Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การยอมรับและการรับรู้ต่อรูปแบบการสื่อสารข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์

การยอมรับและการรับรู้ต่อรูปแบบการสื่อสารข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์

Published by Bensiya Panpunyadet, 2020-06-26 05:02:13

Description: การยอมรับและการรับรู้ต่อรูปแบบการสื่อสารข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์

Search

Read the Text Version

ความเปน็ มา สง่ เสริมความเปน็ นานาชาติ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มูลเว็บไซต์ (Internationalization) สวส. มทร.ธญั บุรี กาหนดระดบั ความสาเร็จของการไดร้ บั การจดั อนั ดับ 1 ใน 5 ของ สนับสนนุ ภารกจิ ดา้ นการประชาสัมพันธ์ข้อมลู เว็บไซตแ์ ละส่ือออนไลน์ มหาวทิ ยาลยั ด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยขี องประเทศไทย ใหก้ ับหนว่ ยงานต่าง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั โดยการประเมนิ ของ Webometrics

ความเปน็ มา การใชอ้ นิ เทอร์เนต็ โดยเฉล่ียสูงท่สี ดุ 58.7 5.7 ช่วั โมง : สัปดาห์ ชวั่ โมง : วัน สมารท์ โฟนยังคงเปน็ อุปกรณ์ยอดนยิ ม ของผ้ใู ชอ้ ินเทอรเ์ น็ต กว่ารอ้ ยละ 80

ความเปน็ มา ส่ือสังคมออนไลนย์ อดนยิ ม สื่อสงั คมออนไลนจ์ ึงเปน็ สื่อทม่ี บี ทบาทสาคัญต่อการส่ือสาร และเปน็ สอ่ื ท่ไี ด้รบั ความนยิ มสงู ในปจั จบุ ัน

กรอบแนวคิดงานวจิ ัย สถานภาพส่วนบคุ คล การรบั รู้ 1. ประโยชน์ รปู แบบการส่ือสารขอ้ มูลองค์กร 2. ความง่ายในการใชง้ าน ผา่ นส่อื ออนไลน์ 1. ดา้ นเนอ้ื หา 2. รปู แบบการนาเสนอขอ้ มูล 3. ประเภทสื่อออนไลน์ การยอมรับรปู แบบการสอ่ื สารข้อมูลองคก์ รผ่านสือ่ ออนไลน์ 1. ทศั นคตติ ่อการใช้ 2. พฤตกิ รรมความตง้ั ใจในการใช้ 3. การใช้จรงิ

วตั ถุประสงค์ของการวิจัย : 1 เพอ่ื ศกึ ษารูปแบบการสือ่ สารขอ้ มูลผา่ นสอื่ ออนไลนข์ อง นักศึกษา มทร.ธัญบรุ ี 2 เพ่ือศึกษาการรบั รูส้ อ่ื ออนไลน์ ของนกั ศึกษา มทร.ธญั บุรี 3 เพ่อื ศึกษาการยอมรบั รูปแบบการส่ือสารขอ้ มลู ผ่านสือ่ ออนไลน์ 4 เพือ่ หาความสมั พนั ธ์ของรปู แบบการส่อื สารข้อมลู ผา่ นสื่อออนไลน์ และการรับรู้สอื่ ออนไลนต์ ่อการยอมรบั รปู แบบการสื่อสารข้อมูลผ่าน สอื่ ออนไลน์

สมมติฐานการวจิ ัย 1 สถานภาพสว่ นบคุ คลทีแ่ ตกต่างกันมีการยอมรบั รปู แบบการสือ่ สาร ขอ้ มลู องคก์ รผ่านส่ือออนไลน์ทแ่ี ตกตา่ งกนั 2 รูปแบบการสือ่ สารขอ้ มลู ผ่านสื่อออนไลน์ของ มทร.ธญั บรุ ี มคี วามสัมพันธ์ตอ่ การยอมรับรูปแบบการสอื่ สารข้อมลู องค์กรผา่ น สือ่ ออนไลน์ ของนกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี มทร.ธัญบรุ ี 3 การรบั ร้มู คี วามสัมพนั ธ์ต่อการยอมรับรูปแบบการสื่อสารขอ้ มูล องค์กรผา่ นสอื่ ออนไลน์ ของนกั ศกึ ษา ระดับปริญญาตรี มทร.ธญั บรุ ี

ขอบเขตของงานวจิ ัย ประชากร นักศึกษาระดับปริญญาตรี กาลังศกึ ษาอยู่ใน มทร.ธัญบรุ ี ประจาปีการศึกษา 2559 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 24,265 คน นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี ช้ันปที ี่ 1-5 มทร.ธัญบุรี กลุ่มตวั อยา่ ง จานวน 394 คน ไดจ้ ากการสุ่มตวั อย่างแบบ แบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling)



วธิ ดี าเนินการวจิ ัย ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง สรา้ งเครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั (แบบสอบถาม) ดาเนนิ งานวิจยั และเก็บรวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถิติ สรปุ ผล อธิปรายผล และข้อเสนอแนะ

ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง • แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเก่ยี วกับการยอมรับ • แนวคิดและทฤษฎที ่ีเก่ยี วกับการรับรู้ การส่อื สารข้อมูล (Communication) • แนวคิดและทฤษฎที ี่เกยี่ วกบั สอื่ สงั คมออนไลน์ • แผนพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์วาระเรง่ ดว่ น มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี พ.ศ. 2557-2560 (ฉบบั ย่อ) ปรับปรุงครง้ั ท่ี 3/ต.ค. 2559 ปีงบประมาณ 2560 • เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง

สร้างเครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั แบบสอบถาม เรอ่ื ง การยอมรบั และรบั รู้ต่อรปู แบบการสื่อสารขอ้ มูลผ่านสื่อออนไลน์ ของนกั ศกึ ษา มทร.ธญั บรุ ี แบ่งแบบสอบถามออกเป็น 5 สว่ นดังตอ่ ไปนี้ สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 รูปแบบการสื่อสารข้อมลู ผ่านส่ือออนไลนข์ อง มทร.ธญั บุรี ส่วนท่ี 3 การรับรสู้ ่ือออนไลน์ของ มทร.ธัญบุรี สว่ นท่ี 4 การยอมรับรูปแบบการส่อื สารข้อมลู ผา่ นสอื่ ออนไลน์ สว่ นท่ี 5 ขอ้ เสนอแนะ

สถติ ิท่ีใช้ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ค่าความถี่ (Frequency) รูปแบบการสือ่ สารข้อมลู ผ่านสอ่ื ออนไลน์ ค่ารอ้ ยละ ส่วนท่ี 2 ของ มทร.ธัญบุรี ค่ารอ้ ยละ สว่ นที่ 3 การรับรู้ส่อื ออนไลน์ของ มทร.ธญั บุรี ค่าเฉลีย่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน การยอมรบั รูปแบบการส่อื สารข้อมูลผา่ นส่ือ สว่ นท่ี 4 ออนไลน์ สว่ นท่ี 5 ขอ้ เสนอแนะ (Content Analysis)

สถติ ิทใ่ี ช้ เปรยี บเทียบความแตกตา่ ง ใช้ t-test One-Way ANOVA และ LSD ของการยอมรบั รปู แบบการสอ่ื สารข้อมลู องคก์ รผ่านสอ่ื ออนไลน์ จาแนกตามสถานภาพสว่ นบคุ คล วเิ คราะหห์ าความสัมพันธ์ Pearson Correlation คา่ สัมประสิทธิส์ หสมั พันธ์ ของการรับรู้ รปู แบบการส่ือสารข้อมลู ผา่ นส่ือออนไลนข์ อง นักศึกษา ต่อการยอมรับ (r)



สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

สรุปผลการวจิ ยั นาผลการวจิ ยั ไปใชใ้ นประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู องคก์ ร สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนารปู แบบการประชาสมั พันธข์ อ้ มลู ของ มทร.ธัญบุรี เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และไดร้ ับประโยชนส์ งู สดุ จากการรับรขู้ ่าวสารของมหาวิทยาลยั • กลมุ่ ตัวอยา่ งใช้เวลากับการใชง้ านส่ือออนไลนใ์ นแตล่ ะวนั มากกวา่ ว 6 ชวั่ โมง (41.62%) • สว่ นใหญ่ใช้สอ่ื ทที่ ่ีพัก (44.16%) หรอื เวลาวา่ ง • เวลาท่เี หมาะจะประชาสัมพนั ธใ์ ห้นกั ศกึ ษารบั รขู้ ้อมลู ข่าวสารของ มทร.ธญั บรุ ี ควรเผยแพรใ่ น ชว่ งเวลา 20.00-24.00 น. เพราะมีการใช้งานสูงสดุ ในช่วงเวลาดงั กลา่ ว (48.22%)

ส่วนท่ี 2 รปู แบบการสอ่ื สารข้อมูลผา่ นสอ่ื ออนไลนข์ อง มทร.ธญั บรุ ี

การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสถิติ ส่วนที่ 2 รปู แบบการสอ่ื สารข้อมูลผ่านสอื่ ออนไลนข์ อง มทร.ธัญบุรี รปู แบบการส่อื สารขอ้ มลู ผา่ นสือ่ ออนไลนข์ อง มทร.ธญั บรุ ี ������ S.D. แปลผล ด้านเน้อื หา (10) 3.97 0.531 มาก รูปแบบการนาเสนอขอ้ มลู บนส่อื ออนไลน์ (8) 3.86 0.600 มาก ประเภทสือ่ ออนไลน์ (10) 3.84 0.613 มาก ภาพรวม 3.89 0.514 มาก

สว่ นที่ 3 การรับรสู้ ่ือออนไลนข์ อง มทร.ธญั บุรี

X การวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถิติ ส่วนที่ 3 การรับร้สู อื่ ออนไลน์ของ มทร.ธญั บรุ ี การรับรู้สื่อออนไลน์ ������ S.D. แปลผล การรบั รู้ถึงประโยชน์ (8) 4.00 0.600 มาก ความง่ายในการใชง้ าน (6) 4.00 0.613 มาก ภาพรวม 4.00 0.574 มาก

สรุปผลการวจิ ยั การรบั รูส้ ่ือออนไลน์ ของนักศกึ ษา มทร.ธญั บุรี สว่ นที่ 1 การรบั รู้ถงึ ประโยชน์ โดยเรยี งลาดบั จากมาก 3 อนั ดบั คอื 1) สือ่ ออนไลน์สามารถคน้ หาขอ้ มลู ของมหาวิทยาลัยได้ตลอด 24 ช่วั โมง 2) ส่อื ออนไลนช์ ่วยให้มีความรเู้ กี่ยวกบั มทร.ธัญบรุ ี และ 3) สอ่ื ออนไลนท์ าให้ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการคน้ หาข้อมูล ส่วนท่ี 2 การรับรูถ้ ึงความงา่ ยในการใชง้ านส่อื ออนไลน์ โดยเรียงลาดับจากมาก 3 อนั ดบั คือ 1) ส่อื ออนไลน์ทาใหส้ ามารถค้นหาขอ้ มลู ทต่ี ้องการไดง้ ่าย 2) ส่ือออนไลน์ทาใหค้ น้ หาข้อมลู ไดส้ ะดวกและรวดเรว็ และ 3) สามารถกลับมาค้นหาข้อมลู หรืออา่ นขอ้ มลู ซ้าไดเ้ สมอ

สว่ นที่ 4 การยอมรบั รูปแบบการส่อื สารขอ้ มูลผ่านสื่อออนไลน์

X การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิติ ส่วนท่ี 4 การยอมรับรปู แบบการส่ือสารข้อมลู ผ่านสื่อออนไลน์ การยอมรบั รปู แบบการสอ่ื สารขอ้ มลู ผา่ นสอ่ื ออนไลน์ ������ S.D. แปลผล ทัศนคติตอ่ การใช้ (6) 4.01 0.577 มาก พฤตกิ รรมความตง้ั ใจในการใช้ (4) 4.05 0.642 มาก การใช้จริง (5) 3.87 0.690 มาก ภาพรวม 3.98 0.539 มาก

การยอมรบั รูปแบบการสื่อสารขอ้ มูลผา่ นส่ือ ออนไลน์ ของนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ส่วนท่ี 1 ดา้ นทศั นคติตอ่ การใช้ โดยเรยี งลาดับจากมาก 3 อนั ดับคอื 1) ท่านมีทัศนคติทด่ี ตี อ่ การใช้งานส่อื ออนไลนข์ อง มทร.ธญั บุรี 2) ทา่ นคิดวา่ สือ่ ออนไลนช์ ว่ ยสรา้ งภาพลกั ษณ์ทีด่ ีให้กบั มทร.ธญั บุรี และ 3) การใชส้ อ่ื ออนไลนช์ ่วยลดการใชก้ ระดาษเพื่อตีพมิ พส์ อื่ สว่ นท่ี 2 ด้านพฤติกรรมความต้งั ใจในการใช้ โดยเรยี งลาดบั จากมาก 3 อนั ดบั คือ 1) ท่านต้ังใจท่ีจะใช้งานส่อื ออนไลน์ต่อไปในอนาคต 2) ท่านใชง้ านส่อื ออนไลน์เป็นประจา และ 3) ท่านต้งั ใจที่จะใชง้ านส่อื ออนไลนเ์ ปน็ อนั ดบั แรกเมือ่ ตอ้ งการค้นหาขอ้ มูลของ มทร.ธญั บุรี ส่วนที่ 3 การใชจ้ รงิ โดยเรียงลาดับจากมาก 3 อนั ดบั คือ 1) ทา่ นต้องการใชส้ ่ือออนไลน์ของ มทร.ธญั บรุ ี ต่อไป 2) ท่านแชรข์ อ้ มูลขา่ วสารของมหาวิทยาลยั ผ่านส่ือออนไลน์ เช่น Facebook line Youtube Channel เป็นต้น 3) ทา่ นใชข้ อ้ มลู จากสื่อออนไลน์ ของ มทร.ธัญบุรี อ้างองิ ในการศึกษา

ผตู้ อบแบบสอบถามให้คะแนนเฉลย่ี รูปแบบการสือ่ สารขอ้ มูลผา่ นส่อื ออนไลนข์ อง มทร.ธญั บรุ ี การรบั รู้สือ่ ออนไลนข์ อง มทร.ธัญบุรี และการยอมรบั รูปแบบการสอ่ื สารข้อมลู ผ่านสือ่ ออนไลน์ อยใู่ นระดับมาก

ส่วนที่ 5 ขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะจากผู้ตอบแบบสอบถาม ปญั หาเว็บทะเบยี น • เขา้ www.oreg.rmutt.ac.th มกั ขึน้ ว่าเว็บไซต์ไมป่ ลอดภยั ตอ้ งต้องใชเ้ บราเซ อรธ์ รรมดา อยากให้เวบ็ ไซต์สามารถเข้าจาก Google Chome ไดท้ ุกเว็บไซต์ • แกไ้ ขระบบลงทะเบียนให้ใชง้ านง่าย • อยากใหเ้ กรดออกไว ๆ เพ่อื ความรวดเร็วตอ่ การรับรู้

ข้อเสนอแนะจากผตู้ อบแบบสอบถาม ปัญหาดา้ นอนิ เทอร์เน็ตและ Wifi 1. อนิ เตอรเ์ นต็ หลดุ บอ่ ย 2. Internet ลม้ บอ่ ย 3. อินเตอรเ์ น็ตหลุดบอ่ ยมากๆ 4. อยากให้อินเตอร์เน็ต wifi เรว็ กวา่ นี้ 5. wifi ในอาคารสถานทไี่ ม่ค่อยเสถยี ร 6. อยากให้ความเรว็ ของอนิ เตอรเ์ นต็ เร็วๆกว่านี้ 7. อยากใหเ้ นต็ รอบๆ มหาวทิ ยาลยั มคี วามแรงมากกว่านี้ เน็ตชอบหลุดบอ่ ยๆบางทหี าข้อมลู เก่ียวกบั การเรียนอยู่ ทาใหไ้ ม่สะดวกในกาเรียน 8. อยากให้ wifi แรงกว่าน้ี 9. เน็ตหลุดบ่อย 10. wifi ทคี่ ณะศิลปกรรมศาสตร์ อาคารA เน็ตไมด่ ีมากหลุดบ้อยมาก ซ่อมดว่ น ช้นั 6 11. wifi คณะศลิ ปกรรมมปี ัญหาใหม้ ีการแก้ไขใหแ้ รงและกระจายสัญญาณมากกวา่ นี้ 12. wifi ศลิ ปกรรมใชไ้ ม่ได้เลยค่ะ ตกึ 4 ช้นั 6 มาเอาอนั เก่าออกไปแลว้ ไม่มาตดิ ให้ใหม่ wifi ศลิ ปกรรมใช้ไมไ่ ดเ้ ลยค่ะ 13. อยากให้ Internet แรงทั่วมหาวทิ ยาลยั

ข้อเสนอแนะจากผูต้ อบแบบสอบถาม ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ • ดมี ากครับเรียบรอ้ ยดี • ใช้ได้พฒั นาต่อไปใหด้ ีขึ้น • สร้างความเข้าใจใหน้ ักศกึ ษาแบบตรงไปตรงมา พรอ้ มเหตุผลที่ทาใหน้ กั ศกึ ษาไดผ้ ลประโยชน์โดยทัว่ กนั และให้ ผูบ้ ริหารทกุ ทา่ นมหี นว่ ยงานความเข้าใจและเขา้ ถงึ นกั ศกึ ษา • การจดั การเพจ อยากใหส้ วยงามเพมิ่ ขึน้ มีตกุ๊ ตาดกุ ดิก เช่น ข่าวใหม่ ให้มีสัญลักษณ์ น่าสนใจ • อยากให้เกรดออกไว ๆ เพอ่ื ความรวดเรว็ ต่อการรบั รู้



สรุปผลการทดสอบสมตฐิ านท่ี 1 สมมติฐานที่ 1 สถานภาพส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมกี ารยอมรับรูปแบบการสอื่ สารขอ้ มลู องคก์ รผา่ นสอ่ื ออนไลน์ ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ระดบั ความพงึ พอใจ เพศ p-value ผลการทดสอบ อายุ ชนั้ ปี 0.706 ปฏเิ สธ คณะ ใชง้ านที่ 0.356 ปฏเิ สธ ชว่ั โมงต่อวัน เวลาทใ่ี ช้ 0.011* ยอมรบั 0.007* ยอมรบั 0.333 ปฏเิ สธ 0.384 ปฏิเสธ 0.322 ปฏิเสธ สถานภาพส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานใชง้ านสอ่ื ออนไลนข์ อง มทร.ธญั บุรี จานวนชว่ั โมงตอ่ วันในการใชง้ าน อินเทอร์เน็ต ช่วงเวลาท่ีเขา้ ใช้บรกิ ารสอ่ื ออนไลนส์ ูงสดุ มกี ารยอมรบั มีการยอมรบั รปู แบบการสอ่ื สารข้อมูลองค์กร ผา่ นส่ือออนไลน์ไมแ่ ตกตา่ งกัน สถานภาพส่วนบุคคลด้าน ช้นั ปี และคณะ มกี ารยอมรบั และรับรู้ ตอ่ รูปแบบการส่อื สารขอ้ มลู ผา่ นสือ่ ออนไลน์แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ .05

สรุปผลการทดสอบสมติฐานท่ี 2 สมมตฐิ านที่ 2 รูปแบบการส่อื สารข้อมูลผา่ นส่อื ออนไลน์ของ มทร.ธัญบรุ ี มคี วามสัมพนั ธ์ ตอ่ การยอมรับรูปแบบการส่อื สารขอ้ มลู องคก์ รผ่านสือ่ ออนไลน์ ของนกั ศึกษา ระดับ ปริญญาตรี มทร.ธัญบุรี รูปแบบการสอ่ื สารขอ้ มลู ผ่านส่ือออนไลน์ การยอมรับรูปแบบการส่ือสารขอ้ มูลองคก์ รผ่านสอื่ ออนไลน์ ด้านเนอื้ หา r Sig. ระดับความสมั พนั ธ์ รปู แบบการนาเสนอข้อมูลบนสอ่ื ออนไลน์ ประเภทสือ่ ออนไลน์ 0.618 0.000** ค่อนข้างสงู โดยภาพรวม 0.623 0.000** คอ่ นขา้ งสงู 0.599 0.000** ระดับปานกลาง 0.694 0.000** คอ่ นขา้ งสงู สรุปได้วา่ รปู แบบการสอื่ สารข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์ ของ มทร.ธญั บรุ ี โดยภาพรวมมีความสัมพนั ธใ์ นระดับคอ่ นขา้ งสูงกบั การยอมรบั รปู แบบการสอื่ สารขอ้ มลู องค์กรผา่ นส่อื ออนไลน์ อย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั .01

สรปุ ผลการทดสอบสมติฐานที่ 3 สมมติฐานท่ี 3 การรบั รูม้ ีความสมั พันธต์ อ่ การยอมรบั รปู แบบการสื่อสารขอ้ มูลองค์กร ผา่ นส่ือออนไลน์ ของนักศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี มทร.ธัญบุรี การรบั รู้สอื่ ออนไลน์ การยอมรับรูปแบบการสื่อสารขอ้ มลู องค์กรผา่ นสื่อออนไลน์ r Sig. ระดบั ความสมั พนั ธ์ การรบั รูถ้ ึงประโยชน์ 0.720 0.000** คอ่ นข้างสูง ความง่ายในการใชง้ าน 0.761 0.000** คอ่ นข้างสูง โดยภาพรวม 0.783 0.000** คอ่ นขา้ งสงู สรุปไดว้ ่า การรบั รู้สอ่ื ออนไลน์ ของ มทร.ธัญบุรี โดยภาพรวมมคี วามสมั พันธ์ในระดบั ค่อนข้างสงู กบั การยอมรบั รปู แบบการสือ่ สารขอ้ มลู องคก์ รผา่ นสอ่ื ออนไลน์ อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .01

ขอ้ เสนอแนะ • การนาผลการวิจัยไปใชใ้ นประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู องค์กร • การเสนอแนะหัวขอ้ วิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งสบื เนอื่ งในการทาวจิ ยั ครั้งตอ่ ไป

การนาผลการวิจยั ไปใชใ้ นประชาสัมพนั ธข์ อ้ มลู องค์กร จากผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังกลา่ วทาให้ทราบถงึ แนวโนม้ และความต้องการของ นักศึกษา เหน็ ควรที่ มทร.ธญั บุรี จัดทาสือ่ ประชาสมพนั ธบ์ นส่อื ออนไลน์สืบไป ซึง่ สอดคลอ้ งกบั แนวโนม้ การเจรญิ เตบิ โตของเทคโนโลยใี นอนาคตดว้ ยเช่นกัน

การเสนอแนะหัวขอ้ วิจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ งสืบเนอ่ื ง ในการทาวจิ ยั ครง้ั ตอ่ ไป 1 การสืบคน้ ขอ้ มลู Search engine optimization 2 การเช่อื มโยงเวบ็ ไซตแ์ ละสื่อออนไลนอ์ ื่นๆ เพือ่ อานวยความสะดวกให้กับผใู้ ช้

งานวจิ ยั นไ้ี ด้รับทุนสนบั สนนุ งานวิจยั จาก มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี สถาบนั วิจยั และพัฒนา (IRD) ประจาปี 2559 (R2R Rf045909) ขอบพระคณุ สถาบันวจิ ัยและพัฒนา คณะผู้บรหิ ารของมหาวทิ ยาลยั อาจารยป์ รกึ ษาและผู้เช่ยี วชาญ ตลอดจนผู้ตอบแบบสอบถามในครัง้ น้ี