Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาร วพบ.สปร.นว. ฉ.15

สาร วพบ.สปร.นว. ฉ.15

Published by ev, 2020-08-28 00:01:36

Description: สาร วพบ.สปร.นว. พ.ค.-ก.ค.63

Search

Read the Text Version

๑ อตั ลักษณค ุณธรรม : ซ่อื สตั ย รับผดิ ชอบ มวี ินยั

อตั ลักษณคุณธรรม : ซื่อสัตย รบั ผิดชอบ มีวนิ ยั สาสนจากผŒอู ํานวยการ วพบ.สปร.นว. ดร.สภุ าเพญ็ ปาณะวฒั นพิสุทธิ์ สวัสดีคะ ทานผูอานทุกทาน สําหรับสาร วพบ.สปร.นว. ฉบับนี้ขอตอนรับนักศึกษา พยาบาลใหม รุนท่ี ๕๑ ประจําปการศึกษา ๒๕๖๓ ท่ีไดเขามาสูร้ัวครอบครัว วพบ.สปร.นว. และ ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต รุนที่ ๔๗ ท่ีสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลา ท่ีหลักสูตรกําหนด ขออวยพรใหผูสําเร็จการศึกษาทุกคน ประสบแตความสุข ความเจริญ และ ประสบความสาํ เรจ็ ในหนา ทก่ี ารงาน และชวี ติ สว นตวั ขอใหน าํ ความรไู ปปฏบิ ตั งิ านในความรบั ผดิ ชอบ อยางเต็มกําลังความสามารถ โดยในปนี้ทางวิทยาลัยฯ ไดคํานึงถึงความปลอดภัยและการปองกัน การแพรเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จึงดําเนินการจัดกิจกรรมปจฉิมนิเทศและเตรียมความพรอม กอนสําเรจ็ การศึกษา ผา นระบบออนไลน คณะ ทปี่ รกึ ษาบรรณาธกิ าร ดร.สภุ าเพ็ญ ปาณะวฒั นพสิ ุทธ์ิ ผอู าํ นวยการวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป ระชารกั ษ นครสวรรค นางสาวปรทิ รรศน วนั จนั ทร รองผอู ํานวยการงานอํานวยการและยุทธศาสตร นางฐิติรัตน พนั ธุเขียน รองผอู าํ นวยการงานกิจการนกั ศึกษา ดร.จันทมิ า นวะมะวฒั น รองผูอาํ นวยการงานวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ ดร.นธิ มิ า สภุ ารี รองผอู ํานวยการงานวิชาการ ๒ อตั ลักษณคณุ ธรรม : ซือ่ สัตย รบั ผิดชอบ มีวนิ ยั

ของฝากบรรณาธกิ าร คณุ คดิ วา คณุ รจู กั ความเครยี ดดแี คไ หน? ความเครียด เปนเร่ืองของรางกาย และจติ ใจ เมอื่ เกดิ เหตกุ ารณใ ดเหตกุ ารณห นง่ึ ขึน้ ทาํ ใหรสู กึ ทุกข ไมส บายใจ วุน วายใจ ก็ จะสง ผลใหค วามสมดลุ ของรา งกายและจติ ใจ เปล่ยี นไป แลว แบบไหนถงึ จะเรียกวาเครียด? เมอ่ื เกดิ ความเครยี ด บคุ คลจะแสดง ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองตอ ความเครยี ดและทาํ ให เกิดการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ ไมวาจะ เปน ดา นรา งกาย ดา นจติ ใจและอารมณ รวม ถึงดา นพฤตกิ รรม แตเมอ่ื เวลาผา นไป ความเครยี ดเหลาน้นั กจ็ ะคอยๆหายไป รา งกายจะกลับเขา สภู าวะสมดุลอีกคร้ังหนึ่ง สาเหตสุ ําคัญท่ที าํ ใหเ กดิ ความเครยี ด มีอยู ๒ ปจจยั หลกั คอื (๑) ปญ หาชวี ิต เชน การเงนิ การทํางาน ครอบครวั สขุ ภาพ (๒) การคิดและการประเมินสถานการณของบคุ คล เชน มองโลกในแงล บ ใจรอน เอาจิงเอาจังกบั ชีวิต อยโู ดดเด่ยี ว เปนตน ซงึ่ ความเครยี ดจะเกดิ ได ตองมที ้ัง ๒ ปจ จยั เหลานี้รวมกนั ความเครียดจะสงผลใหเ กดิ การเปล่ียนแปลงในตัวบุคคลหลกั ๆ ๓ ดานดวยกนั คือ ๑. ดา นรางกาย มักมีอาการ ปวดหัว ปวดไมเกรน ใจสัน่ นอนไมหลับ งวงเหงาหาวนอนตลอดเวลา ทอ งเสียหรือทอ ง ผกู ทองอดื ทอ งเฟอ อาหารไมยอ ย ปวดเมื่อยกลา มเนอ้ื ประจาํ เดือนมาไมปกติ เสอ่ื มสมรรถภาพทางเพศ เปนตน ๒. ดา นจิตใจ อาการท่พี บบอ ย เชน คดิ มาก วติ กกังวล ไมม ีสมาธิ โกรธงาย หงดุ หงดิ งาย เบอ่ื หนา ย ทอ แท ซึมเศรา ส้ินหวงั หมดความสนุกสนาน เปนตน ๓. ดานพฤตกิ รรม เชน ด่ืมเหลา สบู บหุ รี่มากขึ้น ใชย านอนหลับหรอื สารเสพติด มีความขัดแยงกบั ผูอนื่ บอ ยๆ โวยวาย ชวนทะเลาะ จูจ้ีขี้บน เก็บตัว ดึงผม กดั เล็บ เปนตน แลวจะทําอยา งไร เมือ่ ความเครียดมาเยอื น ? - อนั ดบั แรกตอ งยอมรบั ใหไ ดก อ นวา เรากาํ ลงั เผชญิ กบั ความเครยี ดอยู หาสาเหตขุ องความเครยี ดนนั้ ใหเ จอ แลว จดั การ กับมนั ดวย ๙ วิธจี ัดการความเครียด - หมน่ั สงั เกตความผดิ ปกตขิ องรา งกาย จติ ใจและพฤตกิ รรมเพอื่ รเู ทา ทนั ความเครยี ดผอ นคลายความเครยี ดดว ยวธิ ที ี่ คนุ เคย เชน ฟง เพลงเบาๆ น่ังสมาธอิ ยูกบั ลมหายใจ ผอนคลายกลา มเนื้อ - จัดส่ิงแวดลอมรอบตวั ใหส บายตา นาอยู นาทํางาน ทั้งที่บา นและทที่ ํางาน - หากิจกรรมที่ช่ืนชอบทาํ เชน ออกกําลังกาย ทอ งเทีย่ ว สงั สรรคก บั เพ่อื น ทําบญุ ดูหนงั ฟง เพลง เลน ดนตรี เปน ตน หากรูป ญหาของความเครียดนั้นแลว ใหพ ยายามหาทางแกไขโดยเรว็ ฝก ฝนตนเองในทกั ษะท่จี ําเปน เชน ทกั ษะการ สื่อสาร การสรางสมั พันธภาพกับผรู วมงาน การจดั สนิ ใจและการแกไ ขปญ หา เปน ตน ปรับเปลี่ยนความคิด มุมมอง และทัศนคติในแงบวก พูดคุยกับครอบครัวหรือเพ่ือนท่ีสนิท เพื่อระบายความทุกขใจ โดยรับฟงอยางตั้งใจและพูดใหกําลังใจกันและกัน พบวามีความเครียดมาก สามารถขอรับบริการที่คลินิกคลายเครียดหรือ บรกิ ารใหค ําปรึกษาสายดวนสขุ ภาพจิต ๑๓๒๓ ที่มา : คูม ือคลายเครียด (ฉบับปรบั ปรงุ ) กรมสุขภาพจติ ๓ อตั ลกั ษณคุณธรรม : ซ่ือสตั ย รับผิดชอบ มีวนิ ยั

พนั ธกจิ ดาŒ นการผลติ บณั ฑติ โครงการป˜จฉิมนเิ ทศ ประจําป‚ ๒๕๖๓ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรคประชารักษ นครสวรรค จดั กิจกรรมปจฉิมนิเทศและเตรียมความพรอมของผูสําเร็จการศึกษา (นกั ศึกษาช้นั ปท ี่ ๔) ในโครงการเตรียมความพรอมและการปรบั ตัวเพ่ือ เขาศึกษา ขณะเรียน และกอนสําเร็จการศึกษา ในระบบออนไลน program meet โดย ทา นผอู าํ นวยการฯ ดร.สภุ าเพญ็ ปาณะวฒั นพสิ ทุ ธ์ิ ใหเกียรติเปนประธานและบรรยายเปดกิจกรรมเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ดา นการพยาบาล กฎหมาย คา ตอบแทน และสทิ ธปิ ระโยชนข องพนกั งาน กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งโครงการนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเตรียมผูสําเร็จ การศกึ ษาใหม คี วามพรอ มในการปฏบิ ตั หิ นาท่ที ่ีรับผิดชอบ ซึง่ ในปน ้ีมผี สู าํ เร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ จํานวน ๑๙๐ คน จดั ขึ้น ระหวา ง วันท่ี ๗-๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ๔ อัตลักษณคุณธรรม : ซอ่ื สัตย รบั ผดิ ชอบ มีวินยั

โครงการปฐมนิเทศและเตรียมความพรŒอม เขาŒ สว‹ู ชิ าชพี สําหรบั นักศกึ ษาพยาบาลใหม‹ ประจาํ ป‚การศึกษา ๒๕๖๓ วันท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรคประชารักษ นครสวรรค จัดโครงการปฐมนิเทศและเตรียม ความพรอ มเขา สวู ชิ าชพี สาํ หรบั นกั ศกึ ษาพยาบาลใหม ประจาํ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ เพอื่ ใหน กั ศกึ ษาชนั้ ปท ี่ ๑ (นกั ศกึ ษาใหม) ทราบขอ มลู เบ้ืองตน ทีเ่ ก่ยี วขอ งกับวิทยาลยั ฯ และหนว ยงานตา งๆ ไดร บั การพฒั นาความรพู น้ื ฐานทจ่ี าํ เปนตอการเรียน และสามารถปรบั ตัวใชชวี ติ ในสภาพแวดลอมใหมได โดย ผอู ํานวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป ระชารกั ษ นครสรรค ดร.สุภาเพ็ญ ปาณะวฒั นพสิ ทุ ธ์ิ ไดแ นะนําโครงสรางการบรหิ ารงานของวิทยาลยั ฯ แนะนาํ คณะผูบรหิ ารและคณาจารย รวมไปถงึ ช้ีแจงแนวทางในการปรบั ตัวเม่ือเขามา อยใู นวิทยาลยั ฯ ณ หอประชุมศนู ยอนามยั ที่ ๓ ๕ อัตลกั ษณค ุณธรรม : ซือ่ สตั ย รับผิดชอบ มวี นิ ยั

พนั ธกจิ ดาŒ นการบรกิ ารวชิ าการและพฒั นาบคุ ลากร โครงการกํากับติดตามผลการดาํ เนินงาน ตามระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา วันที่ ๑๘-๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ นครสวรรค จัดโครงการกาํ กับตดิ ตามผลการดําเนนิ งาน ตามระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา เพ่อื พฒั นาความรูเ กยี่ วกบั ตวั บงชี้และเกณฑก ารประกนั คณุ ภาพการศึกษา และ pre-assessment โดย มี ดร.เบญจวรรณ ทิมสุวรรณ เปนวิทยากรและใหคําแนะนําในการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาของแตละกลุมงาน ณ หอง ประชุมอมรเบกิ ฟา วทิ ยาเขตสวรรคประชารกั ษ การอบรมเชิงปฏบิ ัติการการใชŒเทคโนโลยแี ละ สารสนเทศในการปฏบิ ัติงาน วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคประชารกั ษ นครสวรรค จัดการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการใชเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ ในการปฏิบัติงาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนใหบุคลากรไดรับการพัฒนาตนเองในดานเทคโนโลยีสารสนเทศในการ ปฏิบตั งิ าน (Google Apps) ระหวา งวันท่ี ๑๑ – ๑๒ มิถุนายน และ วันที่ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๓ ณ วิทยาเขตนครสวรรค ๖ อตั ลกั ษณค ณุ ธรรม : ซื่อสัตย รับผดิ ชอบ มวี นิ ัย

โครงการปฐมนิเทศขาŒ ราชการใหม‹ “หลกั สตู รการเปนš ขาŒ ราชการทด่ี ”ี ประจาํ ปง‚ บประมาณ ๒๕๖๓ วนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๓ นายแพทยบุญชัย ธรี ะกาญจน ผตู รวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี ๓ ใหเกียรติ มาเปนประธานในพิธเี ปด โครงการปฐมนิเทศขา ราชการใหม “หลักสตู รการเปนขาราชการทดี่ ”ี ประจําปง บประมาณ ๒๕๖๓ โดยมี ดร.สุภาเพญ็ ปาณะวัฒนพสิ ุทธ์ิ ผูอาํ นวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สวรรคประชารักษ นครสวรรค กลาวรายงาน ความเปน มาการจดั อบรม โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ปลกู ฝง ปรชั ญาการเปน ขา ราชการทด่ี ี เสรมิ สรา งสมรรถนะและทกั ษะทจี่ าํ เปน สําหรับการปฏิบัติราชการ สงเสริมคุณธรรมจริยธรรม การทํางานเปนทีม และสรางเครือขายขาราชการรุนใหมในการทํางาน แบบบรู ณาการ ผเู ขารับการอบรมประกอบดวย แพทย ทนั ตแพทย เภสชั กร นกั เทคนิคการแพทย พยาบาลวิชาชพี นักวิชาการ สาธารณสขุ เจาพนกั งานเวชสถิติ นกั จัดการงานทั่วไป และเจาพนักงานธรุ การ จํานวนทั้งสิ้น ๑๗๐ คน จากจงั หวัดนครสวรรค จาํ นวน ๕๑ คน จงั หวดั พจิ ติ รจาํ นวน ๓๖ คน จงั หวดั อทุ ยั ธานจี าํ นวน ๒๒ คน จงั หวดั กาํ แพงเพชรจาํ นวน ๓๖ คน จงั หวดั ชยั นาท จาํ นวน ๒๒ คน และจงั หวดั อน่ื ๆ นอกเขตสุขภาพที่ ๓ จาํ นวน ๓ คน ระยะเวลาการอบรม จํานวน ๕ วัน ระหวางวันที่ ๒๕ - ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓ กจิ กรรมการอบรมเปนการบรรยายและ การอภปิ ราย โดยผา นระบบ Online ไดร บั การสนบั สนนุ วทิ ยากรจากหนว ยงานตา งๆ ทงั้ ภาครฐั และเอกชน ในการนม้ี ี นพ.สมเกยี รติ ขาํ นรุ กั ษ สาธารณสขุ นเิ ทศก เขตสขุ ภาพที่ ๓ เขา รว มเปน เกยี รตใิ นพธิ เี ปด ณ หอ งราชาวดี สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นครสวรรค ๗ อัตลกั ษณค ุณธรรม : ซอื่ สตั ย รับผดิ ชอบ มวี ินยั

Work shop การดแู ลผŒูป†วยท่ีใชเŒ ครื่องชว‹ ยหายใจ กลมุ ภารกจิ ดา นการพยาบาล โรงพยาบาลสวรรคป ระชารกั ษ ไดจ ดั อบรม โครงการพัฒนาสมรรถนะพยาบาลในการดูแลผูปวยท่ีใชเคร่ืองหายใจ ชนิดควบคุมปริมาตรและแรงดัน โดยใชสถานการณจําลอง (Simulation) เพื่อสงเสริมทักษะในการดูแลผูปวยใหกับพยาบาลที่เปนหัวหนาทีมในการ พยาบาล ณ หอ ง Simulation ชัน้ ๒ อาคารอาํ นวยการ รนุ ที่ ๑ วันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ และรนุ ท่ี ๒ วนั ท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป ระชารักษ นครสวรรค ๘ อัตลกั ษณค ณุ ธรรม : ซอื่ สตั ย รบั ผิดชอบ มีวนิ ยั

มหาวทิ ยาลยั เกษมบณั ฑิต เขาŒ ศกึ ษาดูงาน Simulation Learning Center วันท่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๓ คณาจารยและ เจาหนาท่ี คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัย เกษมบัณฑิต เขา ศึกษาดูงาน Simulation Learning Center และการจดั การเรยี นการสอนดว ย Simulation Based-Learning ชัน้ ๒ อาคารอํานวยการ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป ระชารกั ษ นครสวรรค ๙ อัตลกั ษณคณุ ธรรม : ซ่อื สตั ย รบั ผิดชอบ มวี ินัย

โครงการพฒั นาอาจารยด าŒ นการวัดและประเมินผล วนั ท่ี ๒๕-๒๖ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป ระชารกั ษ นครสวรรค จดั โครงการพฒั นาอาจารย ดา นการวดั และประเมนิ ผล เพอ่ื เปน แนวทางใหอ าจารยน าํ ความรไู ปประยกุ ตใ ชใ นการจดั การเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล การเรยี นรขู องผเู รยี น อนั จะนาํ ไปสกู ารจดั การเรยี นการสอนใหม คี ณุ ภาพ โดยมี อ.ชาลี ศริ ทิ กั ษช ยั พยาบาลวชิ าชพี ชาํ นาญการพเิ ศษ จาก วทิ ยาลยั พยาบาลศรมี หาสารคาม เปน วทิ ยากร ณ หอ งประชมุ เตอื นใจขนั ตสิ ทิ ธิ์ ๑๐ อตั ลักษณคณุ ธรรม : ซอื่ สตั ย รบั ผิดชอบ มีวนิ ัย

พนั ธกจิ ดาŒ นการวจิ ยั การเขยี นบทความวิชาการเพื่อการตพี ิมพ วนั ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ กลมุ วจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป ระชารกั ษ นครสวรรค จัดโครงการพัฒนาวิทยาลัยสูความเปนเลิศดานการวิจัย เพื่อแลกเปล่ียนประสบการณการวิจัย ผานระบบออนไลน ในหัวขอ “การเขียนบทความวิชาการเพื่อการตีพิมพ” โดย ไดรับเกียรติจาก ดร.กมลรัตน เทอรเนอร ผูอํานวยการวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นนทบรุ ี เปน วทิ ยากร มอี าจารยเ ขา รว มการอบรมทงั้ สน้ิ ๖๑ คน ณ หอ งประชมุ เตอื นใจ ขนั ตสิ ทิ ธิ์ ๑๑ อัตลกั ษณคุณธรรม : ซื่อสัตย รบั ผิดชอบ มวี นิ ัย

พนั ธกจิ ดาŒ นทาํ นบุ าํ รงุ ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม พิธถี วายสัตยปฏิญาณเพือ่ เปšนขาŒ ราชการท่ดี ี และพลงั ของแผ‹นดิน และลงนามถวายพระพร วนั ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ดร.สภุ าเพญ็ ปาณะวฒั นพสิ ทุ ธิ์ ผอู าํ นวยการฯ พรอ มดว ยขา ราชการ เจา หนา ที่ และนกั ศกึ ษา วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชนนี สวรรคป ระชารกั ษ นครสวรรค รว มพธิ ถี วายสตั ยป ฏญิ าณเพอื่ เปน ขา ราชการทดี่ แี ละพลงั ของแผน ดนิ และลงนามถวายพระพร เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั วนั ท่ี ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ หอประชมุ ระจติ ร นคิ มรฐั วทิ ยาเขตสวรรคป ระชารกั ษ ๑๒ อตั ลักษณค ณุ ธรรม : ซ่ือสัตย รับผดิ ชอบ มวี ินยั

พิธีทาํ บญุ ตกั บาตร เพือ่ ถวายเปšนพระราชกศุ ลฯ และ พิธลี งนามถวายพระพร วนั ที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๗.๐๐ น. ขา ราชการ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป ระชารกั ษ นครสวรรค รว มพธิ ที าํ บญุ ตกั บาตรขา วสารอาหารแหง แดพ ระสงฆ จาํ นวน ๘๙ รปู เพอื่ ถวายเปน พระราชกศุ ลฯ และ พธิ ลี งนามถวายพระพร เนอื่ งในวนั วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ศาลากลางจงั หวดั นครสวรรค เวลา ๑๘.๐๐ น. ผูอํานวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรคประชารักษ นครสวรรค ดร.สุภาเพ็ญ ปาณะวัฒนพิสุทธ์ิ พรอ มดว ยคณาจารย รว มพธิ ถี วายเครอ่ื งราชสกั การะ วางพานพมุ และพธิ จี ดุ เทยี นถวายพระพรชยั มงคล เนอ่ื งในวนั วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา เจา อยหู วั ณ สนามหนา ศาลากลางจงั หวดั นครสวรรค ๑๓ อตั ลักษณค ณุ ธรรม : ซอ่ื สตั ย รบั ผิดชอบ มีวินยั

ขอŒ ควรรเŒู กย่ี วกบั การใชสŒ มนุ ไพร และอาหารเสรมิ สมนุ ไพร ขอ แนะนาํ ในการใชยาสมนุ ไพร หากมอี าการเจบ็ ปว ยใหใ ชส มนุ ไพรทรี่ กั ษาตามอาการ หยุดใชเมื่อมีอาการหายไป แตถาอาการเจ็บปวยยังไมหาย ไปหรอื อาการยังไมด ีข้ึนภายใน ๒-๓ วัน ควรไปปรึกษาโรง พยาบาลในทอ งถนิ่ นน้ั การใชส มนุ ไพรทถี่ กู ตอ ง ควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี ๑. ใชใหถูกตน สมุนไพรท่ีมีช่ือพองหรือช่ือซํ้ากัน มากและบางทอ งถนิ่ กเ็ รยี กไมเ หมอื นกนั จงึ ตอ งรจู กั สมนุ ไพร และใชใ หถ กู ตน ๒. ใชใ หถ ูกสว น ตนสมุนไพรไมว า จะเปน ราก ใบ นอย อาการทีเ่ กิดจากการแพยาสมนุ ไพร มดี ังนี้ ดอก เปลือก ผล เมลด็ จะมีฤทธไิ์ มเ ทา กนั บางทผี ลแก ผล ๑. ผน่ื ขนึ้ ตามผวิ หนงั อาจเปน ตมุ เลก็ ๆ ตมุ โตๆ หรอื ออน กม็ ีฤทธต์ิ า งกันดว ย จึงตอ งรูวาสว นใดใชเปน ยาได เปนปนหรือเปน เม็ดแบบคลา ยลมพษิ อาจบวมท่ตี า (ตาปด) ๓. ใชใหถูกขนาด สมุนไพรถาใชนอยไป ก็รักษา หรอื ริมฝปาก (ปากเจอ) หรอื มเี พยี งดวงสีแดงทีผ่ ิวหนัง ไมไดผล แตถามากไปก็อาจเปนอันตรายหรือเกิดพิษตอ ๒. เบอ่ื อาหาร คลื่นไสอ าเจยี น รา งกายได ๓. หอู ือ้ ตามวั ชาทลี่ ิ้น ชาที่ผวิ หนงั ๔. ใชใ หถ กู วธิ ี สมนุ ไพรบางชนดิ ตอ งใชส ด บางชนดิ ๔. ประสาทความรูสกึ ทํางานไวเกินปกติ เชน เพยี ง ตอ งปนกบั เหลา บางชนิดใชต ม จะตอ งรูวิธีใชใหถ กู ตอ ง แตะผวิ หนังกร็ สู ึกเจ็บ ลูบผมกแ็ สบหนังศีรษะ ฯลฯ ๕. ใชใหถูกกับโรค เชน ทองผูกตองใชยาระบาย ๕. ใจสน่ั ใจเตน หรอื รสู กึ วบู วาบคลา ยหวั ใจจะหยดุ ถา ใชย าท่ีมีฤทธฝ์ิ าดสมานจะทําใหทอ งผูกยิง่ ข้นึ เตน และเปนบอ ย ๆ อาการแพท ี่เกิดจากสมนุ ไพร ๖. ตวั เหลอื ง ตาเหลอื ง ปส สาวะสเี หลอื ง เขยา เกดิ สมุนไพรมีคุณสมบัติเชนเดียวกับยาทั่วไป คือมีท้ัง ฟองสเี หลอื ง (เปน อาการของดซี า น) อาการนแี้ สดงถงึ อนั ตราย คุณและโทษ บางคนใชแลวเกิดอาการแพได แตเกิดขึ้นได รา ยแรง ตอ งรีบไปพบแพทย ๑๔ อัตลักษณค ุณธรรม : ซอ่ื สัตย รับผดิ ชอบ มวี ินัย

สรุปหลกั เกณฑก ารเลือกผลติ ภัณฑจากสมุนไพรทัว่ ไป ๕. มีชอ่ื บอกสถานทีผ่ ลิต/จําหนายชดั เจน ๑. เปนผลิตภัณฑที่ผานการขึ้นทะเบียนจาก ๖. บอกวนั ทผี่ ลติ ชดั เจน/และอายกุ ารใชง านชดั เจน สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ๗. สังเกตสีและการเปล่ียนแปลงภายนอก หาก ๒. เปนสมุนไพรท่ีไดรับการคัดเลือกเขาตํารา สีเปลี่ยนจางลงแสดงวาคุณภาพลดนอ ยลง หรืออาจใชแลว มาตรฐานยาสมุนไพรไทย ไมไ ดผ ล หากเปนแคปซลู ตอ งไมบุบหรือหลุดร่ัว ๓. เปนสมุนไพรทมี่ ีประวตั ิการใชใ นคนมานาน ๘. ราคายอมเยาเหมาะกับสนิ คา ๔. ถาเปนสมุนไพรชนิดใหมที่ไมมีประวัติการใชใน สรุป การใชสมุนไพรและอาหารเสริมสมุนไพร คนมากอน ควรมีรายงานการศึกษาวิจัยในคนและในสัตว ไมควรใชติดตอกันเปนเวลานาน ควรใชเม่ือมีอาการ เม่ือ ทดลอง เพ่ือยนื ยนั ประสิทธิผลและความปลอดภยั อาการหาย ควรหยดุ ใชแ ละไมค วรใชต ามกระแสขา วและการ ๕. ผลิตโดยผูผลิตที่เช่ือถือได เชน โรงงานท่ีได โฆษณา ควรพจิ ารณาถงึ ความจาํ เปน เหตผุ ลของการใชส มนุ มาตรฐาน GMP โรงพยาบาล หรอื ไดร บั เครอ่ื งหมาย คณุ ภาพ ไพรนั้นๆ ซึ่งแตละคนกม็ ีภาวะสุขภาพทแ่ี ตกตางกัน การใช สมุนไพรไทย จากกรมวิทยาศาสตรการแพทย หรือผูผลิต สมนุ ไพรและอาหารเสรมิ สมนุ ไพร ควรปรกึ ษาบคุ ลากรทาง ระดับชุมชนท่ีผานการอบรมจากศูนยประสานงานพัฒนา สขุ ภาพ คุณภาพผลติ ภัณฑชมุ ชน ของอย. ๖. ไมโ ออ วดสรรพคุณเกินจริง ๗. ราคาและความประโยชนของสินคา เอกสารอางอิง สาํ หรบั ประชาชนทวั่ ไปมขี อ แนะนาํ ในการเลอื กซอ้ื กนั ทมิ า สทิ ธธิ ญั กจิ และคณะ.(๒๕๕๒).คมู อื ประชาชนในการ สมุนไพรสําเรจ็ รปู อยา งงาย ดังน้ี ดแู ลสขุ ภาพดว ยการแพทยแ ผนไทย.(พมิ พค รงั้ ท่ี ๓). ๑. วัตถดุ บิ สะอาด ไมมสี งิ่ ปนปลอม กรุงเทพฯ: สาํ นกั งานกิ ิจการโรงพิมพอ งคก าร ๒. ตวั ยาตอ งแหง สนทิ ไมช นื้ ไมเ ปน มอด และไมม ี สงเคราะหท หารผา นศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ. เชอ้ื รา เอือ้ กานต วรไพบรู ณและกนั ทมิ า สิทธิธญั กจิ .(๒๕๕๘). ๓. บรรจุในภาชนะ หบี หอ ท่สี ะอาดและปดมดิ ชิด คุม ือการดูแลสงเสรมิ สขุ ภาพและปองกันโรคเรอื้ รงั ๔. บอกชอ่ื และสรรพคณุ และวธิ ใี ชช ดั เจน ไมโ ออ วด ดว ยการแพทยแ ผนไทย.(พมิ พค รง้ั ท่ี ๑). กรงุ เทพฯ: สรรพคุณเกินจริง โรงพมิ พท หารผานศึก. ๑๕ อัตลักษณคุณธรรม : ซ่อื สตั ย รบั ผิดชอบ มีวินัย

๑๖ อตั ลกั ษณคณุ ธรรม : ซอ่ื สตั ย รับผดิ ชอบ มีวนิ ยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook