ละ​ชำระภ​ าษตี​ ่อ​ไป​​(​แผนภาพท​ ่ี​​4​)​​ การย​น่ื แ​บบเ​พอ่ื ป​ ระเมนิ ภ​ าษแ​ี ละก​ ารย​นื่ แ​บบเ​พอื่ ช​ำระภ​ าษส​ี ามารถก​ ระทำผ​ า่ น​ทางอ​ นิ เทอรเ์ นต็ ​ห​ รอื ​ยน่ื ​แบบด​ ว้ ยส​ ื่อ​คอมพิวเตอร์​ได​้ ​ทั้งน้ี​ผู้​ประกอบ​การ​ท่ี​ได้​ชำระ​ค่า​ธรรมเนียม​บำบัด​น้ำ​เสีย​หรือ​ค่า​บริการ​ให้​กับ​โรงงานบ​ ำบดั น​ ำ้ เ​สยี ร​วมใ​นน​ คิ มอ​ตุ สาหกรรม​ห​ รอื เ​ขตป​ ระกอบก​ ารอ​ตุ สาหกรรม​แ​ละ​องค์กรป​ กครอง​สว่ น​ท้อง​ถ่ิน​แลว้ ไ​มต​่ ้อง​เสยี ​ภาษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ​ตาม​กฎหมายน​ ้ี​อีก​​7.4 การ​อทุ ธรณ​ภ์ าษี​ ​ ผป​ู้ ระกอบก​ ารซ​ง่ึ ไ​มเ​่ หน็ ด​ ว้ ยก​ บั ก​ ารแ​กไ้ ขเ​พมิ่ เ​ตมิ ร​ายการใ​นแ​บบป​ ระเมนิ แ​ละ​การ​กำหนด​จำนวน​ภาษี​ของ​เจ้า​พนักงาน​มี​สิทธิ​อุทธรณ์​ต่อ​คณะ​กรรมการ​พิจารณา​อุทธรณ์​ภายใน​​45​ ​วัน​นับ​แต่​วัน​ที่​ได้​รับ​แจ้ง​การ​ประเมิน​ ​นอกจาก​น้ี​ ​หาก​ไม่​พอใจ​ค​ ำว​นิ จิ ฉยั ข​องค​ ณะก​ รรมการพ​ จิ ารณาอ​ทุ ธรณ​์ ก​ม​็ ส​ี ทิ ธฟ​ิ อ้ งค​ ดต​ี อ่ ศ​ าลภ​ าษอ​ี ากรก​ ลาง​ไดภ​้ ายใน​​30​​วัน​น​ ับแ​ต​ว่ ัน​ท่ีไ​ดร้​บั แ​จง้ ค​ ำ​วนิ ิจฉัย​อุทธรณ์​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 37 ผปู้ ระกอบการยน่ื แบบชำระภาษี อปท. 70% 30% ชำระภาษี ไมย่ อมรบั ยตุ ิ ยตุ ิกองทนุ ศาล ไมย่ อมรบั คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์แ​ผนภาพ​ที่​4​​​กลไก​และ​ข้นั ​ตอนก​ าร​จดั ​เก็บ​ภาษจ​ี าก​โรงงานจ​ำพวก​ที​่ 1​​โ​รงงาน​จำพวก​ท​่ี 2​​และ​กจิ การท​ เี่​ป็น​อันตรายต​ อ่ ส​ ขุ ภาพ7​ .5 การจ​ ดั การ​เงนิ ​ราย​ไดจ​้ ากภ​ าษ​ี 7.5.1 ก​ ารจ​ัดการ​เงนิ ​ราย​ไดจ้​ากก​ าร​เก็บภ​ าษ​โี รงงาน​จำพวกท​ ​่ี 3​​ ​ • เงินภ​ าษท​ี จ่ี​ดั ​เกบ็ ไ​ด้จ​ากโ​รงงาน​จำพวกท​ ่ี​​3 จ​ะจ​ัดสรร​ใหก​้ รมส​ รรพ​ สามติ ​เปน็ ​จำนวนร​อ้ ยล​ ะ​3​​ส​ ่วน​ท่​ีเหลอื จ​ะน​ ำ​ส่ง​เข้า​กองทนุ ​​ • ก​ องทนุ จ​ะจ​ดั สรรเ​งนิ ใ​หก​้ ระทรวงอ​ตุ สาหกรรมเ​ปน็ จ​ำนวนร​อ้ ยล​ะ​25​ เพอ่ื เ​ปน็ ค​ า่ ใ​ชจ​้ า่ ยใ​นก​ ารต​ รวจส​ อบแ​ละค​ วบคมุ ใ​หโ​้ รงงานป​ ฏบิ ตั ต​ิ าม​ พ​ระ​ราช​กฤษฎกี า​น้ี​ 7.5.2 ​การ​จัดการ​เงนิ ​ราย​ได้​จาก​ภาษที​ ่จี​ัดเ​กบ็ ​จากโ​รงงานจ​ำพวก​ท่​ี ​1​​โรงงาน​ จำพวกท​ ่ี​​2​แ​ละก​ ิจการ​ที่​เป็นอ​ นั ตรายต​ อ่ ส​ ขุ ภาพ​ใ​ห้ด​ ำเนนิ ก​ ารด​ ังน​ี้ • ​จัดสรร​ให้​องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถ่ิน​ซ่ึง​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​น้ัน​ ​ตง้ั อ​ ยเ​ู่ ปน็ ​จำนวนไ​มเ่​กิน​รอ้ ย​ละ​​70​​ • ส่วนท​ ​เี่ หลอื ​จะ​นำส​ ่งเ​ข้าก​ องทนุ ​

38 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม8 รา่ งพระราชกฤษฎกี าจดั เกบ็ ภาษี การปลอ่ ยมลพษิ ทางอากาศจากคา่ ซอลัอเกฟไอซดรไ์ข์ ดอองอไนกโไตซรดเ์จ(SนO(2N) Ox) และฝนุ่ ละอองรวม (TSP) ​เน่ืองจาก​การ​ใช้​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพื่อ​จัดการ​ปัญหา​มลพิษ​ทาง​อากาศ​จาก​ภาค​อุตสาหกรรม​เป็น​ประเด็น​ท่ี​ได้​รับ​ความ​สนใจ​มาก​ใน​ช่วง​สอง​ป​ีที่​ผ่าน​มา​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​บริบท​ของ​ความ​ขัด​แย้ง​ใน​เขต​พ้ืนที่​มาบตาพุด​ระหว่าง​ผู้​ประกอบ​กิจการ​อุตสาหกรรม​ ​และ​ชุมชน​ท่ี​อาศัย​อยู่​ใน​พ้ืนท่ี​ใกล้​เคียง​ซึ่ง​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบด้าน​สุขภาพ​ ​สำหรับ​เขต​พื้นท่ี​มาบตาพุด​ซึ่ง​ได้​รับ​การ​ประกาศ​เป็น​เขต​ควบคุม​มลพิษ​ตามพ​ระ​ราช​บัญญัติ​ส่ง​เสริม​และ​รักษา​คุณภาพ​สิ่ง​แวดล้อม​แห่ง​ชาติ​​​พ​.​ศ​.​​2535​ ​แล้ว​ ​การ​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ได้​กลาย​เป็น​เงื่อนไข​สำคัญ​สำหรับ​การ​ขยาย​กิจการ​ของ​โรงงาน​ใน​พื้นท่ี​ ​เพ่ือ​เป็นการ​เตรียม​พร้อม​สำหรับ​รองรับ​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัติ​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพ่ือ​การ​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​ ​และ​สถานการณ์​ความ​ขัด​แย้ง​ที่​อาจ​เกิด​ข้ึน​อีก​ใน​อนาคต​ ​แผน​งาน​สร้าง​เสริม​การ​เรียน​รู้​กับ​สถาบัน​อุดมศึกษา​ไทย​เพื่อ​การ​พัฒนา​นโยบาย​สาธารณะ​ที่​ดี​​(​นสธ​.​)​ ​จึง​มี​ความ​ร่วม​มือ​ทาง​วิชาการ​กับ​กรม​โรงงาน​อุตสาหกรรม​ ​และ​สำนักงาน​เศรษฐกิจ​การ​คลัง​​ใน​การ​จัด​ทำ​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​กำหนด​หลัก​เกณฑ์​ ​วิธี​การ​ ​เง่ือนไข​ ​และ​อัตรา​การ​จัด​เกบ็ ​ภาษ​ีการป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ทางอ​ ากาศจ​าก​ค่าซ​ลั เฟอร์​ได​ออกไซด​์ ​ออกไซดข​์ อง​ไนโตรเจน​แ​ละ​ฝนุ่ ​ละออง​รวมโดยม​ ​สี าระส​ ำคัญ​ดงั ต​ ่อไ​ป​นี้​​คือ​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 398​ .1 แหลง่ ​กำเนดิ ​มลพษิ ​ซง่ึ ​มหี นา้ ​ทเ​่ี สยี ภ​ าษ​มี ลพษิ ​ทางอ​ ากาศ​ ​ตาม​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​นี้​ ​โรงงาน​จำพวก​ที่​​3​ ​ตาม​ประเภท​ ​ชนิด​ ​และ​ขนาด​ท่ี​ประกาศ​กระ​ทรง​อุตสาหกรรม​กำหนด​มีหน้า​ท่ี​ต้อง​เสีย​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​อากาศ โดย​อุตสาหกรรม​ที่​คาด​ว่า​จะ​เป็น​เป้า​หมาย​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​ก่อน​ ​ได้แก่​​โรง​ไฟฟา้ ​​โรงงานป​ ูน​ซเิ​มน​ต์​​โรงงานเ​หล็ก​และเ​หลก็ กลา้ ​​โรงงาน​ปโิ ตรเคมี​​โรงก​ ลัน่ ​นำ้ มนั ​​และโ​รงส​ ​ีข้าว​เ​ป็นตน้ ​​การแ​บง่ ข​นาดข​องโ​รงงานใ​หเ​้ ปน็ ไ​ปต​ ามป​ ระกาศก​ ระทรวงอ​ตุ สาหกรรม​โ​ดยพ​ จิ ารณา​จากข​นาด​ของ​เคร่อื งจักรต​ าม​หลักเ​กณฑด​์ งั นี​้ ​ • โรงงานข​นาด​เล็ก​​โรงงาน​ทม​่ี ​เี ตาอ​ ุตสาหกรรม​ขนาดน​ อ้ ย​กวา่ ​​500​แ​รงม้า​ หรือ​หมอ้ น​ ำ้ ​ขนาด​เลก็ ก​ วา่ ​​5​​ตนั ต​ อ่ ​ชัว่ โมง​​ • โ​รงงาน​ขนาด​กลาง​ โ​รงงาน​ท​ม่ี ​ีเตา​อุตสาหกรรม​ขนาดต​ ั้งแต​่ ​500​ แ​รงม้า​ ขึ้น​ไป​ ​แต่​ไมถ​่ ึง​​1,000​ ​แรงม้า​ ​หรอื ​หม้อน​ ้ำข​นาด​ต้งั แต่​5​​ ต​ ันต​ อ่ ​ชว่ั โมง​ ขนึ้ ไ​ป​แ​ตไ่​ม่ถ​ ึง​1​0​​ตนั ​ต่อช​ว่ั โมง​ • โ​รงงานข​นาด​ใหญ่​​โรงงาน​ทม​ี่ ีเ​ตา​อตุ สาหกรรมข​นาดต​ ้ังแต่​​1,000​​แรงมา้ ​ ขนึ้ ​ไป​​หรือ​หมอ้ ​น้ำข​นาด​ตั้งแต่​​10​​ตนั ​ต่อ​ชวั่ โมง​ข​น้ึ ไ​ป​​8.2 อตั รา​ภาษ​ี ป​ ระกอบด​ ว้ ย​ (1) ​อัตรา​คงท่ี​​(​Fixed​​Fee​)​ ​ใน​ระยะ​แรก​ของ​การ​บังคับ​ใช้​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​น้ี​ ​ผู้​ประกอบ​การ​ขนาด​เล็ก​และ​ขนาด​กลาง​จะ​มีหน้า​ท่ี​เสีย​ภาษี​ใน​อัตรา​คงท่ี​ดงั น้ี​ • โ​รงงานข​นาดเ​ล็ก​ใ​ห​้เสียภ​ าษ​ขี ้นั ต​ ่ำ​ในอ​ ัตรา​​10,000​บ​ าท​ต่อป​ ี​แ​ต่​ไม่​เกนิ ​ 30,000​​บาทต​ ่อ​ป​ี​ • โรงงาน​ขนาด​กลาง​ใ​ห้เ​สยี ภ​ าษ​ีข้ันต​ ำ่ ใ​นอ​ ตั รา​​30,000​บ​ าทต​ อ่ ป​ ี​​แต​่ไมเ​่ กนิ ​ 50,000​​บาท​ต่อป​ ี​​ (​2​)​ ​อัตรา​แปรผัน​​(​Variable​​Fee​)​ ​คำนวณ​โดย​ใช้​ผล​การ​คูณ​อัตรา​ภาษี​ต่อ​หน่วย​ของ​มลพิษ​กับ​ปริมาณ​มลพิษ​ ​ผู้​ประกอบ​กิจการ​โรงงาน​ขนาด​ใหญ่​มีหน้า​ท่ี​ต้องเ​สีย​ภาษี​ใน​อัตรา​แปรผัน​ตาม​อัตราด​ งั นี้​​คอื ​

40 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ​ • ไม​ต่ ่ำก​ วา่ ​​1,000​บ​ าท​แ​ตไ​่ ม่​เกนิ ​2​,000​​บาท​​ต่อต​ นั ​ของ​ปริมาณซ​ัลเฟอร​์ ไดอ​ อกไซดท​์ รี่​ะบายอ​ อกจ​าก​โรงงาน​​ต่อ​ปี​​ • ไม่​ตำ่ ก​ วา่ ​​1,000​บ​ าท​แ​ต่​ไม่​เกิน​2​,000​​บาท​​ตอ่ ​ตัน​ของป​ ริมาณ​ออกไซด​์ ของ​ไนโตรเจน​ท่​รี ะบายอ​ อก​จากโ​รงงาน​​ตอ่ ​ปี​ • ไ​ม​ต่ ำ่ ​กว่า​1​,500​​บาท​แ​ตไ​่ มเ​่ กิน​​2,500​บ​ าท​ต​ ่อ​ตันข​องป​ รมิ าณ​ฝุ่น​ละออง​ รวมท​ รี่​ะบาย​ออก​จากโ​รงงาน​​ตอ่ ป​ ี​8.3 ก​ ลไก​การจ​ ดั เ​กบ็ ภ​ าษี​​ กลไกก​ ารจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษเ​ี ปน็ เ​ชน่ เ​ดยี วกนั ก​ บั ก​ รณก​ี ารจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ​ทาง​น้ำ​จาก​โรงงาน​จำพวก​ท่ี​​3​ ​กล่าว​คือ​ ​ดำเนิน​การ​โดย​กรม​สรรพ​สามิต​หาก​เป็น​โรงงาน​ท่ี​ตั้ง​อยู่​ใน​เขต​กรุงเทพมหานคร​ ​และ​โดย​สรรพ​สามิต​พ้ืนที่​ใน​กรณี​ท่ี​ตั้ง​อยู่​ตา่ งจ​งั หวดั ​ผ​ ป​ู้ ระกอบก​ จิ การโ​รงงานม​ หี นา้ ท​ ย​ี่ นื่ ค​ ำขอจ​ดท​ ะเบยี นผ​ เ​ู้ สยี ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ย​มลพิษ​ทางอ​ ากาศ​​ณ​ก​ รม​สรรพสามติ ​​หรือส​ ำนักงาน​สรรพส​ ามิต​พ้ืนทแ่ี​ลว้ แ​ต​ก่ รณ​ี ​สำหรบั ว​ธิ ก​ี ารช​ำระภ​ าษ​ี ใ​หย​้ นื่ แ​บบป​ ระเมนิ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างอ​ากาศต​ ามอ​ตั รา​ท่ี​กำหนด​ใน​กฎ​กระทรวง​พร้อม​เอกสาร​อ่ืน​ท่ี​เก่ียวข้อง​ต่อ​เจ้า​พนักงาน​ตาม​กฎหมาย​​ว่า​ด้วย​โรงงาน​ ​ณ​ ​กรม​โรงงาน​อุตสาหกรรม​หรือ​สำนักงาน​อุตสาหกรรม​จังหวัด​ใน​ท้อง​ที่​ซึ่ง​โรงงาน​น้ัน​ต้ัง​อยู่​ ​โรงงาน​ขนาด​เล็ก​และ​ขนาด​กลาง​ ​ให้​ยื่น​แบบ​ประเมิน​​ปี​ละ​หนึ่ง​ครั้ง​ ​โรงงาน​ขนาด​ใหญ่​ให้​ย่ืน​แบบ​ประเมิน​ภาษี​ตาม​ระยะ​เวลา​ที่​รัฐมนตรี​ว่าการ​กระทรวงอ​ ุตสาหกรรมก​ ำหนด​แ​ต่​ต้องไ​ม่​น้อยก​ วา่ ​ป​ีละส​ องค​ รงั้ ​​ ​ให้​เจ้า​พนักงาน​ตาม​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​โรงงาน​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​แบบ​ประเมนิ ภ​ าษน​ี น้ั ​ห​ ากเ​หน็ ว​า่ การป​ ระเมนิ ภ​ าษเ​ี ปน็ ไ​ปโ​ดยถ​ กู ต​ อ้ งแ​ลว้ ​ใ​หอ​้ อกใ​บรบั ร​อง​ความ​ถูก​ต้อง​เพ่ือ​ให้​ผู้​ประกอบ​กิจการ​โรงงาน​ดำเนิน​การ​ชำระ​ภาษี​ต่อ​เจ้า​พนักงาน​สรรพสามิต​ ​ใน​กรณี​ที่​เจ้า​พนักงาน​ตาม​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​โรงงาน​พิจารณา​เห็น​ว่า​มี​ข้อ​ผิด​พลาด​ใน​แบบ​ประเมิน​ภาษี​ที่​ผู้​ประกอบ​กิจการ​โรงงาน​ยื่น​ซ่ึง​ทำให้​จำนวน​ภาษี​ที่​ต้อง​เสีย​คลาด​เคล่ือน​ไป​ ​ให้​ดำเนิน​การ​แก้ไข​เพิ่ม​เติม​รายการ​ใน​แบบ​ประเมิน​หรือ​ใน​เอกสารอ​ ืน่ ท​ ​่ียื่นป​ ระกอบแ​บบ​ประเมนิ ​ ​และ​กำหนดจ​ำนวนภ​ าษท​ี ถ​ี่ ูก​ตอ้ ง​พร้อมก​ บั ​ออก​ใบรับ​รอง​เพ่ือ​ให้​ผู้​ประกอบ​กิจการ​โรงงาน​ยื่น​แบบ​รายการ​ภาษี​และ​ชำระ​ภาษี​ตอ่ ​ไป​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 41​8.4 การอ​ ทุ ธรณ​ภ์ าษี​​ ผู้​ประกอบ​กิจการ​โรงงาน​และ​เจ้าของ​หรือ​ผู้​ครอบ​ครอง​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ซ่ึง​ไม่​เห็น​ด้วย​กับ​การ​แก้ไข​เพิ่ม​เติม​รายการ​ใน​แบบ​ประเมิน​และ​การ​กำหนด​จำนวน​ภาษข​ี องเ​จา้ พ​ นกั งานม​ ส​ี ทิ ธอ​ิ ทุ ธรณต​์ อ่ ค​ ณะก​ รรมการพ​ จิ ารณาอ​ ทุ ธรณภ​์ ายใน​4​5​ว​นั ​นบั แ​ตว​่ นั ท​ ่ีไ​ดร​้ บั แ​จง้ ก​ ารป​ ระเมนิ ​ห​ ากไ​มพ​่ อใจค​ ำว​นิ จิ ฉยั ข​องค​ ณะก​ รรมการพ​ จิ ารณา​อุทธรณ​์ ​ม​สี ิทธิฟ​ อ้ ง​คดต​ี อ่ ศ​ าล​ภาษีอ​ ากรก​ ลางไ​ด​้ภายใน​​30​​วนั ​​นบั แ​ต​่วนั ​ท่ี​ไดร​้ ับ​แจง้ ​คำว​นิ จิ ฉยั ​อทุ ธรณ​์​8.5 การจ​ ดั การเ​งนิ ร​ าย​ได​จ้ ากภ​ าษี​​การ​จัดการเ​งนิ ร​าย​ได​จ้ าก​การ​เกบ็ ภ​ าษีโ​รงงานจ​ำพวกท​ ​ี่ ​3​ใ​ห้ด​ ำเนนิ ก​ าร​ดงั นี​้ • ​เงิน​ภาษี​ท่ี​จัด​เก็บ​ได้​จาก​โรงงาน​จำพวก​ที่​​3​ ​จะ​จัดสรร​ให้​กรม​สรรพ​สามิต​ เป็น​จำนวน​รอ้ ยล​ ะ​​3​​ส่วนท​ ่เ​ี หลือใ​ห้น​ ำส​ ่งเ​ข้าก​ องทุน​​ • ​กองทุน​จะ​จัดสรร​เงิน​ให้​กระทรวง​อุตสาหกรรม​เป็น​จำนวน​ร้อย​ละ​​25​​ เ​พอื่ เ​ปน็ ค​ า่ ใ​ชจ​้ า่ ยใ​นก​ารต​ รวจส​อบแ​ละค​ วบคมุ ใ​หโ​้ รงงานป​ ฏบิ ตั ต​ิ ามพร​ะร​าช​ กฤษฎกี าน​ ​ี้ ส​ำหรบั ส​รปุ ก​ ลไกแ​ละข​น้ั ต​ อนก​ ารจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษ​ี ก​ ารอ​ทุ ธรณภ​์ าษ​ี แ​ละก​ ารจ​ดั การ​เงิน​ราย​ได​้ ใ​หด​้ จู​ากแ​ผนภาพ​ที่​3​​ข​า้ ง​ตน้ ​

