Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการบ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้ 2565

โครงการบ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้ 2565

Published by ฺBuengsamphan Digital Library, 2022-08-31 22:33:17

Description: โครงการบ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้

Search

Read the Text Version

ก คำนำ รายงานผลการดำเนินงานโครงการบ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้ ฉบับนี้ เป็นการรายงานผลการ ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี 2565 บรรณารักษ์ได้รับมอบหมายให้รวบรวมข้อมูล ความพึง พอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมและสรุปผลการดำเนินกิจกรรม ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อมูลให้กับหน่วยงานท่ี เก่ียวขอ้ งในการวางแผนพฒั นาการดำเนินงานตอ่ ไป บรรณารักษ์ ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร คณะบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้ตอบแบบ ประเมินทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนในการดำเนินกิจกรรมสำเร็จ ลุล่วงไปด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประเมินผลการดำเนินโครงการบ้านหลังเรียนเพื่อนเรียนรู้ ฉบับนี้ จะสามารถเป็นข้อมูลในการ พฒั นาสำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์ อยา่ งเตม็ รปู แบบต่อไป หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอบึงสามพนั คณะผ้จู ดั ทำ

สารบญั ข บทท่ี 1 บทนำ หน้า ความเปน็ มาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ 1 เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการสรปุ 2 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 2 2 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง ความหมายห้องสมุดประชาชน 3 ความหมายการศึกษาตลอดชีวติ 3 ความหมายการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4 การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน 4 Digital literacy คอื อะไร 4 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 5 6 บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนินงาน 7 ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) 7 ข้นั ตอนการรว่ มกนั ปฏบิ ตั ิ ( Do) 7 ขั้นตอนการร่วมกนั ประเมิน ( Check ) 8 ขน้ั ตอนการร่วมปรับปรุง ( Act) 9 บทท่ี 4 ผลการดำเนินการและวเิ คราะหข์ ้อมูล 12 ผลการดำเนนิ งานโครงการบ้านหลงั เรยี นเพอื่ นเรยี นรู้ 12 12 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 12 วัตถปุ ระสงค์ 12 เปา้ หมาย 13 เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 13 การเก็บรวบรวมข้อมลู สรุปผลการดำเนนิ การ ปัญหา/ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญ เด็กไทยและการบ้าน ครอบครัวมากมายหลายล้านครอบครัวต้องต่อสู้กับลูกในการทำการบา้ น ทกุ คำ่ คืน การให้การบ้านอาจถือว่าเป็นการฝึกความรบั ผิดชอบ ช่วยให้เดก็ เข้าใจในภาคปฏบิ ตั ิ แต่บางครั้ง การบา้ นทย่ี ากเกินไปสำหรับเด็ก หรือบางครงั้ อาจจะยากไปสำหรบั ผู้ปกครองด้วยซ้ำไม่สามารถช่วยลูกให้ รักการเรียนได้ จากสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เด็กต้องทำการบ้านในแทบทุกวิชาที่เรียน แม้ว่าการบ้านจะถือว่าเป็นสิ่งที่มีประโยชน์กับเด็กแต่ต้องขึ้นอยู่กับอายุของเด็กเป็นสำคัญด้วย (การบ้าน จำเป็นสำหรับเด็กประถมหรอื ไม่? / ดร.สพุ าพร เทพยสุวรรณ) ห้องสมุดประชาชน (Public Library) เป็นสถานที่ให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการหลาย ระดับหลายวัย เป็นแหล่งให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนแก่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกระดับ การศกึ ษา เปน็ แหลง่ สนบั สนุนการเผยแพร่ความรู้ การศกึ ษาและวัฒนธรรม โดยจัดให้ ประชาชนสามารถ ใช้หนังสือและวัสดอุ ื่น ๆ โดยไม่เสียค่าบริการใด ๆ เป็นแหล่งกลางที่จะปลูกฝังใหป้ ระชาชนมีนิสัยรักการ อ่านและการศึกษาค้นคว้า เป็นศูนย์รวบรวมข่าวสารและความรู้ต่าง ๆ ที่ทันต่อเหตุการณ์และความ เคลื่อนไหว ของโลก ที่ให้พื้นฐานทางความคิดของประชาชนโดยส่วนรวม และเป็นพื้นฐานของ ความ เติบโตทางด้านวัฒนธรรม และสติปัญญา เป็นศูนย์รวมของกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมของท้องถิ่น เป็น แหล่งกลางในการส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และให้รู้จักพักผ่อนหย่อนใจ ด้วย การอ่านหนังสือ เป็นแหล่งส่งเสริมกิจกรรมทางด้านการศึกษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนหรือองค์การใน สังคม เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนทุกคนในสงั คม เป็นแหล่งท่ีประชาชนสามารถใชห้ นังสอื และ วสั ดอุ ปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ให้เปน็ ประโยชน์ ได้อย่างเตม็ ที่ ตามความตอ้ งการและสภาพแวดลอ้ มของประชาชน ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันเกิดการแพร่ระบาดไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยให้นักเรียนเรียนที่บ้านผ่านสื่อแอพพลิเคชั่นออนไลน์ต่างๆ แต่ผู้ปกครองต้องทำงานในช่วงกลางวัน หรือบางครอบครัวเด็กอยู่กับปู่ย่า ตายาย ทำให้การเรียนหรือการทำการบ้านไม่มีคนให้คำแนะนำ หรือ ชีแ้ นะ ดังนั้นเพื่อดำเนินงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของห้องสมุดประชาชน สอดคล้องกับ นโยบาย/จุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และเพอื่ ส่งเสริมให้เด็กมี นิสัยรักการเรียนรู้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพันได้จัดทำ โครงการบ้านหลังเรียน เพื่อนเรียนรู้ ปีงบประมาณ 2565เพื่อให้เด็ก เยาวชน อำเภอบึงสามพันมีนิสัยรักการอ่าน สู่การเป็นเด็กมีนิสัยรักการ เรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการบ้านหลงั เรียน เพ่ือนเรยี นรู้

2 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ ส่งเสรมิ นสิ ยั รกั การอ่านให้กับเดก็ เยาวชนอำเภอบึงสามพัน 2. เพือ่ สง่ เสรมิ เดก็ เยาวชน มนี ิสยั รกั การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ 1.3 เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ เดก็ เยาวชน อำเภอบึงสามพัน จำนวน 10 คน เชิงคุณภาพ เดก็ เยาวชน อำเภอบึงสามพนั มีนสิ ัยรักการอา่ น นำไปสู่นสิ ยั รักการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 1.4 เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในครง้ั น้ี 1. แบบประเมินความพงึ พอใจของผ้ใู ชบ้ รกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565” 1.5 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนอำเภอบึงสามพันเพื่อให้นักศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและมีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 80 โครงการบ้านหลงั เรียน เพื่อนเรียนรู้

3 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง การดำเนนิ การสรุปผลการโครงการบา้ นหลังเรียน เพ่ือนเรียนรู้ เจา้ หน้าทีไ่ ดศ้ ึกษาเอกสารที่ เก่ียวข้องในประเด็นตา่ ง ๆ ดังน้ี - ความหมายห้องสมุดประชาชน - ความหมายการศึกษาตลอดชีวิต - ความหมายการศึกษาตามอัธยาศยั - การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน - Digital literacy คืออะไร - ยุทธศาสตร์ชาติ ความหมายห้องสมดุ ประชาชน หอ้ งสมดุ ประชาชน (Public Library) เป็นสถานทใี่ หบ้ ริการสารสนเทศแก่ผ้ใู ช้บริการหลายระดับ หลายวยั เป็นแหลง่ ให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนแกป่ ระชาชนทุกเพศ ทกุ วัย และทกุ ระดับการศึกษา เป็นแหล่งสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ การศึกษาและวัฒนธรรม โดยจัดให้ ประชาชนสามารถใช้หนังสือ และวัสดุอื่น ๆ โดยไม่เสียค่าบริการใด ๆ เป็นแหล่งกลางที่จะปลูกฝังให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่านและ การศึกษาค้นคว้า เป็นศูนย์รวบรวมข่าวสารและความรู้ต่าง ๆ ที่ทันต่อเหตุการณ์และความเคลื่อนไหว ของโลก ที่ให้พื้นฐานทางความคิดของประชาชนโดยส่วนรวม และเป็นพื้นฐานของ ความเติบโตทางด้าน วฒั นธรรม และสตปิ ัญญา เปน็ ศนู ย์รวมของกิจกรรมทางดา้ นวฒั นธรรมของท้องถ่ิน เปน็ แหล่งกลางในการ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนได้ใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ และใหร้ ู้จกั พักผอ่ นหย่อนใจ ดว้ ยการอา่ นหนังสอื เป็น แหล่งส่งเสริมกิจกรรมทางดา้ นการศึกษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนหรือองค์การในสังคม เพอ่ื พฒั นาความ เป็นอยู่ของประชาชนทุกคนในสังคม เป็นแหล่งที่ประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ เปน็ ประโยชน์ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี ตามความต้องการและสภาพแวดลอ้ มของประชาชน ความหมายการศกึ ษาตลอดชวี ิต อมั พรพงษ์ กงั สนานนั ท์ (2550) ได้สรปุ ว่า การศึกษาตลอดชวี ิตเป็นกระบวนการท่ีส่งเสริมบุคคล ได้รับความรู้ ทกั ษะประสบการณแ์ ละมคี วามจำเป็นทจ่ี ะต้องส่งเสริมบุคคลได้รับการศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือ เรียนรู้ให้เท่าทันและพัฒนาตนเองให้ก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมโลกทั้ง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยเี ศรษฐกจิ สังคมการเมืองและชมุ ชนโดยบุคคลจะได้รบั การศึกษาตลอดชวี ิตจากกิจกรรมท่ีจัดข้ึน จากการผสมผสานและเชื่อมโยงกันระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ความหมายการศกึ ษาตามอัธยาศัย โครงการบ้านหลงั เรยี น เพ่ือนเรยี นรู้

4 การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) หมายถึง การศึกษาที่เป็นการจดั สภาพแวดลอ้ ม สถานการณ์และปัจจัยให้เกื้อหนุนผู้เรียนเพื่อส่งเสริมให้บุคคลได้เรียนรู้ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส สามารถเรียนได้ตลอดเวลาและเกิดขึ้นในทุกช่วงวัยตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวติท้งั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม (บศุ รา นิยมเวช, 2563, น33) การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน การอา่ นถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้ ดงั น้นั เม่อื สังคมเปลี่ยนแปลงไป การอ่านย่อมต้องมี วิวัฒนาการ และเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นกันเทคโนโลยีต่าง ๆ มีอิทธิพล ทำให้สังคมแปรเปลี่ยน และมี ข้อจำกัดมากมายที่ส่งผลให้การอ่านของคนไทยลดลง การปรับเปลี่ยนเรื่องการอ่านและการเตรียมความ พรอ้ ม เพ่ือรองรบั เทคโนโลยีในยคุ แห่งการเปลี่ยนแปลงจึงเป็นส่งิ สำคญั การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จะทำให้กลุม่ เป้าหมายได้รับประโยชน์ในทางตรง คือการพัฒนา ทักษะการอ่านจนเป็นนิสัยรักการอ่าน และประโยชน์ทางอ้อมที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ และ ความสามารถในการช่วยจูงใจ เร้าความสนใจต่อหนังสือ และการอ่าน ฝึกทักษะ ทางภาษา ฟัง พูด อ่าน เขยี น พัฒนาความคิดมีเจตคติที่ดีต่อการอ่าน เพลดิ เพลนิ และผอ่ นคลายความตึงเครียด อีกทั้งส่งเสริมให้ เกดิ ความสามคั คี เอ้อื เฟ้ือช่วยเหลือกัน กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านท่ดี ตี อ้ งมคี วามเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย แต่ละช่วงวัย การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นให้มปี ระสทิ ธภิ าพควรมีการเตรียมพร้อม และคำนงึ ถงึ ในเร่ืองดงั ต่อไปน้ี 1. จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องสมุด ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ เพื่อให้ ผู้ใช้บริการได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เข้าสู่บรรยากาศของการอ่าน และได้ใกล้ชิดกับหนังสือมากยิ่งขึ้น เชน่ จดั นิทรรศการหนังสือในโอกาสต่าง ๆ จัดกิจกรรมเชิญชวนให้อา่ นหนังสืออย่างสมำ่ เสมอ ฯลฯ 2. ผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเตรียมพร้อมในด้านวิธีการจัดกิจกรรมสื่อและอุปกรณ์ เพอ่ื ให้การจดั กิจกรรมดำเนนิ ไปดว้ ยความเรียบร้อยบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ของการจดั กจิ กรรมท่กี ำหนด 3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ต้องเป็นกิจกรรมที่เร้าใจ และดึงดูดความสนใจมีความ หลากหลาย เพอื่ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ปฏบิ ัติอย่างมีความสุขควรเป็นกิจกรรมทีเ่ น้นให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไดป้ ฏิบตั ิจริง และสามารถแสวงหาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง 4. ผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเก็บรวบรวมข้อมูลด้านการอ่านของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพ่ือใหก้ ารจดั กจิ กรรมตอบสนองกับความตอ้ งการ และความสนใจในครัง้ ตอ่ ไปไดอ้ ย่างเหมาะสม 5. จัดสภาพแวดล้อมในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสม เพื่อให้กิจกรรมน่าสนใจแปลกใหม่ และ สามารถนำไปปฏิบัติจรงิ ได้ Digital literacy คอื อะไร ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำ เครอื่ งมอื อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทลั ทมี่ ีอยู่ในปจั จบุ ัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรม คอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงาน โครงการบ้านหลังเรียน เพื่อนเรยี นรู้

5 ร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมี ประสทิ ธภิ าพ ทักษะดงั กลา่ วครอบคลมุ ความสามารถ 4 มิติ การใช้ (Use) เข้าใจ (Understand) การสรา้ ง (create) เขา้ ถงึ (Access) เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ขยายโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง ตลอดชีวิต จดุ เนน้ 4.4 จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย “กศน.เพื่อ ประชาชน” 4.5 มุ่งเน้นการส่งเสริมให้เกิดชมุ ชนรักการอ่าน “นงั่ ท่ีไหนอา่ นทนี่ ่นั ” รูปแบบตา่ งๆ สอดคล้องกับนโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศึกษาธกิ าร) นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ ตลอดชีวิตและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ของกลมุ่ ผูด้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษาและผเู้ รยี นท่ีมคี วามต้องการจำเปน็ พิเศษ นโยบายเรง่ ดว่ น 6. การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย ให้มี คุณภาพและมาตรฐาน ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสมและเต็มตามศกั ยภาพตง้ั แต่วัยเดก็ จนถงึ วัยชรา และพฒั นาหลกั สตู รทเี่ หมาะสมเพอ่ื เตรียม ความ พรอ้ มในการเข้าสู่สังคม ผสู้ ูงวยั สอดคลอ้ งกบั นโยบาย/จุดเน้นการดำเนนิ งานสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับแต่ละช่วงวัย และการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ที่เหมาะสมกบั แต่ละกลมุ่ เป้าหมายและบรบิ ทพ้ืนท่ี 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรคู้ ุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และ การรู้หนงั สอื ของประชาชน 3.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างพื้นที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space/ Co- leaning Space เพอื่ การสรา้ งนเิ วศการเรียนรใู้ ห้เกิดขึน้ สงั คม โครงการบ้านหลังเรยี น เพ่ือนเรียนรู้

6 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การ รายงานผลการดำเนินงานโครงการบ้านหลังเรียน เพ่ือนเรียนรู้ โดยได้นำ PDCA วงจรการ บรหิ ารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คำ ได้แก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏบิ ตั ิ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การ ดำเนินการให้เหมาะสม) ดังนี้ 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1. ประชุมบุคลากรกศน.อำเภอบงึ สามพัน เพ่ือสรา้ งความเข้าใจเกยี่ วกบั รปู แบบการจดั กิจกรรมวางแผน 2. บคุ ลากรร่วมกนั กำหนดเป้าหมายงานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ห้องสมุดประชาชน อำเภอบงึ สามพันและกศน.ตำบล ลำดับ โครงการ เป้าหมาย เปา้ หมาย เป้าหมาย ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 ประจำปี2565 1 โครงการพัฒนาห้องสมดุ ประชาชน ใหเ้ ปน็ ศูนยเ์ รยี นรตู้ ลอดชวี ติ Co - Learning Space (ACTION PLAN) 250 คน 250คน 500คน 2 โครงการพฒั นารปู แบบการจัดกิจกรรมของอาสาสมัครส่งเสริม การอ่าน กศน. (ACTION PLAN) 26คน 26คน 52คน 3 โครงการพฒั นาห้องสมุดชาวบา้ นทีอ่ า่ นหนงั สือชุมชน (บ้าน 450คน 450คน 900คน หนงั สอื ของชมุ ชน) (ACTION PLAN) 4 โครงการห้องสมุดเคลื่อนท่สี ำหรับชาวตลาด (ACTION PLAN) 200คน 200คน 400คน 5 โครงการหอ้ งสมดุ เคล่ือนท่สี ่ชู มุ ชน (ห้องสมดุ ประชาชน 200คน 200คน 400คน เคลอื่ นที+่ รถโมบายเคลอ่ื นท่ี) (ACTION PLAN) 6 หอ้ งสมดุ ประชาชนประจำตำบล (ACTION PLAN) 9 ตำบล 9 ตำบล 9 ตำบล (450คน) (450คน) 900คน โครงการบ้านหลังเรยี น เพื่อนเรยี นรู้

7 ลำดบั โครงการ เปา้ หมาย เป้าหมาย เปา้ หมาย ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 ประจำปี2565 7 โครงการครอบครัวรกั การอา่ น บา้ นแห่งการเรียนรู้ (ACTION PLAN) 10 คน 10 คน 20 คน 8 โครงการบ้านหลงั เรียนเพอ่ื นเรยี นรู้ (ACTION PLAN) 10 คน 10 คน 20คน 9 โครงการ กศน.ยอดนักอา่ น (สง่ เสริมการอ่านสำหรบั นักศึกษา 200 คน 200คน 400 คน กศน.) (ACTION PLAN) 25 คน 25 คน 50 คน 10 โครงการอยากอ่านต้องได้อ่าน Book Delivery (ACTION PLAN) 150 คน 150 คน 300 คน 1,971 คน 1,971 คน 3,942 คน 11 โครงการ Digital Library สง่ เสริมการอา่ นออนไลน์ รวม 3. เสนอโครงการเพื่ออนุมตั แิ ละแต่งตง้ั คณะทำงาน 4. ประสานงานขอใชส้ ถานท่ีในการจัดกจิ กรรม และประสานกลมุ่ เป้าหมายเข้าร่วม กิจกรรม 2. ข้นั ดำเนนิ การ (Do) 1. ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามโครงการบ้านหลังเรียน เพื่อนเรียนรู้ ตามช่วง ระยะเวลา ไตรมาสที่ 3-4 ปงี บประมาณ 2565 ช่วงวันท่ี 1 เดอื น เมษายน 2565 – 30 กันยายน 2565 2. กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นโครงการบ้านหลังเรียน เพือ่ นเรยี นรู้เป้าหมายไตรมาส 3-4 จำนวน 10 คน 3. ขน้ั ตอนการประเมนิ ( Check ) 1. ดำเนินการประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโครงการบ้านหลังเรียน เพื่อนเรียนรู้ โดยใช้แบบ ประเมินความพงึ พอใจ โครงการบา้ นหลังเรยี น เพ่ือนเรยี นรู้

8 2. ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้วิธีแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ทั้งใน รายขอ้ และภาพรวมเทียบกับเกณฑ์ ดงั นี้ 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยูในระดับมากท่ีสดุ 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยใู นระดบั มาก 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยใู นระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยใู นระดับนอ้ ย 1.00 – 1.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยูในระดับน้อยท่ีสุด ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากแบบประเมินความพึงพอใจ ใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อ เรื่อง (Content Analysis) สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู 1) คา่ ร้อยละ 3. สรุปและรายงานผลการดำเนินงานสรุปผลการโครงการบา้ นหลังเรียน เพ่ือนเรยี นรู้ รายงานผล การดำเนนิ งานตอ่ ผบู้ รหิ ารและบุคลากร กศน.อำเภอบงึ สามพนั 4. ขัน้ ตอนการปรับปรงุ (Act) นำผลประเมินความพึงพอใจที่ได้มาทำการวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาแผน ในการปรับปรุงต่อไป เสนอแนะปญั หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ขปัญหา และพฒั นาจุดทม่ี ีอยู่แล้วให้ดียิง่ ขึน้ ไป โครงการบา้ นหลังเรยี น เพ่ือนเรยี นรู้

9 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การและวิเคราะหข์ อ้ มลู ผลการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านโครงการบา้ นหลังเรยี น เพอื่ นเรียนรู้ สามารถสรุปตามข้ันตอน ในการดำเนนิ งาน ดังน้ี ขน้ั ตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) ข้นั ตอนน้เี ป็นการวางแผนการดำเนินการโดยมีข้ันตอน พบวา่ การประชมุ ปรึกษาร่วมกันระหว่าง ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงาน บุคลากร กศน. อำเภอบึงสามพัน แล้วขยายผลสู่นกั ศึกษาภาคีเครอื ข่าย ได้รับ ความร่วมมือและสนับสนุนการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และนำเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาเห็นชอบ โครงการ/กิจกรรม ได้รับการอนุมัติจัดกิจกรรม ผู้รับผิดชอบจึงได้ดำเนนิ การจดั กิจกรรมตามแผนที่วางไว้ และกำหนดแนวทางในการดำเนินการ ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม กำหนดระยะเวลาในการ ดำเนนิ การ และวิธีประเมินผล ตามลำดบั ขน้ั ตอนการรว่ มกันปฏิบัติ ( Do) การปฏบิ ัตงิ านตามแผนงานทวี่ างไว้โดยมีขน้ั ตอนในการดำเนินงาน คอื การบันทกึ เสนอผู้บริหาร เพือ่ ขออนุญาตดำเนนิ การ พบว่า ไดร้ บั การอนุญาตและใหด้ ำเนินการ และผลการดำเนินงานโครงการบ้าน หลังเรียน เพื่อนเรียนรู้ ไตรมาสที่ 3-4 ปีงบประมาณ 2565 ช่วงวันที่ 1 เดือน เมษายน 2565 – 30 กันยายน 2565ณ กศน.ตำบล อำเภอบึงสามพัน และภาคีเครือข่ายโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็น นักเรียน นักศกึ ษา กศน. และประชาชนทวั่ ไป จำนวน 10 คน มผี ู้เข้ารว่ มโครงการจำนวน 19 คน ข้นั ตอนการร่วมกนั ประเมิน ( Check ) การประเมินผลการดำเนินการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโครงการบ้านหลงั เรียน เพื่อนเรียนรู้ โดย ใชแ้ บบสอบถามความคิดเห็น พบวา่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ีย ค่าร้อยละ จากแบบประเมินความพึงพอใจ โดยแปล ความหมายดังตอ่ ไปน้ี 4.51 - 5.00 หมายความวา่ ระดับความพึงพอใจ ในระดับ มากท่สี ุด 3.51 – 4.50 หมายความว่า ระดับความพึงพอใจ ในระดับ มาก 2.51 - 3.50 หมายความว่า ระดับความพึงพอใจ ในระดับ ปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายความว่า ระดับความพงึ พอใจ ในระดบั พอใช้ 1.00 - 1.50 หมายความวา่ ระดบั ความพึงพอใจ ในระดับ ปรับปรุง โครงการบ้านหลังเรยี น เพื่อนเรยี นรู้

10 วิเคราะห์ข้อมลู จากแบบประเมนิ ได้ผลการประเมนิ ดงั น้ี ( รายการประเมินอาจเปลยี่ นแปลงตามความเหมาะสม) ขอ้ ท่ี รายการ N = 507 ระดบั ความ ลำดบั ������̅ (S.D) คิดเหน็ 8 1 รปู แบบกิจกรรมตอบสนองความต้องการของผู้รับบรกิ าร 4.21 0.77 มาก 2 มากทส่ี ุด 4 2 กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ำให้เขา้ ใจง่าย 4.53 0.50 7 มาก 9 3 ส่ือ/วสั ดอุ ุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการทำกจิ กรรมมีความเหมาะสม 4.42 0.59 มาก มาก 4 ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 4.37 0.67 5 เน้ือหาของกิจกรรม เหมาะกับระดบั ความรู้ ความสามารถของผู้รบั บรกิ าร 4.11 0.91 6 ผ้รู บั บริการไดร้ บั ความรู้ ความเขา้ ใจและทักษะตาม มาก 5 เนอ้ื หาและกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.42 0.59 7 วิธีการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ หมาะสมกับเน้ือหา 4.44 0.68 มาก 3 มากท่สี ดุ 1 8 ผู้รบั บริการมคี วามสนุกสนานในการทำกจิ กรรม 4.58 0.67 6 มาก 9 ผ้รู ับบรกิ ารนำความรทู้ ่ีไดจ้ ากการทำกจิ กรรมไปใชใ้ น ชีวิตประจำวนั ได้ 4.42 0.59 เฉลยี่ 4.34 มาก จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยเรียงลำดับความพอใจจากมากท่ีสดุ ไป น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจมากผู้รับบริการมีความสนุกสนานในการทำกิจกรรม( X= 4.58,SD = 0.67) รองลงมาคอื กจิ กรรมการเรยี นรู้ทำใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ( X= 4.42,SD = 0.50) รองลงมาคือ วิธีการจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ หมาะสมกับเน้ือหา( X= 4.44,SD = 0.68 ) และน้อยที่สดุ คือ เนื้อหาของกิจกรรม เหมาะกับระดับความรู้ความสามารถของผู้รับบริการ ( X=4.11, SD = 0.91 ) ตามลำดับ ข้ันตอนการร่วมปรบั ปรุง ( Act) เมื่อประเมินผลแล้วจึงได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะกลุ่ม งานผู้รับผิดชอบและได้นำสารสนเทศที่ได้นำเสนอต่อผู้บริหารและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบ และนำผลการทำเนนิ งานมากปรับปรงุ พฒั นาการงานให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้ึน สรุปผลการโครงการบ้านหลังเรยี น เพอ่ื นเรียนรู้

11 เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในครั้งน้ี 1. แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม “กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565” การเก็บรวบรวมข้อมลู มีขั้นตอนในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดงั นี้ 1. ผู้จัดโครงการแจกแบบประเมินความพึงพอใจให้กับกลุ่มเป้าหมาย/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริม การอา่ นโครงการบ้านหลังเรยี น เพ่อื นเรยี นรู้ สรุปผลการโครงการบ้านหลงั เรยี น เพ่ือนเรียนรู้

12 บทที่ 5 สรปุ ผล และขอ้ เสนอแนะ ผลการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน ตามโครงการบ้านหลงั เรียน เพอื่ นเรียนรู้ ได้ผลสรุปดังน้ี 1. วัตถปุ ระสงค์ 2. เป้าหมาย 3. เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 5. สรปุ ผลการดำเนินการ 6. ข้อเสนอแนะ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื เพิม่ ช่องทางการเข้าถงึ การอ่านในแหล่งเรยี นร้ใู กล้ตวั และมหี นงั สอื ทีห่ ลากหลายให้บริการ 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนนุ ใหป้ ระชาชน ทกุ ชว่ งวยั ใหม้ นี สิ ัยรกั การอา่ น เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปอำเภอบงึ สามพนั จำนวน 10 คน เชิงคณุ ภาพ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม โครงการ ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจระดับดขี ้นึ ไป และนกั เรียน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปอำเภอบงึ สามพัน มีนสิ ัยรักการอ่าน มโี อกาสในการเขา้ ถงึ ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อ การเรียนรูต้ ลอดชีวิต เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในคร้ังน้ี 1. แบบประเมินความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรม “กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565” การเก็บรวบรวมข้อมลู มขี นั้ ตอนในการเก็บรวบรวมข้อมลู ดังน้ี 1. ผจู้ ดั โครงการแจกแบบประเมินความพงึ พอใจให้กับกลมุ่ เปา้ หมาย/ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม “กิจกรรมส่งเสริมการ อ่าน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565”ห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพนั สรปุ ผลการโครงการบ้านหลงั เรยี น เพอ่ื นเรยี นรู้

13 สรุปผลการดำเนินการ 1. ไดด้ ำเนนิ การจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น ตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปภี ายใต้โครงการบ้าน หลังเรยี น เพอื่ นเรยี นรู้โดยดำเนินการแลว้ เสร็จและสรุปรายงานตอ่ ผ้บู ริหาร 2. ผลการดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามแผนปฏิบัติการประจำปีภายใต้โครงการ บา้ นหลังเรยี น เพือ่ นเรยี นรู้ไตรมาส 3-4 มผี ู้เขา้ ร่วมกิจกรรม จำนวน 19 คน สรปุ โดยภาพรวม พบวา่ การจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านทจ่ี ัดข้ึนภายใตโ้ โครงการบ้านหลังเรยี น เพอ่ื นเรียนรู้ สำเร็จลุลว่ งดว้ ยดจี ากการสอบถามความพึงพอใจของผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรม พบว่า ผ้มู ี ส่วนเก่ียวขอ้ งสว่ นใหญ่มีความความคดิ เหน็ ต่อการจัดกจิ กรรมโดยเฉลี่ยอยูใ่ นระดบั มาก ปัญหา/ข้อเสนอแนะ การจัดทำสื่อส่งเสริมการอ่านโครงการพัฒนา กศน.ตำบลให้เป็นห้องสมุดประจำตำบลต้องอยู่ ภายใตม้ าตรการป้องกนั โรคติดต่อโควิด19 สรุปผลการโครงการบา้ นหลงั เรยี น เพอ่ื นเรยี นรู้

ภาพกจิ กรรม โครงการบ้านหลังเรียนเพ่อื นเรยี นรู้

บรรณานกุ รม บศุ รา นยิ มเวช. (2563). บทบาทของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในเขต กรุงเทพมหานครต่อการสรา้ งการมีสว่ นร่วมและเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.(2564).นโยบายและจุดเนน้ การ ดำเนนิ งานสำนักงาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564.กรุงเทพฯ:สำนกั งาน กศน. สำนกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.).(2564). Digital literacy คอื อะไร. กรุงเทพมหานคร:สำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน อัมพร พงษกงั สนานนั ท์. (2550). การพัฒนารูปแบบการจัดการศกึ ษานอกระบบในสถานศึกษาขั้น พื้นฐานเพอ่ื สงเสริมการศึกษาตลอดชวี ติ . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

ภาคผนวก

บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบึงสามพนั ท่ี ศธ 0210.5405/640.1 วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2565 เรื่อง ขออนุมตั โิ ครงการห้องสมดุ ประชาชนอำเภอบงึ สามพัน ไตรมาส 3-4 ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 เรียน ผ้อู ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบึงสามพัน ด้วย ห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพัน ขออนุมัติ โครงการฯ ไตรมาส 3-4 ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 เพื่อเป็นการส่งเสริมการอ่าน การเรียนรู้ กระตุ้นให้เห็นความสำคัญของการอ่าน ตลอดจนมีนิสัยรัก การอ่าน จำเปน็ ต้องปลูกฝังและชักชวนให้เกิดความสนใจ ซ่ึงสภาพปัจจบุ นั พบวา่ สงั คมไทยยังไม่เปน็ สังคมการอ่าน ซง่ึ จะตอ้ งมีการสง่ เสริมการอ่าน การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ อยา่ งต่อเน่ืองและเพ่ิมมากขน้ึ น้ัน ในการนี้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพัน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการอ่านให้กับ ประชาชนในเขตอำเภอบงึ สามพนั ข้ึน ดังรายละเอียดท่ีแนบมาพร้อมน้ี จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพิจารณา 1. อนุมัตโิ ครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพันให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space 2. อนุมตั ิโครงการหอ้ งสมดุ เคล่ือนทีส่ ูช่ ุมชนห้องสมดุ ประชาชนอำเภอบึงสามพัน 3. อนมุ ัติโครงการห้องสมดุ เคลือ่ นท่ีสำหรบั ชาวตลาดตามพระราชดำรฯิ 4. อนุมัติโครงการกศน.ยอดนักอ่าน 5. อนมุ ัติโครงการอยากอา่ นต้องไดอ้ า่ น Book Delivery 6.อนุมัติโครงการ Digital Library สง่ เสรมิ การอ่านออนไลน์ 7.อนมุ ัติโครงการครอบครัวรกั การอ่านบา้ นแห่งการเรยี นรู้ 8.อนมุ ัติโครงการบา้ นหลงั เรยี นเพ่ือนเรยี นรู้ 9.อนมุ ตั ิโครงการพัฒนาหอ้ งสมุดชาวบ้านที่อา่ นหนังสอื ชมุ ชน (บา้ นหนงั สือ) 10.อนมุ ตั ิโครงการพฒั นากศน.ตำบลวังพกิ ุลใหเ้ ปน็ ห้องสมุดประจำตำบล 11.ลงนามในคำสัง่ แตง่ ต้งั คณะทำงานในโครงการฯ (นางสาวนิสาชล แกว้ มลู เมอื ง) ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ปฏิบัตกิ าร (นางสกุ ญั ญา กาโกน) ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบึงสามพัน

คำส่ังศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบึงสามพัน ท่ี 065 / 2565 เร่อื ง แต่งตัง้ คณะทำงาน โครงการงานการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั กศน.อำเภอบงึ สามพนั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ------------------------------------------------------------ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบงึ สามพนั ได้มอบให้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอ บึงสามพัน ดำเนนิ การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านใหก้ บั ประชาชนในเขตอำเภอบึงสามพนั เพื่อ สร้างนิสัยรักการอ่าน เพิม่ อัตราการอ่าน รู้จกั ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และสามารถศึกษา ค้นคว้าได้จากแหล่งเรียนรู้ท่ี หลากหลาย เพือ่ ใหส้ ามารถนำไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ท่ดี ขี ้ึน และอย่างเหมาะสม นน้ั เพ่ือให้การดำเนินงานตาม โครงการดังกล่าวเป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย จึงขอแตง่ ตง้ั คณะดำเนินงานดังนี้ 1. กรรมการอำนวยการ มีหนา้ ท่ี ให้คำปรกึ ษาและ อำนวยความสะดวก ในการดำเนนิ งานฝ่ายต่างๆ ให้ เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย 1.1 นางสุกญั ญา กาโกน ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอ ประธานกรรมการ 1.2 นายสุรตั น์ บวั ศรี ครูอาสาสมัครฯ กรรมการ 1.3 นายโกศล นามโคตรศรี ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวนสิ าชล แก้วมลู เมือง บรรณารักษป์ ฏบิ ัติการ กรรมการและเลขานกุ าร 2. ฝา่ ยตดิ ตอ่ ประสานงาน มีหนา้ ที่ ตดิ ต่อประสานงานกบั ภาคีเครอื ข่าย และด้านสถานที่อบรม 2.1 นางสาวนิสาชล แกว้ มูลเมือง บรรณารกั ษ์ ปฏบิ ัติการ หวั หนา้ 2.2 นางสาวอษุ า ก่ิงสเี สียด บรรณารกั ษ์ จ้างเหมา ผ้ชู ว่ ย 2.3 นางสาวเกวรนิ ทร์ กลนิ่ หวาน ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย 2.4 นางสาวสริ ลิ ักษณ์ บญุ สริ วิ งค์ ครู กศน.ตำบล ผชู้ ว่ ย 2.5 นางสาวกรวิการ์ คะเชนรมั ย์ ครู กศน.ตำบล ผ้ชู ว่ ย 2.6 นางสาวอนุสา พงศจ์ ำรสั ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย 3. ฝา่ ยดำเนินการจัดกิจกรรม มีหน้าที่ จดั เตรยี มสถานท่ีอบรมและดำเนินพิธกี าร ประกอบดว้ ย 3.1 นางสาวนสิ าชล แก้วมลู เมือง บรรณารักษ์ปฏิบตั ิการ หัวหน้า 3.2 นางสาวอุษา กิ่งสีเสียด บรรณารักษ์ จา้ งเหมา ผ้ชู ว่ ย 3.3 นางสาวเกวรินทร์ กลน่ิ หวาน ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย 3.4 นางสาวสริ ลิ ักษณ์ บญุ ศิริวงค์ ครู กศน.ตำบล ผชู้ ว่ ย 3.5 นางกาหลง ขาวขลบิ ครู กศน.ตำบล ผชู้ ว่ ย 3.6 นางสาวกรวกิ าร์ คะเชนรัมย์ ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย 3.7 นางสาวอนุสา พงศจ์ ำรัส ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย /3.8 นางสาวลลติ ตา ผอ่ งผวิ ครู กศน.ตำบล ผชู้ ่วย

-2- 3.8 นางสาวลลติ ตา ผ่องผวิ ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย 3.9 นางสาวกมนทรรศน์ พลายสูงเนนิ ครู กศน.ตำบล ผูช้ ว่ ย 3.10 นางสาวบุณฑรกิ า ภุมมา ครู กศน.ตำบล ผชู้ ว่ ย 3.11 นางสาวสลิลาภรณ์ พลอยวิลัย ครู ศรช. ผูช้ ว่ ย 3.12 นางสาวธัญญาภรณ์ ลือชา พนักงานบรกิ าร ผูช้ ว่ ย 4. ฝ่ายวชิ าการ มีหน้าที่ จัดเตรยี ม แบบฟอร์มใบลงทะเบียน รับลงทะเบยี น จดั ทำป้ายช่ือ คณะทำงาน จดั ทำแบบประเมนิ ผล เอกสารอ่ืนๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง และสรปุ ผลการดำเนนิ ตามโครงการ เปน็ รูปเลม่ สง่ กศน.จงั หวดั ประกอบด้วย 4.1 นางสาวนสิ าชล แก้วมลู เมือง บรรณารักษป์ ฏิบัติการ หัวหนา้ 4.2 นางสาวอษุ า กิ่งสเี สียด บรรณารักษ์ จา้ งเหมา ผู้ชว่ ย ๔.3 นางสาวกมนทรรศน์ พลายสงู เนนิ ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย 4.4 นางสาวบณุ ฑริกา ภมุ มา ครู กศน.ตำบล ผชู้ ว่ ย 4.5 นางสาวสลลิ าภรณ์ พลอยวิลยั ครู ศรช. ผู้ช่วย 4.6 นางสกุ ัญญา แลบุตร ครู ศรช. ผชู้ ่วย 4.7 นางสาวเปรมฤดี อัตตโสภณศริ ิกุล นักวิชาการศึกษา ผูช้ ่วย 5. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มหี น้าท่ี ประชาสัมพนั ธ์โครงการทุกช่องทาง ประกอบด้วย 5.1 นายสรุ ัตน์ บวั ศรี ครอู าสาสมัครฯ หัวหน้า 5.2 นายโกศล นามโคตรศรี ครอู าสาสมัครฯ ผชู้ ว่ ย 5.3 นางสาวเกวรินทร์ กลิ่นหวาน ครู กศน.ตำบล ผู้ช่วย 5.4 นางสาวอนุสา พงศ์จำรสั ครู กศน.ตำบล ผชู้ ว่ ย 5.5 นางสาวสิรลิ ักษณ์ บญุ ศริ ิวงค์ ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย 5.6 นางกาหลง ขาวขลบิ ครู กศน.ตำบล ผชู้ ว่ ย 5.7 นางสาวกรวิการ์ คะเชนรัมย์ ครู กศน.ตำบล ผูช้ ว่ ย 5.8 นางสาวกมนทรรศน์ พลายสงู เนนิ ครู กศน.ตำบล ผู้ช่วย 5.9 นางสาวลลติ ตา ผอ่ งผวิ ครู กศน.ตำบล ผู้ชว่ ย 5.10 นางสาวสลลิ าภรณ์ พลอยวลิ ัย ครู ศรช. ผชู้ ่วย 5.11 นางสุกัญญา แลบุตร ครู ศรช. ผชู้ ่วย ให้ผู้ทีไ่ ดร้ บั แต่งตั้ง ได้ปฏิบัตงิ านตามโครงการฯ ให้สำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี อย่าใหเ้ กิดผลเสียหายแก่ราชการ ทง้ั น้ี ตง้ั แต่วันที่ 19 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เปน็ ต้นไป สั่ง ณ วนั ที่ 29 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 25๖5 (นางสกุ ญั ญา กาโกน) ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบึงสามพัน

หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบึงสามพนั 1. ช่อื โครงการ โครงการบา้ นหลงั เรยี น เพ่ือนเรยี นรู้ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 2. สอดคล้องกับแผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบบั ที่12 (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาและการเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง ตลอดชีวิต จุดเน้น 4.4 จดั การศึกษา เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิตสำหรับประชาชนทกุ ช่วงวัย “กศน.เพ่ือประชาชน” 4.5 มงุ่ เนน้ การสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดชุมชนรักการอ่าน “นง่ั ที่ไหนอ่านที่นั่น” รูปแบบต่างๆ สอดคลอ้ งกบั นโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศกึ ษาธิการ) นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 12. การจัดการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั โดยยดึ หลักการเรยี นรู้ตลอดชีวติ และการมี ส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพ่ือเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง การศึกษาและผ้เู รยี นท่มี คี วามตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ นโยบายเรง่ ดว่ น 6. การศกึ ษาตลอดชีวติ การจดั เรยี นรู้ตลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชนทุกชว่ งวยั ให้มคี ณุ ภาพและมาตรฐาน ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสมและเต็มตามศักยภาพ ต้งั แตว่ ยั เด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลกั สตู รทเี่ หมาะสมเพอื่ เตรียม ความพรอ้ มในการเขา้ สูส่ ังคม ผู้สงู วยั สอดคล้องกบั นโยบาย/จดุ เนน้ การดำเนนิ งานสำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตทเ่ี น้นการพัฒนาทักษะท่จี ำเป็นสำหรับแต่ละชว่ งวยั และการ จดั การศึกษาและการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกบั แตล่ ะกลุ่มเป้าหมายและบริบทพ้ืนท่ี 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนร้คู ุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมดุ ประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอตั ราการอา่ น และ การรู้หนังสอื ของประชาชน 3.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างพื้นที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space/ Co- leaning Space เพือ่ การสรา้ งนิเวศการเรียนรู้ให้เกิดขน้ึ สงั คม 3. หลักการและเหตุผล เด็กไทยและการบ้าน ครอบครัวมากมายหลายล้านครอบครัวต้องต่อสู้กับลูกในการทำการบ้านทุกค่ำ คืน การให้การบ้านอาจถือว่าเป็นการฝึกความรับผิดชอบ ช่วยให้เด็กเข้าใจในภาคปฏิบัติ แต่บางครั้งการบ้านท่ี ยากเกินไปสำหรับเด็ก หรือบางครั้งอาจจะยากไปสำหรับผู้ปกครองด้วยซ้ำไม่สามารถช่วยลูกให้รักการเรียนได้ จากสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เด็กต้องทำการบ้านในแทบทุกวิชาที่เรียน แม้ว่าการบ้านจะถือว่า เป็นสิ่งที่มีประโยชน์กับเด็กแต่ต้องขึ้นอยู่กับอายุของเด็กเป็นสำคัญด้วย (การบ้านจำเป็นสำหรับเด็กประถม หรือไม?่ / ดร.สุพาพร เทพยสวุ รรณ) ห้องสมุดประชาชน (Public Library) เปน็ สถานท่ใี ห้บริการสารสนเทศแก่ผ้ใู ช้บริการหลายระดับหลาย วัย เป็นแหล่งให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนแก่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกระดับการศึกษา เป็นแหล่ง สนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ การศึกษาและวัฒนธรรม โดยจัดให้ ประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอื่น ๆ

โดยไม่เสียค่าบริการใด ๆ เป็นแหล่งกลางที่จะปลูกฝังให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่านและการศึกษาค้นคว้า เป็น ศูนย์รวบรวมข่าวสารและความรู้ต่าง ๆ ที่ทันต่อเหตุการณ์และความเคลื่อนไหว ของโลก ที่ให้พื้นฐานทาง ความคิดของประชาชนโดยส่วนรวม และเป็นพื้นฐานของ ความเติบโตทางด้านวัฒนธรรม และสติปัญญา เป็น ศนู ยร์ วมของกิจกรรมทางดา้ นวฒั นธรรมของท้องถ่ิน เป็นแหล่งกลางในการส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ และให้รู้จักพักผ่อนหย่อนใจ ด้วยการอ่านหนังสือ เป็นแหล่งส่งเสริมกิจกรรมทางด้านการศึกษา และวฒั นธรรมของกลุม่ ชนหรอื องค์การในสงั คม เพือ่ พัฒนาความเปน็ อยู่ของประชาชนทกุ คนในสังคม เปน็ แหล่ง ที่ประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ ได้อย่างเต็มที่ ตามความต้องการและ สภาพแวดล้อมของประชาชน ดว้ ยสถานการณ์ปจั จุบันเกิดการแพร่ระบาดไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดการเรยี นการสอนออนไลน์ โดย ให้นักเรียนเรียนที่บ้านผ่านสื่อแอพพลิเคชั่นออนไลน์ต่างๆ แต่ผู้ปกครองต้องทำงานในช่วงกลางวันหรือบาง ครอบครัวเด็กอยู่กับปยู่ ่า ตายาย ทำใหก้ ารเรยี นหรือการทำการบ้านไม่มีคนให้คำแนะนำ หรือชแ้ี นะ ดังนั้นเพื่อดำเนินงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของห้องสมุดประชาชน สอดคล้องกับนโยบาย/ จุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการ เรียนรู้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพันได้จัดทำ โครงการบ้านหลังเรียน เพื่อนเรียนรู้ ปีงบประมาณ 2565 เพือ่ ใหเ้ ดก็ เยาวชน อำเภอบึงสามพันมนี ิสัยรักการอา่ น สูก่ ารเปน็ เดก็ มนี สิ ยั รกั การเรียนรู้ตลอดชีวิต 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่ือส่งเสรมิ นิสยั รกั การอ่านให้กับเดก็ เยาวชนอำเภอบึงสามพัน 4.2 เพอ่ื สง่ เสริม เด็ก เยาวชน มนี สิ ยั รักการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 5. เปา้ หมาย (Output) 5.1 เชิงปรมิ าณ เดก็ เยาวชน อำเภอบงึ สามพัน จำนวน 10 คน 5.2 เชงิ คุณภาพ เด็ก เยาวชน อำเภอบึงสามพัน มีนสิ ยั รักการอา่ น นำไปสู่นิสัยรกั การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต

6. วิธีดำเนินการ วัตถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย กลมุ่ เป้าหมาย เ กจิ กรรมหลกั 1. เพอ่ื สง่ เสรมิ นสิ ัยรกั การ เด็ก เยาวชน อำเภอ เด 1. โครงการบ้านหลังเรยี น เพอ่ื นเรียนรู้ ปีงบประมาณ อ่านให้กับเด็ก เยาวชนอำเภอ บงึ สามพัน ส พ.ศ.2565 บงึ สามพัน น 2. เพอ่ื ส่งเสริม เด็ก ต เยาวชน มีนสิ ยั รกั การเรียนรู้ ตลอดชวี ิต 1.1 รับสมัครสมาชกิ 1. เพื่อกำหนดทิศทางใน เดก็ เยาวชน อำเภอ เด โครงการฯ รูปแบบออนไลน/์ ก า ร จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ใ ห ้ ต ร ง บึงสามพัน ส ใบสมคั ร กลุม่ เป้าหมาย น ต 1.2 กำหนดรูปแบบกิจกรรม 1. เพ่ือให้เดก็ เยาวชน เด็ก เยาวชน อำเภอ เด ส ให้ตรงกลมุ่ เปา้ เหมาย มีนิสัย รักการอ่านนำไปสู่การ บงึ สามพัน น ต เรยี นรู้ตลอดชีวติ

ยและเป้าหมาย พนื้ ที่ดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ (บาท) เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) 1. ศนู ย์ - การศกึ ษานอก เมษายน ด็ก เยาวชน อำเภอบงึ ระบบและ - - สามพนั มีนสิ ยั รกั การอ่าน การศึกษาตาม นำไปสู่นสิ ัยรักการเรียนรู้ อธั ยาศยั อำเภอบึง มถิ นุ ายน - ตลอดชีวติ สามพนั 2565 2. ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ บงึ สามพนั ด็ก เยาวชน อำเภอบึง อำเภอบงึ สามพนั เมษายน สามพัน มีนิสัยรักการอ่าน 2565 นำไปสู่นิสัยรักการเรียนรู้ ตลอดชีวติ ด็ก เยาวชน อำเภอบึง หอ้ งสมดุ เมษายน สามพัน มีนิสัยรักการอ่าน ประชาชนอำเภอ 2565 นำไปสู่นิสัยรักการเรียนรู้ บงึ สามพัน ตลอดชวี ติ มีสุขภาพจิตทด่ี ี

กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย กลุม่ เปา้ หมาย เ 1.3 กิจกรรมสอนการบ้าน 1. เพื่อให้เด็ก เยาวชน ทำ เดก็ เยาวชน อำเภอ เด หลงั เลกิ เรยี น การบ้านที่ได้รับมอบหมาย บงึ สามพนั ส จากโรงเรยี นสำเร็จ น ต 1.4 กิจกรรมเสริมทักษะการ 1. เพือ่ ให้เดก็ เยาวชน เด็ก เยาวชน อำเภอ เด อา่ น มีนิสัย รักการอ่านนำไปสู่การ บึงสามพัน ส เช่น การเล่านิทาน เรียนรูต้ ลอดชวี ิต น ของเล่นเสริมทักษะ เป็นต้น ต ส รวม

ยและเปา้ หมาย พน้ื ทีด่ ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชงิ คณุ ภาพ) ดำเนินการ (บาท) - ด็ก เยาวชน อำเภอบึง ห้องสมดุ เมษายน - - สามพัน มีนิสัยรักการอ่าน ประชาชนอำเภอ มิถนุ ายน - นำไปสู่นิสัยรักการเรียนรู้ บงึ สามพนั 2565 ตลอดชวี ิต มีสขุ ภาพจิตท่ดี ี เมษายน - ด็ก เยาวชน อำเภอบึง ห้องสมดุ มิถนุ ายน สามพัน มีนิสัยรักการอ่าน ประชาชนอำเภอ 2565 นำไปสู่นิสัยรักการเรียนรู้ บึงสามพัน ตลอดชีวิต มสี ขุ ภาพจิตท่ีดี สมวัย

7) วงเงินงบประมาณท้งั โครงการ ไตรมาสที่ 1 จำนวนงบประมาณ (บาท) ไตรมาสที่ 4 - ไม่ใชง้ บประมาณ (ต.ค. – ธ.ค. ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 (ก.ค. – ก.ย. (ม.ค. – ม.ี ค. (เม.ย. – ม.ิ ย. 8)แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ 64) 65) กจิ กรรมหลกั - 65) 65) - -- 1. คา่ วสั ดุอปุ กรณ์ในการจดั - - กจิ กรรม -- รวม 9. ผ้รู ับผิดชอบโครงการ 9.1 นางสาวนิสาชล แกว้ มูลเมอื ง ตำแหน่งบรรณารักษ์ปฏิบตั กิ าร 9.2 นางสาวอษุ า กง่ิ สีเสียด ตำแหน่งบรรณารกั ษ์จา้ งเหมาบรกิ าร 10. เครือขา่ ยปฏิบตั ิงาน 10.1 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบึงสามพนั 10.2 ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอบึงสามพัน 10.3 กศน.ตำบล 9 ตำบล อำเภอบึงสามพัน 10.4 หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนในพ้ืนท่ีอำเภอบึงสามพัน 11. ดัชนชี ี้วัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 11.1 ตวั ช้วี ัดผลผลิต เด็ก เยาวชน อำเภอบึงสามพัน จำนวน 10 คน 11.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลัพธ์ เด็ก เยาวชน อำเภอบงึ สามพนั มนี ิสยั รักการอา่ น นำไปสู่นสิ ัยรักการเรียนรู้ตลอด ชวี ิต 12. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ 12.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ริการ 12.2 รายงานผลการดำเนินงาน

13. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ เด็ก เยาวชน อำเภอบึงสามพัน มนี สิ ัยรกั การอา่ น นำไปส่นู ิสัยรกั การเรียนร้ตู ลอด ชวี ิต และมีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับมากข้นึ ไปร้อยละ 80 ลงชื่อ....................................................ผเู้ ขยี นโครงการ ( นางสาวอุษา กง่ิ สเี สยี ด ) บรรณารกั ษ์ ลงช่อื ....................................................ผู้เหน็ ชอบโครงการ ( นางสาวนิสาชล แกว้ มลู เมอื ง ) บรรณารักษป์ ฏบิ ัตกิ าร ลงชอ่ื .....................................................ผู้อนุมัตโิ ครงการ ( นางสุกญั ญา กาโกน ) ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบึงสามพัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook