Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิจัยเพื่อประเมินความคุ้มค่า ของโครงการวิจัยและพัฒนาภายใต้สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

การวิจัยเพื่อประเมินความคุ้มค่า ของโครงการวิจัยและพัฒนาภายใต้สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

Published by Bensiya Panpunyadet, 2020-05-03 07:19:22

Description: รายงานการ ศึกษาโครงการวิจัยเพื่อประเมินความคุ้มค่า ของโครงการวิจัยและพัฒนาภายใต้สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

Keywords: PPSI, วิจัย, ความคุ้มค่า

Search

Read the Text Version

ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า โครงการวจิ ยั เพ่อื ประเมนิ ความคุม้ ค่า ของโครงการวจิ ัยและพฒั นา ภายใต้สำนกั บริหารโครงการ สง่ เสริมการวจิ ัยในอดุ มศกึ ษา และพฒั นามหาวิทยาลยั วิจยั แหง่ ชาติ โดย ศาสตราจารย์ ดร.มิง่ สรรพ์ ขาวสอาด และคณะ มิถนุ ายน 2560















































รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพ่ือประเมินความคมุ้ ค่าของโครงการวจิ ัยและพฒั นา ภายใตส้ �ำ นกั บริหารโครงการส่งเสรมิ การวิจยั ในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวทิ ยาลยั วจิ ัยแหง่ ชาติ ตารางที่ 2.1 (ตอ่ ) มูลคา่ ปจั จบุ ัน อัตราส่วน ระยะเวลาประเมนิ สทุ ธิ ผลได้ ผลประโยชน์ ชอื่ โครงการวิจยั (มหาวิทยาลัย/สถาบนั ) (ปี) (ลา้ นบาท) ต่อต้นทุน 3. กรณศี ึกษาการวจิ ยั ดา้ นวิศวกรรมการแพทย์ 3.1 ชดุ โครงการโตะ๊ ห่นุ ยนต์ฟืน้ ฟูการเคล่อื นไหวแขน 54 1.33 10 (Sensible TAB) (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี) 10 9.77 10 3.2 โครงการอุปกรณ์ตรวจวัดระดับความงว่ ง 567 4.16 10 ดว้ ยคล่ืนสัญญาณสมองแบบอัตโนมัติ (Alertz) (มหาวิทยาลยั มหดิ ล) วธิ กี ารวเิ คราะห์ 3.3 โครงการอุปกรณ์ชว่ ยฝกึ เดินสำ�หรับผู้ป่วยอัมพาตครึง่ ซีก (IWalk) (มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร)์ วเิ คราะหเ์ ชิงสถาบนั ช่ือสถาบนั (มหาวิทยาลัย/สถาบัน) 4. กรณศี กึ ษาการวเิ คราะหเ์ ชิงสถาบนั 4.1 หน่วยปฏิบัตกิ ารวิจยั อปุ กรณร์ บั รู้ (จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ) 4.2 การสร้างนวตั กรรมเพอื่ อตุ สาหกรรมและสงั คม (มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร)์ 4.3 สถาบนั วิจยั และพัฒนา (มหาวิทยาลัยศิลปากร) ทีม่ า: จากการวิเคราะห์ อนึ่ง ผู้อ่านไม่ควรใช้ข้อมูลในตารางที่ 2.1 เพื่อเปรียบเทียบผลได้ของแต่ละโครงการวิจัย เพราะโครงการวิจัยเหล่านีม้ ีขนาดการลงทุนไม่เท่ากัน ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการประเมินไม่เท่ากัน เพราะเวลาในการลงทุนไม่เท่ากัน แม้จะมีหลายโครงการได้ก�ำหนดให้ระยะเวลาทีเ่ กิด ได้ผลประโยชน์ 15 ปี เท่ากัน เพือ่ เปิ ดโอกาสให้เกิดกระแสผลประโยชน์ในระยะเวลาทีเ่ พียงพอ ทัง้ นี้ ผลการประเมนิ นีไ้ ดใ้ ช้สมมตฐิ านการประเมินมูลค่าผลประโยชนข์ ัน้ ต�ำ่ เพอื่ มิให้ตคี า่ สูงเกนิ ความเป็นจริง แตใ่ ห้มกี ารคาดการณ์สถานการณ์ (Scenarios) ภายใตก้ ารเปลีย่ นแปลงตา่ งๆ ผลประโยชน์ของผลงานชิน้ นี้ คือ การน�ำเสนอภาพทีช่ ัดเจนของช่วงมูลค่า (Range) ผลประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการลงทนุ วจิ ยั ในมหาวทิ ยาลยั ของรฐั ผอู้ า่ นทจี่ ะนำ� ขอ้ มลู จากรายงานนี้ ไปใช้ ควรอ่านคู่มือการประเมินความคุ้มค่าส�ำหรับผู้บริหารการวิจัย ซึง่ เป็นรายงานส่วนหนึง่ ของโครงการฯ นี้ โดยจะกลา่ วถงึ ขอ้ จำ� กดั และขอ้ ควรระวงั ในรายละเอยี ดของการวเิ คราะหค์ วาม ค้มุ คา่ มากขึน้ สำ� หรบั การศกึ ษาเชงิ สถาบนั 3 กรณศี ึกษา เป็นการสัมภาษณแ์ ละแลกเปลีย่ นข้อมูล กบั ผบู้ รหิ ารงานวจิ ยั และนกั วจิ ยั ทมี่ ปี ระสบการณ์ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจถงึ ทมี่ าของความสำ� เรจ็ อปุ สรรค และความท้าทายของการขับเคลือ่ นงานวจิ ัยไปส่กู ารสรา้ งนวตั กรรม 23

รายงานการศึกษาโครงการวิจัยเพอ่ื ประเมินความค้มุ ค่าของโครงการวจิ ยั และพัฒนา ภายใตส้ ำ�นกั บริหารโครงการส่งเสรมิ การวจิ ยั ในอุดมศกึ ษาและพฒั นามหาวิทยาลัยวจิ ัยแห่งชาติ ผลการศึกษาความคุ้มค่าของโครงการวิจัยของมหาวิทยาลัยของรัฐ สามารถให้ข้อบ่งชีแ้ ละ ขอ้ สรปุ ทสี่ �ำคัญ 6 ประการ ดังนี้ 1) ผลการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการวิจัยและพัฒนาของมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่า มีความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจในระดับสูงถึงสูงมาก โดยไม่มีโครงการวิจัยใดมีมูลค่าผลได้ ตำ�่ กวา่ 1 เทา่ ของเงินลงทุน 2) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา พบว่า โครงการส่วนใหญ่ยังจะไม่เกิดผลประโยชน์ ในช่วง 5 ปี แรก แตจ่ ะใช้เวลาระยะหนึง่ แต่ถา้ เป็นผลผลติ ทางการเกษตรทีไ่ ม่มีการทดแทนของ ผลิตภัณฑ์อืน่ จะสามารถด�ำรงอยู่ในตลาดได้ค่อนข้างนาน และผลประโยชน์จะเพิม่ พูนมากขึน้ ตามกาลเวลา แตถ่ า้ เป็นสนิ คา้ หรอื เทคโนโลยที มี่ กี ารทดแทนไดง้ า่ ย อาจมชี ว่ งเวลาเกดิ ผลประโยชน์ ทีจ่ ำ� กดั เพราะเกิดการทดแทนของเทคโนโลยหี รือผลิตภณั ฑ์ใหม่ทัง้ ในอตุ สาหกรรมเดยี วกนั และ จากอตุ สาหกรรมอืน่ ๆ 3) การศกึ ษานสี ้ อดคลอ้ งกบั การศกึ ษาทผี่ า่ นมา (มงิ่ สรรพ์ ขาวสอาด, บรรณาธกิ าร, 2559) ว่าการลงทุนวิจัยและพัฒนาสะสมอย่างต่อเนื่อง จะก่อให้เกิดผลได้สูงมากในระดับพันล้าน ถึงกว่าหมืน่ ล้านบาท แม้ว่าในระยะแรกของการลงทุนวิจัยและพัฒนาอาจจะมีต้นทุนสูงและ ผลตอบแทนต�่ำอยู่ในระยะหนึ่ง แต่เมื่อโครงการวิจัยเริม่ สร้างผลลัพธ์แล้ว ผลได้จะเพิม่ ขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง ยกตัวอย่างเช่น ชุดโครงการศึกษาการตรวจโรคกุ้ง ดังนัน้ รัฐบาลจึงควรมีการ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากการหยุดสนับสนุน หรือการสนับสนุน อยา่ งไม่เป็นระบบหรอื ขาดตอน จะทำ� ให้เกดิ ความสูญเปลา่ และมตี ้นทุนคา่ เสยี โอกาสสงู 4) การศกึ ษานพี้ บวา่ มหาวทิ ยาลยั ขนาดเลก็ และมหาวทิ ยาลยั ในระดบั ภมู ภิ าคมโี อกาส และสามารถสรา้ งนวตั กรรมรบั ใชส้ งั คมและนวตั กรรมสำ� หรบั วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) ได้เป็นมูลคา่ ทีน่ า่ พอใจ 5) การศึกษานีส้ อดคล้องกับผลงานวิจัยในต่างประเทศทีพ่ บว่า ผลงานวิจัยและ พัฒนาของมหาวิทยาลัยของรัฐมีบทบาทส�ำคัญในด้านเกษตรและด้านสุขภาพเป็ นส่วนใหญ่ อยา่ งไรกต็ ามไมไ่ ดห้ มายความวา่ งานวจิ ยั ดา้ นอตุ สาหกรรมไมเ่ กดิ ผล แตเ่ ป็นเพราะนกั วเิ คราะห์ ความคมุ้ คา่ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ผลไดจ้ ากอตุ สาหกรรมไดค้ อ่ นขา้ งยาก เนอื่ งจากเป็นความลบั ทางการคา้ ของภาคเอกชน 6) ปั จจัยแห่งความส�ำเร็จของการให้มหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรมทีก่ ่อให้เกิดมูลค่า ทางเศรษฐกจิ และสังคม ไดแ้ ก่ ก) การมงี านวิจยั พืน้ ฐานทีแ่ ขง็ แกรง่ มีทศิ ทางทีช่ ัดเจน สามารถ กระจายเพอื่ ไปรองรบั การประยกุ ตใ์ ชใ้ นภาคอตุ สาหกรรมอยา่ งหลากหลาย และมคี วามเป็นไปได้ ในเชิงพาณิชย์ ข) มหาวิทยาลัยมีระบบแรงจูงใจทีม่ ีดุลยภาพให้กับบุคลากรระหว่างการสร้าง ผลงานวิชาการ ผลงานนวตั กรรมเพอื่ อุตสาหกรรม และผลงานเพอื่ รบั ใชส้ ังคม และ ค) มเี วที และโอกาสให้ภาคเอกชนและนักวิชาการได้พบปะแลกเปลีย่ นเรียนรู้ร่วมกัน เช่น งานประกวด นวัตกรรม ตลาดนดั สิง่ ประดษิ ฐ์ และการเผยแพรเ่ ทคโนโลยีไปสกู่ ารสร้าง Start–up อนึ่ง ผู้อ่านพึงตระหนักว่าผลประโยชน์ทีเ่ กิดขึ้นจากโครงการวิจัยในมหาวิทยาลัย ของรัฐทีป่ ระเมินในแต่ละโครงการ เป็นผลจากการลงทุนโดยเจ้าของเงินทุนหลายแหล่งด้วยกัน รวมทัง้ เงินบริจาคของเอกชน มิใช่เป็นเงนิ สนบั สนุนจาก สกอ. แตเ่ พียงแหล่งเดยี ว 24

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ัยเพอ่ื ประเมินความคุม้ คา่ ของโครงการวิจยั และพัฒนา ภายใต้ส�ำ นกั บรหิ ารโครงการสง่ เสริมการวิจัยในอดุ มศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลยั วจิ ัยแห่งชาติ 2.2 ความท้าทาย แนวทางสู่นวัตกรรม 4.0 ของประเทศไทยขึ้นอยู่กับความสามารถของการสร้าง นวัตกรรมของมหาวิทยาลัยไทย Times Higher Education Ranking (THE Ranking) ซึ่งเป็นสถาบันการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลกของประเทศอังกฤษ ได้ประกาศผลการ จัดอันดับมหาวิทยาลัยในกลุ่มภูมิภาคเอเชีย (Times Higher Education Asia University Ranking 2016) จำ� นวน 200 แหง่ จาก 22 ประเทศ ครงั้ ลา่ สดุ เมอื่ วนั ที่ 20 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2559 โดยมีเกณฑ์ในการจัดอันดับจากตัวชีว้ ัดจ�ำนวน 13 ตัวชีว้ ัดใน 4 ด้าน คือ การเรียนการสอน (รอ้ ยละ 25) การวจิ ัย (รอ้ ยละ 30) การอ้างอิง (ร้อยละ 30) และความเป็นสากล (รอ้ ยละ 15) ผลปรากฏวา่ มหาวทิ ยาลัยของไทยทีต่ ิด 200 อันดบั แรกของโลกมี 7 มหาวิทยาลยั ดังแสดงใน ตารางที่ 2.2 (แสดงเฉพาะคะแนนส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกบั การวิจัยเทา่ นัน้ ) ตารางท่ี 2.2 ผลการจดั อนั ดบั ของมหาวทิ ยาลยั ของไทยในเอเชยี โดย Times Higher Education ประจ�ำ ปี ค.ศ. 2016 จ�ำ แนกตามตวั ชี้วัดทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การวจิ ัย หน่วย: คา่ คะแนนคดิ เป็นหน่วยรอ้ ยละ อนั ดับ มหาวทิ ยาลัย Research Citations Industry (ค.ศ. 2016) income มหาวิทยาลยั มหิดล 17.1 90 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี 13.8 28.3 71.6 98 11.4 141–150 มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 16.3 36.2 70.3 151–160 จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 14.4 161–170 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี 9.1 30.0 32.3 181–190 มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 8.7 181–190 มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 16.7 37.8 18.4 38.1 19.9 35.8 22.2 31.6 ที่มา: Times Higher Education Ranking (2016) นอกจากนี ้ สถานภาพทางนวัตกรรมของประเทศไทยเมือ่ เทยี บกับนานาประเทศยงั ไมส่ งู มากนกั จากการจดั อนั ดบั ดชั นคี วามสามารถทางดา้ นนวตั กรรม (Global Innovation Index: GII) จดั ทำ� โดย มหาวทิ ยาลยั คอรเ์ นลรว่ มกบั INSEAD และ World Intellectual Property Organization (WIPO) ทำ� การเกบ็ ขอ้ มลู 141 ประเทศ/เขตเศรษฐกจิ ครอบคลมุ รอ้ ยละ 95.10 ของประชากรโลก พบวา่ ในปี พ.ศ. 2558 ไทยอยใู่ นอนั ดบั 55 โดยมอี ปุ สรรคสำ� คญั ไดแ้ ก่ ปั จจยั สภาพแวดลอ้ มทางดา้ น กฎหมาย (อนั ดบั ที่ 119) และสภาพแวดลอ้ มทางการเมอื ง (อนั ดบั ที่ 103) (Global Innovation Index, 2015 อ้างใน ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมแห่งชาต,ิ 2559) หากจะพิจารณาผลสัมฤทธิท์ างนวัตกรรมของ Reuters ซึ่งเป็นผู้ให้บริการข้อมูล ทางการเงินและรายงานข่าวต่างๆ ของประเทศอังกฤษ ภายใต้บริษัทแม่ Thomson Reuters ได้ประกาศผลการจัดอันดับ (75 อันดับ) ของกลุ่มมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชียทีเ่ ป็นเลิศ ในด้านนวตั กรรมหรือการคดิ คน้ ประดษิ ฐเ์ ทคโนโลยี ปี ค.ศ. 2016 (Reuters Top 75: Asia’s Most Innovative University Ranking) โดยอาศยั เกณฑบ์ ทความวชิ าการ (Academic paper) 25

รายงานการศึกษาโครงการวจิ ัยเพอ่ื ประเมนิ ความคมุ้ ค่าของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใตส้ ำ�นกั บรหิ ารโครงการส่งเสริมการวจิ ัยในอุดมศึกษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวจิ ยั แห่งชาติ ซึ่งบ่งชีก้ ารด�ำเนินการวิจัยของมหาวิทยาลัย และการจัดเก็บสิทธิบัตร (Patent filings) ซึง่ บ่งชีค้ วามสนใจของสถาบันในการป้ องกันและการน�ำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ พบว่าประเทศไทย ไม่มีมหาวิทยาลัยใดอยู่ใน 75 อันดับ ในขณะทีม่ หาวิทยาลัยของสิงคโปร์ติดอันดับ 11 และ มหาวิทยาลัยของมาเลเซียติดอันดับ 73 และ 75 (Ewalt, 2016) จะเห็นได้ว่า การจะก้าวไปสู่ นวัตกรรม 4.0 ในลักษณะของเทคโนโลยีทีแ่ ข่งขันในตลาดโลก เส้นทางแห่งนวัตกรรมของไทย ก็ยังเป็นเส้นทางทีย่ าวไกลมากส�ำหรับมหาวิทยาลัยทัว่ ไป ยกเว้นมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ ทีม่ คี วามพรอ้ มมากกว่าทัง้ ทางด้านบคุ ลากรและงบประมาณ อย่างไรก็ดี ถ้านักวิจัยในมหาวิทยาลัยเดินตามรอยพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ซงึ่ ทรงสนพระทยั ในโจทยว์ จิ ยั โดยเอาประชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง และเอาพนื้ ทีเ่ ป็นตวั ตัง้ นักวจิ ัยในมหาวิทยาลยั ของไทยกย็ ังมโี อกาสอีกมากทีจ่ ะสร้างนวัตกรรม รับใชส้ งั คมและนวัตกรรมเพือ่ องคก์ รเอกชนขนาดเลก็ และขนาดกลางได้ 2.3 บทเรยี น 2.3.1 การลงทนุ วจิ ยั พน้ื ฐาน (Basic research) เปน็ เงอ่ื นไขส�ำ คญั ของการสรา้ งและพฒั นา R&D การลงทุนในงานวิจัยพื้นฐานเป็ นองค์ประกอบส�ำคัญของการสร้างนวัตกรรม ประสบการณ์ในต่างประเทศและในโครงการศกึ ษานีพ้ บว่า การพัฒนาเครือ่ งมือและวิธีการทาง วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นผลผลติ หลกั ของงานวจิ ยั ของรฐั (Rosenberg, 1992) การลงทนุ ในงานวจิ ยั พนื้ ฐาน เป็นองค์ประกอบหลักทีเ่ ป็นเงื่อนไขส�ำคัญในการสร้างนวัตกรรม ในประเทศสหรัฐอเมริกา ผลตอบแทนของงานวิจัยพืน้ ฐานอยู่ในอัตราสูงถึงร้อยละ 28 และในภาคอุตสาหกรรม พบว่า ประมาณร้อยละ 15 ของผลิตภัณฑ์ใหม่ และรอ้ ยละ 11 ของกระบวนการผลิตใหม่ จะเกิดขึน้ ไม่ได้เลยหรือจะช้าลงมากหากไม่มีงานวิจัยวิชาการพืน้ ฐาน ประสบการณ์ในประเทศเยอรมนี ก็เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ถึงแม้ว่าจะมีอัตราทีต่ �่ำกว่า (Beise and Stahl, 1999 อ้างใน Salter and Martin, 2001) สำ� หรบั ในโครงการนี้ พบว่า การลงทนุ วจิ ยั ในภาคเกษตรจะขาดการวจิ ยั พนื้ ฐานไมไ่ ด้ เพราะถือว่าเป็นเสาหลักและเป็นแก่นความรู้ทีเ่ ป็นรากแก้ว ทีจ่ ะท�ำให้มีรากแขนงแตกออกไป ทำ� ใหต้ น้ ไมม้ คี วามมนั่ คง เตบิ โต และยงั่ ยนื ในปั จจบุ นั งานวจิ ยั ดา้ นเกษตรจะตอ้ งยกระดบั ขนึ้ ไป ให้สามารถเข้าใจถึงระดับโมเลกุล หรือระดับ DNA ดังนัน้ งานวิจัยด้านเกษตรจึงจ�ำเป็นต้อง มีการวิจัยพืน้ ฐานขัน้ สูง มีห้องปฏิบัติการในมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นแหล่งความรู้สาธารณะ ยกตวั อยา่ งเชน่ หนว่ ยวจิ ยั เพอื่ ความเป็นเลศิ เทคโนโลยชี วี ภาพกงุ้ (Centex Shrimp) มหาวทิ ยาลยั มหิดล ซึ่งเป็ นหน่วยวิจัยพื้นฐานทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาเทคโนโลยีการตรวจโรคกุ้ง ในเวลาตอ่ มา และผลจากงานวจิ ยั พนื้ ฐานเป็นทมี่ าของความสำ� เรจ็ ในอตุ สาหกรรมกงุ้ ถงึ รอ้ ยละ 50 ในปั จจุบันการวิจัยทางอณูชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพเป็ นทีย่ อมรับในหมู่เกษตรกร ผู้เลีย้ งกุ้งว่าเป็ นฐานของการเพาะเลีย้ งกุ้งทีป่ ลอดภัยและยั่งยืน ตัวอย่างการแก้ไขปั ญหา โรคระบาดในกงุ้ เป็นตวั อยา่ งสำ� คญั ทชี่ ใี้ หเ้ หน็ วา่ หากประเทศไทยไมม่ คี วามรจู้ ากหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ทางวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหิดล อาจจะเกิดความสูญเสียในอุตสาหกรรมกุ้ง 26

รายงานการศึกษาโครงการวิจัยเพอ่ื ประเมนิ ความคุ้มค่าของโครงการวิจัยและพัฒนา ภายใตส้ �ำ นักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอดุ มศกึ ษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจยั แหง่ ชาติ เป็นหลายแสนล้านบาทหรือมากกว่านี้ และมิอาจกู้อุตสาหกรรมกุ้งให้กลับมาอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ การลงทุนเพือ่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยพืน้ ฐานยังจะช่วยก่อให้เกิดการต่อยอด เทคโนโลยีให้เกิดมูลค่าเพิม่ ได้อีกมากในอนาคต เช่น งานวิจัยพืน้ ฐานทีส่ ามารถท�ำให้กุ้งมีลูก เป็นตัวเมียเป็นส่วนใหญ่ จะช่วยเพิม่ มูลค่าอุตสาหกรรมให้สูงขึน้ อีก เพราะกุ้งตัวเมียจะโตเร็ว กว่าตวั ผู้ เป็นต้น อกี ตวั อยา่ งหนงึ่ ของการวจิ ยั พนื้ ฐานทเี่ ป็นแกนหลกั ของการสรา้ งเทคโนโลยเี ชงิ พาณชิ ย์ คอื ผลงานของหน่วยปฏิบตั ิการวจิ ัยอุปกรณร์ ับรู้ คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั โดย ศ.ดร.สนอง เอกสิทธิ์ ซึ่งท�ำการวิจัยพืน้ ฐานอย่างต่อเนือ่ งมา 17 ปี ในเทคโนโลยีหลัก (Core technology) คือ เทคโนโลยีการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนทีส่ ามารถควบคุมสัณฐาน ได้อย่างแม่นย�ำ โดยการควบคุมลักษณะสัณฐานอนุภาคซิลเวอร์นาโนให้มีขนาด รูปร่าง และสตี า่ งๆ จะทำ� ใหส้ ามารถควบคมุ คณุ สมบตั ติ า่ งๆ ทงั้ คณุ สมบตั เิ ชงิ แสงและเชงิ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ า แล้วนำ� ไปใช้กบั ผลติ ภัณฑ์ เช่น ผงซกั ฟอกทีส่ ามารถใช้ซกั ผ้าได้ในเวลากลางคืน หรือในสถานที่ ทีไ่ ม่มีแสงแดดโดยไม่มีกลิน่ อับ หรือนำ� ไปผลิตผ้าปิ ดบาดแผล ทีใ่ ช้นวัตกรรมซิลเวอร์นาโนสีฟ้ า ซึ่งจะช่วยฆ่าเชือ้ ได้รวดเร็ว ซึ่งแต่เดิมมีผลิตภัณฑ์น�ำเข้าทีใ่ ช้อนุภาคซิลเวอร์นาโนสีเหลือง แตผ่ ปู้ ระกอบการไทยตอ้ งการอนภุ าคซลิ เวอรน์ าโนสฟี ้ า เพอื่ ใหม้ คี วามแตกตา่ งจากสนิ คา้ นำ� เขา้ นอกจากนี้ ยังใช้เป็นส่วนผสมของแป้ งฝุ่น สบู่เหลว และโรลออนระงับกลิน่ ใต้วงแขน เป็นต้น อกี ทงั้ ยงั มที งั้ สทิ ธบิ ตั รและการนำ� ไปใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ พาณชิ ยอ์ นื่ ๆ อยา่ งหลากหลาย ผลผลติ เหลา่ นี้ จะเกิดขึน้ ไม่ได้ หรือจะต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศหากไม่มีการวิจัยพืน้ ฐานในเทคโนโลยีหลัก แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของการประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรพู้ นื้ ฐาน รว่ มกบั การพฒั นาเทคโนโลยี ทีใ่ ชป้ ระโยชนเ์ ชงิ พาณชิ ย์ในภาคอตุ สาหกรรมการผลิต นอกจากนี้ เมอื่ ภาคเอกชนนำ� เทคโนโลยี ไปท�ำผลิตภัณฑ์ต้นแบบแล้วก็ยังต้องน�ำตัวอย่างกลับมาทดสอบคุณภาพมากกว่าร้อยตัวอย่าง ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของมหาวทิ ยาลยั ดงั นนั้ การวจิ ยั พนื้ ฐาน (การควบคมุ สณั ฐาน) จะตอ้ งดำ� เนนิ ควบคู่กันไปกับการประยุกต์ใช้ การพัฒนาระบบการผลิต การทดสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และตอ้ งมนี ักวิจยั ปริญญาเอกทุ่มเทเวลาเพือ่ ศึกษาเป็นเรือ่ งๆ ไป ตัวอย่างต่อไป ได้แก่ กลุ่มงานศึกษาคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้ าของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ โดยมี ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รตั นเดโช เป็นผู้นำ� ซงึ่ ได้ผลติ ผลงานวชิ าการ ระดบั โลกและยงั สามารถสรา้ งนวตั กรรมจากงานวจิ ยั ประเภทเครอื่ งจกั รและอปุ กรณท์ มี่ ปี ระโยชน์ กบั การใชง้ านทเี่ หมาะสมกบั ครวั เรอื นไทย เชน่ เครอื่ งไมโครเวฟลดความชนื้ ในผลติ ภณั ฑเ์ กษตร อปุ กรณว์ ดั การรวั่ ไหลของเครอื่ งอบไมโครเวฟ ซงึ่ จะชว่ ยคมุ้ ครองสขุ ภาพของคนไทยจำ� นวนมาก เนือ่ งจากครอบครัวคนไทยมีเครือ่ งไมโครเวฟในบ้านถงึ 30–40 ล้านเครือ่ ง 27

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ัยเพ่ือประเมินความค้มุ ค่าของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใต้สำ�นกั บริหารโครงการส่งเสริมการวจิ ัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลยั วิจยั แหง่ ชาติ 2.3.2 การลงทนุ อยา่ งตอ่ เน่อื งเพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรูท้ ่ีมพี ลวตั ทีม่ คี วามมัน่ คงและยัง่ ยืน การลงทุน R&D จะต้องเป็ นการลงทุนในลักษณะโปรแกรมอย่างต่อเนื่องและ ใชเ้ วลานานจงึ จะเหน็ ผล แตเ่ มอื่ เกดิ ผลแลว้ จะเกดิ มลู คา่ สงู มาก เชน่ ชดุ โครงการพฒั นาดเี อน็ เอ ตรวจสอบ (DNA probe) และใชเ้ ทคนคิ Polymerase Chain Reaction (PCR) ในการตรวจไวรสั หัวเหลือง ไวรัสตัวแดงดวงขาว และไวรัสทีท่ �ำให้เกิดโรคกุ้งแคระในกุ้งกุลาด�ำ หรือชุดโครงการ การพัฒนาเทคนิค Loop–mediated isothermal amplification (LAMP) เพือ่ การตรวจโรค ไวรัสในกุ้งได้มูลค่าเชิงเศรษฐกิจเกือบแสนล้านบาทก็จริง แต่เป็นการวิจัยต่อเนือ่ งกว่า 30 ปี อีกตัวอย่างหนึ่ง ได้แก่ การตรวจวัดความอ่อนแก่ของทุเรียน ก็ใช้เวลากว่า 10 ปี จึงจะได้ เทคโนโลยที ีส่ ามารถนำ� ไปใช้ได้จรงิ เป็นตน้ สาเหตทุ กี่ ารลงทนุ วจิ ยั อยา่ งตอ่ เนอื่ งเป็นเรอื่ งสำ� คญั เพราะองคค์ วามรมู้ พี ลวตั มกี าร สะสม ดดั แปลง ปรงุ แตง่ เพมิ่ พนู อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และอาจเสอื่ มคา่ ตามกาลเวลา เนอื่ งจากบรบิ ทการ ใชป้ ระโยชนเ์ ปลยี่ นไป หรอื เกดิ การทดแทนโดยเทคโนโลยใี หม่ การขาดความตอ่ เนอื่ งในการลงทนุ วจิ ยั จะทำ� ใหช้ มุ ชนความรู้ (Knowledge community) ไมส่ ามารถตามทนั สถานการณ์ และการ กลับเข้ามาติดตามสถานการณ์ในโลกทีอ่ งค์ความรู้มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว จะท�ำให้มี ตน้ ทนุ การลงทุนวจิ ัยสูงขึน้ 2.3.3 รัฐยงั ตอ้ งมบี ทบาทสงู ส�ำ หรับการลงทนุ R&D ในภาคเกษตร การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) ในภาคเกษตรของรัฐเป็นเรื่องส�ำคัญ เนื่องจากเงื่อนไขด้านสภาพดินฟ้ าอากาศ รวมถึงปั จจัยเฉพาะทีท่ �ำให้อาศัยเทคโนโลยีจาก ตา่ งประเทศไมไ่ ด้ โดยเฉพาะเทคโนโลยที ใี่ หค้ ณุ ประโยชนส์ ำ� หรบั เกษตรกรรายยอ่ ย เพราะการลงทนุ ในภาคเกษตรของเอกชนมกั จะมองผลประโยชนข์ ององคก์ รเป็นหลกั ซงึ่ มแี นวโนม้ จะเป็นการวจิ ยั เพอื่ ลดตน้ ทนุ จากการใชเ้ ครอื่ งจกั รและเทคโนโลยที ตี่ อ้ งลงทนุ สงู แมแ้ ตก่ ารลงทนุ ในเรอื่ งพนั ธพุ์ ชื กจ็ ะเป็นการลงทนุ เพอื่ ขายเมลด็ พนั ธทุ์ สี่ บื ทอดตอ่ ไมไ่ ด้ การลงทนุ วจิ ยั ของภาคเอกชนจะเนน้ ทตี่ วั สนิ คา้ ทมี่ ตี ลาดรองรบั เมอื่ ตลาดซบเซาลง เชน่ กงุ้ กลุ าดำ� กอ็ าจจะเลกิ ลงทนุ ไป ดงั นนั้ การลงทนุ วจิ ยั ของรฐั ในดา้ นเกษตรโดยเฉพาะการเกบ็ รกั ษาพนั ธจ์ุ งึ เป็นเรอื่ งจำ� เป็น และไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งสนใจแต่ พืชหลกั เช่น ขา้ ว อ้อย ยางพารา เทา่ นัน้ แตอ่ าจจะสนใจพืชรองทมี่ ศี กั ยภาพในอนาคตมากขึน้ เช่น ทุเรียน พืชอาหาร และสมุนไพร ซึ่งมีมูลค่าสูงและตลาดโตเร็ว และเป็นพืชทีเ่ หมาะสม กับศกั ยภาพของเกษตรกรรายยอ่ ย 2.3.4 การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาระบบตลอดหว่ งโซก่ ารผลติ จะท�ำ ใหอ้ งคค์ วามรสู้ ามารถตอ่ ยอดในเชงิ ปฏบิ ตั ิ และเชงิ พาณิชย์ได้ การลงทนุ วจิ ยั ในภาคเกษตรทสี่ ำ� คญั แตม่ กั ถกู มองขา้ มไป คอื การวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบ ตลอดหว่ งโซก่ ารผลติ ซงึ่ เป็นการวจิ ยั ทนี่ ำ� R&D ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ เชน่ โครงการพฒั นา อาชพี การเลยี้ งไกป่ ระดหู่ างดำ� ของ รศ.ดร.ศริ พิ ร กริ ตกิ ารกลุ และคณะ ซงึ่ เป็นการวจิ ยั เพอื่ พฒั นา ระบบการผลติ ตลอดหว่ งโซอ่ ปุ ทานจนถงึ มอื ผบู้ รโิ ภค ซงึ่ กระบวนการพฒั นาระบบนจี้ ะตอ้ งอาศยั การจดั การองคค์ วามรู้ (Knowledge management) จนสามารถสรา้ งมลู คา่ ใหเ้ ป็นจรงิ ขนึ้ มาได้ 28

รายงานการศึกษาโครงการวิจัยเพ่ือประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการวิจัยและพฒั นา ภายใตส้ ำ�นกั บริหารโครงการส่งเสริมการวจิ ยั ในอุดมศึกษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวิจัยแหง่ ชาติ และเกิดแพ็กเกจชุดความรู้ทีบ่ ูรณาการและยืดหยุ่นตามศักยภาพของเกษตรกร โดยเกษตรกร สามารถเลอื กแบบจ�ำลองทางธรุ กิจ (Business model) ทีเ่ หมาะสมกับศักยภาพและความถนดั ของตน และมองเห็นภาพทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตกับชีวิตของตน เมือ่ เลือกแบบแผนการผลิตและ ชดุ เทคโนโลยตี า่ งๆ ไปประยกุ ตใ์ ช้ บทเรยี นจากการศกึ ษาชใี้ หเ้ หน็ วา่ การลงทนุ วจิ ยั ในภาคเกษตร ทีม่ ีอยู่เดิมแบบแยกส่วน (เช่น วิจัยด้านพันธุ์ การส่งเสริมการตลาด) ตามหน่วยงานของรัฐ ยากทีก่ ่อใหเ้ กดิ ผลอยา่ งแทจ้ ริง อีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่ โครงการพัฒนาเชิงระบบในการผลิตโคขุนดอกค�ำใต้ของ รศ.ดร.โชค โสรัจกุล และคณะ ท�ำให้เห็นว่า กระบวนการจัดการผลิตเชิงระบบให้ครอบคลุม ตลอดห่วงโซ่อปุ ทานของการผลติ โคเนือ้ มคี วามสำ� คัญ เนือ่ งจากถ้าขาดหว่ งโซ่ใดห่วงโซ่หนึง่ แล้ว อาจจะทำ� ใหผ้ ลประโยชนท์ เี่ กดิ ขนึ้ ไมม่ ากพอทจี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื ในอาชพี การเลยี้ งโค ดงั นนั้ การจัดการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและเชือ่ มโยงการผลิตโคทัง้ ระบบจะท�ำให้เกิดสมดุล ในการผลติ มากขนึ้ และทำ� ใหเ้ กษตรกรมรี ายไดท้ นี่ า่ พอใจ นำ� ไปสคู่ วามยงั่ ยนื ในอาชพี การเลยี้ งโค ในอนาคต 2.3.5 การพฒั นาตลาดสามารถขบั เคลื่อนการอนุรกั ษ์ภมู ิปัญญาด้งั เดมิ การลงทุนพัฒนาระบบ R&D จากต้นน�้ำถึงปลายน�้ำนอกจากจะเกิดการน�ำไปใช้ ประโยชน์แล้ว ยังกอ่ ให้เกดิ การอนุรกั ษใ์ นชุมชน (In-situ conservation) ผ่านกลไกตลาด เชน่ โครงการไก่ประดู่หางด�ำ ทีแ่ สดงให้เห็นถึงความสามารถทีจ่ ะผลักดันให้เกิดตลาด ซึ่งเป็นตัว ขับเคลือ่ นการอนุรักษ์ไก่พืน้ เมืองและภูมิปั ญญาดัง้ เดิมโดยชุมชน เป็นการลดต้นทุนการอนุรักษ์ ของรฐั 2.3.6 มหาวทิ ยาลยั ในภูมิภาคเปน็ ก�ำ ลังสำ�คญั ของภาคเอกชนและเกษตรกรในทอ้ งถนิ่ ภาคเอกชนและเกษตรกรรายย่อยมีความสนใจในการแสวงหาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพอื่ พัฒนาการผลิตของตน และการศึกษานีพ้ บว่า มหาวิทยาลัยในภูมภิ าคทีเ่ อาพนื้ ทีเ่ ป็นตัวตัง้ และปั ญหาของผู้ผลิตเป็นโจทย์ จะสามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจได้ เช่น ในกรณีของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดติ ถ์ 2.3.7 สร้างกลไกวจิ ยั ท่ียดื หยนุ่ สามารถบูรณาการขา้ มศาสตรแ์ ละมีการเลอ่ื นไหลระหวา่ งสาขา ในโลกทวี่ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยมี กี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ องคค์ วามรสู้ ำ� หรบั แก้ปั ญหาภาคเกษตรไม่จ�ำเป็นต้องอยู่ในภาคเกษตรเท่านัน้ ยกตัวอย่างเช่น ชุดโครงการระบบ ไมโครเวฟเซนเซอร์เพือ่ ตรวจวัดความอ่อนแก่ของทุเรียนของ ศ.ดร.โมไนย ไกรฤกษ์ และคณะ ซึ่งได้น�ำเอาองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม มาประยุกต์ใช้ในการวัดความอ่อนแก่ ของทุเรียน ในท�ำนองเดียวกัน R&D ของบางเทคโนโลยี แม้จะเป็นเทคโนโลยีทีด่ ูเสมือนจะมี คุณค่าเชิงพาณิชย์ แต่ก็อาจจะถูกเทคโนโลยีสาขาอืน่ แซงหน้าไป เช่น อุปกรณ์ช่วยอ่านของ ผู้สูงอายุและผู้พิการทางสายตา ซึง่ ถูกเทคโนโลยีแอปพลิเคชันบนมือถือทดแทนได้อย่างรวดเร็ว ในโลกยุคใหม่งานวิจัยเชิงเดีย่ วในสาขาใดสาขาหนึง่ อาจไม่สามารถแก้ปั ญหาในโลกแห่งความ 29

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ัยเพื่อประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใตส้ �ำ นกั บริหารโครงการสง่ เสรมิ การวจิ ยั ในอุดมศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลยั วิจัยแห่งชาติ เป็นจรงิ ได้อกี ตอ่ ไป แม้แต่ในด้านเกษตร เชน่ การป้ องกันการตดิ โรคในกุ้ง มหาวิทยาลัยมหดิ ล ซึ่งมักจะถูกมองว่ามีความช�ำนาญด้านการแพทย์ ก็กลายเป็นมหาวิทยาลัยทีม่ ีบทบาทหลัก หรือในเรือ่ งไก่ประดู่หางด�ำ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กลายเป็นก�ำลังส�ำคัญ ในการบูรณาการข้ามศาสตร์ บทเรยี นสำ� คญั ของงานชนิ้ นกี้ ค็ อื นกั วชิ าการ ผวู้ างนโยบาย ผบู้ รหิ าร รวมทงั้ ผวู้ เิ คราะห์ โครงการ ควรมีความเขา้ ใจวา่ วชิ าการและเทคโนโลยีในปั จจุบันไหลลนื่ เข้าหากนั ผสมปนเปกัน และแข่งขันกัน ไม่มีใครสามารถเป็นผู้ผูกขาดและเป็นผู้ครองความเป็นหนึ่งแต่เพียงผู้เดียว อย่างยัง่ ยืน ทัง้ นีเ้ พราะการเปลยี่ นแปลงของตลาดทเี่ กดิ จากเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร การทดแทน กนั ไดข้ องเทคโนโลยี อาจทำ� ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตทุ างวชิ าการทงั้ ทางบวกและทางลบไดง้ า่ ย รวดเรว็ และอาจจะฉบั พลนั อกี ดว้ ย ดงั นนั้ จงึ ไมค่ วรมอี งคก์ รเฉพาะใดๆ เป็นผผู้ กู ขาด แตก่ ารบรหิ าร งานวจิ ยั ควรกระจายเป็นศนู ย์ (Node) ใหย้ บุ งา่ ยสรา้ งงา่ ย แตต่ อ้ งมแี กนทมี่ กี ารสรา้ ง Critical mass และเครอื ขา่ ยใหม้ กี ารใชห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารและเครอื่ งมอื ทมี่ ตี น้ ทนุ อปุ กรณส์ งู รว่ มกนั ได้ 2.3.8 สรา้ งแรงจงู ใจทดี่ สี �ำ หรบั การวจิ ยั ดา้ นการรบั ใชส้ งั คมและอตุ สาหกรรมส�ำ คญั ส�ำ หรบั การสรา้ ง มูลค่าทางเศรษฐกจิ อปุ สรรคหนงึ่ ของการสรา้ งงานวจิ ยั ทสี่ ามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ สงั คมและพาณชิ ยไ์ ด้ กค็ อื เป็นงานทมี่ โี อกาสตพี มิ พใ์ นวารสารตา่ งประเทศตำ�่ นกั วจิ ยั ทมี่ คี วามสามารถในมหาวทิ ยาลยั จึงเลือกท�ำโครงการวิจัยทีม่ ีโอกาสตีพิมพ์มากกว่าโครงการวิจัยทีก่ ่อให้เกิดผลทางด้านเศรษฐกิจ และสงั คม โครงการวจิ ยั ทตี่ พี มิ พไ์ ดอ้ าจมคี วามคมุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ ตำ�่ เพราะผลงานทางวชิ าการ ทีต่ ีพิมพ์มักเป็นการเปิ ดพรมแดนความรู้ใหม่ๆ มากกว่าการน�ำไปประยุกต์ใช้ ยกตัวอย่างเช่น ภาควชิ าวศิ วกรรมชวี การแพทย์ (Biomedical Engineering) ของมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ซงึ่ มผี ลงาน โดดเด่นทัง้ เชิงวิชาการและเชิงสังคม กล่าวคือ นอกจากผลงานวิจัยจะได้รับการตีพิมพ์แล้ว ผลงานวจิ ยั ยงั มคี วามสำ� คญั ตอ่ การเพมิ่ คณุ ภาพชวี ติ ของคนพกิ าร โดยสามารถสรา้ งนวตั กรรมที่ ท�ำให้ผู้ทีเ่ ป็นอัมพาตตัง้ แต่คอลงมาสามารถเคลือ่ นไหวได้ โดยเชือ่ มโยงคลืน่ สมองกับกล้ามเนือ้ ใบหนา้ เข้ากบั อุปกรณช์ ว่ ยเคลือ่ นที่ งานรบั ใช้สังคมในลักษณะทีก่ ลา่ วมานีย้ ังเป็นโอกาสทีจ่ ะฝึก นกั ศกึ ษาใหม้ คี วามคดิ สรา้ งสรรคม์ ากขนึ้ ดงั นนั้ สกอ. ควรใหแ้ รงจงู ใจกบั งานวจิ ยั ทเี่ กดิ นวตั กรรม ทางสงั คมมากขนึ้ แตน่ กั วจิ ยั ในมหาวทิ ยาลยั ไมร่ บั ทราบประเดน็ นอี้ ยา่ งแพรห่ ลาย ซงึ่ หากเผยแพร่ ตัวอย่างความส�ำเร็จออกไปมากขึน้ จะทำ� ใหเ้ กดิ งานวชิ าการและนวัตกรรมรับใชส้ ังคมมากขึน้ ทัง้ นี้ ตัวชีว้ ัดผลสัมฤทธิข์ องงานวิจัยเชิงสังคมไม่จ�ำเป็ นต้องตีเป็ นมูลค่าเสมอไป แตห่ ากไมต่ มี ลู คา่ เลย อาจทำ� ใหผ้ วู้ างนโยบายมองไมเ่ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของโครงการวจิ ยั เชงิ สงั คม เท่าทีค่ วร นอกจากนี ้ การประเมนิ ความคุ้มคา่ ของโครงการวิจัยของรัฐทำ� ให้การประเมนิ ผลงาน วชิ าการรบั ใชส้ งั คมและนวตั กรรมเพอื่ อตุ สาหกรรมงา่ ยขนึ้ แตต่ อ้ งระมดั ระวงั ไมใ่ หม้ กี ารกลา่ วอา้ งเกนิ จงึ ควรเป็นการประเมนิ จากภายนอกโดยคณะบุคคลทีไ่ ม่มีส่วนได้สว่ นเสยี 2.3.9 การคดิ ค่าตอบแทนเทคโนโลยจี ากเอกชน ในปั จจบุ นั มหาวทิ ยาลยั ของรฐั ไดใ้ หค้ วามสนใจกบั การไดต้ น้ ทนุ คนื (Cost recovery) จากการลงทุนทางการเงินเพือ่ ผลิตเทคโนโลยี ซึ่งเป็นทิศทางทีถ่ ูกต้องก็จริง แต่ไม่จ�ำเป็นทีร่ ัฐ จะตอ้ งไดค้ า่ เทคโนโลยคี มุ้ ทนุ จากการลงทนุ ใน R&D เสมอไป เพราะ (1) การลงทนุ R&D จำ� นวนมาก 30

รายงานการศึกษาโครงการวิจัยเพื่อประเมินความคุม้ ค่าของโครงการวิจัยและพฒั นา ภายใต้ส�ำ นักบริหารโครงการสง่ เสรมิ การวิจยั ในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวจิ ัยแหง่ ชาติ เกดิ ผลทางเศรษฐกจิ และสงั คมแกส่ าธารณะมากกวา่ ผลทางการเงนิ ใหก้ บั ภาคเอกชน (2) การลงทนุ ใน R&D มกั จะยงั ไมค่ มุ้ ทนุ ภายในระยะเวลาสนั้ ๆ หรอื เป็นประโยชนท์ นั ทเี มอื่ งานวจิ ยั เสรจ็ สนิ้ ลง (อรชส นภสนิ ธวุ งศ,์ 2553; Nelson and Rosenberg, 1994; Klevorick, Levis, Nelson and Winter,1995; Mowery and Oxley, 1995) (3) บางเทคโนโลยตี ลาดมกี ำ� ลงั ซอื้ ตำ�่ เชน่ ตลาดผพู้ กิ ารจงึ ไมส่ ามารถ เรยี กค่าตอบแทนให้คุ้มทุนได้ แตม่ ผี ลตอบแทนเชิงสงั คมสงู อปุ สรรคสำ� คญั อีกประการหนึง่ คอื การเรียกค่าตอบแทนจากสิทธบิ ตั รเป็นไปไดย้ าก เพราะกระบวนการขอสิทธิบัตรของไทยใช้เวลาถึง 7 ปี ผู้สร้างเทคโนโลยีจึงสูญเสียโอกาสได้ ในโลกทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงสูงอย่างในปั จจุบัน ท�ำให้มีแรงจูงใจในการขอสิทธิบัตรต�่ำกว่าทีค่ วร จะเป็น การศกึ ษานีย้ ังพบอีกว่า มหาวิทยาลัยยังไมม่ แี นวทางทีจ่ ะให้หลกั การคดิ ค่าตอบแทน เทคโนโลยี นกั วจิ ยั บางทา่ นกใ็ ชก้ ารขาย “ถกู ” แตข่ อเป็น Upfront fee เป็นหลกั เพอื่ ใหเ้ ทคโนโลยี ถกู นำ� ไปใชไ้ ด้ บางมหาวทิ ยาลยั เนน้ การใหโ้ อกาสแกผ่ ปู้ ระกอบการทอ้ งถนิ่ กอ่ น ซงึ่ ในตา่ งประเทศ เชน่ สงิ คโปร์ มกี ารสนบั สนนุ ใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยขี องรฐั ฟรี 5 ปี แรก แลว้ จงึ เรยี กเกบ็ คา่ ใชผ้ ลประโยชน์ ประเดน็ นีค้ วรเป็นประเด็นทีม่ กี ารศกึ ษาอย่างจรงิ จงั ต่อไป 2.3.10 การวิจัยชุมชนต้องให้ชุมชนมีส่วนร่วมและติดตามผลอย่างต่อเน่ืองเพ่ือนำ�ไปสู่การ เปล่ยี นแปลงท่ียงั่ ยืน การวิจัยทีเ่ น้นให้เกิดการวิเคราะห์โครงการวิจัยทีเ่ น้นการเปลีย่ นแปลงในเชิงสังคม เช่น โครงการละว้า มีวัตถุประสงค์เพือ่ ปรับพฤติกรรมของประชาชนให้ลด ละ เลิกกินปลาดิบ เนื่องจากเป็นสาเหตุส�ำคัญทีท่ �ำให้เป็นโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน�้ำดี อย่างไรก็ตาม การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมของประชาชนถอื เป็นเรอื่ งยากและตอ้ งใชร้ ะยะเวลานาน จะเหน็ ไดจ้ าก การรณรงคใ์ หค้ วามรูผ้ ่านสอื่ ประชาสมั พนั ธท์ ผี่ า่ นมาในอดีตทยี่ งั ไมเ่ ห็นผลชัดนกั โครงการละวา้ จึงได้ท�ำวิจัยร่วมกับชุมชนโดยอาศัยกลุ่มทุนทางสังคมในการท�ำงานเชิงรุก โดยมีคณะวิจัย ทำ� หนา้ ทเี่ ป็นผสู้ นบั สนนุ องคค์ วามรเู้ ชงิ วชิ าการและพฒั นาศกั ยภาพแกนนำ� ชมุ ชน และใหก้ ลมุ่ แกนนำ� สานตอ่ งานในลกั ษณะการใหค้ นในชมุ ชนบอกกลา่ วใหค้ วามรกู้ นั เอง ตดิ ตามผล ดแู ลซงึ่ กนั และกนั เพือ่ ให้องค์ความรู้ต่างๆ จากการวิจัยเข้าถึงประชาชนได้มากขึน้ จะพบว่า กระบวนการต่างๆ ข้างต้นตัง้ แต่การพัฒนาศักยภาพกลุ่มแกนน�ำ การควบคุมการแพร่เชือ้ พยาธิ และการรณรงค์ ให้เกิดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมต้องใช้ระยะเวลานาน และต้องอาศัยความร่วมมือจากหลาย ภาคส่วนทัง้ กลุม่ อสม. รพสต. องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นต้น โครงการละว้าดำ� เนนิ การ มากวา่ 10 ปี จนไดก้ ลมุ่ อสม. ทเี่ ขม้ แขง็ และสามารถขบั เคลอื่ นกจิ กรรมตา่ งๆ ของโครงการละวา้ ได้เอง โดยมีคณะวิจัยเป็นทีป่ รึกษา นอกจากนี้ การติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างสม�่ำเสมอ และตอ่ เนอื่ ง ทำ� ใหป้ ระชาชนเกดิ ความตนื่ ตวั และตระหนกั และสามารถลดจำ� นวนผตู้ ดิ เชอื้ พยาธิ ใบไม้ตบั ซ�ำ้ ในชุมชนแกง่ ละว้าลงมากกว่าร้อยละ 50 จะพบวา่ การดำ� เนนิ การวจิ ัยโดยให้ชมุ ชน มีส่วนร่วมและมีการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง จะก่อให้เกิดผลทีเ่ ป็นรูปธรรมและมีความยัง่ ยืน และยังท�ำให้เห็นถึงศักยภาพของงานวิจัยเชิงปฏิบัติการทีจ่ ะน�ำไปสู่การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม คนในสังคมเพือ่ ให้มสี ขุ ภาพทีด่ ขี นึ้ ได้ 31

รายงานการศึกษาโครงการวิจัยเพอ่ื ประเมินความคุ้มค่าของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใตส้ �ำ นกั บริหารโครงการส่งเสรมิ การวิจยั ในอุดมศกึ ษาและพฒั นามหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ 2.3.11 แนวทางในการเลือกวธิ วี เิ คราะห์ความคุ้มค่า การประเมินความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจโดยวิธี Cost–Benefit Analysis (CBA) เหมาะสมกบั โครงการทมี่ กี ารนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชแ้ ลว้ ไมต่ ำ�่ กวา่ 5 ปี และเหมาะสมกบั การวจิ ยั ทาง ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพฒั นาหว่ งโซก่ ารผลติ ทมี่ ผี ลผลติ เป็นผลติ ภณั ฑเ์ ทคโนโลยี และการใหบ้ รกิ ารทชี่ ดั เจน สว่ นการประเมนิ แบบ Social Return on Investment (SROI) เหมาะกบั งานวิจัยและพัฒนานวตั กรรมเชิงสงั คม 2.4 ข้อเสนอแนะสำ� หรับกลยุทธก์ ารสนบั สนุนการวจิ ยั ในมหาวิทยาลัยของรฐั 2.4.1 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย 1) รัฐบาลควรมีนโยบายให้หน่วยงานวิจัยรายงานผลการประเมินความคุ้มค่าของ โปรแกรมวิจัยและกลยุทธ์ทีต่ ้องปรับเปลีย่ น ให้มีการประเมินโดยองค์กรภายนอกทุกๆ 5 ปี โดยเฉพาะหนว่ ยงานของรฐั ทมี่ ภี ารกจิ สนบั สนนุ งบประมาณดา้ นวจิ ยั เชน่ สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจัย (สกว.) ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สกอ. เป็นต้น ควรต้องประเมิน เป็นรายโปรแกรม เพือ่ ให้มัน่ ใจถึงทิศทางการลงทุนเชิงกลยุทธ์ โดยเฉพาะการลงทุนวิจัยทีม่ ี เป้ าหมายเชิงพาณิชย์ ควรมีการฝึ กอบรมเรือ่ งการประเมินความคุ้มค่าให้เข้าใจแนวทางการ วเิ คราะหท์ ีถ่ ูกต้องใหแ้ ก่ผ้บู ริหารงานวิจัยของรัฐและมหาวทิ ยาลยั 2) รัฐบาลควรออกกฎระเบียบทีก่ �ำหนดและอ�ำนวยความสะดวกให้มีการบูรณาการ การวจิ ยั และการใช้หอ้ งปฏิบตั ิการร่วมกันระหวา่ งมหาวิทยาลัย สวทช. สถาบันวิจยั ในกระทรวง ทบวง กรม ทัง้ นีเ้ พอื่ ให้มีการเสรมิ พลงั ซึง่ กันและกนั และเกดิ เครอื ขา่ ยการถา่ ยทอดและจัดการ ความรู้ทีเ่ ข้มแข็ง หลีกเลีย่ งการลงทนุ ทีซ่ ำ�้ ซอ้ น และเพอื่ รักษานกั วิจัยให้อยูใ่ นระบบไดย้ าวนาน 3) สกอ. ควรตัง้ ตวั ชีว้ ัดผลงาน (Key Performance Indicator: KPI) ทีเ่ ชือ่ มโยงกนั ทงั้ ในระดบั บคุ คลและระดบั สถาบนั การศกึ ษาทที่ ำ� ผลงานวจิ ยั รบั ใชส้ งั คมและอตุ สาหกรรม สกอ. ควรเผยแพรว่ ธิ กี ารกำ� หนดตำ� แหนง่ วชิ าการเพอื่ อตุ สาหกรรมและวชิ าการรบั ใชส้ งั คมเพอื่ จงู ใจให้ นักวิชาการในมหาวิทยาลัยมีความตืน่ ตัวในการวิจัยนอกเหนือไปจากการวิจัยเพือ่ ผลิตผลงาน ทางวิชาการ และควรจัดให้มีวารสารวิชาการเพื่อสังคมและอุตสาหกรรมเพื่อรองรับผลงาน ทางวิชาการเหล่านี้ โดยให้มีผู้ทรงคุณวุฒิจากพหุสาขาทีม่ ีคุณภาพเป็นคณะบรรณาธิการ นอกเหนือจาก KPI ด้านการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ สกอ. ควรให้ตัวชีว้ ัด ด้านนวัตกรรมสังคมและอุตสาหกรรมเหล่านีเ้ ป็ นตัวชีว้ ัดของส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทีม่ หาวิทยาลยั ต้องบรรจใุ นรายงานการประเมนิ ตนเอง (Self–Assessment Report: SAR) และให้ สมศ. เป็นผตู้ รวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู 4) รัฐบาลอาจส่งเสริมการลงทุนด้าน R&D ทีจ่ ะสร้างความปลอดภัยและส่งเสริม คณุ ภาพชวี ติ โดยออกกฎระเบียบเพือ่ บงั คบั ใชเ้ ทคโนโลยที ีเ่ ป็นนวัตกรรม เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธิ์ ในด้านดังกล่าว เช่น การบังคับใช้อุปกรณ์ป้ องกันการหลับในส�ำหรับผู้ขับขีย่ านยนต์สาธารณะ ทขี่ บั รถเป็นระยะยาวนาน หรอื ใชง้ บประมาณของรฐั อดุ หนนุ อปุ กรณท์ ใี่ หค้ วามสะดวกแกค่ นพกิ าร เป็นตน้ 32

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ัยเพอื่ ประเมินความคมุ้ ค่าของโครงการวจิ ัยและพฒั นา ภายใตส้ �ำ นกั บริหารโครงการส่งเสรมิ การวิจยั ในอดุ มศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลยั วิจยั แหง่ ชาติ 5) รัฐบาลอาจสร้างแรงจูงใจ โดยให้มี Block grant ทุกๆ 5 ปี เป็นรางวัลพิเศษ ส�ำหรับมหาวิทยาลัยทีม่ ีผลงานทีม่ ีความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจและสังคมสูง หรือผ่านเกณฑ์ ตวั ชีว้ ัดนวัตกรรมเพือ่ อุตสาหกรรมและสงั คมในลำ� ดับสูง 6) สร้างความร่วมมือผ่านช่องทางพิเศษ (Fast track) ในการพัฒนาผลงานวิจัย ของมหาวทิ ยาลยั รว่ มกบั หนว่ ยงานดา้ นมาตรฐานและการรบั รองคณุ ภาพของรฐั เชน่ สำ� นกั งาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สำ� นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (สมอ.) เป็นตน้ ในรูปแบบการสัมมนาร่วม เพือ่ ให้นักวิจัยและเจ้าหน้าทีส่ นับสนุนฝ่ ายวิจัยของมหาวิทยาลัย เข้าใจความส�ำคัญและขัน้ ตอนในการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ตลอดจนมีความพยายาม ให้การขอใบอนุญาตและใบรับรองมาตรฐานต่างๆ ทัง้ ในและระหว่างประเทศให้มีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขนึ้ 7) รัฐบาลอาจพิจารณาเก็บค่าธรรมเนียมสินค้าเกษตรส่งออกทีม่ ีมูลค่าสูงทีผ่ ู้ผลิต มใิ ชเ่ กษตรกรยากจน เชน่ กงุ้ ทเุ รยี น เป็นตน้ เพอื่ นำ� มาเป็นกองทนุ เพอื่ การวจิ ยั โดยมกี รรมการ จากภาคเอกชนและผู้ทรงคุณวุฒิทีไ่ ม่มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นผู้ก�ำกับการใช้เงินร่วมกับเจ้าหน้าที่ ภาครฐั 8) ควรมีการจัดท�ำแนวทางการคิดค่าตอบแทนเทคโนโลยีจากการลงทุน R&D ในมหาวทิ ยาลยั ทงั้ นคี้ วรมกี ารสำ� รวจประสบการณใ์ นตา่ งประเทศ และมกี ารทำ� วจิ ยั ในประเทศ เกีย่ วกับโครงสร้างการจดสิทธิบัตรของไทย และการคิดค่าตอบแทนทางเทคโนโลยีเพิม่ เติม กอ่ นทีจ่ ะประกาศแนวทาง 9) การลงทุน R&D ด้านเกษตรควรมีการบูรณาการความร่วมมือด้านการวิจัย และส่งเสริมการใช้ผลประโยชน์ระหว่างองค์กรวิจัย นักวิชาการมหาวิทยาลัย และนักวิชาการ หนว่ ยงานสง่ เสรมิ ภาครฐั เชน่ สวทช. สำ� นกั งานเกษตรจงั หวดั หรอื กรมปศสุ ตั ว์ ซงึ่ เป็นหนว่ ยงาน ทีด่ ูแลและใกล้ชิดกับเกษตรกรมากกว่า การบูรณาการความร่วมมือจะช่วยท�ำให้กลุ่มเกษตรกร เป้ าหมายเข้าถึงและน�ำองค์ความรู้จากการวิจัยไปใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และจะช่วยลด ต้นทุนการวิจัยและการทำ� งานทีซ่ ำ�้ ซอ้ นระหว่างหนว่ ยงานภาครัฐและมหาวิทยาลยั 10) ควรมีการศึกษาวิจัยระบบพัฒนามหาวิทยาลัยในลักษณะการเปรียบเทียบ (Benchmarking) เพอื่ หาตวั อยา่ งการปฏบิ ตั ทิ มี่ ปี ระสทิ ธผิ ล หาชอ่ งวา่ งสมรรถนะระหวา่ งองคก์ ร วจิ ยั ของรฐั และหาตวั ชวี้ ดั ทดี่ ใี นดา้ นตา่ งๆ โดยใหม้ กี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกนั เพอื่ ปิ ดชอ่ งวา่ ง ทางความรแู้ ละการจัดการของแต่ละองคก์ ร 11) การสร้างเวทีแลกเปลีย่ นความรู้ เช่น จัดงานประกวดผลงานทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยขี า้ มสาขา ซงึ่ เป็นโอกาสสำ� คญั ทที่ ำ� ใหผ้ ปู้ ระกอบการไดม้ โี อกาสเขา้ ถงึ นวตั กรรมใหม่ มีโอกาสแลกเปลีย่ นข้อมูลกับนักวิจัย ซึง่ จะท�ำให้การท�ำวิจัยเข้าเป้ าและมีประโยชน์ เห็นโอกาส ทางตลาดของผลิตภัณฑ์และโอกาสในการประยุกต์เทคโนโลยีขัน้ สูงได้ดีขึน้ นอกจากนี้ รัฐบาล ควรสนบั สนุนใหผ้ ชู้ นะเลศิ ในเวทรี ะดับชาตไิ ปประกวดในเวทีระดบั นานาชาติตอ่ ไป 12) การพัฒนาคุณภาพบุคลากรทัง้ ในด้านคุณวุฒิและประสิทธิภาพของหน่วยงาน ของรฐั ทรี่ องรบั มาตรฐานและการจดสทิ ธบิ ตั ร เพอื่ ใหก้ ารขอจดทะเบยี นและการรองรบั มาตรฐาน รวดเร็วขึน้ 33

รายงานการศึกษาโครงการวิจัยเพอื่ ประเมนิ ความคุ้มคา่ ของโครงการวิจัยและพฒั นา ภายใตส้ �ำ นักบริหารโครงการส่งเสริมการวจิ ยั ในอุดมศึกษาและพฒั นามหาวิทยาลยั วจิ ยั แห่งชาติ 2.4.2 ขอ้ เสนอแนะสำ�หรับมหาวิทยาลัย 1) ฝ่ายวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ขนาดใหญค่ วรมบี คุ ลากรวเิ คราะหค์ วามคมุ้ คา่ ของโครงการ วิจัยของมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้วิเคราะห์อาจจะให้ฝั งตัวอยู่ในศูนย์บ่มเพาะ อุทยานวิทยาศาสตร์ เพอื่ ใหโ้ ครงการวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั เลง็ เป้ าไดช้ ดั เจนมากขนึ้ และมขี อ้ มลู การตลาดภายในองคก์ ร มากขึน้ สามารถช่วยหาลูกค้าและเป็นข้อมูลส�ำคัญให้อาจารย์นักวิจัยน�ำไปขอต�ำแหน่งวิชาการ ด้านการวิจัยรับใช้สังคมและรับใช้อุตสาหกรรม เพราะสามารถแยกแยะต้นทุนผลประโยชน์ ให้เหน็ เป็นรปู ธรรม 2) สรา้ งแรงจงู ใจและสนบั สนนุ การวจิ ยั เพอื่ สรา้ งนวตั กรรมใหเ้ ทยี บเทา่ กบั การสนบั สนนุ การวิจัยเพือ่ การตพี มิ พ์ เชน่ ให้มีการไปนำ� เสนอผลงานในต่างประเทศ เป็นตน้ 3) ฝ่ายวิจัยของมหาวิทยาลัยของรัฐควรมีการจัดการความรู้ภายในเกีย่ วกับการวิจัย ตลอดจนใหเ้ กดิ การทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งนกั วทิ ยาศาสตรต์ า่ งสาขากนั และนกั การตลาด เพอื่ จะ ไดห้ า “ตัวรว่ มใหม่” ของงานวิจัยสาขาตา่ งๆ ซึง่ อาจท�ำให้มกี ารบูรณาการข้ามสาขาได้ เกิดการ ผสานพลงั ภายใน อาจจะทำ� ใหม้ ผี ลผลติ ใหม่ เชน่ การใชห้ นุ่ ยนตห์ รอื การใชค้ วามรจู้ ากวศิ วกรรม โทรคมนาคมเพื่อหาวิธีวัดวัดความอ่อนแก่ของทุเรียน ซึ่งในปั จจุบันการพัฒนาผลผลิตวิจัย สว่ นใหญย่ งั อยใู่ นสาขาและหว่ งโซอ่ ปุ ทาน (Supply chain) เดยี วกนั เชน่ เกษตรและอตุ สาหกรรม เกษตร เป็นต้น นอกจากนี้ ควรมีการมองอนาคต (Foresight) และติดตามสถานการณ์ การเปลีย่ นแปลงดา้ นเทคโนโลยีอย่างสม�ำ่ เสมอ 4) จัดโครงสร้างการวิจัยภายในมหาวิทยาลัยเป็ นกลุ่มทีม่ ีโครงสร้างทีย่ ืดหยุ่น มีการก่อตัง้ และยบุ รวมง่าย รวมถึงสนับสนนุ การวจิ ัยข้ามมหาวิทยาลยั ทัง้ นีต้ ้องใหค้ วามส�ำคญั กับการจัดสรรผลประโยชนท์ ัง้ ด้านงบวจิ ัยและวิชาการ โดยใหข้ ึน้ อยู่กับผลงานเป็นหลกั 5) มหาวิทยาลัยควรท�ำยุทธศาสตร์การวิจัยระยะยาวของตน เพือ่ หาจุดแข็งจุดอ่อน ศักยภาพ และ Critical mass ของกลุ่มวิจยั ของตนเอง เพอื่ สามารถใหก้ ารสนบั สนนุ ในเบือ้ งตน้ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล และใหม้ กี ารวางแผนพฒั นาระยะยาวสำ� หรบั โปรแกรมวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ทีม่ ศี ักยภาพ 6) มหาวทิ ยาลยั ควรสร้างโอกาสใหน้ ักวจิ ยั และภาคเอกชนมโี อกาสพบกนั และหารือ ถงึ ความเป็นไปไดข้ องเทคโนโลยแี ละผลติ ภณั ฑ์ โดยเฉพาะการประกวดงานวจิ ยั ทงั้ นอี้ าจทำ� เป็น กลมุ่ มหาวทิ ยาลยั หรอื กลมุ่ สาขาวชิ าขา้ มมหาวทิ ยาลยั การประกวดผลงาน/โครงการวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีนับเป็นเวทีส�ำคัญของหลายโครงการทีศ่ ึกษา ทีท่ �ำให้การพบปะนักอุตสาหกรรม ทำ� ให้สามารถต่อยอดผลงานเชิงพาณชิ ย์ได้ 7) มหาวทิ ยาลยั ควรกระตนุ้ ใหค้ ณะอนื่ ๆ ทมี่ นี วตั กรรมเพอื่ อตุ สาหกรรมนอกเหนอื จาก คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ยืน่ เรือ่ งตอ่ สวทช. และกรมสรรพากร เพอื่ ให้เอกชนทีร่ ว่ มวจิ ัยสามารถ ลดหย่อนภาษีส�ำหรบั กิจกรรม R&D ได้ 3 เท่าของค่าใชจ้ า่ ย 8) การไปสู่นวัตกรรม 4.0 โดยมีมหาวิทยาลัยเป็นผู้น�ำ จะเป็นไปได้ต้องมีโครงการ บณั ฑติ ศกึ ษาทเี่ ขม้ แขง็ เนน้ การวจิ ยั มใิ ชก่ ารขายปรญิ ญา จงึ ควรยบุ เลกิ โครงการพเิ ศษทมี่ จี ำ� นวน มากเกินควร เพอื่ ให้อาจารยม์ เี วลาวจิ ยั มากขึน้ 34

รายงานการศกึ ษาโครงการวิจยั เพื่อประเมนิ ความค้มุ ค่าของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใตส้ �ำ นกั บรหิ ารโครงการสง่ เสรมิ การวิจัยในอดุ มศกึ ษาและพฒั นามหาวิทยาลัยวจิ ยั แหง่ ชาติ บรรณานกุ รม มิง่ สรรพ์ ขาวสอาด, บรรณาธิการ. 2559. รายงานการศกึ ษาความคมุ้ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ ของ การลงทนุ ของรฐั ในการวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี กรุงเทพฯ: โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สานกั งานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหง่ ชาต.ิ 2559. ดชั นี วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องประเทศไทย ปี 2558. กรงุ เทพมหานคร: พรนิ ้ ท์ ซติ ิ ้ จำ� กัด. อรชส นภสนิ ธวุ งศ.์ 2553. คำ� ถามสำ� คญั ทางเศรษฐศาสตรท์ นี่ กั ปรบั ปรงุ พนั ธไ์ุ มค่ วรมองขา้ ม. กรงุ เทพฯ : คลังสมองของชาติ. Ewalt, D. 2016. The Reuters Top 75: A list of Asia’s most innovative universities. Available: http://www.reuters.com/article/asiapac–reuters–ranking–innovative– unive–idUSL1N1BA15E (December 09, 2016.) Klevorick, Alvin K., Levin, Richard C., Nelson, R. and Winter, S. 1995. On the sources and significance of interindustry differences in technological opportunities. Research Policy. 24(2): 185-205. Mowery, David C. and Oxley, J. 1995. Inward Technology Transfer and Competitiveness: The Role of National Innovation Systems. Cambridge Journal of Economics. 19(1): 67-93. Nelson, R. and Rosenberg, N. 1994. American universities and technical advance in industry. Research Policy. 23, 3: 323–348. Salter, A. J. and Martin, B. R. 2001. The economic benefits of publicly funded basic research: a critical review. Research Policy. (30): 509–532. Times Higher Education. 2016. Asia University Rankings 2016. Available: https://www. timeshighereducation.com/world–university–rankings/2016/regional–rank- inghttps://www.timeshighereducation.com/world–university–rankings/2016/ regional–ranking (December 09, 2016.) Times Higher Education. 2016. World University Rankings 2015–2016. Available: https:// www.timeshighereducation.com/world–university–rankings/ 2016/world–rank- ing#!/page/0/ length/ 25/sort_by/rank_label /sort_order/asc/ cols/ rank_only. (December 09, 2016.) 35

รายงานการศกึ ษาโครงการวิจัยเพ่อื ประเมินความคุ้มค่าของโครงการวจิ ัยและพฒั นา ภายใตส้ ำ�นกั บริหารโครงการสง่ เสรมิ การวิจัยในอดุ มศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลยั วจิ ยั แหง่ ชาติ 3 สรุปผลการวิเคราะห์ (รายโครงการ) 3.1 ชดุ โครงการพฒั นาดเี อน็ เอตรวจสอบ (DNA probe) และใชเ้ ทคนคิ Polymerase Chain Reaction (PCR) ในการตรวจไวรัสหัวเหลือง ไวรัสตัวแดงดวงขาว และ ไวรสั ที่ท�ำใหเ้ กดิ โรคกุ้งแคระในกงุ้ กลุ าดำ� หวั หนา้ โครงการวจิ ยั : ศ.ดร.วชิ ยั บุญแสง หนว่ ยวิจัยเพ่ือความเปน็ เลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล ผู้วเิ คราะหค์ วามค้มุ ค่าเชงิ เศรษฐกจิ : นายณัฐพล อนันต์ธนสาร มลู นิธสิ ถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ อุตสาหกรรมกุ้งไทยเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมทีส่ ร้างรายได้ให้กับประเทศอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2543 ประเทศไทยส่งออกกุ้งกุลาด�ำมากทีส่ ุดในโลก มีมูลค่าสูงถึง 1.08 แสนล้านบาท แมใ้ นปั จจบุ นั เกษตรกรผเู้ ลยี้ งกงุ้ สว่ นใหญจ่ ะเปลยี่ นจากการเลยี้ งกงุ้ กลุ าดำ� มาเลยี้ งกงุ้ ขาวแวนนาไม แตผ่ ลผลติ กุ้งในแตล่ ะปี ยงั คงสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง จนในปี พ.ศ. 2552 ผลผลติ กุ้งไทยมีมากเป็น อนั ดบั 1 ของโลก ประมาณ 6 แสนตนั มมี ลู คา่ การสง่ ออกประมาณ 1 แสนลา้ นบาท หลงั จากนนั้ ไดเ้ กดิ การระบาดของโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome: EMS) ในปี พ.ศ. 2555 ทำ� ให้ เกิดความเสียหายต่ออุตสาหกรรมกุ้งไทยอย่างมากในปี พ.ศ. 2556 ส่งผลให้ผลผลิตกุ้งลดลง ประมาณร้อยละ 50 จากผลผลิตในปี ก่อน ชุดโครงการพัฒนาดีเอ็นเอตรวจสอบ (DNA probe) และใช้เทคนิค Polymerase Chain Reaction (PCR) ในการตรวจไวรัสหัวเหลือง ไวรสั ตัวแดงดวงขาว และไวรสั ทที่ ำ� ใหเ้ กิด โรคกุ้งแคระในกุ้งกุลาด�ำ เป็นครัง้ แรกในประเทศไทยทีม่ ีการศึกษาในระดับยีน (Gene) ของกุ้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ป้ องกันและลดความรุนแรงของโรคระบาดทีเ่ กิดในกุ้ง โดยใช้เทคนิคการ เพมิ่ ปรมิ าณ DNA ของเชอื้ ไวรสั ทีก่ อ่ ใหเ้ กิดโรคกงุ้ ท�ำให้การตรวจโรคในกุง้ เป็นไปอย่างถูกตอ้ ง แม่นย�ำ และรวดเร็ว ท�ำให้รู้สาเหตุของโรค และวิธีการป้ องกันทีถ่ ูกต้อง จนสามารถลดความ สญู เสยี ทจี่ ะเกดิ ในอตุ สาหกรรมกงุ้ ไดอ้ ยา่ งมหาศาล ทงั้ ตอนเกดิ โรคหวั เหลอื งและตวั แดงดวงขาว ในปี พ.ศ. 2536 จนถงึ โรค EMS และโรค EHP (Enterocytozoon hepatopenaei) ในปี พ.ศ. 2555 โดยใช้การตรวจโรคพ่อแม่พันธุ์และลูกกุ้ง อาหาร น�้ำ และดินในบ่อทีใ่ ช้เลีย้ งกุ้ง จึงท�ำให้กุ้ง มีโอกาสตดิ โรคลดลง การวเิ คราะหผ์ ลความคมุ้ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ ของชดุ โครงการฯ ไดใ้ ชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis: CBA) โดยกำ� หนดระยะเวลาวเิ คราะหผ์ ลประโยชน์ 34 ปี (พ.ศ. 2537–2570) ใชอ้ ตั ราคดิ ลดรอ้ ยละ 7 และกำ� หนดให้ พ.ศ. 2558 เป็นปี ฐานในการ ค�ำนวณ โดยชุดโครงการ PCR มีมูลค่าปั จจุบันสุทธิเท่ากับ 47,015 ล้านบาท อัตราส่วนของ 36

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ัยเพือ่ ประเมินความคุม้ ค่าของโครงการวิจยั และพฒั นา ภายใต้ส�ำ นกั บริหารโครงการส่งเสริมการวจิ ัยในอดุ มศึกษาและพัฒนามหาวทิ ยาลัยวจิ ยั แหง่ ชาติ ผลประโยชน์ตอ่ ต้นทุน (B/C ratio) เท่ากับ 1,199 ในการวเิ คราะหค์ วามอ่อนไหวในรายการทีม่ ี ผลกระทบมากทสี่ ดุ เชน่ อตั ราการรอดชวี ติ เมอื่ มกี ารตรวจโรค กำ� ไรของเกษตรกร และกำ� ไรหอ้ งเยน็ พบว่า การเปลีย่ นแปลงตัวแปรส่งผลให้มูลค่าปั จจุบันสุทธิ (NPV) ของชุดโครงการฯ มีค่าอยู่ ระหวา่ ง 47,015–75,708 ลา้ นบาท อัตราส่วนของผลประโยชนต์ อ่ ต้นทุน (B/C ratio) มีช่วงอยู่ ระหว่าง 1,199–1,930 โดยการลดลงของก�ำไรของเกษตรกรมีผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลง ผลประโยชน์ของโครงการมากทีส่ ุด ชุดโครงการพัฒนาดีเอ็นเอตรวจสอบ (DNA probe) และใช้เทคนิค Polymerase Chain Reaction (PCR) ในการตรวจไวรสั หวั เหลอื ง ไวรสั ตวั แดงดวงขาว และไวรสั ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ โรค ก้งุ แคระในกงุ้ กุลาดำ� เป็นตัวอย่างของการทำ� งานวจิ ยั ในเชงิ พนื้ ฐานทตี่ อ่ เนอื่ ง จนสามารถน�ำมา พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ทีม่ ีประสิทธิภาพมากขึน้ และเป็นรากฐานส�ำคัญของการวิจัยในด้านการ ตรวจโรคกงุ้ มาจนถงึ ปั จจุบัน 3.2 ชดุ โครงการพฒั นาวธิ ตี รวจแบบแถบสี (Strip test) สำ� หรบั ตรวจการตดิ เชอ้ื ในกงุ้ หวั หน้าโครงการวิจัย: ศ.ดร.ไพศาล สทิ ธกิ รกุล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ผูว้ เิ คราะหค์ วามคมุ้ ค่าเชิงเศรษฐกิจ: นายณฐั พล อนนั ต์ธนสาร มลู นิธิสถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ ชดุ โครงการพฒั นาวธิ ตี รวจแบบแถบสี (Strip test) สำ� หรบั ตรวจการตดิ เชอื้ ในกงุ้ พฒั นาขนึ้ มาในปี พ.ศ. 2543 โดยนักวิจัยของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จนในปั จจุบันสามารถพัฒนาการ ตรวจโรคไวรัสโรคตัวแดงดวงขาวและไวรัสโรคหัวเหลืองให้ใช้งานในฟาร์มได้สะดวก ราคาถูก และเกษตรกรตรวจได้ด้วยตัวเอง โดยมีจุดเด่นอยู่ทีก่ ารพัฒนาให้สามารถใช้ในแบบเดียวกับชุด ทดสอบการตัง้ ครรภ์ ทราบผลการตรวจภายใน 5 นาที ท�ำให้เกษตรกรสามารถติดตามและ ตรวจสอบการติดเชือ้ ในกุ้งทีเ่ ลีย้ งได้ง่ายขึ้น ซึ่งช่วยลดโอกาสทีจ่ ะเกิดความสูญเสียจากการ ติดโรคของก้งุ รปู ท่ี 3.1 ชดุ ตรวจโรคแบบแถบสี (Strip test) สำ�หรับตรวจการตดิ เชื้อในกุง้ และรูปแบบผลิตภณั ฑ์ท่บี ริษัทมารนี ลดี เดอร์ จดั จ�ำ หนา่ ย 37

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพือ่ ประเมินความคุ้มค่าของโครงการวิจยั และพฒั นา ภายใต้ส�ำ นกั บริหารโครงการส่งเสรมิ การวจิ ยั ในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจยั แหง่ ชาติ การวิเคราะห์ผลความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจของชุดโครงการฯ ได้ใช้วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนและ ผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis: CBA) ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ผลประโยชน์ 15 ปี โดยชุดโครงการ Strip test ให้ผลตอบแทนเท่ากับ 354 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วน ผลประโยชน์ต่อทุน 7.79 ส่วนการวิเคราะห์ความอ่อนไหวต่อการเปลีย่ นแปลงในรายการทีม่ ี ผลกระทบมากทีส่ ุด เช่น จ�ำนวนครัง้ ทีต่ รวจโรค ก�ำไรของเกษตรกร และก�ำไรห้องเย็น พบว่า ชว่ งการเปลยี่ นแปลงตำ�่ สดุ และสงู สดุ ของมลู คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ (NPV) มคี า่ อยรู่ ะหวา่ ง 157–712 ลา้ นบาท อตั ราสว่ นของผลประโยชนต์ อ่ ตน้ ทนุ (B/C ratio) มชี ว่ งอยรู่ ะหวา่ ง 3.00–13.63 สามารถสรปุ ไดว้ า่ ชุดโครงการฯ มีความคุ้มคา่ อยา่ งแน่นอน ชุดโครงการพัฒนาวิธีตรวจแบบแถบสี (Strip test) ส�ำหรับตรวจการติดเชือ้ ในกุ้ง เป็นตัวอย่างโครงการทีไ่ ด้น�ำเอาองค์ความรู้ทีไ่ ด้จากงานวิจัยพืน้ ฐานมาพัฒนาเพือ่ ให้เกิดการ ต่อยอดและพัฒนาเทคโนโลยี ท�ำให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ทีม่ ีประสิทธิภาพ และต้นทุนต�่ำลง แสดงให้เห็นว่าการให้ทุนวิจัยอย่างต่อเนือ่ งกับคณะวิจัยเดิม จะก่อให้เกิดคลังความรู้ทีส่ ามารถ น�ำมาตอ่ ยอดในโครงการวจิ ยั ขัน้ สงู ได้ 3.3 ชดุ โครงการการพฒั นาเทคนคิ Loop–mediated isothermal amplification (LAMP) เพ่อื การตรวจโรคไวรัสในกุ้ง ผวู้ ิจัย: นางวรรณสิกา เกยี รติปฐมชยั ศนู ย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยชี ีวภาพ สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ผ้วู ิเคราะห์ความคุม้ คา่ เชิงเศรษฐกิจ: นายณฐั พล อนนั ตธ์ นสาร มลู นธิ สิ ถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ ชดุ โครงการการพฒั นาเทคนคิ Loop–mediated isothermal amplification (LAMP) เพอื่ การ ตรวจโรคไวรสั ในกุ้ง เป็นชดุ โครงการทีด่ �ำเนนิ การระหว่างปี พ.ศ. 2550–2556 ได้มกี ารพัฒนา การตรวจโรคแบบใหม่ขึน้ ซึ่งมีความแม่นย�ำเทียบเท่ากับการตรวจด้วยวิธี PCR แต่ใช้เวลา การตรวจน้อยกว่าประมาณ 4 เท่า และเกษตรกรสามารถตรวจได้ด้วยตัวเอง นอกจากนัน้ ยังเป็นการลดตน้ ทุนในการซือ้ เครือ่ งตรวจ PCR ทีม่ รี าคาแพงกว่าของเครือ่ งตรวจ LAMP ของ ชุดโครงการถงึ 3 เทา่ การวเิ คราะหผ์ ลความคมุ้ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ ของชดุ โครงการฯ ไดใ้ ชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis: CBA) ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหช์ ุดโครงการฯ เป็นระยะเวลาโครงการทีท่ �ำการวิจยั (พ.ศ. 2550–2556) รวมกบั ระยะเวลาทีน่ �ำเอาเทคโนโลยี ไปใชอ้ กี 15 ปี จากการวเิ คราะห์ พบวา่ ชดุ โครงการฯ มมี ลู คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ (NPV) เทา่ กบั 1,795 ล้านบาท คิดเป็นอตั ราสว่ นผลประโยชน์ต่อทุน (B/C ratio) เท่ากับ 232.67 สว่ นการวเิ คราะห์ ความออ่ นไหวตอ่ การเปลยี่ นแปลงในรายการทมี่ ผี ลกระทบมากทสี่ ดุ เชน่ จำ� นวนครงั้ ทตี่ รวจโรค อตั ราการรอดชวี ติ เมอื่ มกี ารตรวจโรค กำ� ไรของเกษตรกร และกำ� ไรหอ้ งเยน็ พบวา่ ชว่ งการเปลยี่ นแปลง 38

รายงานการศึกษาโครงการวจิ ัยเพื่อประเมนิ ความคุ้มค่าของโครงการวจิ ยั และพฒั นา ภายใต้ส�ำ นกั บริหารโครงการส่งเสริมการวจิ ยั ในอุดมศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวิจัยแหง่ ชาติ ตำ�่ สดุ และสงู สดุ ของมลู คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ (NPV) มคี า่ อยรู่ ะหวา่ ง 899–3,377 ลา้ นบาท อตั ราสว่ น ของผลประโยชน์ต่อตน้ ทนุ (B/C ratio) มชี ว่ งอยรู่ ะหว่าง 116–436 โดยภาพรวมสามารถสรปุ ได้วา่ ชดุ โครงการฯ มีความคมุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ รูปที่ 3.2 เครื่องวดั ความขนุ่ ในการตรวจโรคกุ้งดว้ ยเทคนิค LAMP และสอ่ื โฆษณาของบริษทั โมบลิ สิ ออโตมาต้า จำ�กดั ทีเ่ ป็นผซู้ อ้ื สทิ ธบิ ตั รเทคโนโลยี ชดุ โครงการการพฒั นาเทคนคิ Loop–mediated isothermal amplification (LAMP) เพอื่ การตรวจ โรคไวรัสในกุ้ง เป็ นตัวอย่างชุดโครงการทีเ่ กิดจากการน�ำองค์ความรู้ทีไ่ ด้รับจากงานวิจัย พืน้ ฐาน (Basic research) มาต่อยอดให้เกิดเทคโนโลยีทีม่ ีความทันสมัยมากขึ้น และมี ราคาต�่ำลง ดังนัน้ รัฐควรสนับสนุนงานวิจัยเชิงพืน้ ฐานมากขึน้ เพือ่ ให้สามารถน�ำไปต่อยอด ในโครงการวิจยั ขัน้ สงู ในอนาคตต่อไป 3.4 หนว่ ยวิจัยเพ่อื ความเปน็ เลศิ เทคโนโลยชี ีวภาพกงุ้ (Centex Shrimp) ผ้อู ำ� นวยการหน่วยวิจัย: ศ.ดร.ทิมโมที วิลเลียม เฟลเกล (Prof.Dr.Timothy William Flegel) หนว่ ยวจิ ัยเพ่ือความเปน็ เลศิ เทคโนโลยชี ีวภาพกงุ้ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล ผวู้ ิเคราะหค์ วามคมุ้ คา่ เชิงเศรษฐกจิ : นายณัฐพล อนนั ต์ธนสาร มูลนธิ ิสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2544 นักวิจัยในชุดโครงการ PCR ได้ร่วมกันก่อตัง้ หน่วยวิจัยเพือ่ ความเป็นเลิศ เทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง (Center of Excellence for Shrimp Molecular Biology and Biotechnology: Centex Shrimp) ขนึ้ ซงึ่ ไดน้ ำ� งานวจิ ยั ทางอณชู วี วทิ ยา (Molecular biology)  และเทคโนโลยชี วี ภาพ (Biotechnology) มาใชพ้ ฒั นาวธิ กี ารเพาะเลยี้ งกงุ้ ทำ� ใหไ้ ดก้ งุ้ ทมี่ คี ณุ ภาพสงู และมคี ุณคา่ ทางโภชนาการ 39

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพือ่ ประเมนิ ความคุม้ ค่าของโครงการวจิ ยั และพัฒนา ภายใตส้ ำ�นักบรหิ ารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอดุ มศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลยั วิจัยแหง่ ชาติ การวิเคราะห์ผลความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจของหน่วยวิจัยฯ ได้ใช้วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนและ ผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis: CBA) โดยก�ำหนดระยะเวลาวิเคราะห์ผลประโยชน์ 27 ปี (พ.ศ. 2544–2570) ใช้อัตราคิดลดร้อยละ 7 และก�ำหนดให้ พ.ศ. 2558 เป็นปี ฐาน ในการค�ำนวณ โดยชุดโครงการ Centex shrimp ซึ่งค�ำนวณผลประโยชน์จากร้อยละ 50 ของผลประโยชน์ทีเ่ กิดขึน้ จากชุดโครงการ PCR (กรณีศึกษาที่ 1) ชุดโครงการ Strip test (กรณีศึกษาที่ 2) และชดุ โครงการ LAMP (กรณีศกึ ษาที่ 3) มีมูลค่าปั จจบุ นั สุทธิเท่ากบั 48,984 ลา้ นบาท เป็นอัตราส่วนของผลประโยชน์ตอ่ ต้นทนุ (B/C ratio) เทา่ กบั 176.36 สว่ นวเิ คราะห์ ความอ่อนไหวของโครงการโดยการปรับลดส่วนแบ่งผลประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากโครงการ 3 พบว่า มีมูลค่าปั จจบุ ันสุทธิอย่รู ะหวา่ ง 9,573–48,984 ล้านบาท อตั ราสว่ นของผลประโยชน์ต่อต้นทนุ มีช่วงอยู่ระหว่าง 35.27–176.36 โดยไม่ได้ค�ำนวณผลประโยชน์อืน่ ๆ ของหน่วยวิจัยฯ เช่น การผลติ นกั ศกึ ษา การตีพมิ พผ์ ลงานวิชาการ เป็นตน้ รูปท่ี 3.3 คณะนักวิจัยท่ีร่วมกันก่อตั้งหน่วยวิจัยเพ่ือความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง (Centex Shrimp) 3 ท่าน คือ ศ.ดร.นพ.บญุ เสริม วทิ ยช�ำ นาญกุล (ซา้ ย) ศ.ดร.ทิมโมที วลิ เลียม เฟลเกล (กลาง) และ ศ.ดร.วิชัย บญุ แสง (ขวา) หน่วยวิจัยเพือ่ ความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง หรือ Centex Shrimp เป็นตัวอย่างของการ ท�ำงานวิจัยในเชิงพืน้ ฐานทีต่ ่อเนื่อง มีการน�ำองค์ความรู้ทีไ่ ด้จากงานวิจัยในอดีตมาต่อยอด เพอื่ พฒั นาเทคโนโลยีใหมท่ ีม่ ปี ระสิทธภิ าพมากขึน้ อีกทัง้ ยังเป็นแกนกลางหรือคลังสะสมความรู้ และเป็นแหล่งอ้างอิงเกีย่ วกับโรคกุ้งทีส่ �ำคัญของไทย ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการวิจัยในเชิงพืน้ ฐาน มสี ว่ นสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาในโครงการตา่ งๆ ในอนาคต ดงั นนั้ ควรมกี ารใหใ้ นลกั ษณะโปรแกรมวจิ ยั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และยงั ตอ้ งใหม้ กี ารวจิ ยั ในเชงิ พนื้ ฐานเพอื่ ใหส้ ามารถนำ� ไปตอ่ ยอดในโครงการวจิ ยั ขนั้ สูงในอนาคต 40

รายงานการศกึ ษาโครงการวิจยั เพือ่ ประเมนิ ความคุม้ ค่าของโครงการวจิ ยั และพฒั นา ภายใต้ส�ำ นักบรหิ ารโครงการสง่ เสรมิ การวจิ ยั ในอดุ มศึกษาและพฒั นามหาวิทยาลัยวจิ ยั แหง่ ชาติ 3.5 โครงการพฒั นาระบบการสรา้ งอาชพี การเลย้ี งไกป่ ระดหู่ างดำ� สมู่ าตรฐานฟารม์ และ โอกาสทางการตลาดอยา่ งย่งั ยนื ผูป้ ระสานงานโครงการ: รศ.ดร.ศริ พิ ร กริ ติการกลุ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั แม่โจ้ ผวู้ เิ คราะห์ความค้มุ คา่ เชิงเศรษฐกิจ: นายอรรถพนั ธ์ สารวงศ์ มูลนิธิสถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ โครงการพฒั นาระบบการสรา้ งอาชพี การเลยี้ งไกป่ ระดหู่ างดำ� สมู่ าตรฐานฟารม์ และโอกาสทางการ ตลาดอย่างยัง่ ยืน ได้รับงบประมาณสนับสนุนการด�ำเนินงานจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวจิ ัย (สกว.) มีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ สร้างอาชีพการเลีย้ งไก่ประดู่หางดำ� ให้กบั เกษตรกรรายยอ่ ย ในพืน้ ทีภ่ าคเหนือ ความโดดเด่นของโครงการฯ คือ การเน้นกระบวนการจัดการและเชือ่ มโยง องค์ความรู้ด้านการผลิตและพัฒนาระบบการเลีย้ งไก่ประดู่หางด�ำทีม่ ีประสิทธิภาพโดยอาศัย องค์ความรู้พืน้ ฐานทีเ่ กิดจากการวิจัยและพัฒนาโดยกรมปศุสัตว์และ สกว. เพือ่ สร้างทางเลือก แบบจ�ำลองทางธุรกิจ (Business model) ทีเ่ หมาะสมกับทรัพยากรของเกษตรกรรายย่อยและ บริบทของชุมชนท้องถิน่ รวมถึงการขยายโอกาสทางการตลาด อันจะเป็นแนวทางในการสร้าง อาชพี การเลยี้ งไกป่ ระดหู่ างดำ� ใหก้ บั เกษตรกรรายยอ่ ยไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื การดำ� เนนิ งานของโครงการฯ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ เรมิ่ ดำ� เนนิ การตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2555 ตอ่ เนอื่ งมาจนถึงปั จจบุ ัน (พ.ศ. 2560) โดยโครงการฯ ได้ส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยเลีย้ งไก่ประดู่หางด�ำพันธุ์แท้ทีพ่ ัฒนาสายพันธ์ุ โดยกรมปศสุ ตั ว์ รวมถงึ การสง่ เสรมิ องคค์ วามรใู้ นการพฒั นาระบบการผลติ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพทเี่ นน้ การจดั การสายพนั ธุ์ การจดั การพชื อาหารในทอ้ งถนิ่ เพอื่ ลดตน้ ทนุ การใชอ้ าหารสำ� เรจ็ รปู การสรา้ ง มาตรฐานฟารม์ เพอื่ สง่ เสรมิ การผลติ ทถี่ กู สขุ ลกั ษณะและปลอดภยั การสนบั สนนุ การสรา้ งโรงฆา่ สัตว์ปี กชุมชนเพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ในกระบวนการผลิตและแปรรูปทีม่ ีมาตรฐานและปลอดภัย การสง่ เสรมิ การแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ากไกป่ ระดหู่ างดำ� เพอื่ สรา้ งมลู คา่ เพมิ่ รวมถงึ การทำ� การตลาด ร่วมกันภายใตต้ ราสนิ คา้ “นิลล้านนา” ทำ� ใหส้ ามารถขยายชอ่ งทางจำ� หน่ายผลผลติ ไกพ่ ืน้ เมอื ง จากตลาดชมุ ชนสตู่ ลาดระดบั กลางและตลาดระดบั บนได้ ผลจากการดำ� เนนิ งานกอ่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ เชิงเศรษฐกิจทีส่ ำ� คญั คอื เกษตรกรรายยอ่ ยมกี ำ� ไรเพิม่ ขนึ้ การวิเคราะห์ผลความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจของโครงการฯ ได้ใช้วิธีการวิเคราะห์ต้นทุน และผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis: CBA) โดยก�ำหนดให้วิเคราะห์ผลประโยชน์รวม ระยะเวลา 15 ปี (พฤศจิกายน พ.ศ. 2555–ตลุ าคม พ.ศ. 2570) ใชอ้ ัตราคิดลดรอ้ ยละ 7 และ ก�ำหนดให้ พ.ศ. 2558 เป็นปี ฐานในการค�ำนวณ ผลการวิเคราะห์ความคุ้มค่า พบว่า มูลค่า ปั จจบุ นั สทุ ธขิ องผลประโยชน์ (NPV) เทา่ กบั 223.53 ล้านบาท อัตราสว่ นของผลประโยชนต์ ่อ ต้นทนุ (B/C ratio) เท่ากบั 11.75 หมายความวา่ ลงทุนวจิ ัย 1 บาท สามารถสรา้ งผลตอบแทน ทเี่ ป็นตวั เงนิ ไดถ้ งึ 11.75 บาท สว่ นการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหวตอ่ การเปลยี่ นแปลง พบวา่ ชว่ งการ เปลยี่ นแปลงตำ�่ สดุ และสงู สดุ ของมลู คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ (NPV) มคี า่ อยรู่ ะหวา่ ง 23.60–201.52 ลา้ นบาท อัตราส่วนของผลประโยชน์ต่อต้นทุน (B/C ratio) มีช่วงอยู่ระหว่าง 2.13–10.69 จากผลการ 41

รายงานการศึกษาโครงการวิจยั เพื่อประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการวจิ ยั และพฒั นา ภายใตส้ �ำ นกั บริหารโครงการสง่ เสรมิ การวิจยั ในอดุ มศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลัยวจิ ัยแหง่ ชาติ วิเคราะห์ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจ โดยภาพรวมสามารถสรุปได้ว่า โครงการพัฒนาระบบการ สร้างอาชีพการเลีย้ งไก่ประดู่หางด�ำสู่มาตรฐานฟาร์มและโอกาสทางการตลาดอย่างยั่งยืน มีความคุ้มค่าเชงิ เศรษฐกจิ นอกจากผลประโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกจิ แลว้ โครงการฯ ยงั ไดส้ รา้ งทนุ ทางสงั คม คอื การสรา้ ง เครือข่ายความร่วมมือในการเลีย้ งไก่ประดู่หางด�ำทีจ่ ะท�ำให้เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลีย่ น องค์ความรู้ระหว่างกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนือ่ ง อีกทัง้ ยังได้มีการผลักดันให้มีการจัดตัง้ สหกรณ์ เกษตรกรผเู้ ลยี้ งไกพ่ นื้ เมอื ง เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ดา้ นการผลติ แปรรปู และจดั จำ� หนา่ ยผลผลติ ไกป่ ระดหู่ างดำ� อยา่ งเป็นรปู ธรรม ซงึ่ จะทำ� ใหเ้ กษตรกรสามารถพงึ่ พาตนเองและสรา้ งรายไดจ้ าก อาชีพการเลีย้ งไกป่ ระดูห่ างด�ำได้อยา่ งยัง่ ยนื รูปที่ 3.4 การเลย้ี งไกป่ ระดหู่ างด�ำ แบบปล่อยตามธรรมชาติ (Free range) การศึกษานี้ แสดงให้เห็นว่าการจัดการองค์ความรู้มีความส�ำคัญ เพราะในปั จจุบันนีม้ ีงานวิจัย ด้านเกษตรอยู่เป็นจ�ำนวนมาก แต่หลายงานวิจัยไม่ได้ถูกน�ำมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ ท�ำให้ ยงั ไมส่ ามารถใชผ้ ลประโยชนจ์ ากองคค์ วามรทู้ สี่ รา้ งขนึ้ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ โครงการวจิ ยั นี้ จึงเป็ นอีกหนึ่งตัวอย่างของการวิจัยในลักษณะการจัดการองค์ความรู้จากการวิจัยเพื่อสร้าง แบบจ�ำลองธุรกิจทีเ่ หมาะสม ให้เกษตรกรรายย่อยเกิดทางเลือก และสามารถเลือกทางเลือกที่ เหมาะสมกับตนเองไปปฏิบัติ ซึง่ การให้ข้อมูลองค์ความรู้ในลักษณะการสร้างแบบจ�ำลองธุรกิจ จะท�ำให้เกษตรกรเข้าใจและมองเห็นภาพการด�ำเนินงาน ท�ำให้เกษตรกรสามารถน�ำไปปฏิบัติ ได้ง่าย สามารถด�ำเนินการจัดการเองได้ อีกทัง้ ยังท�ำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและการ เกือ้ หนุนกันระหว่างเกษตรกรและนักวิชาการ ท้ายทีส่ ุดจะท�ำให้องค์ความรู้จากการวิจัยฝั งตัว อยใู่ นชมุ ชน และเกดิ การกระจายขององคค์ วามรผู้ า่ นการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกนั ของเกษตรกร ซึง่ จะทำ� ให้มีเกษตรกรรายอืน่ ๆ ไดร้ ับประโยชน์จากแนวทางของโครงการฯ อีกเป็นจ�ำนวนมาก ผลจากการดำ� เนนิ งานของโครงการฯ ยงั ทำ� ใหเ้ กดิ การอนรุ กั ษพ์ นั ธไุ์ กพ่ นื้ เมอื งโดยอาศยั กลไกตลาด ทั้งนีห้ ากไก่ประดู่หางด�ำไม่สามารถน�ำมาผลิตในเชิงพาณิชย์ได้อย่างคุ้มค่า พันธุ์ไก่ประดู่หางด�ำอาจจะกลายพันธุ์และสูญหายไปได้ แต่ระบบตลาดและเครือข่ายเกษตรกร ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายใตโ้ ครงการฯ นี้ ทำ� ใหเ้ กดิ การอนรุ กั ษส์ ายพนั ธป์ุ ระดหู่ างดำ� ในระดบั ฟารม์ (In–situ 42

รายงานการศกึ ษาโครงการวิจัยเพ่อื ประเมินความคมุ้ คา่ ของโครงการวิจยั และพฒั นา ภายใตส้ �ำ นักบรหิ ารโครงการส่งเสริมการวจิ ัยในอุดมศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลยั วิจัยแห่งชาติ conservation) โดยธรรมชาติ ซึง่ เป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายในการอนุรักษ์สายพันธุ์โดยภาครัฐ และสรา้ งความหลากหลายทางชวี ภาพของไกไ่ ทย ซงึ่ นบั วนั จะเป็นการผลติ ในระดบั ตลาดขนาดใหญ่ (Mass market) โดยผผู้ ลติ รายใหญ่มากขึน้ ส�ำหรับผู้ให้ทุนวิจัย ควรส่งเสริมการวิจัยในลักษณะการจัดการและการต่อยอด องค์ความรู้ เพื่อให้องค์ความรู้ต่างๆ ทีม่ ีอยู่เป็นจ�ำนวนมากสามารถเป็นความรู้เชิงปฏิบัติ ทีน่ �ำไปสู่การลงทุนเชิงพาณิชย์ของกลุ่มเป้ าหมาย ซึง่ สอดคล้องกับกลยุทธ์การวิจัยของประเทศ ทีต่ ้องการพัฒนาองค์ความรู้และต่อยอดภูมิปั ญญาท้องถิน่ ให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และ สาธารณะ เพอื่ เป็นพืน้ ฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยัง่ ยนื 3.6 ชดุ โครงการจดั การเชงิ ระบบในการผลติ โคเนอ้ื ของกลมุ่ สหกรณ์โคขนุ ดอกคำ� ใต้ หวั หน้าโครงการวจิ ัย: รศ.ดร.โชค โสรัจกลุ คณะเกษตรศาสตรแ์ ละทรัพยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลยั พะเยา ผู้วเิ คราะหค์ วามคุ้มคา่ เชิงเศรษฐกิจ: นายอรรถพันธ์ สารวงศ์ มูลนิธิสถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ ชดุ โครงการจดั การเชงิ ระบบในการผลติ โคเนอื้ ของกลมุ่ สหกรณโ์ คขนุ ดอกคำ� ใต้ ไดร้ บั งบประมาณ สนับสนุนการด�ำเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐหลายแหล่งทุน มีวัตถุประสงค์เพือ่ แก้ปั ญหาเชิง พืน้ ที่ คือ การลดต้นทุนการผลิตโคขุนให้เกษตรกรในพืน้ ทีจ่ ังหวัดพะเยา เชียงราย แพร่ และ น่าน และลดการเผาเศษเหลือของข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในพืน้ ทีโ่ ล่งแจ้ง โดยการประยุกต์ใช้เศษ เหลอื ทงิ้ ทางการเกษตร เชน่ เปลอื กขา้ วโพด ฟั กทอง และมันสำ� ปะหลังตกเกรด นำ� มาผลิตเป็น อาหารหมักทีม่ ีคณุ คา่ ทางโภชนาการสงู ส�ำหรับเลีย้ งโคขุนแทนการใชอ้ าหารส�ำเร็จรปู นอกจาก จะช่วยลดต้นทุนให้เกษตรกรผู้เลีย้ งโคแล้ว ยังสร้างรายได้เสริมให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด และฟั กทอง และยงั สง่ ผลใหก้ ารเผาเปลอื กขา้ วโพดในพนื้ ทลี่ ดลง ลดการสรา้ งมลพษิ ทางอากาศ ซงึ่ เป็นปั ญหาส�ำคัญในพืน้ ทีอ่ กี ดว้ ย นอกจากนี ้ โครงการฯ ยังได้ต่อยอดการวิจัยไปสู่การจัดการ ผลิตโคเนือ้ เชิงระบบ โดยการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลิตโค วางแผนการผลิตร่วมกัน เพอื่ สรา้ งสมดลุ การผลติ รวมถงึ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการผลติ โค ผลจากการดำ� เนนิ งานกอ่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ทสี่ ำ� คญั คอื เกษตรกรผเู้ ลยี้ งโคมกี ำ� ไรเพมิ่ ขนึ้ เกษตรกรผปู้ ลกู ขา้ วโพดและ ฟั กทองมรี ายไดเ้ สรมิ เพมิ่ ขนึ้ และผลทางสงิ่ แวดลอ้ ม คอื ชว่ ยลดการสรา้ งกา๊ ซเรอื นกระจกอนั เป็น ผลมาจากการเผาเปลอื กข้าวโพดในพืน้ ทีโ่ ลง่ แจง้ ลดลง การวิเคราะห์ผลความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจของโครงการฯ ได้ใช้วิธีการวิเคราะห์ต้นทุน และผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis: CBA) ก�ำหนดให้วิเคราะห์ผลประโยชน์จาก 3 สถานการณ์ ไดแ้ ก่ 1) มีการผลติ อาหารหมกั จากเศษเหลอื ทางการเกษตรเท่านัน้ 2) มกี ารผลิต อาหารหมกั จดั ตงั้ โรงเชอื ดมาตรฐานและสหกรณฯ์ และ 3) มกี ารผลติ อาหารหมกั จดั ตงั้ โรงเชอื ด มาตรฐานและสหกรณฯ์ และการจัดการผลติ เชงิ ระบบ 43

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพือ่ ประเมินความคุ้มค่าของโครงการวิจัยและพัฒนา ภายใตส้ �ำ นกั บรหิ ารโครงการสง่ เสริมการวจิ ยั ในอุดมศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวจิ ยั แห่งชาติ โดยก�ำหนดให้แต่ละสถานการณ์วิเคราะห์ผลประโยชน์รวมระยะเวลา 15 ปี ใช้อัตราคิดลด ร้อยละ 7 และก�ำหนดให้ พ.ศ. 2558 เป็นปี ฐานในการค�ำนวณ ผลการวิเคราะห์ความคุ้มค่า ของสถานการณ์ที่ 1 สถานการณ์ที่ 2 และสถานการณ์ที่ 3 พบวา่ มีมูลคา่ ปั จจุบนั สทุ ธิ (NPV) เทา่ กบั 37.34 ลา้ นบาท 28.62 ลา้ นบาท และ 76.07 ลา้ นบาท ตามลำ� ดบั อตั ราสว่ นของผลประโยชน์ ต่อต้นทนุ (B/C ratio) เทา่ กบั 14.60 11.42 และ 15.86 ตามล�ำดบั หมายความว่า การลงทนุ วจิ ยั 1 บาท สามารถสรา้ งผลประโยชนไ์ ดถ้ งึ 11.42–15.86 บาท จากผลการวเิ คราะหค์ วามคมุ้ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ โดยภาพรวมสามารถสรปุ ไดว้ า่ ชดุ โครงการจดั การเชงิ ระบบในการผลติ โคเนอื้ ของ กลุ่มสหกรณโ์ คขุนดอกค�ำใต้ มคี วามคุ้มคา่ เชิงเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม จากการวิเคราะห์ผลประโยชน์ทีเ่ กิดในระยะสัน้ (ช่วงการด�ำเนินงาน 3 ปี แรก คอื พ.ศ. 2556–2558) พบวา่ มเี พยี งสถานการณท์ ี่ 1 คอื มเี ฉพาะการวจิ ยั อาหารหมกั เพือ่ ลดต้นทุนค่าอาหารเท่านัน้ ทีค่ ุ้มค่า ซึง่ ผลประโยชน์จากการลดต้นทุนโดยการใช้อาหารหมัก เป็นเพียงผลประโยชน์ส่วนหนึง่ เท่านัน้ ทีท่ �ำให้เกษตรกรมีก�ำไรเพิม่ ขึน้ แม้ว่าในสถานการณ์ที่ 2 และ 3 ทีม่ ีการจัดตัง้ โรงเชือดมาตรฐานในพืน้ ที่ รวมถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตเชิง ระบบ จะไมส่ ามารถสรา้ งผลประโยชนท์ คี่ มุ้ คา่ ภายในชว่ งระยะเวลา 3 ปี แรกของการดำ� เนนิ งานได้ แต่เมือ่ พิจารณาผลประโยชน์ในระยะยาวแล้วมีความคุ้มค่ามากกว่า เพราะผลการด�ำเนินงาน ครอบคลมุ ไดท้ งั้ หว่ งโซอ่ ปุ ทานการผลติ โคเนอื้ และทำ� ใหเ้ กษตรกรไดร้ บั ผลตอบแทนอยา่ งเตม็ เมด็ เต็มหนว่ ยมากขึน้ การศึกษานี้ ชีใ้ ห้เห็นว่ากระบวนการจัดการผลิตเชิงระบบให้ครอบคลุมตลอดห่วงโซ่ อปุ ทานของการผลติ โคเนอื้ มคี วามสำ� คญั เนอื่ งจากถา้ ขาดหว่ งโซใ่ ดหว่ งโซห่ นงึ่ แลว้ อาจจะทำ� ให้ ผลประโยชนท์ เี่ กดิ ขนึ้ ไมม่ ากพอทจี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื ในอาชพี การเลยี้ งโค ดงั นนั้ การจดั การ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและเชือ่ มโยงการผลิตโคทัง้ ระบบจะท�ำให้เกิดสมดุลในการผลิต มากขนึ้ และทำ� ใหเ้ กษตรกรมรี ายไดท้ นี่ า่ พอใจ นำ� ไปสคู่ วามยงั่ ยนื ในอาชพี การเลยี้ งโคในอนาคต นอกจากผลประโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกจิ แลว้ โครงการฯ ยงั ไดส้ รา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ในการผลติ โคเนือ้ คณุ ภาพ ซงึ่ การวจิ ัยได้อาศยั ความรว่ มมือของหลายฝ่ายทัง้ กลมุ่ นกั วิจัยของมหาวทิ ยาลยั พะเยา นักวิจัยศูนย์วิจัยและบ�ำรุงพันธุ์สัตว์พะเยา กรมปศุสัตว์ และกลุ่มเกษตรกร อีกทัง้ ยังมี ภาคสว่ นตา่ งๆ เขา้ มาร่วมสนบั สนุน คอื 1) กลมุ่ จงั หวัดภาคเหนอื ตอนบน 2 ทีส่ นบั สนุนเงินทุน เพือ่ จัดตัง้ โรงเชือดมาตรฐาน และ 2) ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ทีเ่ ป็นแหล่งทุนส�ำคัญทีส่ นับสนุนเงินทุนหมุนเวียนดอกเบีย้ ต�่ำให้กับกลุ่มเกษตรกร เครือข่าย ความร่วมมือเหล่านี้ ต่างมีบทบาทส�ำคัญทีเ่ ข้ามาเติมเต็มและผลักดันให้เกิดการด�ำเนินงานทีม่ ี ประสทิ ธภิ าพตลอดหว่ งโซก่ ารผลิต เกิดประโยชนต์ ่อเกษตรกร อยา่ งไรกต็ าม การวจิ ยั ระบบการผลติ เชงิ ระบบในโครงการฯ ยงั อยใู่ นระยะเรมิ่ แรก คอื เนน้ ปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ ตน้ นำ�้ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ การวจิ ยั ในระยะถดั ไปของชดุ โครงการฯ ได้เน้นการวิจัยด้านการตลาดมากขึ้น โดยมี 2 ประเด็นส�ำคัญเพื่อน�ำไปสู่การขยายตลาด ในอนาคต คือ 1) การพัฒนาการผลิตให้ได้คุณภาพหรือเกรดเนือ้ ให้ได้มาตรฐานตามทีต่ ลาด ตอ้ งการ เนอื่ งจากในปั จจบุ นั เกษตรกรรายยอ่ ยยงั มกี ารผลติ ตามวธิ กี ารและขอ้ จำ� กดั ของตนเอง ยงั ไมม่ มี าตรฐานรว่ มในการผลติ ทำ� ใหค้ ณุ ภาพเนอื้ ทไี่ ดม้ คี วามแตกตา่ งกนั ซงึ่ อาจจะเป็นอปุ สรรค ดา้ นการตลาดและจดั จำ� หนา่ ยในตลาดระดบั สงู และ 2) การสรา้ งมาตรฐานฟารม์ เพอื่ สรา้ งความ เชือ่ มนั่ ต่อผบู้ รโิ ภคจากการผลติ ทีม่ คี วามปลอดภัย 44

รายงานการศึกษาโครงการวจิ ยั เพอ่ื ประเมนิ ความค้มุ ค่าของโครงการวิจัยและพฒั นา ภายใต้สาำ นกั บรหิ ารโครงการส่งเสรมิ การวจิ ัยในอุดมศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลัยวจิ ัยแหง่ ชาติ รปู ท่ี 3.5 การเล้ยี งโคขนุ ด้วยอาหารหมักคุณภาพจากเศษฟกั ทอง ดงั นัน้ การสนบั สนุนการวจิ ยั ในระยะถดั ไปจึงมีความส�าคญั เพอื่ เป็นการตอ่ ยอดการด�าเนินงาน วิจัยและน�าไปส่้การพัฒนาคุณภาพโคเนือ้ และเนือ้ โคใหูสามารถเขูาส่้กระบวนการเชิงพาณิชย์ อย่างเป็นร้ปธรรม การศึกษาเชิงลึกดูานตลาดและความตูองการของผู้บริโภค ซึ่งจะส่งผลต่อ รายไดขู องเกษตรกรและผทู้ ีเ่ กีย่ วขูองในห่วงโซท่ ีจ่ ะไดรู ับผลประโยชน์ เช่น สหกรณ์กจ็ ะมีรายไดู จากการประกอบการเพิม่ ขึน้ รวมถึงผู้บริโภคก็จะมีเนือ้ โคคุณภาพและมีความปลอดภัยในการ บรโิ ภคมากขึน้ 3.7 โครงการศึกษาและพัฒนาระบบการจัดการธุรกิจเกษตรข้าวอินทรีย์มหาวิทยาลัย ราชภัฏอตุ รดติ ถ์กบั เครอ� ข่ายเกษตรกร องค์กรท้องถิ่นจงั หวดั อุตรดติ ถ์และภาคี หัวหน้าโครงการวิจัย: ผศ.ดร.เรอื งเดช วงศห์ ลา้ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดติ ถ์ ผ้วู ิเคราะห์ความคุ้มค่าเชงิ เศรษฐกิจ: ผศ.ดร.พนินท์ เครือไทย มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ โครงการนีม้ ีวัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษาสถานภาพ ศักยภาพ สถานการณ์ปั ญหา และหาแนวทาง ในการพัฒนาธุรกิจขูาวอินทรีย์เชิงระบบเพื่อการเรียนรู้ร่วมกันของทุกภาคส่วน คณะผู้วิจัย จึงไดูออกแบบกลไกการพัฒนาธุรกิจเกษตรขูาวอินทรีย์เชิงระบบเพื่อการเรียนรู้ร่วมกันของ ทกุ ภาคส่วน ประกอบดวู ย 1) ระบบหลักในการจดั การธรุ กิจเกษตรขาู วอนิ ทรยี ์จงั หวัดอุตรดิตถ์ และ 2) ระบบสนับสนุนธุรกิจเกษตรขูาวอินทรีย์ ซึ่งเป็นกลไกสนับสนุนใหูเกิดการพัฒนาการ จัดการธุรกิจเกษตรขูาวอินทรีย์ และมีกระบวนการด�าเนินงานการจัดการธุรกิจแผนเกษตร ขูาวอินทรีย์ มีการเชือ่ มโยงกลไกการด�าเนินงานระบบบริหารแบบบ้รณาการเพือ่ ส่งเสริมธุรกิจ เกษตรขาู วอนิ ทรยี ข์ องมหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดติ ถ์และภาคี โดยใชรู ป้ แบบ R–I–C–N Model 45

รายงานการศกึ ษาโครงการวิจัยเพือ่ ประเมินความคุ้มค่าของโครงการวิจยั และพฒั นา ภายใต้สำานกั บรหิ ารโครงการส่งเสริมการวจิ ยั ในอดุ มศกึ ษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ คือกระบวนการวิจยั (Research: R) การบร้ ณาการแบบมีส่วนร่วม (Integrated: I) การสือ่ สาร และการเรยี นรู้ (Communication: C) และระบบเครอื ขา่ ย (Network: N) จากการสงั เคราะหแ์ ผน ธุรกิจเกษตรขูาวอินทรีย์จังหวัดอุตรดิตถ์ของเครือข่ายเกษตรกร องค์กรทูองถิน่ จังหวัดอุตรดิตถ์ และภาคี มกี ารบร้ ณาการพนั ธกจิ และบร้ ณาการศาสตรท์ เี่ ชอื่ มงานประกนั คณุ ภาพของคณะตา่ งๆ ในมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภาคีเครือข่ายมีการต่อยอดขยายผลใหูต่อเนือ่ งสามารถจัดท�า โครงการวจิ ยั ยอ่ ยทงั้ หมด 33 โครงการ และมนี กั วจิ ยั ทงั้ หมดจา� นวน 69 คน ซงึ่ ทา� ใหเู กดิ ผลของ การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต และการสรูางม้ลค่าเพิม่ ใหูกับขูาวอินทรีย์ ท�าใหูเกษตรกร ทีเ่ ขูารว่ มโครงการมีรายไดสู ุทธเิ พิม่ ขนึ้ รปู ท่ี 3.6 การปลกู ข้าวแบบนาโยน การวิเคราะห์ความคูุมค่าเชิงเศรษฐกิจในครัง้ นี้ จะใชูวิธีการวิเคราะห์ตามหลักการวิเคราะห์ ตูนทุนและผลประโยชน์ (Cost–Benefit analysis: CBA) โดยก�าหนดใหูวิเคราะห์ ผลประโยชน์รวมระยะเวลา 15 ปี ผลการศกึ ษา พบว่า โดยภาพรวมสามารถสรปุ ไดวู ่า ผลการ วเิ คราะหค์ วามคมุู คา่ เชงิ เศรษฐกจิ ของโครงการฯ พบวา่ มมี ล้ คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ ณ ปีฐาน (พ.ศ. 2558) ในภาพรวม 11.63 ลูานบาท ในกรณกี ารผลิตขาู วอินทรีย์ในพืน้ ทีต่ า� บลวังดนิ มีค่าเทา่ กับ 0.50 ลูานบาท ส่วนพนื้ ทีป่ ล้กขูาวปลอดภยั ในพืน้ ทีต่ �าบลวงั กะพีแ้ ละตา� บลคอรุม มผี ลรวมม้ลคา่ สทุ ธิ ของผลประโยชน์ของโครงการฯ เท่ากับ 11.13 ลูานบาท ส่วนอัตราผลประโยชน์ต่อตูนทุน ในภาพรวมของโครงการฯ มีค่าเท่ากับ 1.98 ในกรณีการผลิตขูาวอินทรีย์ในพืน้ ทีต่ �าบลวังดิน มีค่าเท่ากับ 1.21 ส่วนพืน้ ทีป่ ล้กขูาวปลอดภัยต�าบลวังกะพีแ้ ละต�าบลคอรุมมีอัตราส่วนของ ผลประโยชนส์ ว่ นเพมิ่ กบั ตนู ทนุ สว่ นเพมิ่ เทา่ กบั 2.17 จากการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหว จะพบวา่ ใน ภาพรวมของโครงการฯ มชี ว่ งการเปลยี่ นแปลงคา่ ตา�่ สดุ และสง้ สดุ ของมล้ คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ (NPV) อยร่้ ะหวา่ ง 5.59–11.63 ลาู นบาท อตั ราสว่ นตนู ทนุ และผลประโยชนม์ คี า่ อยร้่ ะหวา่ ง 1.47–1.98 บาท ม้ลค่าปั จจุบันสุทธิ (NPV) ของพืน้ ทีข่ ูาวอินทรีย์ในพืน้ ทีต่ �าบลวังดิน มีค่าเป็นบวกเพียงในกรณี 46

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ัยเพ่ือประเมนิ ความคุม้ ค่าของโครงการวจิ ัยและพฒั นา ภายใตส้ ำ�นักบริหารโครงการส่งเสรมิ การวิจยั ในอดุ มศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวจิ ัยแหง่ ชาติ ระยะเวลาในการวิเคราะห์ผลประโยชน์รวม 15 ปี คือเท่ากับ 0.50 ล้านบาท ส่วนอัตราส่วน ตน้ ทนุ และผลประโยชนม์ คี า่ 1.21 บาท ในขณะทพี่ นื้ ทปี่ ลกู ขา้ วปลอดภยั ตำ� บลวงั กะพกี้ บั คอรมุ จากการวเิ คราะหพ์ บวา่ มลู คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ (NPV) มคี า่ เป็นลบในกรณรี ะยะเวลาในการวเิ คราะห์ ผลประโยชนร์ วม 5 ปี คอื เทา่ กับ –0.94 ล้านบาท โดยอัตราส่วนตน้ ทนุ และผลประโยชน์มคี ่า เท่ากับ 0.34 บาท โดยภาพรวมสามารถสรุปได้วา่ โครงการฯ มคี วามค้มุ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ แม้ว่า เป็นโครงการทีม่ งุ่ เป้ าเพือ่ พฒั นาระบบ นอกจากผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจแล้ว โครงการฯ ยังก่อให้เกิดทุนทางสังคม ทสี่ ำ� คญั คอื การสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ในการผลติ ขา้ วอนิ ทรยี ์ มกี ารตรวจสอบคณุ ภาพขา้ ว ของสมาชิกด้วยกันซึง่ ถือว่าเป็นการควบคุมกันเอง (Internal Control System) ก่อให้เกิดการ ถา่ ยทอดและแลกเปลยี่ นองคค์ วามรรู้ ะหวา่ งกลมุ่ เกษตรกรอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซงึ่ ในระยะที่ 3 ไดข้ ยายผล โดยนำ� ผลวจิ ยั สกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ จากตำ� บลตน้ แบบสตู่ ำ� บลขยายผลเกษตรกรขา้ วอนิ ทรยี โ์ ดยความ รว่ มมอื ขององคก์ รภาคี เชน่ การจดั ตลาดนดั สเี ขยี ว ถนนคนเดนิ จดั ศนู ยจ์ ำ� หนา่ ยขา้ วอนิ ทรยี แ์ ละ ผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขภาพ (URU–organic market) และจัดสหกรณ์เพือ่ การศึกษามหาวิทยาลัย ราชภฏั อตุ รดติ ถเ์ พอื่ เป็นแหลง่ เรยี นรแู้ ละฝึกประสบการณด์ า้ นการจดั การธรุ กจิ ขา้ วอนิ ทรยี ส์ ำ� หรบั นักศกึ ษา เกษตรกรและผู้สนใจ นอกจากนีก้ ารด�ำเนินการของโครงการฯ ยังก่อให้เกิดผลกระทบทางบวกต่อสังคม ทสี่ ำ� คญั คอื บทเรยี นจากประสบการณก์ ารบรหิ ารแบบบรู ณาการเพอื่ พฒั นาพนื้ ทขี่ องมหาวทิ ยาลยั ช่วยให้องค์กรภาควิชาการได้องค์ความรู้ นวัตกรรม ภูมิปั ญญา ชุดความรู้และประสบการณ์ ในระดบั พนื้ ทที่ ตี่ อ่ ยอดขยายผลได้ และเป็นตน้ แบบเพอื่ การเรยี นรทู้ งั้ ในระดบั คณะ มหาวทิ ยาลยั และภมู ภิ าคมกี ารเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยการทำ� งานและแลกเปลยี่ นเรยี นรทู้ งั้ ภายใน และภายนอกคณะ มีการบูรณาการงานวิจัยกับงานสอน งานบริการวิชาการและท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมกับงาน พัฒนาพืน้ ที่ โดยมีกลไกการเชื่อมโยงผ่านหน่วยวิจัยของแต่ละคณะและหน่วยงานวิจัยของ มหาวิทยาลัยชว่ ยใหไ้ ด้แนวทางปฏิบตั ทิ ีส่ ามารถน�ำมาประยุกตใ์ ช้และขยายผลไดจ้ รงิ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายสำ� หรบั ผใู้ หท้ นุ วจิ ยั ควรสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารวจิ ยั พฒั นาระบบการ บริหารหน่วยจัดการความรู้และวิจัยชุมชนระดับต�ำบลทีส่ ่งเสริมเครือข่ายเกษตรกรข้าวอินทรีย์ โดยความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ กับสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้และองค์กรภาคี ในชุมชนเพือ่ ให้มีการสานต่ออย่างต่อเนือ่ ง ควรมีการวิจัยพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล ข้าวอินทรีย์มีชีวิตเพือ่ สะสมชุดความรู้นวัตกรรม องค์ความรู้ และภูมิปั ญญาในชุมชนเพือ่ การ ตอ่ ยอดขยายผลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยมอี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กบั มหาวทิ ยาลยั และองคก์ รภาคี ในพนื้ ทเี่ ป็นเจา้ ภาพหลกั ในการพฒั นาฐานขอ้ มลู สกู่ ารใชป้ ระโยชนใ์ หม้ กี ารขบั เคลอื่ นกลไกทเี่ ป็น วัฒนธรรมองค์กร และควรมีการวิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการตลาดเพือ่ สังคมทีส่ ่งเสริมธุรกิจ เกษตรข้าวอนิ ทรีย์ของเครอื ข่ายเกษตรและภาคใี นพืน้ ที่ 47

รายงานการศึกษาโครงการวิจยั เพอ่ื ประเมนิ ความคุ้มค่าของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใตส้ �ำ นักบริหารโครงการสง่ เสริมการวจิ ัยในอดุ มศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวจิ ยั แห่งชาติ 3.8 ชุดโครงการระบบไมโครเวฟเซนเซอรเ์ พอื่ ตรวจวัดความออ่ นแกข่ องทุเรยี น หวั หนา้ โครงการวิจยั : ศ.ดร.โมไนย ไกรฤกษ์ ภาควชิ าวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง ผวู้ ิเคราะห์ความคุม้ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ : นายอรรถพันธ์ สารวงศ์ มูลนธิ สิ ถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ ทุเรียน เป็นผลไม้ทีม่ ีชือ่ เสียงของประเทศไทย ซึ่งผลิตภัณฑ์ทุเรียนมากกว่าครึ่งถูกส่งออกไป ขายยังต่างประเทศและมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2557 ผลิตภัณฑ์ทุเรียนถูกส่งออกไปขาย ต่างประเทศคิดเป็ นร้อยละ 66 ส่วนใหญ่ส่งออกเป็ นทุเรียนสดถึงร้อยละ 95 โดยมีคู่ค้า ส�ำคัญ คือ ประเทศจีน ซึ่งในปั จจุบันมีความต้องการทุเรียนจากไทยสูงมาก ในขณะทีค่ วาม ต้องการบริโภคทุเรียนภายในประเทศก็มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ด้วยเช่นกัน แม้ว่าทุเรียนไทยจะเป็น ทนี่ ยิ มของผบู้ รโิ ภคทงั้ ในและตา่ งประเทศ แตก่ ลบั พบวา่ ในปั จจบุ นั มหี ลายปั จจยั ทที่ ำ� ใหค้ ณุ ภาพ ของทุเรียนไทยเริม่ ลดลง สาเหตุส�ำคัญประการหนึ่ง คือ การตัดทุเรียนอ่อน ซึ่งการกระท�ำ ดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อความเชือ่ มัน่ ของผู้บริโภค ภาพลักษณ์ และชือ่ เสียงของทุเรียนไทย จงึ เป็นปั ญหาทตี่ อ้ งเรง่ แกไ้ ข กอ่ นทผี่ บู้ รโิ ภคปลายทางจะหมดความเชอื่ มนั่ ในคณุ ภาพและไมบ่ รโิ ภค ทเุ รียนของไทย ชุดโครงการระบบไมโครเวฟเซนเซอร์เพื่อตรวจวัดความอ่อนแก่ของทุเรียน ได้รับ งบประมาณสนบั สนนุ การด�ำเนนิ งานจากสำ� นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.) ส�ำนกั งาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และกองทุนวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบงั มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ พฒั นาอปุ กรณส์ ำ� หรบั วดั ความออ่ นแกข่ องทเุ รยี นทใี่ ชง้ านงา่ ย ใชเ้ วลาตรวจสอบนอ้ ย ไมส่ ูญเสียผลทุเรียน และมีความแม่นยำ� สูง ชดุ โครงการฯ ได้ศึกษาวจิ ัย และพฒั นาอปุ กรณม์ ากวา่ 10 ปี ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2548 ตอ่ เนอื่ งมาจนถงึ ปั จจบุ นั จนสามารถผลติ เครอื่ งตน้ แบบสำ� หรบั วดั ความออ่ นแกด่ ว้ ยคลนื่ ไมโครเวฟ ปั จจบุ นั มหี ลายหนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และ เอกชนให้ความสนใจและไดน้ �ำเอาเครือ่ งวัดความอ่อนแก่ไปทดลองใช้ ซึง่ การน�ำเครือ่ งวัดความ อ่อนแก่ของทุเรียนมาใช้ จะช่วยท�ำให้การคัดคุณภาพทุเรียนท�ำได้ง่ายขึน้ โดยเฉพาะในธุรกิจ คดั แยกและรวบรวมผลไม้ (ลง้ ) ทจี่ ำ� เป็นตอ้ งคดั คณุ ภาพทเุ รยี นกอ่ นสง่ ออก สามารถนำ� เครอื่ งวดั ความออ่ นแกม่ าใชแ้ ทนการคดั แบบเดมิ ทใี่ ชบ้ คุ คลทมี่ คี วามชำ� นาญในการคดั ซงึ่ มคี า่ จา้ งสงู มาก และจะขาดแคลนในอนาคต นอกจากนี้ หน่วยงานภาครัฐยังสามารถน�ำเครือ่ งวัดนีไ้ ปใช้ในการ สุ่มตรวจคุณภาพทุเรียน เพือ่ ป้ องปรามไม่ให้มีการตัดทุเรียนอ่อนมาขาย ผลจากการตรวจสอบ คุณภาพทุเรียนมากขึน้ จะท�ำมีทุเรียนอ่อนออกสู่ตลาดน้อยลง ท�ำให้ผู้บริโภคมีทุเรียนคุณภาพ ส�ำหรับการบริโภคมากขึน้ ด้วย ผลจากการด�ำเนินงานวิจัยจึงก่อให้เกิดผลเชิงเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญ คอื ลง้ ประหยดั ตน้ ทุนในการคัดทุเรียน ท�ำใหม้ กี �ำไรเพมิ่ ขนึ้ รวมถึงผูผ้ ลติ เครอื่ งวัดความออ่ นแก่ มกี �ำไรจากการขายเครือ่ งวดั เพมิ่ ขนึ้ ด้วยเช่นกัน 48