42 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม9 รา่ งพ​ ระร​ าชก​ ฤษฎกี าก​ ำหนด​ภาษ​ี และ​คา่ ​ธรรมเนยี ม​สง่ิ แ​วด​ลอ้ ม​ อน่ื ๆ​ ​นอกจาก​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​น้ำ​​และม​ ลพิษ​ทาง​อากาศ​ด​ งั ก​ ลา่ ว​มาแ​ล้ว​ข้างต​ น้ ​ห​ นว่ ยง​านท​ เ​่ี กยี่ วขอ้ งย​งั ​ม​ีความ​สนใจ​ที่​จะ​พัฒนา​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​เพ่ือ​นำ​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​มา​ใช้​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​ใน​ด้าน​อ่ืนๆ​ ​การ​จัด​ทำ​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​ที่​สำคัญ​ซึ่ง​กำลัง​อยู่​ใน​ขั้น​ตอน​ของก​ าร​ศกึ ษา​อตั ราภ​ าษีแ​ละ​คา่ ​ธรรมเนียม​ไ​ด้แก่​​9.1 รา่ ง​พระร​ าช​กฤษฎกี า​จดั เ​กบ็ ค​ า่ ธ​ รรมเนยี ม​ผลติ ภณั ฑ์​ ​ กรมค​ วบคมุ ม​ ลพษิ ไ​ดด​้ ำเนนิ ก​ ารศ​ กึ ษาก​ ารจ​ดั เ​กบ็ ค​ า่ ธ​รรมเนยี มผ​ ลติ ภณั ฑจ​์ าก​ผลติ ภณั ฑท​์ จ​ี่ ะก​ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ข​องเ​สยี อ​ นั ตรายเ​มอ่ื ผ​ บ​ู้ รโิ ภคใ​ชห​้ รอื ท​ ง้ิ เ​มอื่ ใ​ชแ​้ ลว้ ​เ​พอ่ื แ​กไ้ ข​ปัญหา​ขยะ​อันตราย​จาก​ชุมชน​ ​ทั้งน้ี​คาด​ว่า​จะ​ดำเนิน​การ​ปรับ​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัต​ิส่ง​เสริม​การ​จัดการ​ของ​เสีย​อันตราย​จาก​ผลิตภัณฑ์​ที่​ใช้​แล้ว​ให้​เป็น​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​จัด​เก็บ​ค่า​ธรรมเนียม​ผลิตภัณฑ์​ภาย​ใต้​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัติ​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพื่อ​การ​จัดการ​สิ่ง​แวดล้อม​ซึ่ง​เป็น​กฎหมาย​แม่บท​ ​ผลิตภัณฑ์​ที่​กรม​ควบคุม​มลพิษ​ให้​ความ​สำคัญ​ลำดับ​ต้น​ใน​การ​จัด​เก็บ​ค่า​ธรรมเนียม​ขณะ​นี้​ก็​คือ​​ผลิตภัณฑ์​เครื่อง​ใช้​ไฟฟ้า​และ​อุปกรณ์​อิเล็กทรอนิกส์​ ​เน่ืองจาก​มี​องค์​ประกอบ​ท่ี​เป็น​สาร​อันตราย​ ​จึง​ต้องการ​ใช้​ค่า​ธรรมเนียม​ซ่ึง​เป็น​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​ใน​การ​สง่ เ​สรมิ ก​ ารค​ ดั แ​ยกข​ยะอ​เิ ลก็ ทรอนกิ ส​์(W​ EEE)​​ผ​ า่ นร​ะบบร​บั ซ​อ้ื ค​ นื ซ​ากผ​ ลติ ภณั ฑท​์ ม​ี่ ​ี

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 43องคก์ รป​ กครองส​ว่ นท​ อ้ งถ​ น่ิ เ​ปน็ ผ​ รู้ บั ผ​ ดิ ช​อบ​เ​พอ่ื น​ ำซ​ากผ​ ลติ ภณั ฑเ​์ หลา่ น​ นั้ ไ​ปร​ีไซเคลิ ​บำบัด​แ​ละก​ ำจัดอ​ ย่างถ​ กู ​ตอ้ งต​ ามห​ ลัก​วชิ าการ​ต่อไ​ป​​ ​อยา่ งไร​ก็​ด​ี น​ อกจากก​ ารเ​กบ็ ​คา่ ธ​รรมเนยี ม​ผลติ ภัณฑ​จ์ ากผ​ ลติ ภัณฑ​์เครือ่ ง​ใช้​ไฟฟ้า​และ​อุปกรณ์​อิเล็กทรอนิกส์​แล้ว​ ​ใน​อนาคต​ควร​มี​การ​พิจารณา​นำ​มาตรการ​น้ี​มาใ​ชก​้ บั ผ​ ลิตภ​ ัณฑ​อ์ ่นื ๆ​​ทีต​่ ้องการ​สง่ ​เสริม​ให​้ผ้​ูบริโภค​ลด​หรือ​เลิก​ใช​้ ​เชน่ ​ก​ าร​เกบ็ ค​ ่า​ธรรมเนยี มจ​าก​วัตถุ​อันตราย​​และ​บรรจุภ​ ัณฑ์​ร​วมท​ ั้งถ​ งุ ​แ​ละ​โฟม​พลาสตกิ ​เ​ป็นต้น​​9.2 รา่ ง​พระร​ าช​กฤษฎกี า​จดั ​เกบ็ ภ​ าษ​คี ารบ์ อนไดออกไซด​จ์ ากย​ าน​ยนต​์​ ภาย​ใต้​กระแส​ความ​ต่ืน​ตัว​ใน​ระดับ​โลก​เก่ียว​กับ​ภาวะ​โลก​ร้อน​​(​Global​Warming​)​ ​หรือ​การ​เปล่ียนแปลง​สภาพ​ภูมิ​อากาศ​​(​Climate​​Change​)​ ​แผน​งาน​​นสธ​.​ ​รว่ มก​ บั ​สำนักงานเ​ศรษฐกิจก​ ารค​ ลงั ก​ ำลงั อ​ ยู่ใ​นข​น้ั ​ตอนก​ าร​ศึกษา​ความ​เป็นไ​ป​ได้เ​กย่ี ว​กับก​ าร​เกบ็ ​ภาษ​คี าร์บอน​​(C​ arbon​​Tax)​​​จาก​ยานย​นต์​โ​ดย​เก็บต​ ามป​ ริมาณ​ก๊าซ​คาร์บอนไดออกไซด์​ที่​ปล่อย​ออก​มา​ ​การนำ​มาตรการ​จัด​เก็บ​ภาษี​คาร์บอน​มา​ใช้​จะช​ว่ ยล​ ดม​ ลพษิ ท​ างอ​ากาศจ​ากภ​ าคค​ มนาคมข​นสง่ ​ซ​ง่ึ จ​ะม​ ผ​ี ลด​ ต​ี อ่ ก​ ารร​กั ษาค​ ณุ ภาพ​สงิ่ แ​วดลอ้ ม​น​ อกจากน​ ​้ี ย​งั ส​ามารถน​ ำร​ายไ​ดจ​้ ากก​ ารจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษีไ​ปใ​ชเ​้ พอื่ แ​กไ้ ขป​ ญั หา​ส่งิ ​แวดลอ้ มด​ ้านอ​ นื่ ๆ​อกี ด​ ้วย​

44 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม10 บทสรปุ ​ความ​เสื่อมโทรม​ของ​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​คุณภาพ​ส่ิง​แวดล้อม​ใน​ประเทศไทยอ​นั เ​นอื่ งม​ าจ​ากก​ ารพ​ ฒั นาท​ างเ​ศรษฐกจิ แ​ละส​งั คมไ​ดก​้ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ผ​ ลกร​ะท​ บ​​ต่อ​สุขภาพ​และ​คุณภาพ​ชีวิต​ของ​ประชาชน​ ​ใน​ปัจจุบัน​นานา​ประเทศ​รวม​ทั้ง​หลาย​ประเทศ​ใน​ภูมิภาค​อาเซียน​ต่าง​ก็ได้​นำ​มาตรการ​ภาษี​และ​ค่า​ธรรมเนียม​ส่ิง​แวดล้อม​มาใ​ช​ใ้ นก​ ารจ​ดั การส​ ง่ิ แ​วดลอ้ มม​ ากข​นึ้ ​เ​พอื่ ​เปน็ ม​ าตรการเ​สรมิ ก​ ารก​ ำกบั แ​ละค​ วบคมุ ​ซ่ึง​มี​ข้อ​จำกัด​ดัง​ได้​กล่าว​มา​แล้ว​ ​เมื่อ​เปรียบ​เทียบ​กับ​ประ​เท​ศอื่นๆ​ ​ประเทศไทย​ยัง​นำ​หลัก​ผู้​ก่อ​มลพิษ​เป็น​ผู้​จ่าย​และ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​มา​ใช้​ใน​การ​จัดการ​สิ่ง​แวดล้อม​น้อย​มาก​ ​สภาพ​การณ์​เช่น​นี้​นอกจาก​จะ​ก่อ​ให้​เกิด​ผล​เสีย​ต่อ​การ​จัดการ​สง่ิ แ​วดลอ้ มอ​ ยา่ งม​ ป​ี ระสทิ ธภิ าพแ​ลว้ ​ย​งั อ​ าจท​ ำใหป​้ ระเทศไทยต​ อ้ งเ​สยี่ งก​ บั ม​ าตรการ​กีดกัน​ทางการ​ค้า​ด้าน​ส่ิง​แวดล้อม​ใน​ระดับ​ระหว่าง​ประเทศ​ซึ่ง​ยิ่ง​นับ​วัน​จะ​ทวี​ความ​รนุ แรง​มาก​ขึ้น​​ ​การ​ขับ​เคลื่อน​เพ่ือ​ให้​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัติ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพ่ือ​การ​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​มี​ผล​ใช้​บังคับ​โดย​เร็ว​จึง​มี​ความ​สำคัญ​อย่าง​ย่ิง​ ​เน่ืองจาก​เป็น​กฎหมายแ​มบ่ ทท​ จ​่ี ะเ​ปดิ ใ​หห​้ นว่ ยง​านต​ า่ งๆ​สามารถน​ ำเ​ครอื่ งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศาสตรม​์ า​ใชใ​้ นก​ ารจ​ดั การส​ ง่ิ แ​วดลอ้ มไ​ดอ​้ ยา่ งห​ ลากห​ ลายต​ ามค​ วามเ​หมาะส​ ม​แ​ละต​ ามพ​ นั ธก​ จิ ​ข​องแ​ตล่ ะห​ นว่ ยง​าน​ร​วมท​ ง้ั ส​ง่ เ​สรมิ ก​ ารกร​ะจ​าย​อำน​ าจใ​หอ​้ งคก์ รป​ กครองส​ว่ นท​ อ้ งถ​ นิ่ ​​เข้า​มา​มี​บทบาท​และ​มี​ราย​ได้​จาก​การ​จัดการ​ส่ิง​แวดล้อม​นอกจาก​น้ี​ ​กฎหมาย​ฉบับ​น้ี​ยัง​กำหนด​ให้​สามารถ​นำ​ราย​ได้​จาก​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​และ​ค่า​ธรรมเนียม​กลับ​คืน​มา​

เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 45แก้ไข​ปัญหา​สิ่ง​แวดล้อม​ใน​ด้าน​ต่างๆ​ ผ่าน​กลไก​ของกอง​ทุน​ภาษี​และ​ค่า​ธรรมเนียม​สงิ่ แ​วดล้อม​ทจ​ี่ ดั ​ต้งั ​ขนึ้ ​ภาย​ใตพ้​ ระ​ราช​บญั ญัต​ิฉบบั ​น้ี​ ​ ​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​จัด​เก็บ​ภาษี​การ​ปล่อย​มลพิษ​ทาง​น้ำ​ ​และ​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎกี าจ​ดั เ​กบ็ ภ​ าษก​ี ารป​ ลอ่ ยม​ ลพษิ ท​ างอ​ากาศถ​ อื วา่ เ​ปน็ ก​ า้ วแ​รกใ​นก​ ารนำเ​ครอ่ื งม​ อื ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​มา​ใช้​ใน​การ​จัดการ​สิ่ง​แวดล้อม​ภาย​ใต้​กฎหมาย​แม่บท​ฉบับ​นี้​​​หาก​สังคม​ไทย​มี​ความ​เข้าใจ​เกี่ยว​กับ​ประโยชน์​ของ​การ​ใช้​มาตรการ​ดัง​กล่าว​ ​ก็​จะ​นำ​ไป​สู่​การ​ใช้​เครื่อง​มือ​เศรษฐ​ศาสตร์​อื่นๆ​ ​ต่อ​ไป​ใน​อนาคต​ ​ซึ่ง​จะ​มี​ผล​ให้​สังคม​ได้​ประโยชน์​สอง​ต่อ​ ​ท้ัง​จาก​คุณภาพ​สิ่ง​แวดล้อม​ที่​ดี​ขึ้น​ ​และ​จาก​ราย​ได้ท่ี​เกิด​จาก​ภาษี​และ​ค่า​ธรรมเนยี ม​สิ่ง​แวดลอ้ มท​ ​่นี ำก​ ลบั ​มาสร​า้ ง​ประโยชนต์​ ่อส​ ว่ นร​วม​​​ด้วย​เหตุ​น้ี​ ​จึง​ควร​ระดม​การ​สนับสนุน​จาก​ทุก​ภาค​ส่วน​เพ่ือ​ขับ​เคลื่อน​แนวทาง​ต่อ​ไป​น้ี​ให​เ้ ปน็ ​นโยบายส​ าธารณะ​ค​ อื ​​ 1. สนับสนุน​ให้​มี​การ​ประกาศ​ใช้​ร่าง​พระ​ราช​บัญญัติ​เครื่อง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพ่ือ​การ​จัดการ​สิ่ง​แวดล้อม​ ​และ​ร่าง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​การป​ ล่อยม​ ลพษิ ​ทางน​ ้ำ​และ​ภาษีก​ ารป​ ล่อย​มลพิษท​ าง​อากาศท​ ้ัง​สองฉ​ บบั ​โดย​เร็ว​​ 2. ต่อย​อด​งาน​ศึกษา​ของ​กรม​ควบคุม​มลพิษ​และ​นำ​ข้อมูล​มา​ประกอบ​การ​จ​ดั ท​ ำร​า่ งพ​ ระร​าชก​ ฤษฎกี าจ​ดั เ​กบ็ ค​ า่ ธ​รรมเนยี มผ​ลติ ภณั ฑจ​์ ากผ​ ลติ ภณั ฑอ​์ ตุ สาหกรรม​ท่ี​ก่อ​ใหเ้​กิด​ของ​เสยี ​อนั ตราย​ 3. ศ​กึ ษาเ​พอื่ ก​ำหนดห​ ลกั เ​กณฑแ​์ ละแ​นวทางก​ารใ​ชเ​้ ครอื่ งม​ อื ท​ างเ​ศรษฐศ​าสตร​์อน่ื ๆ​​ทม่​ี ี​ความ​สำคญั ใ​นล​ ำดับ​ตน้ ​ไ​ดแ้ ก​่ ค​ วามเ​ป็น​ไป​ไดใ​้ นก​ าร​เก็บภ​ าษ​ีโลก​รอ้ น​ห​ รือ​ภาษก​ี ารป​ ล่อยค​ ารบ์ อนไดออกไซด​จ์ าก​ยานย​นต​์ ภ​ าษี​วตั ถอุ​ ันตราย​ ​ภาษ​ีบรรจ​ุภณั ฑ์​​และ​ภาษน​ี ักท​ อ่ ง​เที่ยว​​เปน็ ต้น​ ​ 4. จดั ท​ ำร​ะบบฐ​านข​อ้ มลู ก​ ลางเ​พอ่ื ช​ว่ ยใ​หก้ ารบ​ รหิ ารจ​ดั การร​ะบบภ​ าษเ​ี ปน็ ไ​ป​อย่างม​ ​ปี ระสิทธภิ าพ​​และม​ ี​ความโ​ปร่งใสต​ าม​หลักธ​ร​รมาภ​บิ าล​​​ 5. สร้าง​ความ​พร้อม​ให้​แก่​องค์กร​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถ่ิน​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ระบบ​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​จาก​แหล่ง​กำเนิด​มลพิษ​ใน​พ้ืนท่ี​ซึ่ง​อยู่​ใน​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​ตน​

