Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กาชาดสากล

กาชาดสากล

Published by ฺBuengsamphan Digital Library, 2020-05-07 09:15:39

Description: กาชาดสากล

Search

Read the Text Version

กาชาดสากล วนั ที่ 8 พฤษภาคม 2563 วนั กาชาดสากล

ประวตั กิ าชาดสากล องั รี ดูนงั ต์ ผจู้ ุดประกายกาชาด นายองั รี ดนู งั ต์ (HENRY DUNANT) เกดิ เมือ่ วนั ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2371 ณ นครเจนีวา ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ เมอื่ พ.ศ. 2402 ขณะทเี่ ขาเดนิ ทางไป ประเทศอติ าลี เขาไดพ้ บเหน็ เหตกุ ารณ์อนั น่าสลดใจ และความทารณุ โหดรา้ ยอนั เนื่องมาจากสงคราม เขาจงึ ชกั ชวนชาวบา้ นทาการชว่ ยเหลือผบู้ าดเจ็บเป็ นจานวน มากในสงครามทซี่ อลเฟรโิ น ตอ่ จานน้ั สามปี เขาไดเ้ ขยี นหนงั สอื ขน้ึ เลม่ หนง่ึ มีชือ่ วา่ ความทรงจาแหง่ ซอลเฟรโิ น ซง่ึ บรรยายเกยี่ วกบั เหตกุ ารณ์ทเี่ ขาไดพ้ บใน สงครามครง้ั นน้ั โดยเขาไดเ้ สนอความคดิ ทวี่ า่ “จะเป็ นไปไดห้ รอื ไม่ ทจี่ ะตง้ั องคก์ รอาสาสมคั รเพอื่ ชว่ ยเหลอื ทหารบาดเจบ็ ใน ยามเกดิ สงคราม”

“จะเป็ นไปไดห้ รอื ไม่ ทจี่ ะตง้ั องคก์ รอาสาสมคั รเพอื่ ชว่ ยเหลอื ทหารบาดเจบ็ ใน ยามเกดิ สงคราม” สบื เนื่องมาจากความคดิ ดงั กลา่ วไดป้ รากฏผลมาจนถงึ ทกุ วนั น้ี คอื 1. การรเิ รมิ่ กอ่ ตง้ั คณะกรรมกาชาดระหวา่ งประเทศ และการกอ่ ตง้ั สภากาชาด ประจาชาตขิ น้ึ ใน พ.ศ. 2406 โดยมบี ทบาทในการชว่ ยเหลอื บรรเทาทกุ ข์ เมือ่ เกดิ ภยั สงครามและภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ 2. การเผยแพรแ่ ละพฒั นากฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ(Inter National Humanitarian Law) จากการประชุมกาชาดระหวา่ งประเทศใน พ.ศ. 2407 ทนี่ ครเจนีวา ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ ซง่ึ เป็ นทมี่ าของอนุสญั ญาเจนี วา (Geneva Conventions) และถอื ไดว้ า่ เป็ นกฎหมายมนุษยธรรมฉบบั แรก ของโลก

ผลของกฎหมายมนุษยธรรมระหวง่ ประเทศน้ี ทาใหอ้ งคก์ ร กาชาดระหวา่ งประเทศและกาชาดประจาชาติ มีบทบาทในการ เขา้ ชว่ ยเหลอื เพอื่ นมนุษยอ์ ยา่ งดเี ยยี่ มนี้ ทาให้ นายองั รี ดนู งั ต์ ไดร้ บั รางวลั โนเบลสาขาสนั ตภิ าพครง้ั แรกของโลกในปี พ.ศ. 2444 เมือ่ อายุ 73 ปี และตอ่ จากนน้ั องคก์ รกาชาดระหวา่ ง ประเทศไดร้ บั รางวลั โนเบล สาขาสนั ตภิ าพอกี 3 ครง้ั นายองั รี ดนู งั ต์ ถงึ แกก่ รรมเมอื่ วนั ที่ 30 ตลุ าคม พ.ศ.2453 อายุ 82 ปี ดงั นน้ั วนั ที่ 8 พฤษภาคมของทกุ ปี ประเทศท่วั โลกทเี่ ป็ น สมาชกิ กาชาดไดพ้ รอ้ มใจกนั จดั กจิ กรรมวนั กาชาดโลก เพือ่ แสดงความราลกึ ถงึ ผรู้ เิ รมิ่ กอ่ ตง้ั กาชาด นายองั รี ดนู งั ต์ ผซู้ ง่ึ เป็ นแบบอยา่ งของนกั มนุษยธรรมทอี่ ทุ ศิ ตนเพอื่ ชว่ ยเหลอื เพอื่ นมนุษย์ใหร้ อดพน้ จากความโหดรา้ ยของภยั สงั คม

สภากาชาดไทย ประวตั กิ าชาดไทย



ประวตั กิ าชาดไทย พระผพู้ ระราชทานกาเนิด เมือ่ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) มีกรณีพพิ าท ระหวา่ ง ประเทศสยาม กบั ฝร่งั เศส เรือ่ งดนิ แดนฝ่งั ซา้ ยแมน่ ้าโขง ไดท้ วีความรนุ แรงจนถงึ มกี ารสูร้ บ เป็ นเหตุใหท้ หารบาดเจ็บลม้ ตายมาก ไม่ มีองค์การกุศลทาหน้าทชี่ ่วยเหลือ พยาบาลบรรเทาทุกข์อยา่ งเป็ นล่าเป็ นสนั ทา่ นผูห้ ญงิ เปลีย่ น ภาสกรวงษ์ ไดด้ าเนินการชกั ชวนและรวบรวมสตรีอาสาสมคั รขนึ้ และได้ทาบนั ทกึ กราบบงั คมทูลสมเด็จพระนางเจ้า สวา่ งวฒั นา พระบรมราชเทวี (สมเด็จพระศรีสวรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา้ ) ขอให้ นาความขน้ึ กราบบงั คมทลู พระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตตง้ั “สภาอุณาโลมแดงแหง่ ชาติ สยาม” ขนึ้ เพือ่ ปฏบิ ตั กิ าร บรรเทาทกุ ขท์ หารทบี่ าดเจ็บเมอื่ ความทราบฝ่ าละอองธลุ พี ระบาท พระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั มีพระราชกระแสวา่ เป็ นความคดิ อนั ดตี ามแบบอยา่ งประเทศทเี่ จรญิ แลว้ จงึ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชูปถมั ภ์ และพระบรมราชานุญาตให้เรี่ยไรได้เงินถึง ๔๔๓,๗๑๖ บาท ซง่ึ เป็ นเงินจานวนมหาศาลในสมยั นน้ั กบั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหส้ มเด็จพระนาง เจา้ สวา่ งวฒั นา พระบรมราชเทวี (สมเด็จพระศรีสวรนิ ทริ าบรมราชเทวีพระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจ้า) ทรงเป็ น” สภาชนนี” สมเด็จพระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศรี พระวรราชเทวี (สมเดจ็ พระศรีพชั รนิ ทราบรมราชนิ ีนาถ พระ บรมราชชนนี พนั ปี หลวง) ทรงเป็ น “สภานายกิ า” และทา่ นผหู้ ญงิ เปลีย่ น ภาสกรวงษ์เป็ นเลขานุการณิ ีสภา อณุ าโลมแดง

นบั วา่ ทา่ นผหู้ ญิงเปล่ยี น เป็นสตรที ่ีทนั สมยั มีความคิดรเิ รม่ิ เฉลียวฉลาดมี ความสามารถ ในดา้ นตา่ ง ๆ ในสมยั นนั้ อยา่ งย่งิ ทา่ นหน่งึ อาจกลา่ วไดว้ า่ ทา่ นเป็นผู้ ท่ีได้ รเิ รม่ิ กิจการกาชาดขนึ้ เป็นคนแรกในประเทศสยาม พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชดารวิ า่ เป็นความคิดท่ีตอ้ ง ดว้ ยแบบอยา่ ง อารยประเทศท่ี เจรญิ แลว้ ทงั้ หลาย จงึ ทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน พระบรมราชานญุ าตใหจ้ ดั ตงั้ “สภาอณุ าโลมแดง” ขนึ้ ในวนั ท่ี ๒๖ เมษายน ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) ซง่ึ ถือเป็นวนั สถาปนา สภากาชาดไทย

พระบาทสมเด็จพระมงกฏเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอื่ ทรงดารงตาแหน่งพระยพุ ราชเสด็จ กลบั จาก การศกึ ษา ในประเทศองั กฤษผา่ นมาทางประเทศญปี่ ่ ุน ไดเ้ สด็จทอดพระเนตรโรงพยาบาล ของกาชาดญปี่ ่ ุน ทาใหท้ รงพระดารวิ า่ ถา้ ไดจ้ ดั โรงพยาบาลของกาชาดขนึ้ ในเมืองไทย ก็จะ เป็ นประโยชน์แกบ่ า้ นเมือง ฉะนน้ั เมอื่ สมเด็จพระราชบดิ า เสดจ็ สู่ สวรรคาลยั พระองคจ์ งึ ไดร้ ว่ มกบั พระราชภราดาภคนิ ี ทรงบรจิ าคทรพั ย์รวมกบั ทนุ ของสภาอณุ าโลมแดงทีม่ อี ยู่ สรา้ งโรงพยาบาลขนึ้ ในทดี่ นิ สว่ นพระองค์ แลว้ โปรดเกลา้ ฯ ขนานนามตามพระปรมาภไิ ธย พระบาทสมเดจ็ พระรามาธบิ ดศี รีสนิ ทร มหาจฬุ าลงกรณ์ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั วา่ ” โรงพยาบาล จฬุ าลงกรณ์” เพอื่ เป็ นอนุสรณ์ ในพระราชบดิ า ใหโ้ รงพยาบาลนี้ เป็ นของ สภากาชาดสยามเมอื่ พ.ศ. 2457 ชอื่ สภาอณุ าโลมแดง และสภากาชาดน้ี เรยี กปะปนกนั ตลอดมา แตเ่ มือ่ พ.ศ. 2453 ชอื่ สภาอณุ าโลม แดงก็สญู ไป คงใชก้ นั แต่ สภากาชาดสยาม หรือสภากาชาดไทย ตามชอื่ ประเทศ ซง่ึ เปลยี่ นจาก สยามเป็ นไทย มาจนบดั น้ี

สมเด็จพระศรสี วรนิ ทริ า พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั บรมราชเทวีพระพนั วสั สา อยั ยกิ าเจา้ รชั กาลที่ 5 ทา่ นผหู้ ญงิ เปลยี่ น ภาสกรวงศ์ (Plian Paadsakorn)

สมเด็จพระศรีพชั รนิ ทราบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนี พนั ปี หลวง ทรงเป็ น “สภานายกิ า”

วนั ที่ 8 พฤษภาคม 2563 วนั กาชาดสากล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook