Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการศึกษาตัวชี้วัดความสำเร็จฯ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร

รายงานผลการศึกษาตัวชี้วัดความสำเร็จฯ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร

Published by lawanster, 2022-01-02 07:16:26

Description: รายงานผลการศึกษาตัวชี้วัดความสำเร็จฯ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร

Search

Read the Text Version

รายงานผลการศกึ ษา ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ ท่ีเหมาะสมในการเรยี นการสอนระดับหลกั สตู รปรญิ ญาตรี เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสาหรบั สถาบนั การอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ และสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ โดย ดร.ลาวัณย์ วจิ ารณ์ ภาควชิ าวศิ วกรรมส่ิงแวดล้อม วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ดร.ศักด์ศิ รี รักไทย คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีปทุมวนั

1 บทสรุปสำหรับผบู้ รหิ ำร การศกึ ษาเรอ่ื ง “ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ท่ีเหมาะสมในการเรียนการสอนระดบั หลักสูตรปริญญาตรีอาชีวศึกษา เกษตรเพ่อื การประกนั คุณภาพคุณภาพการศกึ ษาภายใน สาหรับสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ และสถาบัน การอาชีวศึกษาเกษตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาตัวชี้วัดความสาเร็จที่สะท้อนถึง คุณภาพที่แท้จริงของการเรียนการสอนระดับหลักสูตรปริญญาตรี เพ่ือใช้ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ ตนเอง สาหรบั สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตร ภาคใต้ และสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ผลการศึกษาโดยสรุป มดี งั นี้ 1. สถำบันกำรอำชีวศกึ ษำเกษตรทง้ั 2 แหง่ ควรเพมิ่ ตวั ชีว้ ัดควำมสำเรจ็ 7 ตัวช้วี ัด สำหรับกำร ประกนั คุณภำพกำรศกึ ษำภำยในของตนเอง ไดแ้ ก่ 1.1 ระดบั ความคดิ เหน็ ของนักศึกษาทีม่ ีต่อการสอนของอาจารย์ 1.2 ระดับผลการศกึ ษาวชิ าโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ 1.3 จานวนของงานวจิ ยั และหรือสิ่งประดิษฐ์ ภายใต้ รายวชิ าโครงการ พัฒนาทกั ษะวิชาชพี ท่ีไดร้ บั การเผยแพร่ 1.4 ระดับการปฏบิ ัติการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพนักศึกษาเพ่ือใหผ้ ่านเกณฑ์มาตรฐาน 1.5 ระดบั ผลการศึกษาคุณลักษณะท่ีพง่ึ ประสงคข์ องทุกรายวิชา ท่ีนักศกึ ษานัน้ ๆ ลงทะเบยี นเรียน 1.6 ระดบั ผลการศึกษาในทุกรายวชิ าของหมวดวชิ าทกั ษะชวี ิต ทีน่ ักศกึ ษา นนั้ ๆ ลงทะเบยี นเรียน 1.7 ระดบั ผลการศกึ ษาในทกุ รายวชิ าของหมวดวิชาทักษะวชิ าชีพทนี่ ักศึกษาน้นั ๆลงทะเบยี นเรยี น 2. สถำบันกำรอำชีวศึกษำเกษตร ทั้ง 2 ภำค ต้องสนับสนุนปัจจัยดังต่อไปน้ี เพื่อให้ตัวช้ีวัด ควำมสำเรจ็ ทั้ง 7 ตัวชวี้ ัด สะท้อนคณุ ภำพที่แท้จรงิ 2.1 ระดบั ความคิดเหน็ ของนักศกึ ษาที่มีต่อการสอนของอาจารย์ สถาบันฯ ต้องสนบั สนนุ ดังน้ี 1) สรา้ งแบบประเมนิ ความคดิ เหน็ ของนกั ศกึ ษาต่อการสอนของคณะผ้สู อน และจัดให้มกี าร ประเมนิ ความคดิ เห็นของนกั ศึกษาต่อการสอนของคณะผสู้ อน ในทุกรายวชิ า เมื่อสนิ้ สุดภาค การศกึ ษา โดยใช้ระบบ online 2) ประมวลผล ความคิดเหน็ ของนักศึกษาตอ่ การสอนของคณะผู้สอนเป็นรายบุคคล และแจง้ ผล การประเมินเป็นรายบุคคล ถ้ากรณีท่ผี ลการประเมินตา่ กว่าเกณฑ์กาหนด สถาบันตอ้ งพจิ ารณาให้ มกี ารปรับปรงุ อยา่ งเรง่ ด่วน 2.2 ระดับผลการศึกษาวชิ าโครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพ สถาบนั ฯ ตอ้ งสนับสนนุ ดังนี้ 1) มกี ารสนบั สนนุ ดา้ นสถานที่ ครุภัณฑ์ในการจัดทาโครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี

2 2) จดั ตั้งศูนย์ใหค้ าปรกึ ษา จัดหาแหลง่ คน้ ควา้ ขอ้ มลู เก่ยี วกบั การวจิ ัยเพือ่ สนับสนนุ การทา โครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี 3) แตง่ ตั้งคณะกรรมการท่ีปรกึ ษาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี ซึง่ ประกอบด้วย  อาจารย์ท่ีปรกึ ษาโครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี  บคุ คลภายนอกทม่ี คี วามเชยี่ วชาญตรงกบั โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี  อาจารยป์ ระจาหลักสูตร/อาจารย์ผู้สอน ในหลกั สตู รน้นั ๆ 2.3 จานวนของงานวิจัยและหรือส่ิงประดิษฐ์ ภายใต้ รายวิชาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ท่ีได้รับ การเผยแพร่ สถาบนั ฯ ต้องสนับสนนุ ดังน้ี 1) จัดใหม้ เี วทีเพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษาได้นาเสนอผลงานวิจยั และหรอื ส่ิงประดษิ ฐ์ เช่น งาน อกท.ชาติ 2) คดั เลือกผลงานวิจัยและหรือส่ิงประดษิ ฐ์ เพ่อื เผยแพร่ในเวทีระดับชาติ 3) สง่ เสริมการขยายผลงานวิจัยและหรอื สิ่งประดิษฐ์ ให้เป็นประโยชนส์ ู่ชุมชน 2.4 ระดับการปฏิบัติการประเมินมาตรฐานวิชาชีพนักศึกษาเพ่ือให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สถาบันฯ ต้องสนับสนุน ดังน้ี 1). จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (workshop) อาจารย์ประจาหลักสูตรและคณะผู้สอนร่วมกันร่าง มาตรฐานวชิ าชพี สาหรบั สถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรโดยเฉพาะ 2) กาหนดข้ันตอนการปฏิบัติ เพื่อให้นักศึกษาทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพคร้ัง แรก ตามวงจรการปฏิบัตงิ านเชงิ คุณภาพ 2.5 ระดับผลการศึกษาคุณลักษณะที่พ่ึงประสงค์ของทุกรายวิชา ที่นักศึกษาน้ันๆ ลงทะเบียนเรียน สถาบนั ฯ ต้องสนับสนนุ ให้มกี ารจดั ต้ังศูนย์พัฒนาศักยภาพนักศึกษา เพื่อจัดทากิจกรรมสร้างเสริมคุณลักษณะที่พ่ึง ประสงคข์ องนักศึกษา 2.6 ผลการศกึ ษาในทุกรายวิชาของหมวดวิชาทักษะชีวิต ท่ีนักศึกษาน้ันๆ ลงทะเบียนเรียน สถาบันฯ ตอ้ งสนับสนนุ ดงั น้ี 1) มีโครงการแลกเปลยี่ นนกั ศึกษา ดา้ นการเรยี นการสอน การทอ่ งเที่ยวเพื่อแลกเปลี่ยนทาง วฒั นธรรม 2) มีห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมจนสามารถใชง้ านได้จรงิ 3) มกี ารประสานงานกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอก เพือ่ จัดอบรม การใชง้ าน เทคโนโลยสี ารสนเทศแกอ่ าจารย์ / เจ้าหน้าท่ี /นักศกึ ษา ในทกุ สถานศกึ ษาทเ่ี ปดิ หลักสูตร 4) จัดใหม้ ีการประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ (workshop)ใหแ้ กน่ กั ศึกษา ใน เร่อื ง การพฒั นาสมรรถนะ

3 หลกั และสมรรถนะทวั่ ไป ในหมวดศึกษาท่ัวไป(หมวดวชิ าทักษะชวี ิต) กอ่ นการเรยี นโครงการ พฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 5) จัดตัง้ ศูนย์พฒั นาศักยภาพนักศึกษา เพ่ือจัดทากิจกรรมสร้างเสริมสมรรถนะหลักและสมรรถนะ ทั่วไป ของนักศกึ ษา 2.7 ระดับผลการศึกษาในทุกรายวิชาของหมวดวิชาทักษะวิชาชีพที่นักศึกษาน้ันๆลงทะเบียนเรียน สถาบนั ฯ ตอ้ งสนับสนุน ดังนี้ 1) สรรหาผู้ทรงคุณวฒุ ิ ผูม้ ภี มู ิปัญญาท้องถน่ิ องคก์ ร และชมุ ชนท่ีเก่ียวข้อง กบั รายวิชาในหมวดวิชา ทกั ษะวิชาชพี ตามหลกั สตู รท่ีสถานศึกษาเปดิ สอน มาร่วมในการจัดการเรียนการสอน โดยมีการ กาหนดสัดส่วนของเนื้อหาหรอื เวลาอย่างชัดเจน 2) จัดใหม้ กี ารเรยี นรจู้ ากบุคคล องค์กร และชมุ ชนภายนอก ในการสอนรายวชิ า ต่างๆ เช่น การ บรรยายพเิ ศษ การศึกษานอกสถานท่ี และการสัมภาษณ์ เป็นต้น ผศู้ ึกษามขี ้อเสนอแนะต่อสถาบันฯ ให้ดาเนินการดังนี้ ขอ้ เสนอที่ 1 เสนอให้สถาบันฯจัดทา website “Real Time Window Shopping” ของนักศึกษาเปน็ รายบคุ คลเมื่อสนิ้ สุดแต่ละภาคการศึกษา เพอื่ 1) ผใู้ ช้บัณฑิต สามารถเลือกนักศึกษา / บัณฑติ ที่มคี ณุ ลักษณะตรงกบั ความตอ้ งการของ ลักษณะงาน 2) ผูป้ กครองและผเู้ ก่ียวข้อง เช่น ผบู้ ังคับบญั ชา เจา้ ของสถานประกอบการ เป็นต้น ไดร้ ับรู้ถงึ ความกา้ วหน้าในผลการเรียนของนักศึกษา เพอื่ กระต้นุ ให้นักศึกษาพฒั นาตนเองในกรณีที่ผลการศึกษาอยใู่ นเกณฑ์ ไม่ดี ข้อเสนอท่ี 2 เสนอใหส้ ถาบันฯจัดทา ฐานขอ้ มลู Portfolio (แฟม้ ผลงาน) ของนกั ศึกษารายบคุ คล ขอ้ เสนอที่ 3 เสนอใหส้ ถาบนั ฯ กาหนดให้นักศึกษาที่เรียนวิชาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ต้องนาเสนอ ผลงานใน Portfolio เปน็ รายบุคคล ข้อเสนอที่ 4 เสนอให้สถาบันฯ กาหนดให้รายวิชาท่ีมีการเรียนการสอนเป็นทวิภาคี โดยให้นักศึกษานา ประสบการณ์ดเี ด่นทีไ่ ด้รบั จากการเรยี นในรายวชิ าน้ันๆ นาเสนอใน Portfolio ของตน ก่อนประกาศการศึกษาของ รายวชิ านนั้ ในแต่ละภาคการเรยี น

คำนำ “ระบบประกนั คุณภาพการศึกษาของไทยนั้นทากันแบบ “ลูบหน้าปะจมูก” ด้วยกังวลใจ ว่า มหาวิทยาลัยจะตกกันหมด ถ้าทากันจริงๆ จังๆ ปากก็บอกว่าระบบน้ีอิงทฤษฎีระบบ แต่ก็ทาแต่ process/output เพียงอย่างใดอย่างหน่ึง เอา PDCA ของเขามาใช้ โดยไม่รู้ วา่ ท่ญี ่ีปุน่ สาเร็จเพราะคนเขาเอาจรงิ เอาจงั สว่ นคนไทยละ่ จะจริงจังไหม ถ้าจะศึกษาเร่ือง น้ีต้องปิดจุดบอด “ลูบหน้าปะจมูก” ให้ได้ ก็ฝากไว้ให้คิด ปีหน้าอายุจะย่างเข้า ๖๙ ปี แล้ว ขอบคณุ ท่มี าคุยดว้ ย” คาสัมภาษณ์ ดร.โสภณ ธนะมัย อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านเกษตรและประมงเพียงคนเดียวของ คณะกรรมการการอาชีวศึกษาสมัยแรกและสมัยที่สองติดต่อกัน ผู้ศึกษาใช้คาสัมภาษณ์น้ีเป็นแนวทางในการ ทาการศึกษา ซ่ึงรูปแบบของการศึกษาไม่สามารถดาเนินการได้ตามรูปแบบของระเบียบวิธีวิจัยอย่างเคร่งครัด เน่อื งจากมเี วลาจากัดสาหรบั การศึกษาคร้ังนี้ ขอขอบพระคุณ ๑. ผู้อานวยการสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ (ผอ.วิศวะ คงแก้ว) และผู้อานวยการสถาบันการ อาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ผอ.พรณรงค์ วรศิลป์) ที่ให้เกียรติและมอบความไว้วางใจให้ผู้ศึกษา ท้ัง ๒ ได้มีโอกาสรับใช้ประเทศชาติ เพราะผู้ศึกษาตระหนักเป็นอย่างยิ่งว่า “อาชีวศึกษาเกษตร คือหัวใจของ ประเทศไทย” ๒. ผู้เก่ียวข้องจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ๑๐ แห่ง สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ๑๐ แห่งและวิทยาลัยประมง ๒ แห่ง สถาบันการ อาชวี ศึกษาเกษตรภาคใต้ ท่ีใหค้ วามอนุเคราะหท์ ่ีพักและการเดนิ ทาง รวมทง้ั ให้ข้อมูลในการศึกษาครง้ั นี้ ๓. คณบดวี ิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ที่เห็น ความสาคญั และอนุญาตให้ทาการศกึ ษา ลาวัณย์ วจิ ารณ์ ศกั ด์ศิ รี รกั ไทย ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๙

สำรบัญ ๑ คานา ๒ หลักการและเหตุผล ๓ วตั ถุประสงคใ์ นการศกึ ษา ๕ นยิ ามศพั ทเ์ ชงิ ปฎบิ ตั กิ ารท่ใี ชใ้ นประเดน็ ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ๕ วิธีการศกึ ษาและผลการศึกษา ๑๗ ๒๓ ระยะท่ี ๑ ๓๑ ระยะที่ ๒ ระยะที่ ๓ สรุปและขอ้ เสนอแนะ

๑ ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ ทีเ่ หมาะสมในการเรยี นการสอนระดับหลักสตู รปริญญาตรอี าชีวศึกษาเกษตร เพ่อื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน สาหรบั สถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคใต้ และสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื หลกั การและเหตุผล การประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรในอุดมศึกษา มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้นักศึกษามั่นใจว่า ตนเองจะได้รับความรู้และการพัฒนาทักษะท่ีเป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพภายหลังจบการศึกษา ส่วนผู้ใช้บัณฑิตก็จะได้มั่นใจได้ว่าบัณฑิตท่ีรับเข้ามาทางานสามารถปฏิบัติงานได้ เป็นคนท่ีมีความรับผิดชอบ และสามารถพัฒนาตนเองได้ ในขณะท่ีสังคมเองก็มีความพึงพอใจ และมีความม่ันใจว่าหลักสูตรจะผลิตคนท่ีมี คุณภาพในสังคม (ทปอ., ๒๕๕๙) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ได้ ออกประกาศเร่ืองหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยระบุให้สถาบันอุดมศึกษามีอิสระในการเลือกพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยยึดหลัก เสรีภาพทางวิชาการและมีอิสระในการดาเนินการของสถานศึกษา (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, ๒๕๕๘) จากประกาศของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาดังกล่าว ทาให้ระบบประกันคุณภาพ การศึกษาท่ีสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาสามารถเลือกใช้ได้ อาจเป็นระบบที่คณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในระดบั อุดมศกึ ษาพฒั นาขึ้น หรือเปน็ ระบบที่สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาข้ึนโดยผ่านการพิจารณา จากสภาสถาบนั และเสนอคณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในระดับอดุ มศกึ ษาพจิ ารณาให้ความเห็นชอบ ซ่ึง สถาบันอุดมศึกษาต้องรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในต่อต้นสังกัดเพื่อพิจารณา และเปิดเผยต่อ สาธารณะชน ซ่ึงเป็นไปตามมาตราที่ ๔๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๕ และฉบับท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๕๓ เพือ่ นาไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา, ๒๕๕๘) การเปิดหลักสูตรระดับปริญญาของสถาบันการอาชีวศึกษา ซ่ึงได้ประกาศไว้ตามมาตรา ๑๖ แห่ง พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ ว่า ให้สถาบันการอาชีวศึกษาเป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพ และเทคโนโลยี และตามมาตรา ๔๒ สถาบันการอาชีวศึกษาสามารถให้ปริญญาในสาขาที่มีการสอนในสถาบัน ได้ ซ่ึงหลักสูตรดังกลา่ วจะต้องจัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาเช่นเดียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา

๒ ระดับหลักสูตรในระดับอุดมศึกษา(สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สานักคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา, ๒๕๕๘) กระทรวงศึกษาธิการมีประกาศให้ใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษาระดับปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อการ ประกนั คุณภาพภายในของสถาบันการอาชีวศกึ ษาประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน ๑๒ ตัวบง่ ชี้ ต่อมาคณะกรรมการ ประกันคุณภาพภายใน การอาชีวศึกษามีประกาศเร่ืองหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกันคุณภาพ ภายในการอาชีวศึกษา ระดับปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยกาหนดเกณฑ์ การดาเนินงานตามมาตรฐานการ อาชีวศกึ ษาระดับปริญญา พ.ศ. จานวน ๓๐ ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ใหใ้ ช้กับสถาบันการอาชีวศึกษาท้ังมด ต้ังแต่ปี การศกึ ษา ๒๕๕๘ เปน็ ต้นไป (สานักมาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวิชาชีพ, ๒๕๕๘) จะเห็นได้ว่าสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในขึ้ เพื่อให้ สถาบันการอาชีวศึกษา ใช้ดาเนินการในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแต่ละสถาบัน แต่ในขณะท่ี คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา (๒๕๕๗) ระบุให้สถาบันการอาชีวศึกษาสามารถเลือก พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีมีความสอดคล้องกับบริบทของสถาบันนั้นได้ (สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา, ๒๕๕๘) ดงั นั้นสถาบนั การอาชวี ศึกษาเกษตร จึงสมควรทาการศกึ ษาเพื่อพฒั นาตัวช้ีวัดความสาเร็จท่ีสะท้อนถึง คุณภาพท่ีแท้จริงของการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี เพื่อใช้สาหรับการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในของสถาบันของตนเองเพิ่มเติมจากตัวชี้วัดความสาเร็จที่สานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษากาหนดใหใ้ ช้ในการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในของสถาบนั การอาชวี ศึกษา วัตถปุ ระสงค์ การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดความสาเร็จที่สะท้อนถึงคุณภาพที่แท้จริงของการ เรียนการสอนระดบั หลกั สูตรปริญญาตรี เพอื่ ใชป้ ระกันคุณภพการศึกษาภายในของตนเอง สาหรับสถาบันการ อาชีวศกึ ษาเกษตรภาคใตแ้ ละสถาบนั การอาชวี ศึกษาเกษตรภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

๓ นิยามศพั ทเ์ ชิงปฏบิ ตั ิการทใ่ี ช้ในประเด็นตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ ประเด็นตัวชีว้ ัดความสาเร็จ หมายถึง ข้อความสาคัญของตัวช้ีวัดความสาเร็จซึ่งในการศึกษา คร้ังนี้ได้แก่ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ งานวิจัยและหรือ ส่ิงประดิษฐ์ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ การเผยแพร่ มาตรฐานวิชาชีพ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลักแล สมรรถนะทวั่ ไป และสมรรถนะวิชาชพี โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพ หมายถึง รายวิชาในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพจานวน ๖ หน่วยกิต ของหลกั สูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต งานวจิ ัย หมายถึง ผลการศึกษาของนักศึกษาท่ีมีลักษณะเป็นงานวิจัยจาก การเรยี นวิชาโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี สิ่งประดษิ ฐ์ หมายถึง ผลการศึกษาของนักศึกษาท่ีมีลักษณะเป็นส่ิงประดิษฐ์ (ชน้ิ งาน) จากการเรยี นวชิ าโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ การเผยแพรง่ านวจิ ัย หมายถึง (๑) การนาเสนอบทความวิจัยในท่ีประชุมวิชาการ ระดับชาติในรูปแบบ oral หรือ poster และบทความฉบับ สมบูรณ์ (Full paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาก ก า ร ป ร ะ ชุ ม ( Proceeding) ห รื อ ( ๒ ) ตี พิ ม พ์ ผ ล ง า น ใ น วารสารวชิ าการระดับชาตทิ ี่ปรากฎอยู่ในฐานข้อมูล Thai Journal Citation Index Center (TCI) หรือวารสารวิชาการระดับชาติ ตามประกาศของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา, ๒๕๕๘) การเผยแพรส่ ิง่ ประดษิ ฐ์ หมายถึง (๑) การนาเสนอผลงานส่ิงประดิษฐ์ในท่ีประชุมวิชาการ ระดับชาติ หรือ (๒) การนาเสนอใหห้ น่วยงานในท้องถิ่นและชุมชน ได้นาไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐานวิชาชพี หมายถึง เกณฑ์การประเมินสมรรถนะของนักศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาวิชาชีพ ๓ ด้าน คือคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะ หลกั และสมรรถนะทัว่ ไป และสมรรถนะวชิ าชพี

๔ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ หมายถึง (๑) ปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ มีวินัย ซื่อสัตย์ ประหยัด ขยัน อดทน สนใจ ใฝ่รู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (หลกั สูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาเทคโนโลยีการผลติ พืช (ต่อเนื่อง) (๒) ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความรับผดิ ชอบ มีวินัย ซ่ือสัตย์ มุ่งมั่น ปฏิบัติงาน คานึงถึงความปลอดภัย สนใจ ใฝ่รู้และมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ (หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการ เพาะเล้ยี งสัตวน์ ้า (ตอ่ เน่ือง) สมรรถนะหลักและสมรรถนะทว่ั ไป หมายถึง เป็นผู้มีความรู้และทักษะด้านการส่ือสารการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน การทางานร่วมกับผู้อื่น การใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์ การ ประยุกต์ใชต้ วั เลข การจดั การและการพฒั นางาน สมรรถนะวิชาชพี หมายถึง เป็นผู้มีสมรรถนะในการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะใน สาขาวชิ าทศ่ี ึกษาดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) ผลิตหรอื จัดการปัจจยั การผลิตและหรือบริการทางด้าน.....ตาม หลกั การและกระบวน ๒) วางแผน เตรียมการผลิตและหรือบริการทางด้าน.....ตาม หลกั การและกระบวนการ ๓) ผลติ และหรอื บรกิ ารทางด้าน.... ตามหลกั การและกระบวนการ ๔) จัดการ ควบคุม ประเมินผลการผลิตและหรือบริการทางด้าน ......ตามหลกั การและกระบวนการ ๕) จัดการผลผลิตและผลิตผล.......หลังการผลิตตามหลักการและ กระบวนการ ๖) จัดจาหน่ายผลผลิตและผลผลิต........ตามหลักการและ กระบวนการ ๗) วิจัยและพัฒนาเก่ียวกับปัจจัยการผลิต กระบวนการผลิต การ จัดการผลผลิตและผลิตผลและหรือการปฏิบัติงานผลิต/บริการ ดา้ น.......

๕ วิธกี ารและผลการศกึ ษา วิธีการและผลการศึกษาแบ่งออกเป็น ๓ ระยะ ได้แก่ ระยะท่ี ๑ การตรวจเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการ พฒั นาตวั ช้วี ดั ความสาเร็จ ระยะที่ ๒ เปน็ การจดั สัมมนากลุ่ม (focused group) ผู้แทนผู้เกี่ยวข้องกับหลักสูตร ระดับปริญญาของสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ร้อยเอ็ด และสถาบนั การอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกระบ่ี และระยะท่ี ๓ จัด สัมมนากลุ่มคณาจารยเ์ ป็นรายสถานศึกษาในสังกดั สถาบนั การอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ ระยะที่ ๑ การตรวจเอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ๑.๑ ตวั ชี้วดั ความสาเร็จตามเกณฑก์ ารดาเนินการตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาระดับ ปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในการอาชีวศกึ ษาได้มีประกาศลงวันท่ี ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เรื่องหลกั เกณฑ์และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาระดับปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๘ ให้สถาบันการอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ดาเนินการประกันคุณภาพภายในการ อาชีวศึกษาระดับปริญญา โดยให้สถาบันดาเนินการตามเกณฑ์การดาเนินการตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ระดับปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๘ จานวน ๓๐ ตัวช้ีวัดความสาเร็จ ดังตารางท่ี ๑ สรุป๓๐ตัวชี้วัดความสาเร็จตาม มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาระดับปรญิ ญา พ.ศ.๒๕๕๘ ตารางท่ี ๑ สรปุ ๓๐ ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษาระดับปรญิ ญา พ.ศ.๒๕๕๘ ลาดบั ท่ี ตัวช้ีวดั ความสาเรจ็ ประเภท ๑. ระดับการปฏิบตั ิในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา กระบวนการ ๒. ระดับการปฏิบัติในการบริหารจัดการท่ีดีตามหลักธรรมาภิบาลของสภาสถาบัน กระบวนการ และผบู้ ริหารทุกระดับของสถาบัน ๓. ระดับการปฏบิ ตั ใิ นการบริหารจัดการด้านทรพั ยส์ ินงบประมาณและรายได้ กระบวนการ ๔. ระดบั การปฏบิ ตั ิในการบรหิ ารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร กระบวนการ ๕. ระดับการปฏบิ ัติในการบริหารจดั การด้านบคุ ลากร กระบวนการ ๖. ระดบั การปฏิบตั ิในการบริหารจัดการด้านการศึกษา กระบวนการ

๖ (ตอ่ ) ตารางท่ี ๑ สรุป ๓๐ ตัวชว้ี ดั ความสาเร็จตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญา พ.ศ.๒๕๕๘ ลาดบั ที่ ตัวชว้ี ัดความสาเรจ็ ประเภท ๗. ระดับการปฏิบัติในการส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยเพ่ือสร้างงานวิจัย นวัตกรรม กระบวนการ ส่ิงประดิษฐ์ และงานสรา้ งสรรค์ ๘. ระดบั การปฏบิ ตั ใิ นการถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยี กระบวนการ ๙. ระดบั การปฏิบัตใิ นการให้บริการวิชาการและวชิ าชีพ กระบวนการ ๑๐. ระดบั การปฏบิ ัตใิ นการดาเนนิ การด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและสง่ิ แวดล้อม กระบวนการ ๑๑. ระดบั การปฏบิ ัตใิ นการเสรมิ สรา้ งใหส้ ถาบนั เป็นสงั คมฐานความรู้ กระบวนการ ๑๒. ระดบั การปฏิบัติในการบรหิ ารจดั การสถาบนั เปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ กระบวนการ ๑๓. ระดับการปฏิบัตใิ นการติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา กระบวนการ ๑๔. ระดบั การปฏิบัตใิ นการประเมินคณุ ภาพภายใน กระบวนการ ๑๕. ระดบั การปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาหลักสูตร กระบวนการ ๑๖. ระดับการปฏิบตั ใิ นการจัดการเรยี นการสอน กระบวนการ ๑๗. ระดับการปฏิบตั ิในการจดั การฝึกประสบการณ์ทกั ษะวชิ าชพี หรอื การฝึกอาชีพ กระบวนการ ๑๘. ระดับการปฏิบัติในการส่งเสริม สนับสนุน การจัดทาโครงการพัฒนาทักษะ กระบวนการ วชิ าชพี ๑๙. รอ้ ยละของผลงานโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพที่เกิดผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ผลผลิต และเผยแพร่ ๒๐. รอ้ ยละของนักศึกษาทผ่ี า่ นเกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี ผลผลติ ๒๑. รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาท่ีไดร้ บั การพัฒนาและนามาใช้ประโยชน์ ผลผลติ ๒๒. ร้อยละของผลงานวจิ ัย และงานสรา้ งสรรค์ท่ีไดน้ าไปใชป้ ระโยชนแ์ ละเผยแพร่ ผลผลติ ๒๓. ระดบั การปฏบิ ัติในการพัฒนาคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของบัณฑิต กระบวนการ ๒๔. ระดบั การปฏิบตั ใิ นการพฒั นาสรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไปของบัณฑติ กระบวนการ ๒๕. ระดับการปฏบิ ัตใิ นการพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี ของบัณฑิต กระบวนการ ๒๖. ระดับความพงึ พอใจตอ่ คุณภาพบัณฑิตด้านคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ผลผลิต ๒๗. ระดับความพงึ พอใจตอ่ คุณภาพบัณฑติ ดา้ นสมรรถนะหลักและสมรรถนะทวั่ ไป ผลผลิต ๒๘. ระดบั ความพึงพอใจต่อคณุ ภาพบัณฑิตดา้ นสมรรถนะวชิ าชีพ ผลผลิต ๒๙. ระดับคุณภาพในการพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ผลผลติ ๓๐. ระดบั คณุ ภาพในการประกันคณุ ภาพภายใน ผลผลติ

๗ จากตารางจะเหน็ ไดว้ ่า จากจานวนตัวช้ีวัดความสาเร็จท้ังส้ิน ๓๐ ตัวชี้วัดน้ันมีจานวนถึง ๒๑ ตัวชี้วัดความสาเร็จเป็นประเภทกระบวนการคิดเป็นร้อยละ ๗๐ ส่วนที่เหลือ ๙ ตัวชี้วัดความสาเร็จเป็น ประเภทผลผลติ ภายใน ๓๐ ตวั ชวี้ ัดความสาเร็จเหล่าน้ี มี ๑๒ ตวั ชว้ี ัดความสาเรจ็ ท่ีเก่ียวกบั การเรียนการสอน ซึ่งเทียบได้กับระดับหลักสูตรของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาโดยจานวน ๗ ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ เป็นประเภทกระบวนการ และจานวน ๕ ตัวชี้วัดความสาเร็จเป็นประเภทผลผลิต ดังตาราง ท่ี ๒ ตารางที่ ๒ ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ ท่เี กย่ี วกบั การเรยี นการสอน ลาดบั ท่ี ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ ประเภทกระบวนการ ลาดับที่ ตัวชี้วัดความสาเร็จประเภทผลผลิต ๑๕ ระดบั การปฏิบตั ใิ นการพัฒนาหลกั สตู ร ๑๙ ร้อยละของผลงานโครงการพัฒนาทักษะ วิชาชีพท่ีเกิดผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ๑๖ ระดบั ปฏบิ ัติในการจัดการเรยี นการสอน ๒๐ และเผยแพร่ ๑๗ ๒๖ ร้ อ ย ล ะ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ท่ี ผ่ า น เ ก ณ ฑ์ ก า ร ๑๘ ระดับการปฏิบัติในการฝึกประสบการณ์ ๒๗ ประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี ๒๓ ทักษะวิชาชีพหรือการฝึกอาชีพ ๒๘ ระดับความพึงพอใจต่อคณุ ภาพบัณฑิตด้าน ๒๔ ระดับปฏิบัติในการส่งเสริม สนับสนุน การ คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ๒๕ ทาโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี ระดบั ความพึงพอใจต่อคุณภาพบัณฑิตด้าน ระดับปฏิบัติในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึง สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ประสงคข์ องบณั ฑติ ระดับความพึงพอใจตอ่ คณุ ภาพบัณฑิตด้าน ระดับปฏิบัติในการพัฒนาสมรรถนะหลัก สมรรถนะวชิ าชีพ และสมรรถนะทัว่ ไป ร ะ ดั บ ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ วิชาชพี ของบณั ฑติ

๘ ๑.๒ ระบบการประกนั คณุ ภาพ หนังสือ “คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗” โดย สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา ไดร้ ะบวุ ่า.. ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในที่พัฒนาโดยสานกั งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา...ภายใต้หลักการสาคัญ (คือ)... ตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นสามารถประเมินได้ ครบทุกมิติของระบบการประเมินคุณภาพคือปัจจัยนาเข้า กระบวนการและผลผลิต หรอื ผลลพั ธ.์ .. เ ห็ น ไ ด้ ว่ า ห ลั ก ก า ร ดั ง ก ล่ า ว นี้ ไ ด้ อิ ง ต า ม ห ลั ก ก า ร แ ล ะ แ น ว คิ ด ข อ ง ท ฤ ษ ฎี ร ะ บ บ ที่ ม อ ง องค์ประกอบทั้งหมดของระบบมากกว่าที่จะมองเพียงองค์ประกอบส่วนหน่ึงส่วนใดของระบบซึ่งประกอบด้วย องค์ประกอบที่สาคัญ คือปัจจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ทั้ง ๓ องค์ประกอบนม้ี คี วามสมั พันธ์เชอื่ มโยงกันโดยดูจากกระบวนการปอ้ นขอ้ มลู ย้อนกลับ (feedback) ว่าผลผลิตที่ ได้รับจากกระบวนการและปัจจัยนาเข้าเหล่านั้นตรงกับเป้าหมายหรือไม่นั้นมีสาเหตุเกิดจากองค์ประกอบใด ของระบบ (โสภณ, ๒๕๔๙) ดงั แผนภาพที่ ๑ (input) (process) (output) ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลติ (feedback) การป้อนข้อมูลยอ้ นกลับ แผนภาพที่ ๑ ทฤษฎีระบบ จาก ๓๐ ตัวชว้ี ดั ความสาเร็จของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่ได้กาหนดน้ัน จะ เหน็ ไดว้ ่าแต่ละตัวชว้ี ดั ความสาเร็จนัน้ ใชเ้ พอ่ื การประเมนิ คณุ ภาพในองคป์ ระกอบเพียงองค์ประกอบส่วนใดส่วน หนงึ่ คือกระบวนการหรอื ผลผลิตเท่าน้นั ไมไ่ ด้พิจารณาถึงความเช่ือมโยงในลักษณะองค์รวม ขององค์ประกอบ ในระบบตามทฤษฎีระบบ ซึง่ เป็นหวั ใจในระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของระดับอุดมศึกษา ดังน้ันจึงสมควรกาหนดตัวช้ีวัดความสาเร็จมิติด้านผลผลิตควบคู่ไปกับตัวชี้วัดความสาเร็จ ด้านกระบวนการ และในทานองเดียวกัน ตัวชี้วัดความสาเร็จมิติด้านกระบวนการก็ต้องกาหนดตัวชี้วัด

๙ ความสาเร็จด้านผลผลิตควบคู่ไปด้วย รวมทั้งต้องระบุมิติด้านปัจจัยนาเข้าเอาไว้ด้วยเพื่อสนับสนุนและ สง่ เสรมิ ใหก้ ารประกนั คณุ ภาพด้วยตัวชีว้ ดั ความสาเร็จเหลา่ น้ันมีคณุ ภาพอยา่ งแทจ้ รงิ ๑.๓ คุณลักษณะและคุณสมบตั ขิ องตัวช้ีวดั ตัวชี้วัดมี ๒ ลักษณะ ได้แก่ ตัวช้ีวัดเชิงวัตถุวิสัย (objective indicator) ที่มีลักษณะเป็น ตวั เลขทางคณติ ศาสตร์ ไม่ข้ึนกับความรู้สึกของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งต่างจากตัวช้ีวัดเชิงอัตวิสัย (subjective indicator) ทีเ่ ป็นข้อมูลแสดงความร้สู กึ ซงึ่ ข้ึนอยูก่ ับบุคคล มีลกั ษณะเปน็ นามธรรม เชน่ ความพ่ึงพอใจ เจตคติ ความเชือ่ ความคิดเหน็ เปน็ ตน้ ส่วนคุณสมบัติท่ีจาเป็นต้องมีของตัวช้ีวัด คือ ความเท่ียงตรง (validity) ซ่ึงหมายความว่า ตัวช้ีวัดน้ันต้องมีความสมเหตุ สมผลที่อธิบายได้เป็นรูปธรรม และความมีอยู่ของข้อมูลท่ีเป็นประเด็นของ ตัวชี้วัด(availability) หมายความว่า ข้อมูลเหล่านั้นต้องมีการรวบรวมและจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ(โสภณ, ๒๕๔๙) จากลักษณะและคุณสมบัติของตัวชี้วัดดังกล่าวของโสภณ ธนะมัยอาจสรุปเป็นหลักได้ว่า ตัวช้ีวดั เชิงอัตวิสัย จะเปน็ ประเดน็ ตวั ช้วี ัดทมี่ ีลักษณะเป็นนามธรรม ซึ่งจะต้องทาให้เกิดคุณสมบัติ validity คือ ต้องทาตัวช้ีวัดน้ัน ให้เป็นคาอธิบายท่ีเป็นรูปธรรม รวมทั้งต้องคานึงถึง availability คือ ความมีอยู่ของข้อมูล ซ่ึงต้องถกู รวบรวมและจดั เกบ็ ไวอ้ ย่างเปน็ ระบบ หลักการดงั กลา่ วข้างต้น เมื่อนามาเทียบกับ ๑๒ ตัวช้ีวัดความสาเร็จด้านการเรียนการสอนท่ี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาหนดนั้น จะพบว่าประเด็นตัวชี้วัดความสาเร็จมีความเป็นนามธรรม (ตารางที่ ๓)

๑๐ ตารางท่ี ๓ ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ เพื่อการเรียนการสอนท่ีมคี วามเปน็ นามธรรม ลาดบั ท่ี ประเด็นตัวชี้วดั ความสาเร็จ ๑๕ ระดบั การปฏิบตั ใิ นการพัฒนาหลกั สตู ร ๑๖ ระดบั ปฏิบัตใิ นการจดั การเรียนการสอน ๑๗ ระดับการปฏบิ ัตใิ นการฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวชิ าชพี หรือการฝึกอาชพี ๑๘ ระดบั ปฏบิ ัติในการสง่ เสริม สนับสนนุ การทาโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ ๑๙ ร้อยละของผลงานโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพทเ่ี กิดผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์และเผยแพร่ ๒๐ ร้อยละของนักศึกษาทผ่ี ่านเกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ ๒๓ ระดบั ปฏบิ ัตใิ นการพฒั นาคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องบัณฑิต ๒๔ ระดับปฏิบตั ใิ นการพัฒนาสมรรถนะหลกั และสมรรถนะท่ัวไป ๒๕ ระดบั ปฏบิ ตั ิในการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี ของบณั ฑติ ๒๖ ระดบั ความพึงพอใจต่อคุณภาพบัณฑติ ด้านคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ๒๗ ระดับความพึงพอใจตอ่ คณุ ภาพบัณฑิตด้านสมรรถนะหลกั และสมรรถนะท่วั ไป ๒๘ ระดับความพงึ พอใจตอ่ คุณภาพบัณฑติ ดา้ นสมรรถนะวชิ าชีพ ดังน้ันจึงต้องทาประเด็นตัวช้ีวัดความสาเร็จในตารางให้เป็นธูปธรรม (validity) โดยต้อง คานึงถึงข้อมูลของตัวชี้วัดความสาเร็จเหล่านั้นว่าต้องมีอยู่ ถูกรวบรวม และจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ (availability) ๑.๔ เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ หนังสือ “คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗” ได้ กาหนดกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตาม “วงจรคุณภาพ” ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอนคือการ วางแผน (Plan) การดาเนินงาน (Do) การประเมินคุณภาพ (Check/Study) และการเสนอนแนวทางการ ปรบั ปรุง (Act) วงจรคุณภาพนใี้ นวงวชิ าการทางการบรหิ ารเรียกว่าวงจร เดมม่ิง (Deming cycle) หรือวงจร PDCA ซึ่งถอื วา่ เปน็ วธิ กี ารทเ่ี ปน็ ขน้ั เป็นตอนในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ วงจร PDCA นี้ได้รับการยก ย่องว่ามีส่วนช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่นหลังสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ เน่ืองจากสอดคล้องกับ ลักษณะนิสัยท่ีมีความจงรักภักดีต่อองค์กร มองเห็นความสาเร็จของส่วนรวมมาก่อนเรื่องส่วนตัว (โสภณ, ๒๕๒๙)

๑๑ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้นาหลักการของวงจร PDCA มาเป็นกรอบกาหนด เกณฑ์ประเมินคณุ ภาพตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จประเภทกระบวนการ ดังตวั อยา่ งเช่น ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ ท่ี ๑๘: ระดับการปฏบิ ตั ิในการส่งเสริมสนัยสนุนการจัดทาโครงการพัฒนา ทักษะวชิ าชพี ๑) สถาบันมกี ารแต่งตงั้ คณะกรรมการและกาหนดอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบใน การส่งเสริม สนับสนนุ การจัดทาโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพ ๒) สถาบันมีแผนงานโครงการ กิจกรรมในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดทาโครงการ พฒั นาทกั ษะวิชาชพี โดยใชก้ ระบวนการวิจัยเปน็ ฐานและคานึงถึงหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓) สถาบนั มกี ารดาเนนิ การตามแผนงานโครงการกจิ กรรมที่กาหนด ๔) สถาบันมีการติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาเนนิ การ ๕) สถาบันมีการนาผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลไปปรับปรุงและพัฒนา ดาเนินการต่อไป ซงึ่ คณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้กาหนดเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพโดยพิจารณาว่าได้ มีการดาเนนิ ไปตามข้ันตอนครบถว้ นหรอื ไม่ ดงั น้ี ผลการปฏบิ ตั ิตามขัน้ ตอน ค่าคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอนครบ ๑ – ๕ ๕ ดีมาก ปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนครบ ๑, ๒, ๓ และ ๔ ๔ ดี ปฏิบตั ติ ามข้ันตอนครบ ๑, ๒, และ ๓ ๓ พอใช้ ปฏิบัติตามข้ันตอนครบ ๑ และ ๒ ๒ ตอ้ งปรบั ปรงุ ปฏบิ ัติตามขั้นตอน ๑ ๑ ต้องปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน จะเห็นได้ว่าการประเมินคุณภาพภายในลักษณะเช่นน้ีมีจุดอ่อนท่ีชัดเจนคือถ้าหากข้ันตอน แรกได้แก่ขั้นตอนการแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ผิดพลาด เช่นไม่เต็มใจท่ีจะปฏิบัติหน้าที่ หรือปฏิบัติอย่างย่อ หย่อน ไม่อุทิศตน เป็นต้น ก็จะทาให้ขั้นตอนต่อไปท้ังหมดเกิดความผิดพลาดข้ึนมาได้ อุปมาเหมือนการกลัด กระดุมเสื้อ ถ้ากลดั ผิด ยอ่ มผดิ ไปตลอด นอกจากนี้ถึงแม้วา่ จะมีแผน แตเ่ ป็นแผนท่ีไม่เอื้อต่อการนาไปปฏิบัติได้ จริง บ่อยครั้งท่ีมักพบว่า แผนได้รับการจัดทา แต่กลับถูกจัดเก็บเข้าแฟ้ม ส่วนการดาเนินงานก็ทากันไปตาม สถานการณ์ ดังนน้ั ตอ่ ให้มีแผนดเี พียงใด เม่อื ไม่ถูกนาไปปฏิบตั ิ กค็ ือความลม้ เหลวนั่นเอง

๑๒ ในสว่ นเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพตัวชวี้ ดั ความสาเรจ็ ประเภทผลผลิต ซึ่งโดยหลักการแล้วจะ กาหนดเฉพาะผลท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรยี น โดยมีเป้าหมายเป็นเชิงปริมาณมีค่าเป็นตัวเลขท่ีแสดงถึงเกณฑ์คุณภาพใน การพัฒนาผู้เรยี น ทั้งสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้ ใชห้ ลักการน้ีเชน่ เดยี วกนั ดงั ตัวอยา่ งขอสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เช่น ตัวช้ีวัดความสาเร็จที่ ๑๙: ร้อยละของผลงานโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพที่เกิดผลสาเร็จ และเผยแพร่ ร้อยละ ๙๐.๐๐ ขน้ึ ไป ระดับคุณภาพ = ดมี าก รอ้ ยละ ๘๐.๐๐ – ๘๙.๙๙ ระดบั คุณภาพ = ดี รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ ระดบั คุณภาพ = พอใช้ ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ ระดบั คุณภาพ = ต้องปรบั ปรงุ ต่ากว่าร้อยละ ๖๐.๐๐ ระดบั คณุ ภาพ = ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งดว่ น ๑.๕ มาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี ผู้สาเร็จการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพโดยมีคุณลักษณะและสมรรถนะ ครอบคลมุ ๓ ด้านดงั นี้ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ เปน็ ส่วนประกอบท่ี ๑ ของมาตรฐานการศกึ ษาตามหลักสูตรทางอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ซึ่งคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์จาแนกออกเป็น ๓ ด้าน คือ (สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, ๒๕๕๘ ) ด้านที่ ๑ เป็นผู้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ ประกอบไปดว้ ย “คาสาคญั ” ดังน้ี ๑) มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ความเสียสละ และซอื่ สตั ย์สจุ ริต ๒) มวี จิ ัย และความรบั ผดิ ชอบต่อวชิ าชพี และสังคม ๓) มจี ติ สานกึ และจรรยาบรรณทางวิชาชพี

๑๓ ดา้ นท่ี ๒ ด้านพฤติกรรมลักษณะนสิ ัย ประกอบดว้ ย “คาสาคญั ” ดงั นี้ ๑) ขยนั ประหยัด อดทน ๒) มีภาวะความเปน็ ผู้นา ความเชือ่ มน่ั ในตนเอง รวมทงั้ มมี นษุ ยสัมพันธ์ และจิตวิทยาในการ ทางานร่วมกบั ผู้อนื่ ๓) เคารพกฎเกณฑ์ ระเบียบขน้ั ตอนต่างๆ ขององคก์ ร และสังคม ๔) น้อมนาหลกั ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการดาเนินชวี ิต ๕) เตรียมร่างกายให้พร้อมในการปฏิบัติงานตามกฎข้อบังคับ สุขภาพ ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม ๖) มุ่งมน่ั ปฏบิ ัติและจดั การงานใหเ้ สร็จสมบรู ณ์ ตามเปา้ หมายโดยคานึงถึงประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ล ด้านท่ี ๓ ทกั ษะทางปัญญา ประกอบด้วย “คาสาคัญ” ดงั น้ี ๑) สนใจใฝร่ ู้ มีความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ และมวี ิสัยทศั น์ท่ที นั สมัย ๒) มีความรู้ในหลักทฤษฎีของสาขาอาชีพเกษตรกรรมที่มีการใช้เทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง และเปน็ ระบบ ๓) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุป และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา และหรอื พัฒนา ตามหลักการของงานอาชพี ซ่งึ จากการวิเคราะห์ “สมรรถนะรายวิชา” ของรายวิชาต่างๆ ในหมวดวิชา ทั้งทักษะวิชาชีพ ทักษะชีวิตตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช (ต่อเนื่อง) พบคาสาคัญท่ีแสดงถึง “คุณลักษณะท่พี ง่ึ ประสงค์”ท้งั ๓ ดา้ นที่ต้องทาใหเ้ กดิ ในตวั นักศึกษา ได้แก่ ๑) ปฏิบัตงิ านด้านความรับผดิ ชอบ มวี นิ ัย ซ่ือสตั ย์ ๒) ประหยัด ขยัน อดทน ๓) ประยุกตใ์ ช้หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๔) ออกแบบกจิ กรรมเรื่องความปลอดภยั ๕) ใช้หลักการสร้างมนษุ ยสัมพันธ์ในองค์กร ๖) สนใจ ใฝ่รู้ มคี วามคิด ริเริม่ สร้างสรรค์” ๗) วิเคราะหป์ ัญหาท่รี บั ผิดชอบ

๑๔ ซ่งึ ข้อความดังกล่าว เป็นข้อความสาคัญท่ีบ่งช้ี การมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ทั้ง ๓ ด้าน คือ ข้อความท่ี ๑ บ่งช้ีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านท่ี ๑ คือเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ขอ้ ความท่ี ๒, ๓, ๔ และ ๕ บ่งชี้คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ด้านที่ ๒ คือ พฤติกรรม ลักษณะนิสัย ข้อความท่ี ๖ และ ๗ บง่ ชคี้ ุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคด์ ้านท่ี ๓ คอื ทกั ษะทางปญั ญา ดังน้ันจะเห็นได้ว่า ผลการศึกษาของรายวิชาต่างๆในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพและทักษะชีวิต สามารถสะทอ้ นให้เห็นถึงคณุ ภาพของคณุ ลักษณะที่พึ่งประสงคใ์ นตัวนกั ศกึ ษาได้ สมรรถนะหลกั และสมรรถนะทวั่ ไป เป็นส่วนประกอบที่ ๒ ของมาตรฐานการศึกษาตามหลักสูตรการอาชีวศึกษาเกษตรระดับ ปริญญาสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ระบุเอาไว้ว่า ผู้ท่ีมีสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไปคือผู้ท่ีมี ความรแู้ ละทักษะด้านการส่ือสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้ และการปฏิบัติงาน การ ทางานร่วมกับผู้อ่ืน การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคนิคทางคณิตศาสตร์ การจัดการและการ พัฒนางาน ซ่ึงจากการวิเคราะห์ “สมรรถนะรายวิชา”ของรายวิชาต่างๆในหมวดวิชาทักษะชีวิตของ หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑิตสาขาเทคโนโลยีการผลติ พืช (ต่อเน่ือง) พบวา่ ๑) สมรรถนะรายวิชาในกลุ่มวิชาภาษาไทย/ภาษาต่างประเทศ มีคาสาคัญท่ีบ่งช้ี ถึง ความสามารถ ๑.๑) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน พร้อมทั้ง เลือกใช้รูปแบบของส่ือการนาเสนออยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๑.๒) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและภาษาต่างประเทศได้อย่างน้อย 1 ภาษา โดยเฉพาะ ภาษาอังกฤษ รวมท้ังสามารถสือ่ สารข้ามวัฒนธรรมได้อยา่ งเหมาะสม ๑.๓) บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเก่ียวข้องกับงาน อาชีพ

๑๕ ๒) สมรรถนะรายวิชาในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีคาสาคัญที่บ่งช้ี ถึง ความสามารถ ๒.๑) ใช้เทคนิคพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมลู ในงานอาชีพ ๒.๒) ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคนิคการวิจัยเพอื่ แกป้ ัญหาและต่อยอดองค์ ความร้ใู นงานอาชีพ ๓) สมรรถนะรายวิชาในกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มีคาสาคัญท่ีบ่งช้ี ถึง ความสามารถ ๓.๑) ใช้หลกั ศาสนา ปรัชญา ในการพฒั นาตนเอง การแกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้ง ในบทบาทของผนู้ า หรือในบทบาทของผรู้ ว่ มทีมทางาน ๓.๒)สืบค้น ตีความและประเมินสารสนเทศ วางแผน การพัฒนาการจัดการการเงินและ ธุรกิจในงานอาชพี ดังน้ันจะเห็นได้ว่า ผลการศึกษาในรายวิชาต่างๆในหมวดวิชาทักษะชีวิต สามารถสะท้อนให้ เห็นถงึ คณุ ภาพของสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทัว่ ไปในตัวนักศึกษาได้ สมรรถนะวิชาชพี เป็นส่วนประกอบท่ี ๓ ของมาตรฐานการศึกษาตามหลักสูตรการอาชีวศึกษาเกษตรระดับ ปริญญาสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ระบุเอาไว้ว่า ผู้ท่ีมีสมรรถนะวิชาชีพคือผู้ที่มีสมรรถนะในการ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ และทกั ษะในสาขาวิชาของแต่ละหลักสูตรใน ๗ ดา้ นคือ ๑) จัดการปัจจัยการผลิตและหรือบริการวิชาการทางดา้ น...ตามหลักการและกระบวนการ ๒) วางแผน เตรยี มการผลติ และหรือการบริการทางด้าน...ตามหลกั การและกระบวนการ ๓) ผลติ และหรอื การบริการทางดา้ น...ตามหลกั การและกระบวนการ ๔) จัดการ ควบคุม ประเมินผลการผลิตและหรือการบริการทางด้าน...ตามหลักการและ กระบวนการ ๕) จดั การผลติ ผลและผลติ ผล......... หลงั การผลิต.....ตามหลักการและกระบวนการ ๖) จดั จาหน่ายผลผลติ และผลติ ผล.........ตามหลกั และกระบวนการ ๗) วิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับปัจจัยการผลิต กระบวนการผลิต การจัดการผลผลิตและ ผลิตผล และหรือการปฏิบัตงิ านผลติ /บรกิ ารด้านการ....

๑๖ ซึ่งจากการวิเคราะห์ “สมรรถนะรายวิชา” ของรายวิชาต่างๆในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพของ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช (ต่อเน่ือง) พบว่า สมรรถนะวิชาชีพท้ัง ๗ ด้านปรากฎ อยู่ในรายวิชาตา่ งๆ ในหมวดวิชาทกั ษะวิชาชพี ดังน้ันจะเหน็ ไดว้ า่ ผลการศึกษาของรายวชิ าตา่ งๆ ในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพสามารถสะท้อน ถึงคณุ ภาพของสมรรถนะวิชาชีพในตวั นกั ศกึ ษาได้ ๑.๖ โครงสรา้ งหลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑติ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาสาย เทคโนโลยหี รือสายปฏิบัติการพ.ศ.๒๕๕๖ ระบุถึงโครงสร้างหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตประกอบด้วย ๓ หมวด วชิ าดงั นี้ ๑) หมวดวชิ าทกั ษะชีวติ รวมไม่น้อยกว่า ๑๕ หนว่ ยกิต ๒) หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ รวมไม่น้อยกว่า ๕๑ หน่วยกิต ประกอบด้วย ๔ กลุ่ม คือ กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ และโครงการพัฒนาทักษะ วชิ าชพี การกาหนดว่า ให้เป็นสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งน้ัน ต้องศึกษากลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะใน สาขาน้ันๆ รวมไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต นอกจากนี้กาหนดให้มีโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพจานวน ๖ หน่วยกติ ในกรณที ี่จดั การศึกษาระบบทวภิ าคี อาจยกเว้นการฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวิชาชพี ได้ ๓) หมวดวิชาเลอื กเสรี รวมไม่น้อยกวา่ ๖ หน่วยกติ

๑๗ ระยะท่ี ๒ เป็นการจดั สัมมนากลมุ่ (focused group) ผ้แู ทนผู้เก่ียวข้องกบั หลักสูตรระดบั ปริญญา ของสถาบนั การอาชวี ศึกษาเกษตร ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีร้อยเอด็ และสถาบันการอาชวี ศึกษาเกษตรภาคใต้ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกระบี่ ๒.๑ ผ้เู ข้ารว่ มสมั มนากลุ่ม ๒.๑.๑ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ้อยเอด็ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุดรธานี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ขอนแกน่ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี รีสะเกษ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยียโสธร วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสมี า วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชัยภมู ิ และวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ ีรมั ย์ คณาจารย์ผู้เข้าร่วมสัมมนากลุ่มจานวนท้ังส้ิน ๕๑ คน จาแนกตามวิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยดี ังแสดงในตารางที่ ๔ ตารางท่ี ๔ จานวนคณาจารย์ผ้เู ขา้ ร่วมสัมมนากลมุ่ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีรอ้ ยเอด็ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี จานวนผู้เขา้ ร่วมสมั มนากลมุ่ (คน) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี อ้ ยเอด็ ๑๗ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยอี ดุ รธานี ๒ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีขอนแกน่ ๗ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม ๕ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ ๖ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยยี โสธร ๕ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยอี ุบลราชธานี ๑ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสมี า ๔ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ัยภมู ิ ๓ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรมั ย์ ๑ ๒.๑.๒ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ประกอบด้วยวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี นครศรีธรรมราช วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีระนอง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพังงา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกระบ่ี

๑๘ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีตรัง วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสตลู วิทยาลัยประมงชุมพรเขตรอดุ มศักดิ์ และ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์ คณาจารย์ผู้เข้าร่วมสัมมนากลุ่มจานวนทั้งส้ิน ๑๕ คน จาแนกตามวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยี และวิทยาลยั ประมง ดงั แสดงในตารางท่ี ๕ ตารางที่ ๕ จานวนคณาจารย์ผู้เขา้ ร่วมสมั มนากลมุ่ ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยกี ระบ่ี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี จานวนผเู้ ขา้ ร่วมสัมมนากลมุ่ (คน) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครศรธี รรมราช ๑ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยกี ระบี่ ๑ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี ัทลุง ๔ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสตลู ๑ วทิ ยาลยั ประมงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ๑ วิทยาลยั ประมงติณสลู านนท์ ๗ ๒.๒ คณะผู้วิศึกษาได้กาหนดประเด็นเพ่ือขอความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมสัมมนากลุ่มจาก ทั้งสองสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร โดยทาการชี้แจงเป็น Power Point ก่อนท่ีจะทาการอภิปรายถึงข้อเท็จ จรในประเด็นตา่ งๆ โดยเฉพาะเม่ือผเู้ ข้าร่วมสมั มนากลุ่มมีความคดิ เหน็ วา่ “ไมแ่ น่ใจ” หรอื “ไมเ่ ห็นด้วย” ๒.๒.๑ ผู้ศึกษาชี้แจงประเด็นตัวช้ีวัดความสาเร็จที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยใช้ Power point ดงั แผนภาพท่ี ๒ ดงั น้ี

๑๙ จานวน ๓๐ ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ และประเภท ท่ี ๑๒ ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ และประเภท สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากาหนดน้นั มเี พยี ง ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน ๑.ระดับการปฏิบตั ิในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ๒. ระดับการปฏิบัตใิ นการบรหิ ารจดั การท่ีดตี ามหลักธรรมาภบิ าลของสภาสถาบนั และผบู้ รหิ าร ๓.ระดบั การปฏบิ ัติในการบริหารจดั การดา้ นทรัพย์สนิ งบประมาณและรายได้ ๔.ระดับการปฏิบัติในการบริหารจดั การดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารและผ้บู ริหาร ๕.ระดับการปฏิบตั ิในการบรหิ ารจดั การด้านบคุ ลากร ๖.ระดบั การปฏิบัติในการบริหารจดั การดา้ นการศึกษาและผบู้ ริหารทกุ ระดับของสถาบัน ๗.ระดบั การปฏบิ ตั ใิ นการส่งเสรมิ สนับสนนุ การวิจัยเพอ่ื สรา้ งงานวจิ ยั นวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ และงานสร้างสรรค์ ๘.ระดบั การปฏิบตั ิในการถา่ ยทอดวิทยาการและเทคโนโลยแี ละผู้บรหิ ารทกุ ระดบั ของสถาบนั ๙. ระดับการปฏบิ ตั ิในให้บรกิ ารวชิ าการและวิชาชพี ๑๐.ระดบั การปฏิบัติในการดาเนินการด้านศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรมและสง่ิ แวดลอ้ มและ ๑๑.ระดบั การปฏิบัติในการเสริมสร้างในสถาบันเป็นสังคมฐานความรู้ ๑๒.ระดบั การปฏิบตั ิใหก้ ารบรหิ ารจดั การสถาบนั เป็นสังคมแห่งการเรยี นรแู้ ละผบู้ รหิ ารทกุ ระดับ ๑๒ ตวั ชว้ี ดั ๑๓. ระดบั การปฏบิ ตั ิในการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ความสาเร็จ ๑๔.ระดบั การปฏิบัตใิ นการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถาบนั ๑๕.ระดับการปฏบิ ัติในการพฒั นาหลกั สตู รของสถาบัน ๑๖.ระดับการปฏิบตั ิในการจัดการเรยี นการสอน ๑๗.ระดับการปฏบิ ตั ิในการจัดการฝึกประสบการณ์ทักษะวชิ าชีพ หรอื การฝึกอาชีพสง่ิ แวดล้อม และประเภท ท่ี ๑๘.ระดับการปฏิบัตใิ นการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดทาโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ เกี่ยวกับการ เรยี นการสอน ๑๙.รอ้ ยละของผลงานโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี ท่เี กิดผลสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์และเผยแพร่ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๒๐.รอ้ ยละของนักศกึ ษาท่ผี า่ นเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชพี ของสถาบนั ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑.รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาทไี่ ดร้ บั การพัฒนาและนามาใชป้ ระโยชน์ ๒๒.รอ้ ยละของผลงานวจิ ัย และงานสรา้ งสรรคท์ ไี่ ด้นาไปใช้ประโยชนแ์ ละเผยแพร่ ๒๓.ระดับการปฏบิ ัติในการพัฒนาคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต ๒๔ ระดบั การปฏบิ ตั ิในการพฒั นาสรรถนะหลักและสมรรถนะท่วั ไปของบณั ฑติ และผู้บรหิ ารทกุ ๒๕.ระดบั การปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี ของบณั ฑติ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๖.ระดับความพงึ พอใจตอ่ คณุ ภาพบัณฑิตดา้ นคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ๒๗.ระดับความพงึ พอใจตอ่ คณุ ภาพบณั ฑิตดา้ นสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป ๒๘.ระดบั ความพงึ พอใจตอ่ คุณภาพบัณฑิตด้านสมรรถนะวชิ าชพี ๒๙.ระดบั คณุ ภาพในการพฒั นาการประกนั คณุ ภาพภายใน ๓๐.ระดบั คณุ ภาพในการประกนั คณุ ภาพภายในทกุ ระดับของสถาบนั แผนภาพที่ ๒ Power Point ชแ้ี จงประเด็นตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ ทเ่ี ก่ียวกับการเรยี นการสอน มติของการสมั มนากลุม่  เห็นด้วย  ไม่แน่ใจ  ไมเ่ หน็ ดว้ ย

๒๐ ผลการศึกษา ปรากฏว่าผู้เข้าร่วมสัมมนากลุ่ม มีมติเห็นว่า ตัวชี้วัดความสาเร็จ ทง้ั หมด ๓๐ ตวั ช้ีวัด มีเพยี ง ๑๒ ตวั ชีว้ ัดความสาเร็จเป็นตัวชว้ี ัดความสาเร็จเก่ียวกบั การเรียนการสอน ๒.๒.๒ หลังจากน้ันผู้ศึกษาได้กาหนดประเด็นเป็น ๒ ประเด็นคือ (๑) ตัวช้ีวัด ความสาเร็จประเภทกระบวนการ ว่าควรเพิ่มเติมตัวช้ีวัดความสาเร็จประเภทผลผลิตกากับด้วย (๒) ตัวชี้วัด ความสาเร็จประเภทผลผลิตว่าควรเพิ่มเติม ตัวชี้วัดความสาเร็จประเภทกระบวนการกากับด้วย เพื่อขอความ คิดเหน็ ของผู้เข้าร่วมสัมมนากลุ่มจากแต่ละสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร โดยทาการช้ีแจงเป็น Power Point ก่อนทจี่ ะทาการอภปิ รายวา่ เหน็ ด้วย ไม่แน่ใจ และไมเ่ หน็ ด้วย ตอ่ จากน้ันจงึ ขอความคดิ เห็นเปน็ มติกล่มุ ผลการสัมมนากลุ่ม ปรากฏว่า ผู้เข้าร่วมสัมมนาเห็นด้วยว่า ตัวชี้วัดความสาเร็จ ประเภทกระบวนการลาดับท่ี ๑๕, ๑๖, ๑๗, ๑๘, ๒๓, ๒๔, และ ๒๕ ควรเพ่ิมเติม “ตัวชี้วัดความสาเร็จ ประเภทผลผลิต” กากับด้วย และตัวชี้วัดความสาเร็จประเภทผลผลิตลาดับที่ ๒๐, ๒๖, ๒๗ และ ๒๘ ควร เพ่มิ เตมิ “ตัวชี้วัดความสาเรจ็ ประเภทกระบวนการ” กากับด้วย ส่วนตัวช้ีวัดความสาเร็จตัวที่ ๑๙ ร้อยละของผลงานโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพท่ี เกิดผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเผยแพร่ เป็นตัวชี้วัดความสาเร็จประเภทผลผลิต ควรปรับเปล่ียนเป็น “จานวนของงานวิจัยและหรือสิ่งประดิษฐ์ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพท่ีได้รับการเผยแพร่” ซ่ึงเป็น ตัวชว้ี ัดความสาเรจ็ ประเภทผลผลติ ทจี่ ะสะท้อนคุณภาพที่แทจ้ ริงของโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี นอกจากน้ีผู้เข้าร่วมสัมมนากลุ่มได้มีข้อเสนอแนะว่า เนื่องจากตัวช้ีวัดความสาเร็จ ด้านคุณลักษณะที่พ่ึงประสงค์ (ตัวชี้วัดความสาเร็จท่ี ๒๓ และ ๒๖) สมรรถนะหลักและสมรรถท่ัวไป (ตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ ๒๔ และ ๒๗) และสมรรถนะวิชาชีพ (ตัวช้ีวัดความสาเร็จท่ี ๒๕ และ ๒๘) มีทั้งประเภท กระบวนการและผลผลิตอยแู่ ลว้ แต่ผู้เข้ร่วมสมั มนากลมุ่ เสนอให้ปรบั ตัวช้วี ัดความสาเร็จประเภทผลผลิตให้เป็น เชิงปรมิ าณ จากผลการศึกษาสรุปวา่ ๑) ตัวชี้วัดความสาเร็จเก่ียวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต มีตัวชี้วัด ความสาเร็จประเภทผลผลิต (ตัวช้ีวัดความสาเร็จท่ี ๒๓) และตัวช้ีวัดความสาเร็จประเภทผลผลิต (ตัวชี้วัดที่ ๒๖) กากับอยแู่ ล้ว ๒) ตัวชี้วัดความสาเรจ็ เกย่ี วกับสมรรถนะหลกั และสมรรถนะท่วั ไป มตี ัวชี้วัดความสาเร็จ ประเภทกระบวนการ (ตัวชว้ี ัดความสาเรจ็ ที่ ๒๔) และตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จประเภทผลผลิต (ตัวชี้วัดความสาเร็จ ท่ี ๒๕) กากบั อยูแ่ ล้ว

๒๑ ๓) ตัวชี้วัดความสาเร็จเก่ียวกับสมรรถนะวิชาชีพ มีตัวช้ีวัดความสาเร็จประเภท กระบวนการ (ตัวช้ีวัดความสาเร็จที่ ๒๘) กากับอยู่แล้ว ดังนั้นตัวชี้วัดความสาเร็จที่ ๒๓, ๒๔ และ ๒๕ จึงไม่ จาเป็นต้องเพ่มิ เติมตวั ชว้ี ัดประเภทผลผลติ ส่วนตัวช้ีวัดความสาเร็จท่ี ๑๗ ระดับการปฏิบัติในการจัดการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ หรือการฝึกอาชีพ ตาม คอศ.๑ ระบใุ ห้ยกเวน้ ในหลักสูตรทเ่ี ป็นทวภิ าคี จงึ ไม่นามาเป็นตัวช้ีวัดความสาเร็จด้าน การเรียนการสอนในครง้ั น้ี สาหรับตัวช้ีวัดความสาเร็จท่ี ๑๕ ระดับการปฏิบัติในการพัฒนาหลักสูตร ซึ่งเป็นตัวชี้วัด ความสาเร็จประเภทกระบวนการ จึงควรเพิ่มเติมตัวชี้วัดความสาเร็จประเภทผลผลิตกากับด้วย ซ่ึงจากการ วิเคราะห์พบวา่ คุณภาพของตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ที่ ๑๕ นั้นดไู ดจ้ าก ๑) ตัวชี้วัดความสาเร็จที่ ๒๓ (ระดับปฏิบัติในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ บณั ฑติ ) และ ๒๕ (ระดบั ปฏบิ ตั ใิ นการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพของบณั ฑิต) ๒) ตัวชี้วัดความสาเร็จที่ ๒๔ (ระดับปฏิบัติในการพัฒนาสมรรถนะหลักและสมรรถนะ ทั่วไป) และ ๒๗ (ระดับความพึงพอใจตอ่ คุณภาพบัณฑติ ด้านสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทว่ั ไป) ๓) ตัวช้ีวัดความสาเร็จที่ ๒๕ (ระดับปฏิบัติในการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพของบัณฑิต) และ ๒๘ (ระดับความพึงพอใจต่อคุณภาพบัณฑิตด้านสมรรถนะวชิ าชพี ) ดังนั้นจงึ ไม่จาเป็นต้องศึกษาตัวชี้วัดความสาเร็จท่ี ๑๕ จากผลการวิเคราะห์ของผู้ศึกษาสรุปได้ว่า สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรควรเพิ่มเติมตัวชี้วัด ความสาเร็จทสี่ ะท้อนคณุ ภาพทแ่ี ท้จริง ด้านการเรียนการสอนของการอาชวี ศึกษาเกษตรระดับปริญญา จานวน ๗ ตัวชว้ี ดั ความสาเร็จ ดงั ตารางที่ ๖

๒๒ ตารางท่ี ๖ ตัวช้ีวัดความสาเร็จท่ีสะท้อนคุณภาพท่ีแท้จริงด้านการเรียนการสอนของการอาชีวศึกษาเกษตร ระดับปริญญา ลาดับที่ ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ ประเภท ๑๖ ๑๘ ระดบั ความคิดเหน็ ของนักศึกษาที่มีต่อการสอนของอาจารย์ ผลผลติ ๑๙ ๒๐ ระดับผลการศกึ ษาวิชาโครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี ผลผลติ ๒๓ จานวนของงานวิจัยและหรือสิ่งประดิษฐ์ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพท่ี ผลผลิต ๒๔ ๒๕ ได้รับการเผยแพร่ ระดับการปฏิบัติการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของนักศึกษาเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ มาตรฐานวิชาชีพคร้งั แรก ๑) ระดับผลการศึกษาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของทุกรายวิชาในแผนท่ีแสดง ผลผลิต การกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (สถาบนั ฯ ภาคใต)้ ๒) ระดับผลการศึกษาของสมรรถนะรายวิชาข้อสุดท้ายในทุกรายวิชาของ หมวดวิชาทักษะวิชาชีพท่ีนักศึกษานั้นๆ ลงทะเบียน (สถาบันฯ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ) ระดับผลการศึกษาในทุกรายวิชาของหมวดวิชาทักษะชีวิตที่นักศึกษาน้ันๆ ผลผลติ ลงทะเบยี นเรยี น ระดับผลการศึกษาในทุกรายวิชาของหมวดวิชาทักษะวิชาชีพที่นักศึกษาน้ัน ๆ ผลผลิต ลงทะเบยี นเรียน

๒๓ ระยะท่ี ๓ การจัดสัมมนากลุ่มคณาจารย์เป็นรายสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และสถาบนั การอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ ๓.๑ ผู้ศึกษาได้เดินทางไปแต่ละรายวิทยาลัยท้ังในสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือและสถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคใต้ เพ่ือจัดสัมมนากลุ่มคณาจารย์ผู้มีคุณสมบัติดังนี้ ๑) รองผู้อานวยการ ๒) อาจารย์หมวดวิชาทักษะชีวิต ๓) อาจารย์หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ๔) อาจารย์ ผู้รับผดิ ชอบงานองคก์ รเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทยฯ (อกท.) ๕) อาจารย์ประจาหลักสูตรปริญญาตรี ๖) อาจารยเ์ กย่ี วข้องกับงานหลักสูตร และ ๗) ผู้สนใจเข้าร่วมสัมมนา ปรากฏว่ามีจานวนผู้เข้าร่วมสัมมนากลุ่ม จาแนกตามสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรเป็นราย ภาค ดังน้ี (ตารางที่ ๗ ) ตารางท่ี ๗ จานวนผเู้ ขา้ รว่ มการสมั มนากลมุ่ เปน็ รายภาค ผเู้ ขา้ ร่วมสัมมนากลมุ่ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร สถาบันการอาชีวศกึ ษาเกษตร รวม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคใต้ รองผู้อานวยการ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ อาจารยห์ มวดวิชาทกั ษะชีวติ ๑๐ ๑๘ จานวน รอ้ ยละ ๓๗ ๒๖ อาจารยห์ มวดวชิ าทกั ษะวชิ าชีพ ๒๔ ๔๔ ๒๗ ๓๑ ๔๙ ๓๕ อาจารย์ อกท. ๕๙ ๒๕ ๒๙ ๑๓ ๙ อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรปริญญาตรี ๑๑ ๒๐ ๘๙ ๑๔ ๑๐ อาจารยเ์ กยี่ วขอ้ งกับงานหลักสตู ร ๒๔ ๓๓ ๑๖ ๑๑ ผ้สู นใจเข้ารว่ มสัมมนา ๓๕ ๑๔ ๑๖ ๔๓ ๐๐ ๑๑ ๘๖ รวม ๕๕ ๑๐๐ ๘๙ ๑๔๑ ๑๐๐ ๘๖ ๑๐๐ จากตารางที่ ๗ พบวา่ ๑) สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีคณาจารย์ ผเู้ ขา้ รว่ มสนทนากล่มุ จานวนทงั้ สนิ้ ๕๕ คน จาแนกออกเปน็ รองผ้อู านวยการ ๒ คน (ร้อยละ ๔) อาจารย์หมวด วิชาทักษะชีวิต ๑๐ คน (ร้อยละ ๑๘) อาจารย์หมวดวิชาทักษะวิชาชีพจานวน ๒๔ คน(ร้อยละ ๔๔) อาจารย์ อกท. ๕ คน (ร้อยละ ๙) อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รปริญญาตรี ๑๑ คน (ร้อยละ ๒๐) และอาจารย์เกี่ยวข้องกับ งานหลกั สูตร ๓ คน (ร้อยละ ๕)

๒๔ ๒) สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ มีคณาจารย์ผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม จานวนท้ังส้ิน ๘๖ คน จาแนกออกเป็น รองผู้อานวยการ ๑๔ คน (ร้อยละ ๑๖) อาจารย์หมวดวิชาทักษะชีวิต ๒๗ คน (ร้อยละ ๓๑) อาจารย์หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ จานวน ๒๕ คน(ร้อยละ ๒๙) อาจารย์ อกท. ๘ คน (ร้อยละ ๙) อาจารย์ประจาหลักสูตรปริญญาตรี ๓ คน (ร้อยละ ๓) อาจารย์เกี่ยวข้องกับงานหลักสูตร ๑ คน (รอ้ ยละ ๑) และผูส้ นใจเข้าร่วมสัมมนา ๘ คน (ร้อยละ ๙) ๓) รวมผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มท้ัง ๒ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรจานวนรวม ทั้งส้นิ ๑๔๑ คน จาแนกออกเปน็ รองผอู้ านวยการ ๓๗ คน (ร้อยละ ๒๖) อาจารย์หมวดวิชาทักษะชีวิต ๔๙ คน (ร้อยละ ๓๕) อาจารย์หมวดวิชาทักษะวิชาชีพจานวน ๑๓ คน(ร้อยละ ๙) อาจารย์ อกท. ๑๔ คน (ร้อยละ ๑๐) อาจารย์ประจาหลักสูตรปริญญาตรี ๑๖ คน (ร้อยละ ๑๑) อาจารย์เก่ียวข้องกับงานหลักสูตร ๔ คน (รอ้ ยละ ๓) และผู้สนใจเขา้ ร่วมสมั มนา ๘ คน (รอ้ ยละ ๖) ๓.๒ คณะผู้ศึกษาได้กาหนดประเด็นตัวชี้วัดความสาเร็จท่ีสะท้อนคุณภาพท่ีแท้จริงของ การอาชวี ศกึ ษาเกษตรระดับปริญญาซ่งึ ได้จากผลการศึกษาในระยะที่ ๒ เพ่ือขอความคิดเห็นของผู้เข้าสัมมนา กลุ่ม จากแตล่ ะวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ โดยทาการช้ีแจง เปน็ Power Point ก่อนท่ีจะแสดงความคิดเห็นใน ๕ ระดับคือ “เห็นด้วยอย่างยิ่ง”, “เห็นด้วย”, “ไม่แน่ใจ”, “ไมเ่ หน็ ด้วย” และ “ไม่เหน็ ด้วยอย่างยง่ิ ” ดังแสดงในตารางที่ ๘ ตารางที่ ๘ Power Point คาชแี้ จง เพือ่ ขอความคดิ เห็นเกยี่ วกับ ๗ ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ ลาดับท่ี ความคิดเหน็ ๕ ระดบั ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ “เห็นด้วยอยา่ งย่งิ ”, “เห็นด้วย”, “ไม่แนใ่ จ”, “ไมเ่ ห็นดว้ ย” และ “ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งยิ่ง” ๑๖ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการใช้ระดับความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการสอนของ อาจารย์มาเปน็ ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ ประเภทผลผลติ ของการเรยี นการสอน ๑๘ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาระดับผลการศึกษาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ของนักศึกษามาเป็นตัวช้ีวัดความสาเร็จประเภทผลผลิตของโครงการพัฒนาทักษะ วชิ าชพี ของนกั ศึกษา ๑๙ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาจานวนของงานวิจัยและหรือส่ิงประดิษฐ์ภายใต้ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพที่ได้รับการเผยแพร่มาเป็นตัวชี้วัดความสาเร็จประเภท ผลผลติ ของโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพของนกั ศึกษา

๒๕ (ตอ่ ) ตารางท่ี ๘ Power Point คาชีแ้ จง เพอื่ ขอความคิดเห็นเก่ียวกับ ๗ ตัวชี้วัดความสาเรจ็ ลาดับท่ี ความคิดเหน็ ๕ ระดับ ตัวชี้วดั ความสาเร็จ “เหน็ ด้วยอยา่ งย่ิง”, “เห็นด้วย”, “ไมแ่ นใ่ จ”, “ไม่เหน็ ดว้ ย” และ “ไมเ่ ห็นด้วยอยา่ งยิง่ ” ๒๐ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาข้ันตอนการปฏิบัติในตารางมาเป็นตัวช้ีวัด ความสาเร็จประเภทกระบวนการของการผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิช าชีพครั้งแรกของ นกั ศกึ ษา ตารางแสดงขนั้ ตอนการปฏบิ ัตเิ พอื่ ใ่ ห้ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานวิชาชพี คร้ังแรก ขนั้ ตอนที่ การปฏิบัติ ๑. วเิ คราะห์ปัจจยั ทีทาใหน้ กั ศึกษาผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ ครั้งแรก ๒. วางแผนเพือ่ ใหน้ ักศึกษาผา่ นเกณฑป์ ระเมินมาตรฐานวิชาชีพครัง้ แรก ๓. ดาเนินการตามแผนงานที่กาหนดไวใ้ นขั้นตอนท่ี ๒ ๔. ประเมินผลการดาเนนิ การตามแผน ๕. นาผลการประเมนิ มาพัฒนาและปรับปรุง ๒๓ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาระดับผลการศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในทุก รายวชิ าจาก ๑) แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่ รายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต และหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ (สถาบันฯ ภาคใต)้ ๒) สมรรถนะรายวิชาข้อสุดท้ายของทุกรายวิชาหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ (สถาบันฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) มาเป็นตัวชี้วัดความสาเร็จประเภทผลผลิตของ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของบัณฑติ ๒๔ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาระดับผลการศึกษาของนักศึกษาในรายวิชาหมวด ทักษะชีวิตมาเป็นตัวช้ีวัดความสาเร็จประเภทผลผลิตของสมรรถนะหลักและสมรรถนะ ทว่ั ไป ๒๕ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาระดับผลการศึกษาของนักศึกษาในรายวิชาหมวด ทักษะวิชาชีพทั้งหมดท่ีนักศึกษานั้นๆ ลงทะเบียนเรียน มาเป็นตัวชี้วัดความสาเร็จ ประเภทผลผลิตของสมรรถนะวชิ าชีพ

๒๖ ผลการสัมมนากลุ่ม พบว่าผู้เข้าร่วมสัมมนาจากแต่ละวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีในสังกัดสถาบัน การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคตะวันออกเฉยี งเหนือและสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ มีความคิดเห็นไปในทิศทาง เดยี วกันคอื เหน็ ดว้ ย และเห็นดว้ ยอย่างย่ิงต่อประเด็น ตัวชี้วัดความสาเร็จท่ีสะท้อนคุณภาพท่ีแท้จริงของการ อาชวี ศึกษาเกษตรระดับปรญิ ญา ๗ ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จ ซง่ึ ได้จากการวเิ คราะหร์ ะยะท่ี ๒ ดังตารางที่ ๙ ตารางท่ี ๙ ความคดิ เห็นเกยี่ วกับตัวชว้ี ัดความสาเรจ็ ลาดับที่ของ ระดบั ความคิดเห็นต่อตัวชว้ี ัดความสาเรจ็ ตั ว ช้ี วั ด ความสาเร็จ ความคิดเหน็ สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตร สถาบนั การอาชีวศกึ ษาเกษตร ๑๖ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคใต้ ๑๘ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการใช้ระดับความคิดเห็นของ ๑๙ นักศึกษาต่อการสอนของอาจารย์มาเป็นตัวชี้วัดความสาเร็จ เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ เหน็ ด้วย ๒๐ ประเภทผลผลติ ของการเรยี นการสอน ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาระดับผลการศึกษา โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพของนักศึกษามาเป็นตัวช้ีวัด เหน็ ดว้ ยอย่างยง่ิ เหน็ ด้วย ความสาเร็จประเภทผลผลิตของโครงการพัฒนาทักษะ วิชาชีพของนกั ศกึ ษา ท่านมีความคิดเหน็ อยา่ งไรกบั การนาจานวนของงานวิจัยและ หรือส่ิงประดิษฐ์ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพท่ีได้รับ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เหน็ ดว้ ย การเผยแพร่มาเป็นตัวชี้วัดความสาเร็จประเภทผลผลิตของ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพของนกั ศึกษา ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาขั้นตอนการปฏิบัติใน ตารางมาเป็นตัวชี้วัดความสาเร็จประเภทกระบวนการของ การผ่านเกณฑม์ าตรฐานวิชาชพี คร้งั แรกของนักศึกษา ตารางแสดงขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อ่ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน วิชาชพี ครั้งแรก ข้นั ตอนที่ การปฏิบัติ ๑. วเิ คราะหป์ จั จยั ทที าให้นักศึกษาผ่านเกณฑ์ ประเมินครงั้ แรก เหน็ ดว้ ย เห็นดว้ ย ๒. วางแผนเพ่ือให้นักศึกษาผ่านเกณฑ์ ประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพครง้ั แรก ๓. ดาเนินการตามแผนงานที่กาหนดไว้ใน ขัน้ ตอนที่ ๒ ๔. ประเมนิ ผลการดาเนินการตามแผน ๕. นาผลการประเมนิ มาพฒั นาและปรบั ปรงุ

๒๗ (ตอ่ ) ตารางที่ ๙ ความคิดเห็นเกย่ี วกับตวั ชี้วัดความสาเร็จ ลาดับที่ของ ระดบั ความคิดเหน็ ต่อตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ตั ว ชี้ วั ด ความสาเร็จ ความคิดเห็น สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตร สถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตร ๒๓ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาระดับผลการศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคใต้ ๒๔ คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคใ์ นทุกรายวชิ าจาก ๒๕ เหน็ ด้วยอย่างย่ิง เหน็ ดว้ ย ๑) แผนที่แสดงการกระจายควา มรับผิดชอบ มาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชาใน เห็นดว้ ยอย่างย่งิ เห็นดว้ ย หมวดวิชาทักษะชีวิต และหมวดวิชาทักษะ เห็นดว้ ยอยา่ งยิ่ง เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ วชิ าชพี (สถาบนั ฯ ภาคใต)้ ๒) สมรรถนะรายวิชาข้อสุดท้ายของทุกรายวิชา หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ (สถาบันฯ ภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ) มาเป็นตัวช้ีวัดความสาเร็จ ประเภทผลผลติ ของคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของ บณั ฑติ ทา่ นมคี วามคิดเห็นอย่างไรกับการนาระดับผลการศึกษาของ นั ก ศึ ก ษ า ใ น ร า ย วิ ช า ห ม ว ด ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ม า เ ป็ น ตั ว ชี้ วั ด ค ว า ม ส า เ ร็ จ ป ร ะ เ ภ ท ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก แ ล ะ สมรรถนะท่วั ไป ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการนาระดับผลการศึกษาของ นักศึกษาในรายวิชาหมวดทักษะวิชาชีพท้ังหมดที่นักศึกษา น้ันๆ ลงทะเบียนเรียน มาเป็นตัวช้ีวัดความสาเร็จประเภท ผลผลิตของสมรรถนะวชิ าชีพ สาหรับในสว่ นเกณฑ์การประเมินคุณภาพตัวช้ีวัดความสาเร็จน้ัน คณะผู้ศึกษาได้พิจารณาเห็นว่า ควร อ้างองิ เกณฑ์ประเมินที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ กาหนดไว้ ดังได้เสนอไว้ในตารางที่ ๑๐

๒๘ ตารางที่ ๑๐ เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพตัวชวี้ ดั ความสาเร็จ ลาดับท่ีของ ค่าคะแนน เกณฑก์ ารประเมิน ตั ว ชี้ วั ด ประเด็นตวั ช้วี ัดความสาเร็จ ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ความสาเร็จ ๓.๕๑ – ๔.๕๐ ระดับคุณภาพ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ดีมาก ๑๖ ระดับความคิดเห็นของนักศึกษาต่อ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ดี การสอนของอาจารย์ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ พอใช้ ต้องปรับปรงุ ต้องปรับปรุงเร่งดว่ น ๑๘ ระดับผลการศึกษาโครงการพัฒนา ทักษะวชิ าชีพ ระดบั ผลการศกึ ษา คา่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ไดเ้ กรด ๔ ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ดีมาก ได้เกรด ๓.๐๐ – ๓.๕๐ ๓.๕๑ – ๔.๕๐ ดี ไดเ้ กรด ๒.๐๐ – ๒.๕๐ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ พอใช้ ได้เกรด ๑.๐๐ – ๑.๕๐ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ต้องปรับปรุง ไดเ้ กรด ๐.๐๐ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ ต้ อ ง ป รั บ ป รุ ง เรง่ ด่วน ๑๙ จานวนงานวิจัยและหรือส่ิงประดิษฐ์ ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพท่ี ระดบั ในการเผยแพร่ คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ไดร้ ับการเผยแพร่ ได้รับการเผยแพร่ใน ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ดีมาก วารสาร TCI กล่มุ ๑ ได้รับการเผยแพร่ใน ๓.๕๑ – ๔.๕๐ ดี วารสาร TCI กล่มุ ๒ ได้รับการเผยแพร่ใน ๒.๕๑ – ๓.๕๐ พอใช้ วารสืบเน่ืองจากการ ป ร ะ ชุ ม ร ะ ดั บ ช า ติ (proceeding) เผยแพร่ผ่านชุมชน ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ตอ้ งปรับปรุง ไม่ได้รบั การเผยแพร่ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ ต้ อ ง ป รั บ ป รุ ง เร่งด่วน

๒๙ (ตอ่ ) ตารางท่ี ๑๐ เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพตัวช้วี ดั ความสาเร็จ ลาดับที่ของ เกณฑ์การประเมนิ ตั ว ชี้ วั ด ประเด็นตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ ความสาเร็จ ประเดน็ พจิ ารณา ระดับคณุ ภาพ ๒๐ การนาขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อให้ผ่าน เกณฑม์ าตรฐานวิชาชพี ครั้งแรก ปฏิบัติตามข้ันตอนการปฏิบัติเพ่ือให้นักศึกษา ผา่ น ทุกคนผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครั้งแรก ๕ ขน้ั ตอน ไม่ปฏบิ ตั ิ ไม่ผา่ น ๒๓ ระดับผลการศึกษาคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ของทุกรายวิชาที่นักศึกษา ระดบั ผลการศึกษา ค่าคะแนน ระดับคุณภาพ ลงทะเบยี นเรยี น) ๔๕ – ๕๐ ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ดมี าก ๔๐ – ๔๔ ๓.๕๑ – ๔.๕๐ ดี ๓๕ – ๓๙ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ พอใช้ ๓๐ – ๓๔ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ตอ้ งปรับปรุง ๒๕ – ๒๙ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ ตอ้ งปรับปรงุ เร่งดว่ น ๒๔ ระดบั ผลการศกึ ษาในรายวิชาในหมวด วิชาทักษะชีวิตท้ังหมดท่ีนักศึกษา ระดับผลการศึกษา ค่าคะแนน ระดับคุณภาพ ลงทะเบยี นเรยี น รายวิชาทักษะวชิ าชีพ ได้เกรด ๔ จานวน ๔ ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ดีมาก วชิ าขึ้นไป ได้เกรด ๔ จานวน ๓ ๓.๕๑ – ๔.๕๐ ดี วชิ า ได้เกรด ๔ จานวน ๒ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ พอใช้ วชิ า ได้เกรด ๔ จานวน ๑ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ตอ้ งปรบั ปรุง วชิ า ไมไ่ ด้เกรด ๔ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ ต้ อ ง ป รั บ ป รุ ง เรง่ ด่วน

๓๐ (ต่อ) ตารางท่ี ๑๐ เกณฑ์การประเมินคุณภาพตัวชี้วดั ความสาเร็จ ลาดับที่ของ เกณฑ์การประเมิน ตั ว ชี้ วั ด ประเด็นตัวช้วี ดั ความสาเรจ็ ความสาเรจ็ ร ะ ดั บ ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ รายวชิ าทกั ษะวิชาชพี ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ดีมาก ๒๕ ระดับผลการศึกษาของนักศึกษา ๓.๕๑ – ๔.๕๐ ดี ในรายวิชาหมวดวิชาทั กษะ ไดเ้ กรด ๔ จานวน ๒.๕๑ – ๓.๕๐ พอใช้ วิ ช า ชี พ ท้ั ง ห ม ด ที นั ก ศึ ก ษ า ๑๒ วชิ าขนึ้ ไป ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ต้องปรบั ปรุง ลงทะเบยี นเรียน ๑.๐๐ – ๑.๕๐ ตอ้ งปรับปรงุ เร่งดว่ น ได้เกรด ๔ จานวน ๑๐ – ๑๒ วชิ า ได้เกรด ๔ จานวน ๗ – ๙ วิชา ไดเ้ กรด ๔ จานวน ๔ – ๖ วชิ า ได้เกรด ๔ นอ้ ยกวา่ ๔ วชิ า

๓๑ สรปุ และขอ้ เสนอแนะ จากผลการศึกษาคร้ังน้ี สรุปได้ว่า ตัวชี้วัดความสาเร็จท่ีสะท้อนถึงคุณภาพท่ีแท้จริงของการเรียนการ สอนระดบั ปริญญาตรีของสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรและเกณฑป์ ระเมนิ คุณภาพ ดังแสดงในตารางท่ี ๑๐ ไว้ แล้วนั้น ซึ่งตัวช้ีวัดความสาเร็จในการเรียนการสอนท้ัง ๗ ตัวชี้วัดท่ีผู้ศึกษาได้นาเสนอน้ันุมุ่งเน้นไปที่ตัวผู้เรียน โดยตรง จึงย่อมสะท้อนถึงคุณภาพที่แท้จริง ของตัวนักศึกษา/บัณฑิต ถ้าสถาบันฯ มีการสนับสนุน ส่งเสริม ปัจจัยนาเข้าท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับคุณภาพของตัวช้ีวัดความสาเร็จเหล่านั้น ย่อมม่ันใจได้ว่าการเรียนการ สอนในระดับปริญญาตรีของสถาบนั ฯ ตอ้ งมีคุณภาพเปน็ ทศี่ รทั ธาและไว้วางใจของสังคมไดอ้ ย่างแน่นอน การศกึ ษาครง้ั นี้ ผศู้ ึกษามขี ้อเสนอใหส้ ถาบันฯ ดาเนนิ การดังน้ี ขอ้ เสนอที่ ๑ เสนอให้สถาบันฯจัดทา website “Real Time Window Shopping” ของ นักศกึ ษาเปน็ รายบุคคลเมือ่ สน้ิ สดุ แต่ละภาคการศึกษา เพอ่ื ๑) ผู้ใช้บัณฑิต สามารถเลือกนักศึกษา / บัณฑิต ที่มีคุณลักษณะตรงกับความต้องการของ ลักษณะงาน ๒) ผปู้ กครองและผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บังคับบัญชา เจ้าของสถานประกอบการ เป็นต้น ได้รับรู้ถึง ความกา้ วหนา้ ในผลการเรยี นของนักศึกษา เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาพัฒนาตนเองในกรณีท่ีผล การศกึ ษาอยใู่ นเกณฑไ์ มด่ ี

๓๒ ตัวอย่าง หนา้ จอการนาเสนอ“Window Shopping” ของนางสาว ลาดวน ศรสี ะเกษ ใน website “Real Time Window Shopping” ขยนั และอดทน ความคิดริเร่ิม ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ และรับผดิ ชอบ แผนภาพที่ ๓ หนา้ จอ “Window Shopping” ของนางสาว ลาดวน ศรสี ะเกษ หมายเหตุ: การทา Window shopping ตอ้ งบันทึกผลการศึกษาเมอ่ื สน้ิ สุดแตล่ ะภาคการเรียน จากตวั อย่างแสดงว่า นางสาว ลาดวน ศรีสะเกษ เป็นบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะพึ่งประสงค์ ดังน้ี เป็นผู้มี ความซ่ือสัตย์ สุจริต รับผิดชอบ ขยัน อดทน และมีความคิดริเร่ิม อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก (A) มีสมรรถนะ หลักและสมรรถนะทว่ั ไปทัง้ ๗ ดา้ น อยู่ในระดับคุณภาพดมี าก (A) และมีสมรรถนะชีพ ทั้ง ๗ ด้าน อยู่ในระดับ คุณภาพดมี าก (A)

๓๓ ข้อเสนอท่ี ๒ เสนอใหส้ ถาบนั ฯจดั ทา ฐานข้อมูล Portfolio (แฟ้มผลงาน) ของนกั ศึกษารายบุคคล ข้อเสนอที่ ๓ เสนอให้สถาบันฯ กาหนดให้นักศึกษาท่ีเรียนวิชาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ต้อง นาเสนอผลงานใน Portfolio เปน็ รายบุคคล ขอ้ เสนอท่ี ๔ เสนอให้สถาบันฯ กาหนดให้รายวิชาท่ีมีการเรียนการสอนเป็นทวิภาคี โดยให้ นักศึกษานาประสบการณ์ดีเด่นที่ได้รับจากการเรียนในรายวิชานั้นๆ นาเสนอใน Portfolio ของตน ก่อน ประกาศการศึกษาของรายวชิ าน้ัน ในแต่ละภาคการเรียน

๓๔ บรรณานุกรม ทป่ี ระชมุ อธกิ ารบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ๒๕๕๙. คมู่ อื ประกนั คณุ ภาพคณุ ภาพการศกึ ษา CUPT QA ฉบับปีการศึกษา ๒๕๕๘-๒๕๖๐. (online). http://www.cupt-thailand.net/download/CUPT_QA_manual2558_60.pdf) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ , สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ. ๒๕๕๘. หลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาเทคโนโลยกี ารผลิตพืช(ตอ่ เนอื ง) (หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๘). (อัดสาเนา ) วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์, สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้.๒๕๕๙. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาชาเทคโนโลยเี พาะเลี้ยงสัตว์น้า (ตอ่ เนอื ง) (หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๙). (อัดสาเนา ). สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา. ๒๕๕๘. คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายในระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๗. นนทบรุ ี: ห้างหนุ้ ส่วนจากดั ภาพพิมพ์. สานกั มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวิชาชพี , สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.๒๕๕๘. มาตรฐานการ อาชีวศึกษาระดบั ปรญิ ญา พ.ศ.๒๕๕๘: หลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏิบัติเกยี่ วกับการประกันคุณภาพภายในการ อาชวี ศึกษาระดบั ปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๘. กรงุ เทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด ส.ศรีวิไล. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัตกิ ารสาขาเทคโนโลยกี ารผลิตพชื (คอศ.1 ) (online). http://bsq.vec.go.th/Portals/9/ _____________________________. กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือ สายปฏบิ ัตกิ ารสาขาเทคโนโลยเี พาะเล้ยี งสัตว์นา้ (คอศ.1 ) (online). http://bsq.vec.go.th/Portals/9/ โสภณ ธนะมัย. ๒๕๒๙. ววิ ัฒนาการทางการบรหิ าร. เอกสารประกอบการสอนวิชาการบรหิ ารการศึกษาผู้ใหญ่, ภาควิชาอาชวี ศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (อดั สาเนา) __________ . ๒๕๔๙. ปรัชญาและการวจิ ัยสิ่งแวดลอ้ มขัน้ สูงทางสิ่งแวดล้อมศึกษา. เอกสารประกอบการ สอนวชิ าการวิจัยทางส่งิ แวดล้อมข้ันสงู , วิทยาลยั สิ่งแวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ (อัดสาเนา) __________ . ๒๕๕๙. สมั ภาษณ์, ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๙.