46 เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มบรรณานกุ รม​​​กรม​ควบคุม​มลพิษ​ ​กระทรวง​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​ส่ิง​แวดล้อม​.​2551​.​ ​สรุป​ สถานการณ​ม์ ลพิษ​ของ​ประเทศไทย​พ​ ​.​ศ.​​2550.​​แหลง่ ท​ ม่ี า:​​​http​:​/​/w​ ww.​​ pcd.​g​o​.​th​/​public/​​Publications​​กอบ​กุล​ ​รา​ยะ​นาคร​.​​2549​.​ ​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​เคร่ือง​มือ​ทาง​เศรษฐศาสตร์​เพื่อ​การ​ จัดการ​สิ่ง​แวดล้อม​สำหรับ​ประเทศไทย​.​ ​กรุงเทพฯ​.​ ​มูลนิธิ​สาธารณสุข​ แ​ห่ง​ชาติ​ม​ ิง่ ​สรรพ​์ ข​าวส​ อาด​แ​ละ​คณะ.​​2551​.​ร​ายงานก​ ารศ​ ึกษา​ตาม​โครงการ​C​ APACITY​ BUILDING​FOR​POLLUTION​TAXATION​AND​RESOURCES​MOBILIZATION​ F​OR​E​NVIRONMENTAL​​&​N​ ATURAL​R​ESOURCES​​SECTORS​–​ ​​PHASE​I​I.​​ กรุงเทพฯ​:​ก​ ระทรวง​การ​คลงั ​ส​ ถาบนั วจิ ัย​เพ่ือ​การ​พัฒนาป​ ระเทศไทย.​​2​549​.​การ​จัด​ลำดับ​ความส​ ำคญั ​ของ​ปัญหา​ ทรัพยากรธรรมชาต​ิและ​สิ่งแ​วดล้อม​.​​กรงุ เทพฯ.​​​มูลนิธส​ิ าธารณสขุ แ​ห่ง​ชาต​ิO​ ECD.​​2​006​.​E​nvironmental​C​ ompliance​a​nd​​Enforcement​​in​​China​,​​An​ Assessment​o​f​​Current​​Practices​a​nd​​Ways​F​orward.​​​Paper​p​resented​ at​​the​​second​​meeting​​of​t​he​​Asian​E​nvironmental​C​ ompliance​a​nd​ Enforcement​​Network​,​​4-​5​​D​ ecember​,​2​006​,​​Hanoi,​​​Vietnam​W​ ang​J​innan​.​2​009​.​​The​​Development​​of​P​ollution​​Charge​​in​C​ hina.​​B​eijing​:​ Chinese​A​ cademy​f​or​Environmental​P​lanning.​​A​vailable:​​h​ttp:​/​/​w​ ww/​.​​ caep.​​org​.​cn​/e​nglish​/p​aper​

Note : เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม​

Note : เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม​

สำนักงานกรุงเทพฯ สถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม 637/1 อาคารพรอมพันธุ ชั้น 4 ยนู ติ 4/2 ถ.ลาดพรา ว แขวงจอมพล เขตจตจุ กั ร กทม. 10900 โทรศพั ท 0 2938 8826 โทรสาร 0 2938 8864 สำนักงานเชยี งใหม สถาบันศกึ ษานโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม (อาคารหอประชมุ รวมวจิ ยั และบัณฑิตศึกษา) 239 ถ.หวยแกว อ.เมือง จ.เชยี งใหม 50200 โทรศพั ท 0 5394 2552 โทรสาร 0 5394 2698 www.tuhpp.org สำนักงานกองทนุ สนับสนนุ การสรา งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) 979 อาคารเอส เอม็ ทาวเวอร ชน้ั 34 ถนนพหลโยธนิ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400โทรศัพท 0 2298 0500 โทรสาร 0 2298 0501 และ 0 2298 0499 www.thaihealth.or.th