Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุน (อีกครั้ง)

การแปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุน (อีกครั้ง)

Published by Bensiya Panpunyadet, 2016-03-08 23:07:49

Description: การช่วยเหลือคนยากจนครั้งนี้ เป็นการแปลงทรัพย์สินซึ่งส่วนใหญ่เป็นทรัพย์สินส่วนรวมให้เป็นทุนส่วนตัว

Keywords: แปลงสินทรัพย์, ทุน

Search

Read the Text Version

การแปลงสินทรัพย์ให้เป็ นทุน (อกี คร้ัง) มงิ่ สรรพ์ ขาวสอาด สถาบนั วิจยั สงั คม มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ทา่ นนายกฯ ทกั ษิณ ของเรานบั วา่ เป็ นนายกฯ ท่ีสามารถท้าทายความคิดความสามารถของนักวิชาการไทยได้มากท่ีสุดคนหน่ึงของประเทศไทย เพราะท่านช่างสรรหาความคิดใหม่ๆก่อให้เกิดความเร้าใจในวงวิชาการไทยเป็ นระยะๆ ทาให้ชีวิตนักวิชาการไม่อบั เฉาน่าเบื่อเหมือนอยา่ งที่เคยเป็นมา ในวนั นี ้ผ้เู ขียนใคร่ตงั้ ข้อสงั เกตเกี่ยวกบั แนวความคดิ ท่ีจะแปลงทรัพย์สินให้เป็ นทนุ อีกครัง้ใน 3 ประเดน็ เพื่อชว่ ยให้สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตทิ ี่ต้องรับลกู จากท่านนายกฯ ไปทางานได้ง่ายขึน้ ประเด็นที่ 1 ก็คือ การช่วยเหลือคนยากจนครัง้ นี ้เป็ นการแปลงทรัพย์สินซ่ึงสว่ นใหญ่เป็ นทรัพย์สนิ ส่วนรวมให้เป็นทนุ ส่วนตัว ประเดน็ ท่ี 2 ทรัพย์สินเหล่านี ้ส่วนหน่ึงไม่มีตลาดจึงไม่มีราคา ดงั นนั้ รัฐบาลจะต้องตีค่าหรือสร้างตลาดขึน้ มาก่อน แตท่ รัพย์สินสว่ นรวมเหล่านีบ้ างชนิดเกิดขึน้ เพื่อลดปัญหาสงั คมและส่ิงแวดล้อมจงึ มีปัญหาว่าควรจะแปลงให้เป็ นสินค้าได้หรือไม่ ใครควรได้เป็ นผ้คู รอบครอง ประเด็นท่ี 3 นโยบายช่วยเหลือคนยากจนท่ีกล่าวมานี ้เป็ นนโยบายท่ีไม่พ่งุ เป้ า (targeting) ไปที่คนจน ถ้าใช้เป็ นมาตรการทวั่ ไปไม่เจาะจง (cross-the-board) ผู้ได้รับผลประโยชน์ท่ีแท้จริงจานวนมากอาจไม่ใช่คนจน จะเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการกระจายรายได้ท่ีเลวไปกว่านีอ้ ีก ผ้เู ขียนขอถือโอกาสนีใ้ ห้รายละเอียดเบือ้ งต้นในแต่ละประเดน็ ในประเด็นที่ 1 คือการแปลงทรัพย์สินส่วนรวมให้เป็ นทุนส่วนตัวนัน้ นับเป็ นวิธีการอุดหนุน (subsidy) คนจน โดยท่ีรัฐบาลไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่สินทรัพย์ส่วนรวมเหล่านีม้ ีคณุ สมบตั ิตา่ งกนั เชน่ ทรัพย์สินบางอยา่ งเรากนั ไว้ใช้ส่วนรวมเพ่ือผลทางส่ิงแวดล้อม สขุ ภาพ และความปลอดภัยของประชาชน เช่น เขตต้นนา้ ชัน้ หน่ึง ทางเท้า ท่ีสาธารณะท่ีเป็ นทางนา้ หลากทรัพย์สนิ ส่วนรวมเชน่ นีม้ ีนยั เร่ืองผลกระทบทางสงั คมและคณุ ภาพชีวิตของคนอื่น รัฐจะเท่ียวเอาไปแจกใครไม่ได้ ดงั นนั้ แผงลอยขายลกู ชนิ ้ ทอดในที่สาธารณะซง่ึ มีผ้สู ญั จรไปมาตลอดเวลาก็ไมน่ า่ จะนาไปจดทะเบียนได้ หากจะช่วยคนจนน่าจะมีทางเลือกอ่ืนที่เหมาะสมกว่านี ้เช่น เวนคืนที่ดินในเมืองเพื่อสร้ างตลาดให้ คนท่ีจนจริงๆ 1

สว่ นทรัพย์สิน เช่น ที่ดนิ รกร้างวา่ งเปล่าซง่ึ เป็ นท่ีป่ าที่รัฐบาลจะยกให้คนจนเป็ นความคดิ ที่นกั เศรษฐศาสตร์ยอมรับได้มากที่สดุ ทงั้ นีม้ ิใชว่ า่ นกั เศรษฐศาสตร์ไร้เดียงสาจนไม่รู้วา่ คนจนอาจจะนาเอาที่ดนิ นนั้ ไปขายตอ่ หากแตท่ าใจได้แล้ววา่ เป็ นการแจกเงินในรูปแบบหน่งึ (โดยผา่ นนายทนุ )โดยท่ีรัฐบาลไมต่ ้องควกั กระเป๋ า แตเ่ ป็นการเพม่ิ โอกาสและทางเลือกให้กบั คนจนโดยที่คนจนจะได้เอาทนุ นีไ้ ปทามาหากินทางอื่นได้ (ซึง่ หวงั ว่าจะไมน่ าไปหกั ร้างถางพงตอ่ ไปอีก) การให้ทนุ ท่ีเป็ นท่ีดนิ รกร้างวา่ งเปลา่ ที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่าอาจทาให้เกษตรกรเกิดหนีส้ ินเพิ่มขนึ ้ อีกก็ได้ หากจะให้คนจนมีทางเลือกท่ีจะยังคงอยู่ในภาคการเกษตรต่อไปนนั้ คงจะต้องให้มากกว่าที่ดิน เช่นอาจต้องให้เทคโนโลยีและหาตลาดให้อีกด้วย สาหรับทรัพย์สินท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรมร่วมกนั เชน่ นา้ พริกหน่มุ แหนม ลายผ้าไทยลือ้ฯลฯ เป็นสมบตั ริ ่วมกนั หลายชมุ ชน จะไปยกเป็นสว่ นตวั ให้ใครหรือชมุ ชนใดก็คงทะเลาะกนั ทงั้ เมืองวิธีการท่ีชาวบ้ านเปลี่ยนภูมิปั ญญาบรรพบุรุ ษให้ เป็ นทุน ก็คือ การประกันคุณภาพในรูปเคร่ืองหมายการค้า หรือย่ีห้อ เชน่ นา้ พริกหน่มุ เจ๊แดง ฯลฯ จริงอย่ทู ่ีว่าใครๆ ก็ทานา้ พริกได้ แต่ถ้าจะกินนา้ พริกให้อร่อยแบบเจ๊แดง ก็ต้องมาซือ้ นา้ พริกตราเจ๊แดงซึ่งรับประกันรสมือ ซ่ึงการประกนัคณุ ภาพผ่านเคร่ืองหมายการค้านีม้ ีกลไกตลาดทางานอย่แู ล้ว สามารถประเมินราคาของยี่ห้อได้ง่ายจากยอดขาย ความคดิ นีจ้ งึ นบั วา่ ไมม่ ีอะไรใหม่ ประเด็นท่ีสองเป็ นประเด็นท่ียงั ไม่มีใครพูดถึงมากนัก คือการแปลงสินทรัพย์ให้เป็ นทุนจะต้องมีราคาหรือทาให้เกิดตลาด การท่ีสินค้ามีคา่ (value) ไมไ่ ด้หมายความว่าจะมีราคาเสมอไปราคาจะเกิดขึน้ ได้ก็ต่อเมื่อมีการถ่ายโอนกรรมสิทธิ แต่การจะมีตลาดก็ต้องมีระบบมารองรับกรรมสิทธิเสียก่อนถึงจะเกิดการถ่ายโอน จานา จานองทรัพย์สินกนั ได้ คาถามสาคญั ก็คือเราควรหรือไม่ท่ีจะทาให้เกิดตลาดท่ีผกู ขาดโดยปัจเจกชนในทรัพย์สินส่วนรวมบางอย่าง เช่น พนั ธุกรรมพืช ภมู ปิ ัญญาบรรพชน ฯลฯ ในปัจจบุ นั ระบบท่ีรับรองสิทธิทางภมู ปิ ัญญาคือ ระบบสิทธิบตั รสาหรับส่งิ ประดษิ ฐ์แตเ่ ป็ นระบบที่ต้องพิสูจน์ความใหม่เฉพาะสิทธิบัตร ซึ่งส่วนใหญ่ภูมิปัญญาบรรพชนได้เป็ นสมบัติสาธารณะ (public domain) มาเป็ นเวลาหน่ึงแล้ว จึงยังไม่มีระบบคุ้มครองภูมิปัญญา (ก็ต้องอาศยั การรับรองสิทธิผา่ นเคร่ืองหมายการค้าหรือเครื่องหมายรับรองเป็ นการรับรองคณุ ภาพรสมือดงั ที่กลา่ วมาแล้วในยอ่ หน้าข้างต้น) การรับรองสิทธิของภมู ิปัญญาท้องถิ่นประเภทพนั ธ์ุพืชออกจะมีปัญหาหนกั กวา่ ภมู ิปัญญาอ่ืนๆ ตรงท่ีว่า จะพิสจู น์ได้อยา่ งไรวา่ ภมู ิปัญญานีเ้ป็ นของผ้มู าขอจดทะเบียนแตผ่ ้เู ดียว และไม่ซา้ - 2

ซ้อนกบั บคุ ลากรอื่น ยกตวั อยา่ งพนั ธ์ุข้าว เชน่ พนั ธ์ุข้าวท้องถิ่นท่ีชื่อเหมยนอง มีคณุ สมบตั ทิ นเพลีย้ซง่ึ ได้มีการคดั เก็บและแลกเปลี่ยนกนั หลายหมบู่ ้าน แล้วจะยกให้หมบู่ ้านไหนดี ในประเดน็ ของการตีค่าก็ยงั มีปัญหาอีกว่าคณุ ค่าส่วนไหนเป็ นของส่วนรวม และส่วนไหนเป็ นของปัจเจกท่ีจะพอให้ปัจเจกชนได้ ยกตวั อยา่ ง เช่น พนั ธุกรรมทนเพลีย้ ของข้าวเหมยนองเป็ นสมบตั ิสว่ นรวม แตม่ ลู คา่ ที่ยกให้เป็ นของชาวบ้านได้น่าจะได้แก่การลงทนุ ในการคดั พนั ธ์ุ ขยายพนั ธ์ุ และรักษาพนั ธ์ุเอาไว้ ซึ่งนอกจากจะตีคา่ ไมง่ า่ ยแล้วคา่ ที่ประเมนิ อาจไมม่ ีราคาตลาดมารองรับ หรือความต้องการอาจจะต่าเพราะคนท่ีต้องการอยใู่ นสภาพแวดล้อมที่พิเศษเหมือนกนั หรือคนท่ีต้องการเป็นคนจน ประเด็นสดุ ท้ายเป็ นประเด็นท่ีสาคญั มากหากรัฐบาลจะใช้นโยบายแปลงทรัพย์สินให้เป็ นทนุ สาหรับคนจนแล้ว ใครคือคนจน มีเงินเท่าไหร่ถึงจะเรียกว่าจน คนจนคือคนที่ไม่มีทนุ พอไปทาแผงหรือมีรถเข็นใช่หรือไม่ จะใช้เงินเป็ นตวั วดั อยา่ งเดียวหรือ แผงลอยท่ีเซ้งกนั บนทางเท้าไม่ใช่จะราคาถกู เสมอไป มิหนาซา้ เจ้าของแผงยงั อาจเป็ นมาเฟี ยแต่คนขายนนั้ เป็ นลูกจ้าง นโยบายที่ไม่เลือกคนจนคนรวยอาจจะมีผลเหมือนกบั ที่เกิดขนึ ้ มาแล้วคือ เศรษฐีมารับประโยชน์ไป การแปลงทรัพย์สินให้ เป็ นทุนจึงเป็ นความคิดที่ท้ าทายมากว่าจะแปลงไปเป็ นการปฏิบัติให้ อย่างเฉพาะเจาะจงกบั คนจน ให้เกิดประสทิ ธิผลได้ การแปลงทรัพย์สินให้เป็นทนุ เป็ นประเดน็ ที่ซบั ซ้อนและต้องทาให้เป็ นท่ีกระจา่ งตอ่ ประชา-ชนที่ไมจ่ น และเป็นผ้ตู ้องสญู เสียทรัพย์สินสว่ นรวมให้เข้าใจและยอมรับวิธีการปฏิบตั ขิ องรัฐบาลได้เมื่อทา่ นนายกฯ ได้เริ่มจดุ ประกายความคดิ แล้ว ก็นา่ จะให้เปิ ดเวทีเสรีเพื่อถกเถียงอย่างสร้างสรรค์เก่ียวกับประเด็นต่างๆ ท่ีซบั ซ้อนเหล่านี ้รวมทัง้ การมองหาทางเลือกอ่ืนๆ ท่ีอาจมีผลด้านความยากจนมาก โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ตรวจสอบนโยบายของรัฐท่ีมีผลทาให้คนจนจนลงอีกด้วย หนังสือพิมพ์มตชิ นรายวัน ฉบับวันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2546 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook