Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1304182121300817_13091018182226

1304182121300817_13091018182226

Published by Bamby Pawarisa, 2021-07-20 07:43:46

Description: 1304182121300817_13091018182226

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา ความปลอดภัยในโรงแรมรหสั วิชา 2701-2102 (ท-ปน-น) (70-30) 2(2) ระดบั ปวช. สาขาวิชาการโรงแรม รวม 36 ชว่ั โมง หนว่ ยกติ 2 จานวนชวั่ โมง 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2556 ทฤษฎี 1 คาบ/สัปดาห์ ปฏบิ ตั ิ 1 คาบ/สปั ดาห์ จดุ ประสงครายวิชา เพื่อให 1. มีความรูความเขาใจเกย่ี วกับความปลอดภยั ในการปฏิบัติงานโรงแรม 2. สามารถปองกันอุบัตเิ หตใุ นโรงแรมได 3. มีกจิ นสิ ัยในการทางานดวยความปลอดภัย มาตรฐานรายวิชา 1. บอกวิธกี ารปองกันอุบตั ภิ ัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงานโรงแรม 2. ปฐมพยาบาลเบ้ืองตนและชวยเหลอื ผูอ่ืน เม่อื เกดิ เหตกุ ารณฉุกเฉนิ 3. ปฏบิ ัตงิ านดวยความปลอดภยั คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับอุบัติเหตุ สาเหตุของอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นในโรงแรม การปองกันอันตรายจากการใชอุปกรณ ไฟฟา แกสหงุ ตม สารเคมี การปองกนั และระงับอัคคีภัย การตรวจสอบความปลอดภัยในโรงแรม เคร่ืองหมายและ สญั ลกั ษณความปลอดภยั ที่ใชในโรงแรม การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนและการดาเนินการเมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉิน

แผนการจดั การเรียนรู้ ชอื่ เรอื่ งและงาน สมรรถนะทีพ่ ึง่ ประสงค์ ของแผนการสอน วิชา ความปลอดภัยในโรงแรมรหสั วิชา 2701-2102 (ท-ปน-น) (70-30) 2(2) ระดบั ปวช. สาขาวชิ าการโรงแรม รวม 36 ชั่วโมง หน่วยกิต 2 จานวนชวั่ โมง 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2556 ทฤษฎี 1 คาบ/สัปดาห์ ปฏบิ ัติ 1 คาบ/สปั ดาห์ หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะรายวิชา 1 วธิ ีการปองกนั อุบตั ภิ ัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงาน 1. แสดงความรู้ ความสาคญั ความรูความเขาใจ โรงแรม เกยี่ วกับวิธกี ารปองกันอุบตั ิภัยตาง ๆ ในการ ปฏิบตั งิ านโรงแรม หน่วย ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ 2. มที กั ษะเกยี่ วกับความสาคัญความรูความ ที่ เขาใจเกยี่ วกับวธิ ีการปองกนั อุบัติภัยตาง ๆ ใน 2 ปฐมพยาบาลเบื้องตนและชวยเหลอื ผูอ่นื เมื่อเกิด การปฏบิ ัตงิ านโรงแรม เหตุการณฉุกเฉนิ 3. เลือกใชว้ สั ดุและไดเ้ หมาะสมเกย่ี วกับอธบิ าย ความสาคัญความรูความเขาใจเก่ียวกับวิธกี าร ปองกนั อบุ ัติภัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงานโรงแรม 4. นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมา ใช้ในการปฏบิ ัติงานได้อยา่ งดี 5. มลี กั ษณะนสิ ัยที่ดตี ่อวิชาชีพ และมีพฤตกิ รรม ทีด่ ีตอ่ ผู้เรยี น เพื่อนร่วมงาน และต่อวชิ าชพี 6. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ ไทย รู้จกั สร้างภมู คิ ุ้มกันจากภยั ยาเสพติด สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้ แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับสถาน การณการปฐมพยาบาลเบ้อื งตนและชวยเหลือผู อืน่ เม่อื เกิดเหตุการณฉุกเฉนิ 2. มที กั ษะเกี่ยวกับความสาคัญการปฐมพยาบาล เบอื้ งตนและชวยเหลอื ผูอ่ืน เมือ่ เกิดเหตุการณ ฉุกเฉนิ

3. เลอื กใช้วัสดุและไดเ้ หมาะสม 4. นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งดี 5. มีลกั ษณะนิสัยที่ดตี ่อวิชาชพี และมีพฤติกรรม ที่ดตี อ่ ผูเ้ รยี น เพ่ือนร่วมงาน และตอ่ วชิ าชพี 6. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเป็นไทย ร้จู กั สรา้ งภมู คิ ุม้ กันจากภยั ยาเสพติด หน่วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายวิชา ท่ี 1. แสดงความรู้ แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับ 3 ปฏบิ ตั งิ านดวยความปลอดภยั ปฏิบตั งิ านดวยความปลอดภยั 2. มีทักษะเกีย่ วกับความสาคัญของปฏิบตั ิงาน ดวยความปลอดภยั 3. เลอื กใชว้ สั ดุและได้เหมาะสม 4. น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างดี 5. มลี กั ษณะนสิ ยั ท่ีดีต่อวิชาชีพ และมีพฤติกรรม ทด่ี ตี อ่ ผู้เรยี น เพ่ือนร่วมงาน และตอ่ วิชาชีพ 6. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ ไทย รจู้ ัก

สร้างภูมิคมุ้ กนั จากภยั ยาเสพตดิ ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตรรายวชิ า วิชา ความปลอดภัยในโรงแรมรหัสวชิ า 2701-2102 (ท-ปน-น) (70-30) 2(2) ระดับ ปวช. สาขาวิชาการโรงแรม หน่วยกติ 2 จานวนชว่ั โมง 2 รวม 36 ชัว่ โมง ทฤษฎี 1 คาบ/สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ 1 คาบ/สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2556 พุทธิพสิ ยั ัทกษะ จิ ิพต ัสยิพสัย รวม ลา ัดบ จสคคาาาวาัคนบมวญน

พฤตกิ รรม ชื่อหน่วย ความรู้ ความเข้าใจ นาไปใช้ ิวเคราะห์ ัสงเคราะห์ ประเมินค่า 1. วธิ กี ารปองกันอบุ ตั ภิ ัยตาง ๆ ในการปฏบิ ตั งิ านโรงแรม 1 1 2 2 2 2 10 5 25 1 12 2. ปฐมพยาบาลเบอ้ื งตนและชวยเหลือผูอื่น เมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณฉุกเฉนิ 1 1 2 2 2 2 10 5 25 2 12 3. ปฏิบัติงานดวยความปลอดภยั 2 2 4 4 4 4 20 10 50 3 12 4 4 8 8 8 8 40 20 100 - 36 รวม 4 4 8 8 8 8 40 20 100 - - สัดส่วนคะแนนร้อยละ ตารางวเิ คราะห์หน่วยการเรยี นร้แู ละเวลาทใี่ ช้ในการจดั การเรียนรู้ วิชา ความปลอดภัยในโรงแรมรหัสวชิ า 2701-2102 (ท-ปน-น) (70-30) 2(2) ระดบั ปวช. สาขาวิชาการโรงแรม หนว่ ยกิต 2 จานวนชว่ั โมง 2 รวม 36 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 คาบ/สัปดาห์ ปฏิบัติ 1 คาบ/สปั ดาห์ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2556 หนว่ ยที่ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้และรายการสอน สปั ดาห์ท่ี ชั่วโมงท่ี 1-6 1-12 1 วธิ กี ารปองกันอบุ ัติภยั ตาง ๆ ในการปฏบิ ัตงิ านโรงแรม 12-24 7-12 2 ปฐมพยาบาลเบ้ืองตนและชวยเหลอื ผูอน่ื เมื่อเกิดเหตุการณ ฉกุ เฉนิ

3 ปฏบิ ตั งิ านดวยความปลอดภยั 13-18 24-36 รวม 18 36 แผนการจดั การเรียนรู้รายหน่วย วิชา ความปลอดภยั ในโรงแรมรหัสวชิ า 2701-2102 สอนคร้ังที่ 1-6หน่วยท่ี 1 ชื่อหนว่ ย วิธกี ารปองกันอุบตั ภิ ัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงานโรงแรม เวลา 12ชั่วโมง คาบท่ี 1-6 …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคญั มาตรการดา้ นความปลอดภัยของโรงแรมและลูกคา้ ท่ีมาใช้บรกิ ารนับวา่ มีความสาคญั ต่อการดาเนนิ ธรุ กิจ โรงแรมในปจั จบุ นั เป็นอย่างยิ่ง เพราะจะชว่ ยป้องกนั ความเสยี หายของชวี ิตและทรพั ย์สนิ ของลกู คา้ และของโรงแรม เองท่ีอาจจะเกิดขึ้นไดจ้ ากปัจจยั ตา่ งๆ ได้เป็นอย่างดี หากจะเกดิ ความเสียหายบ้างจากเหตสุ ุดวิสัยต่างๆ ก็จะไม่ เสยี หายมากมายนักในการดาเนนิ ธุรกจิ โรงแรมใหไ้ ดร้ ับความนา่ เชื่อถือ และปอ้ งกนั เหตุการณท์ ่ีกอ่ ให้เกดิ ความ เสียหายต่อธรุ กจิ โรงแรมควรจดั ให้มมี าตรการด้านความปลอดภัยต่างๆ 2. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจในความหมายและความสาคัญของวธิ กี ารปองกนั อบุ ตั ิภยั ตาง ๆ ในการปฏิบตั งิ านโรงแรม 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในวิธีการปองกนั อุบตั ภิ ยั ตาง ๆ ในการปฏิบตั งิ านโรงแรม

3. มีความรใู้ นการการวเิ คราะหส์ ถานการณ์วธิ กี ารปองกนั อบุ ตั ภิ ัยตาง ๆ ในการปฏบิ ตั งิ านโรงแรม 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป 1. เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจในความหมายและความสาคญั ของความสาคัญของวธิ ีการปองกันอุบัติภยั ตาง ๆ ในการปฏิบัตงิ านโรงแรม 2. เพือ่ ให้รู้และเข้าใจในการการจัดลาดับความสาคัญของความสาคัญของวิธีการปองกนั อุบตั ิภยั ตาง ๆ ในการปฏบิ ตั งิ านโรงแรม 3. เพือ่ ใหม้ ีมนุษยสมั พนั ธ์ มรี ะเบียบวนิ ยั มีเหตุผล มคี วามพอประมาณ มหี ลักคุ้มกนั ในการ ปฏบิ ตั งิ าน 3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. ปฏบิ ัตแิ ละทาความเขา้ ใจในความหมายและความสาคญั ของวิธกี ารปองกนั อุบตั ิภยั ตาง ๆ ในการปฏิบัตงิ านโรงแรม 2. ปฏบิ ตั แิ ละทาความเขา้ ใจในการการจัดลาดับความสาคัญของวิธีการปองกนั อบุ ัติภัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงานโรงแรม 3. มมี นุษยสัมพันธ์ มรี ะเบยี บวนิ ัย มีเหตผุ ล มีความพอประมาณ มีหลักคมุ้ กนั ในการ ปฏบิ ตั งิ าน 4. การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.1 ความพอประมาณ - สามารถอธบิ ายความสาคญั ของวธิ ีการปองกนั อุบตั ิภยั ตาง ๆในการปฏบิ ัตงิ านโรงแรม 4.2 ความมเี หตุผล - มีความรู้ และทักษะในการอธบิ ายความสาคัญของวิธีการปองกันอบุ ัตภิ ัยตาง ๆในการปฏบิ ัติงานโรงแรม 4.3 ความมภี ูมคิ ุ้มกัน - ปฏิบัตงิ านโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัย และชว่ ยอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม - มีการอนุรกั ษ์ศลิ ปวฒั นธรรมไทย และน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้งาน 4.4 เงื่อนไขความรู้ - มคี วามรูใ้ นการเลือก และวธิ ีการทางานทีถ่ ูกต้อง - เหน็ ความสาคัญของการมาใชง้ านไดถ้ ูกต้อง 4.5 เง่อื นไขคุณธรรม - มีความพากเพียรพยายาม

- มคี วามสนใจใฝร่ ู้ มคี วามคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ การบรู ณาการกบั มาตรฐานสถานศกึ ษา 3 ดี 1. ด้านประชาธิปไตย - ผเู้ รยี นสามารถตดั สินใจเลือกกลุม่ ตามความสมัครใจ - ผู้เรียนแสดงและรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ น่ื 2. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความเปน็ ไทย - ผเู้ รียนมีวนิ ยั ความรบั ผิดชอบ สนใจใฝร่ ู้ และมีมนษุ ยสัมพันธ์ 3. ดา้ นภมู ิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด - ผเู้ รียนใชเ้ วลาว่างในการศึกษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง เขียนหัวข้อตา่ ง ๆ ในใบ งานส่งในสปั ดาหถ์ ดั ไป 5. สาระการเรียนรู้ มาตรการด้านความปลอดภัยของโรงแรมและลูกค้าที่มาใช้บริการนับว่ามีความสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจ โรงแรมในปจั จบุ ันเปน็ อยา่ งยิง่ เพราะจะช่วยปอ้ งกันความเสียหายของชวี ิตและทรัพย์สินของลูกค้าและของโรงแรม เองที่อาจจะเกิดข้ึนได้จากปัจจัยต่างๆ ได้เป็นอย่างดี หากจะเกิดความเสียหายบ้างจากเหตุสุดวิสัยต่างๆ ก็จะไม่ เสียหายมากมายนักในการดาเนินธุรกิจโรงแรมให้ได้รับความน่าเช่ือถือ และป้องกันเหตุการณ์ท่ีก่อให้เกิดความ เสยี หายตอ่ ธรุ กจิ โรงแรมควรจัดใหม้ ีมาตรการดา้ นความปลอดภัยตา่ งๆ ของโรงแรมดังนี้ กุญแจประตรู ะบบคยี ก์ ารด์ แมว้ า่ การใชก้ ุญแจประตูหอ้ งพกั แขกด้วยระบบคยี ์การ์ดจะกลายเป็นมาตรฐานใหม่ของธุรกิจโรงแรมไปอยา่ ง รวดเร็ว แต่กย็ งั มีโรงแรมจานวนไม่น้อยท่ียงั ไม่ได้นามาใชเ้ พิ่มความปลอดภยั ให้กับลูกคา้ ของตนเอง ระบบการปดิ ประตหู อ้ งพักแขกในปจั จบุ นั เปน็ ระบบทปี่ ระกอบไปด้วยชอ่ งสาหรบั เสียบหรืออุปกรณส์ าหรบั แตะบัตรที่มีแถบ แม่เหล็กหรอื หนว่ ยความจาสาหรบั เกบ็ รหัสขอ้ มูลอยูภ่ ายในบตั รเพอ่ื ใชเ้ ป็นรหัสสว่ นตวั ของลูกค้าแตล่ ะคนท่ใี ช้ใน การเปิดประตหู อ้ งพักของตนเองและเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบอน่ื ๆ ซึ่งระบบนีส้ ามารถทีจ่ ะเชื่อมโยงข้อมลู ไปสู่ ระบบ PMS ไดโ้ ดยตรง พนกั งานรกั ษาความปลอดภัย โรงแรมควรมีพนักงานรกั ษาความปลอดภยั ทค่ี อยสอดส่องและตรวจตราโรงแรมอยตู่ ลอดเวลา เพ่อื ป้องกนั เหตุรา้ ย ต่างๆ ทอี่ าจจะเกดิ ข้นึ จากปัจจัยต่างๆ ทัง้ จากภายนอกและภายในโรงแรมเอง กล้องวงจรปดิ ระบบกล้องวงจรปดิ นับว่าเป็นอปุ กรณส์ าคัญในการรกั ษาความปลอดภยั ที่มีใชก้ นั อยู่โดยทั่วไป รวมท้งั การรักษา

ความปลอดภัยภายในโรงแรมท้งั หลายดว้ ย การตดิ ตง้ั ระบบกลอ้ งวงจรปิดภายในโรงแรม นอกจากจะเป็นการ ป้องกันเหตุอาชญากรรมท้ังหลายทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึนได้กับลกู คา้ ที่มาพักภายในโรงแรมแลว้ ยังสามารถบนั ทึกข้อมลู ไว้ เพ่ือนามาใชใ้ นภายหลงั ได้หากพบวา่ เกิดเหน็ การณท์ ีผ่ ิดปกติขึ้นภายในโรงแรม โดยปกติแลว้ โรงแรมจะตดิ ตงั้ ระบบ กล้องวงจรปดิ ไวใ้ ห้ครอบคลุมพื้นท่สี าธารณะท่บี คุ คลทวั่ ไปเข้าถงึ ได้ สัญญาณเตอื นไฟไหม้ โรงแรมทไี่ ด้มาตรฐานในปัจจุบนั ส่วนใหญจ่ ะมกี ารติดต้ังอปุ กรณต์ รวจจับเพลิงไหม้และสญั ญาณเตือนไฟไหม้ไว้ใน โรงแรมของตนเองโดยตดิ ตั้งไวต้ ามจดุ สาคญั ๆ ตา่ งๆ ในขณะทบี่ างโรงแรมใชเ้ ทคโนโลยที ่ีทันสมยั และตดิ ตั้งอปุ กรณ์ ตรวจจับเพลงิ ไหมไว้ในห้องพักแขกทุกห้อง และทกุ พื้นที่ของโรงแรมพร้อมกับระบบนา้ ดับเพลิงทจ่ี ะทางานไดโ้ ดย อตั โนมัติ และจะมีพนักงานคอยเฝ้าสงั เกตเุ หตุเพลงิ ไหม้ตลอด 24 ชว่ั โมงเปน็ ประจาทกุ วัน เพอ่ื ใหส้ ามารถ ตอบสนองตอ่ เหตเุ พลิงไหม้ท่ีอาจจะเกดิ ข้นึ ไดต้ ลอดเวลา ไฟสารองฉกุ เฉนิ โรงแรมควรทจี่ ะมไี ฟฉกุ เฉนิ ติดต้งั ไว้ตามจดุ ต่างๆ ภายในบริเวณโรงแรม และสามารถใชใ้ นการให้แสงสวา่ งฉุกเฉนิ ไดเ้ มื่อกระแสไฟฟ้าดับเพ่อื ป้องกันเหตุโกลาหล หรอื เหตุร้ายทอี่ าจจะเกดิ ขึ้นกบั แขกที่มาพักภายในโรงแรม และ ของพนกั งานภายในโรงแรมเอง บางโรงแรมอาจจะจัดให้มีไฟฉายที่มรี ะบบชาร์จไฟอตั โนมัติพร้อมใช้งานไว้ใน ห้องพักแขก บางโรงแรมที่ตั้งอยใู่ นบรเิ วณที่มีกระแสไฟฟ้าขดั ข้องบ่อยๆ อาจจะมเี ครื่องกาเหนดิ ไฟฟ้าสารองไวใ้ ช้ จา่ ยกระแสไฟฟ้าในบริเวณท่ีสาคญั และอุปกรณต์ า่ งๆ ภายในโรงแรมที่มีความสาคัญต่อความปลอดภยั ของลูกค้า ในยามฉุกเฉนิ สาหรับโรงแรมท่มี ขี นาดใหญ่ที่จดั สรา้ งไดม้ าตรฐานจะจดั ให้มเี คร่อื งกาเนดิ กระแสไฟฟา้ ขนาดใหญ่ไว้ ภายในโรงแรม และสามารถเดินเครื่องใชง้ านได้โดยอตั โนมัตทิ ันทีที่กระแสไฟฟ้าที่จ่ายมาจากภายนอกเกดิ เหตุขัดข้องที่สามารถจ่ายกระแสไฟฟา้ ให้กับทกุ สว่ นของโรงแรมเหมือนปกติ คูม่ ีอการปฏบิ ัตสิ าหรับเหตฉุ ุกเฉิน โรงแรมควรท่ีจะต้องจัดทาแผนและคูม่ ือการปฏิบตั ขิ องพนักงานโรงแรมสาหรับเหตุฉุกเฉินตา่ งๆ ทอ่ี าจจะเกดิ ข้นึ ภายในโรงแรม และทาการฝกึ อบรมพนกั งานต่างๆ ภายในโรงแรมท่ีเก่ียวขอ้ งกับแผนการปฏิบตั ิสาหรบั เหตุฉกุ เฉิน ต่างๆ ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถปฏิบัติได้ทันท่วงทีโดยไมต่ ้องรอการสั่งการจากฝา่ ยบรหิ าร ตู้นิรภยั สว่ นตวั ในห้องพักพักแขก เปน็ มาตรการด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับทรัพย์สินของแขกทมี่ าพักในโรงแรมเพม่ิ เตมิ ภายในหอ้ งพักแขก นอกเหนือไปจากการมตี ู้นริ ภัยส่วนกลางไวใ้ หบ้ ริการแก่ลกู ค้าของโรงแรมท่บี รเิ วณ Front Office ของโรงแรม ตู้ นริ ภัยสว่ นตัวท่ีจัดไวภ้ ายในห้องพักแขกควรท่จี ะมีขนาดที่ใหญ่เพียงพอที่จะใส่คอมพวิ เตอร์แบบโน้ตบุคส์ได้ และมี การตง้ั รหัสลับส่วนตวั สาหรบั การปิด และเปดิ ไดด้ ว้ ยตนเอง ระบบคีย์การด์ สาหรับการใช้งานลฟิ ท์โดยสารของลกู คา้ โรงแรมสามารถเพ่มิ มาตรการความปลอดภยั ใหแ้ ก่ลกู ค้าทีม่ าใชบ้ รกิ ารภายในโรงแรมโดยการติดตง้ั ระบบคีย์การด์ ภายในลิฟท์โดยสารของลูกคา้ ที่ใช้โดยสารขึ้นไปยงั ชน้ั ทเ่ี ป็นหอ้ งพักแขกทีส่ ามารถเช่ือมโยงขอ้ มูลกบั ระบบ PMS

ของโรงแรม เพ่ือเปน็ การป้องกนั บุคคลภายนอกขน้ึ ไปยงั บริเวณห้องพักของแขกโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต ซ่ึงลิฟท์ โดยสารที่ติดต้ังระบบน้ีไว้จะสามารถใชโ้ ดยสารข้ึนไปยงั ชน้ั ท่เี ปน็ หอ้ งพักแขกได้ก็ตอ่ เมอื่ ผใู้ ช้นาเอาคีย์การด์ ท่ีทาง โรงแรมออกใหแ้ ละยงั ใช้การได้อยสู่ าหรับเปดิ ห้องพักแขกเสยี บเขา้ ไปในช่องหรอื แตะทีอ่ ุปกรณ์สาหรับอ่านระหสั ท่ี จัดไวแ้ ล้วจึงจะสามารถกดปมุ่ เลือกชน้ั ทีต่ ้องการขึน้ ไปได้ ทีมผจญเพลิง โรงแรมควรจดั ต้ังทมี ผจญเพลิงขนึ้ ภายในโรงแรมพรอ้ มทงั้ จัดเตรียมอุปกรณท์ ี่จาเปน็ ตอ้ งใช้ในการผจญเพลงิ โดยมี พนกั งานของโรงแรมทป่ี ฏิบัติหนา้ ทใ่ี นรอบต่างๆ เข้ารว่ มทีมให้สามารถปฏบิ ตั ิหน้าทใี่ นยามฉุกเฉนิ ได้ตลอด 24 ชัว่ โมง และต้องมีการฝึกอบรมพนกั งานเหล่านี้ในสามารถปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ที ี่ได้รบั มอบหมายไดท้ นั ทีทันใด และควรมี การฝึกซ้อมและทดสอบความพร้อมอย่างสม่าเสมอ เสน้ ทางอพยพ โรงแรมต้องจดั ทาเสน้ ทางอพยพเม่ือเกิดเหตุฉกุ เฉินตา่ งๆ ท่ีมีป้ายและเคร่อื งหมายตา่ งๆ ติดแสดงไว้ภายในโรงแรม ใหเ้ ห็นได้อย่างชดั เจนในยามปกตแิ ละในยามฉุกเฉนิ หรือเม่ือกระแสไฟฟ้าดบั ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และ จะตอ้ งไม่มกี ารนาเอาสงิ่ ของใดๆ มาวางขวางไวใ้ นเส้นทางอพยพที่ทางโรงแรมกาหนดไว้ตลอดเวลา นอกจากนี้ จะตอ้ งมีแผนผงั เส้นทางอพยพและคาแนะนาให้ลกู ค้าปฏบิ ัติในกรณเี กิดเหตเุ พลงิ ไหมต้ ดิ ตัง้ ไว้ภายในหอ้ งพกั แขก ทุกห้องดว้ ย อปุ กรณ์ดับเพลิง โรงแรมตอ้ งจดั ให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงที่พรอ้ มใชง้ านได้ตลอดเวลาติดตั้งไวใ้ นจุดทส่ี ามารถมองเหน็ และนาออกมาใช้ งานไดใ้ นทันทที ี่เกิดเหตุ และควรมีอุปกรณส์ าหรับดับเพลิงชนดิ ตา่ งๆ เตรียมไว้ในห้องครัวท่ีใช้สาหรับประกอบ อาหารทใ่ี ชแ้ กส๊ เป็นเชื้อเพลิง รวมถงึ ผา้ คลุมดับไฟแบบฉุกเฉินท่ีอาจจะเกดิ ข้ึนได้จากการใช้นา้ มันในการประกอบ อาหารดว้ ย นอกจากมาตรการดา้ นความปลอดภยั ท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้ว ยงั มรี ายละเอยี ดปลีกยอ่ ยอยอู่ กี เป็นจานวนมากท่ี ผ้บู ริหารโรงแรมควรจะศึกษาเพ่ิมเติมอยา่ งละเอยี ดถ่ถี ว้ น เพราะหลายๆ ประการมกี ารบัญญตั ิไวใ้ ชเ้ ปน็ กฎหมายใน การดาเนินธรุ กิจโรงแรมในบา้ นเราทตี่ ้องปฏิบตั ิตาม และหลายๆ ประการเปน็ กฎหมายท่ีมีการบังคบั ใช้ใน ต่างประเทศ แต่ก็มผี ลต่อการส่งลูกคา้ มาใช้บรกิ ารโรงแรมต่างๆ ภายนอกประเทศเหลา่ นั้นด้วย



เราสามารถแยกประเภทของอบุ ัติเหตุในสานกั งานไดเ้ ปน็ 7 ประเภท ดงั น้ี 1. การพลดั ตกหกล้ม เปน็ อุบัตเิ หตุทีผ่ ู้ปฏบิ ัตงิ านในสานกั งานประสบมากท่ีสุด แต่มักจะละเลยจนดเู ป็นเร่ืองธรรมดา และไมค่ ่อยได้มีการบนั ทกึ ไว้ ดงั นัน้ หากมีการสอบสวนอุบัติเหตุ สามารถบนั ทึกการสูญเสียอยา่ ง ละเอียดแล้ว จะพบวา่ อัตราการเกดิ อุบัติเหตุท่เี กิดจากการพลัดตกหกล้มจัดได้เป็น 3 ลักษณะดงั น้ี 1.1 การลืน่ หรอื การสะดุดหกล้ม ลกั ษณะที่เกดิ จะมีทั้งลื่นล้มในพืน้ ที่ หรอื พื้นทีป่ ูพรม ตรงตาแหนง่ รอยต่อของพรม การสะดุดหก ลม้ มกั จะเกิดจากมีส่งิ ของวางขวาง หรือมสี ายไฟห้อยไว้ระเกะระกะ เชน่ สายไฟจากปลก๊ั ตอ่ ท่ีพ้นื หรือเต้าเสยี บ หรือสายไฟท่ลี ากยาวไปตามพนื้ โดยมิไดต้ ิดเทป มักทาใหม้ ีการเตะหรือสะดุดหกลม้ โดยเฉพาะบันไดขนึ้ ลง อาจมีการล่นื และสะดดุ หกลม้ เสมอ ๆ ผู้ปฏบิ ัติงานท่เี ป็นพนักงานสาว ๆ มักใส่รองเท้าส้นสงู ซง่ึ อาจเป็นตน้ เหตทุ าใหเ้ กิดการสะดดุ และหกล้มได้ 1.2 เกา้ อี้ลม้ มกั จะเกิดขนึ้ จากการทีผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านนง่ั หรือเลื่อนเกา้ อท้ี ห่ี มุน โดยการใชเ้ ทา้ ดันออกใหไ้ หลลน่ื แรง เกินไป ในบางกรณีเกิดจากการเอนไปขา้ งหลังมากเกินไปจนเกดิ การหงายไปข้างหลัง บางคร้งั ผู้ปฏิบตั ิงานใช้เทา้ พาดบนโต๊ะ และเกิดความไม่สมดลุ ย์ จากการเอยี งตัว บางครง้ั พบวา่ ผ้ปู ฏิบตั งิ านใชเ้ ก้าอ้ีโดยไม่สมดลุ ย์ ทาใหเ้ ก้าอี้เลื่อนหนแี ละร่างกายผู้ปฏิบัตงิ านจะล้มตกจากเก้าอี้ 1.3 การตกจากทีส่ งู มกั จะมสี าเหตุจากการยืนบนโตะ๊ หรือเกา้ อี้ที่ไม่สมดลุ ย์ หรอื ไม่ม่ันคง เชน่ เก้าอี้มลี อ้ โต๊ะหรอื กลอ่ งทว่ี างรองรับไม่แข็งแรง เมื่อผปู้ ฏิบัตงิ านยนื ขึ้นไปหยบิ ของลงมาอาจทาให้ผู้ปฏิบตั ิงานหกลม้ ตกลงมาเปน็ อันตรายได้ ในสถานทบ่ี างแหง่ เปิดช่องไว้ แลว้ ไม่ปิดให้เรียบร้อย ผปู้ ฏบิ ัตงิ านอาจ พลาดตกลงไปเป็นอนั ตราย 2. การยกเคลือ่ นยา้ ยวสั ดุ ผปู้ ฏบิ ัติงานอาจต้องยกของซ่ึงใช้ท่าทางการทางานท่ผี ิดวธิ ี โดยไมไ่ ดร้ บั การฝกึ อบรมการจดั ขั้นตอนหรือขบวนการทางานทไ่ี ม่เหมาะสม ทาให้ผ้ปู ฏบิ ัติงานตอ้ งเอ้อื มหรือเขย่งจนก่อใหเ้ กดิ อบุ ัตเิ หตุและอนั ตรายได้ การยกน้าหนกั มากเกินกวา่ มาตรฐานทกี่ าหนดกอ่ ให้เกดิ การหกั งอของ กระดูกสันหลัง ซ่ึงเปน็ ต้นเหตุทาให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดไหล่ อาการกดทับของประสาท หลักการ หลกั การยกเคล่ือนย้ายวสั ดตุ ้องไดร้ บั การฝกึ อบรมอยา่ งถูกวิธแี ละฝกึ ใหเ้ ปน็ นสิ ยั จน สามารถปฏิบตั ไิ ด้ 3. การถกู ชนหรือชนกบั ส่ิงของ ในบางพนื้ ทแ่ี คบหรือในมุมอบั จะพบว่า ผู้ปฏบิ ตั ิงานมักจะไมส่ ามารถหลกี เลย่ี งการชนกนั หรอื ชน กบั สิ่งของควรจะจดั พื้นทีเ่ พื่อความเหมาะสม ท้ังจดั กระจกเงาตดิ ตาแหนง่ แยกทางเพื่อป้องกันการ ชน 4. การทวี่ ตั ถตุ กลงมากระแทก

วตั ถทุ ี่ตกมักจะวางอยูใ่ นตาแหน่งท่ีสูง และไม่ม่นั คง เมื่อเกิดการสัน่ สะเทือนจะมกี ารขยับและ เล่ือนตาแหนง่ เป็นเหตุให้มกี ารตกหรือหล่นลงมาถูกศีรษะของผู้ปฏิบัตงิ านท่ีอยู่ดา้ นล่าง การเปิด ลิน้ ชักของตู้เกบ็ เอกสาร ผปู้ ฏบิ ตั งิ านบางคนมักจะเปิดล้นิ ชกั คา้ งไว้และไปหาเอกสารในช้ันอน่ื ตอ่ ไปเรื่อย ๆ ปรมิ าณเอกสารท่มี ากจะไหลมาอยใู่ นทศิ ทางเดยี วกันทาใหต้ เู้ กบ็ เอกสารขาดการ สมดุลยล์ ้มลงมาทับหรือกระแทกผ้ปู ฏิบัติงานจนเกิดอันตรายไดเ้ ครื่องเย็บ หรือเคร่ืองตดั กระดาษ อาจก่อใหเ้ กิดการกระแทก บาดเจ็บที่มือหรือข้อมือ 5. การถูกบาด อุปกรณ์สานักงานบางอยา่ งจะมีความคมเช่น คัตเตอรต์ ดั กระดาษผู้ปฏบิ ัติงาน หลายคนไมท่ ราบ วิธีการใช้อุปกรณเ์ หล่านี้อยา่ งถกู ต้องทาให้เกดิ การบาดเจบ็ แมก้ ระทั่งกระดาษท่ใี ช้กับเคร่ืองถ่าย เอกสารก็มีความคม ขณะทผ่ี ปู้ ฏบิ ัติงานกีดกระดาษบางคร้ังจะถูกกระดาษบาดจนเลือดออกได้ 6. การเก่ยี วและหนีบ ในบริเวณท่ปี ฏบิ ตั ิงาน บางครั้งจะพบว่ามกี ารจดั วางของซ่งึ ยื่นออกมาจนมีการเกยี่ วผู้ปฏบิ ตั ิงานได้ บางคร้ังจะพบผูป้ ฏิบตั ิงานถูกประตู หน้าต่าง หรือตหู้ นีบจนเกิดการบาดเจบ็ ตลอดจนการแตง่ ตวั ของผ้ปู ฏิบัติงาน 7. อคั คีภัย จะถือวา่ เปน็ อบุ ตั ิเหตุประเภทท่ีรุนแรงทีส่ ุด และทุกคนในสานักงานกจ็ ะตระหนกั ต่ืนเตน้ กบั อคั คีภัยทเี่ กดิ เสมอ ดังนัน้ การฝกึ ปฏิบัติ การฝกึ ซ้อมการป้องกนั และระงบั อัคคีภยั และการอพยพ ผปู้ ฏบิ ัติงานในสานกั งานจึงมีความจาเป็น 2 อนั ตรายจากสภาพแวดลอ้ ม ในสานักงานทางดา้ นกายภาพ ไดแ้ ก่ อุณหภมู ิ แสง เสยี ง การระบาย อากาศ ตลอดจนถงึ รงั สีที่ เกิดจากอปุ กรณ์เคร่ืองใช้ของสานกั งานในสานกั งาน นัน้ ถ้าหากให้มีอุณหภูมิหรือคณุ ภาพอากาศ ท่ีไมเ่ หมาะสม เช่น ร้อนเกนิ ไป หรือหนาวเกินไปย่อมกอ่ ให้เกิดอุบัติเหตุ โรคปวดศีรษะจากการ ทางาน ประสทิ ธิภาพการทางานลดลง แสงสวา่ งในทท่ี างานมีเพยี งพอแกล่ กั ษณะงานทที่ าหรอื ไม่ ถ้ามีมากเกนิ ไปจนแสงจา้ ( Gare) หรือแสงนอ้ ยเกนิ ไป มผี ลต่อการทางานโดยตรง ต่อการ ปฏบิ ตั ิงาน เปน็ ตน้ เหตุ การเกิดอบุ ตั เิ หตุ สภาพห้องที่มีเสยี งดังรบกวนตอ่ สมาธิและการปฏิบัติงาน ก่อใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตไุ ด้ การดาเนนิ การเพื่อการป้องกนั มีรายละเอยี ดในการจัดสภาพแวดล้อมในการ ทางานในสานักงานนอกจากสภาพแวดลอ้ มทางดา้ นกายภาพแล้ว ยังมีสภาพแวดลอ้ มด้านเคมคี ง ไม่มีใครปฏเิ สธไดว้ ่า ภายในสานักงานไมม่ สี ารเคมี แตป่ รมิ าณสารเคมที ี่ใช้ในสานกั งานมากนอ้ ย

เพียงใด ผปู้ ฏบิ ัติงานมกั จะมไิ ดใ้ ห้ความสนใจเท่าไรนัก อาจเน่ืองมาจากสารเคมีต่าง ๆ มาอยู่ใน ลกั ษณะแฝงร่วมกับวัสดแุ ละครภุ ณั ฑส์ านักงาน และมักมีปริมาณน้อยมากบางครง้ั ก็ตรวจวดั ใน บรรยากาศ ไม่พบแตป่ ริมาณของสารเคมีท่ีมีอยู่จะมากหรอื นอ้ ยขึ้นอย่กู บั ปริมาณการใชง้ านและ ระบบระบายอากาศภายในห้องของสานกั งานน้ัน สารเคมีสว่ นใหญพ่ บ ไดแ้ ก่ สารแอมโมเนีย , เมทธานอล, แอสเบสตอส, เบนซิน, โทลูอนี , คารบ์ อนไดออกไซด,โอโซน, ไตรคลอโรอีเทน ไตรคลอโรเอทธลิ นี 3 อันตรายจากเครอื่ งถา่ ยเอกสาร เคร่ืองถา่ ยเอกสารเปน็ อปุ กรณส์ านักงาน ทส่ี าคญั อย่างหน่ึงซึง่ ถือไดว้ ่าเป็นสิง่ ท่ีแทบทุกสานักงาน จะขาดไม่ได้ เนือ่ งจากประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั มากมายจนผู้ใชล้ ะเลยอนั ตรายท่ีอาจจะเกิดขึ้นได้จากการ ใชเ้ คร่ืองถ่ายเอกสารเปน็ เวลานาน ปกตแิ ลว้ เคร่ืองถ่ายเอกสารมีส่วนประกอบท่ีสาคัญอัน ได้แก่ แม่พิมพ์ท่ีเปน็ โลหะ ลกู กล้ิงท่ีเคลือบดว้ ยโลหะ ประเภทซิลเิ นยี่ ม หรอื แคดเม่ยี ม และรังสี อัลตราไวโอเลต จะสงั เกตุเห็นขณะถา่ ยเอกสาร เคร่ืองถา่ ยเอกสารที่ใช้อย่ใู นปัจจบุ นั เป็นเคร่อื งถ่ายเอกสารระบบแห้งจะใช้สะดวกแตข่ ณะที่ใช้ก็ จะมอี ันตรายตอ่ สุขภาพจากสารเคมตี ่าง ๆ ดงั น้ี 1. ในหมึกพิมพจ์ ะมสี าร คาร์ซิโนเจน ซึง่ เป็นสารก่อเกดิ มะเร็ง ผงคารบ์ อน เมื่อผงคารบ์ อนทา ปฏกิ ริ ยิ ากัน สารไนโตรไพริน สารอะโรเมติกโพลี ไซคลคิ ไฮโดคาร์บอน สารเทอโม-พลาสติกเรซนิ ขณะท่เี ครื่องทางานจะมีกลิ่นฉนุ จากปฏิกิรยิ าของสารเคมีดังกลา่ วน้ี ทาให้ผู้ใช้ท่ตี ้องสมั ผสั นาน ๆ จะมีอาการปวดศรี ษะ อ่อนเพลยี ง่วงซมึ ร้สู กึ มนึ ชา 2. โลหะทใ่ี ช้เคลือบลกู กล้ิง เชน่ ซิริเนยี ม หรือ แคดเมยี ม มีผลตอ่ ผิวหนงั ทาใหเ้ กิดความระคาย เคือง มีตุม่ แดงหรือผน่ื คัน นอกจากนัน้ สารไตรไน โตรฟลูออรโิ นน เป็นสารกอ่ เกิดมะเร็ง 3. รงั สีอลั ตราไวโอเลต เป็นแหล่งกาเนิดความร้อน มีอนั ตรายตอ่ ผิวหนงั และสายตา ทาใหเ้ ยื่อบตุ า อักเสบ ตาแดง ผิวหนังเกรยี มไหม้ ถ้าสัมผัสนานอาจทาใหเ้ กิดมะเร็งผิวหนัง 4. โอโซน เกดิ ขณะท่เี คร่ืองกาลงั ทางาน เกิดมาจากรงั สีอัลตราไวโอเลต โดยทอ่ี อกซเิ จนจะรวมตวั กนั จนกลายเป็นโอโซน เม่ือผู้ใชห้ ายใจเข้าไปจะมผี ลต่อระบบประสาท มีอาการงว่ ง มึนศรี ษะ ปากคอแหง้ ระคายระบบทางเดินหายใจ ระคายตาและผิวหนงั 5. นา้ ยาท่อี าบกระดาษท่ีใช้ในการถา่ ยเอกสาร ไดแ้ ก่ สารฟอร์มลั ดิไฮด์ ทาให้มีการระคายเคือง ของผวิ หนงั ขณะที่ใช้งานอาจทาใหผ้ ู้สัมผัสเปน็ โรคผวิ หนังอักเสบ

การป้องกนั อันตราย 1. การติดตงั้ เคร่ืองถ่ายเอกสาร ไม่ควรตั้งตดิ ผนังควรต้งั ในห้องที่มีอากาศถา่ ยเทสะดวก เพือ่ ให้ สารเคมีที่ออกมาขณะปฏบิ ตั ิงาน จะเจอื จางลงเพื่อลดการสัมผสั สารเคมขี องผูป้ ฏิบตั ิงานได้ ถา้ สามารถตดิ ตงั้ ในทโ่ี ลง่ ไม่ใช่ ในมมุ อับจะดมี าก หรอื แยกเคร่ืองถ่ายเอกสารจากหอ้ งผู้ปฏบิ ัติงาน อ่นื ๆ 2. ถ้าได้กล่นิ ฉุนหรือไหม้ เน่อื งจากการใช้งานมาก ต้องเลิกใช้ชั่วคราว หรอื ถา้ จาเปน็ แจง้ ช่างหรอื ผ้รู บั ผิดชอบ 3. การบารงุ รักษาเคร่ืองเปน็ ประจาอย่เู สมอ จะช่วยใหล้ ดสารเคมีท่ีอาจเพ่ิมปริมาณจากการใช้ งาน 4. อยา่ มองแสง อลั ตราไวโอเลต ควรใช้แผ่นปิดทุกคร้งั ทใี่ ช้ถ่ายเอกสาร 5. ขณะทีเ่ ปลยี่ นถา่ ยสารเคมี หรือผงคาร์บอน ผู้ปฏิบัตงิ านควรใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ไดแ้ ก่ถุงมือยาง ที่ครอบปาก ( Mask) 4 อนั ตรายและโรคท่เี กิดกบั การทางานกบั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ (VDT) ก่อนอ่นื ต้องทราบความหมายของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ หรือท่ีเรียกว่า Visual display Terminals (VDT) คือ อปุ กรณท์ ่ใี ช้สาหรับการจดั การ ประมวลผล และแสดงข้อมลู ตา่ ง ๆ ซง่ึ ประกอบดว้ ย จอภาพ แปน้ พมิ พ์ แผงวงจรไฟฟ้า และตวั ปอ้ นกระแสไฟฟ้า นอกจากนีจ้ ะรวมเอาอุปกรณน์ าเขา้ ข้อมลู (input) เชน่ mouse หรือ pointer และอปุ กรณน์ าออกข้อมลู (output) เช่น printer ปจั จุบนั เกอื บทุกสานักงานมีการใชค้ อมพวิ เตอร์กันอย่างแพร่หลาย ววิ ฒั นาการของอปุ กรณ์ เหล่านไี้ ด้พฒั นาเรว็ มาก ปญั หาจากอปุ กรณ์คอมพวิ เตอรเ์ ก่า ๆ ถกู แก้ไข แต่อย่างไรก็ตามผทู้ ่ี ทางานเก่ียวข้องยงั ตอ้ งใชส้ ายตาในการเพ่งมองจอภาพจนเกดิ อาการตาลา้ และการกดแปน้ พมิ พ์ หรอื นั่งทางานกับเครื่องเปน็ เวลานานโดยไมไ่ ด้มกี ารเคล่ือนไหวสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายสง่ ผลตอ่ ปญั หาความปวดเม่ือยกลา้ มเน้ือตามส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย เชน่ ข้อมอื หวั ไหล่ หลงั หรือเอว และมคี วามเครียดซ่ึงทาให้ผู้ปฏิบตั ิงานมอี าการหงุดหงดิ ขาดสมาธิ เกิดความลา้ การทีผ่ ปู้ ฏิบตั ิงานมีอาการเจบ็ ปวดไหล่ ปวดหลังและปวดเอวต้องศึกษาดูถึงสาเหตุท่ที าให้เกิด เนอ่ื งจากสภาพแวดล้อมการทางานหรอื ขนาดของโต๊ะและเก้าอี้ของผู้ปฏบิ ตั ิงานไม่เหมาะสม ตลอดจนถึงท่าทางการทางานซ่ึงมีผลการหมุนเวียนของโลหติ ไม่สะดวก กล้ามเน้ือของรา่ งกายจะ ได้รบั ออกซิเจนไปหล่อเลยี้ งไมเ่ พียงพอ ทาใหเ้ กิดความเมอ่ื ยลา้ และปวดเมื่อยตามสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย เม่ือทราบถงึ สาเหตุ ซง่ึ ถา้ จากขนาดของโต๊ะ เกา้ อ้ี หรอื ระดบั ความสูงของอุปกรณ์ไม่ เหมาะสม ก็ควรจัดสภาพและทา่ ทางการนง่ั ท่เี หมาะสมตามภาพประกอบที่ 12 นอกจากนัน้ ระยะเวลาในการทางานมผี ลต่อการลา้ จาเปน็ ตอ้ งพิจารณาแก้ไขลักษณะงาน เชน่ ทางานอ่นื รว่ มดว้ ย หรอื หากต้องอ่านหรือใช้แป้นพมิ พต์ ่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ควรทจ่ี ะกาหนด ระยะเวลาในการสัมผสั ว่าทาเพียง 50 นาที และพัก 10 นาที เพ่ือใชม้ ชี อ่ งวา่ งไดพ้ ักผอ่ นสายตา

และข้อมือ ขณะเดยี วกนั ผูป้ ฏิบัตงิ านควรได้มกี ารออกกาลังกายในชว่ งเวลาพักทก่ี าหนดเพื่อให้มี การยืดเสน้ ยืดสาย และทาให้มีการหมุนเวียนของโลหิตดขี ้ึนการบรหิ ารร่างกายควรบรหิ ารเรมิ่ ตั้งแตค่ อ หลังสว่ นบน หน้าอก แขนและหัวไหล่ ตลอดจนถึงการบริหารเอว ข้อมือและแขนเปน็ ต้น ในกรณีทผ่ี ้ปู ฏิบัติงานมอี าการล้าตา หรอื ระคายตาอาจเนอ่ื งจาก จอคอมพิวเตอร์มีแสงจา้ เกินไป ซึ่งปกติไม่ควรเกนิ 500 ลกั ซ์ ซึ่งแสงจา้ สามารถลดโดยการจดั วางตาแหน่งของแสง เคร่อื ง จะใช้ Hood ครอบ หรอื ติดแผ่นกรองแสงแลว้ แตก่ รณี การจัดสภาพแวดล้อมหรือตาแหน่งการ วางโต๊ะ เก้าอี้ กบั ตาแหนง่ ของแสงมคี วามสัมพนั ธ์กบั การส่องสว่างค่อนข้างมาก ท้ังสามารถ ประหยดั พลังงานไปได้สว่ นหนง่ึ ปัญหาอีกอย่างท่ีสาคัญสาหรับผูป้ ฏิบัตงิ าน ได้แก่ ความเครยี ดอาจ มสี าเหตุจากเสยี งรบกวนจากเคร่ือง Printer การใช้ mouse เสียงกดแป้นพิมพ์ หากมเี คร่ือง จานวนมาก และพิมพ์พร้อมกันยอ่ มก่อใหป้ ญั หา มาตรการในการแก้ไขต้องวางแผนมาก่อนติดต้งั เรมิ่ ดาเนินการ ซึ่งไดแ้ ก่ การปูพรม บุผนงั ด้วยอุปกรณ์ทสี่ ามารถดดู เสียง หรอื แยกแหล่งกาเนดิ เสยี งให้ออกจากห้องผปู้ ฏิบตั งิ านนอกจากเรอื่ งของเสียงแลว้ มีปัญหาเกี่ยวกับอากาศอณุ หภมู ิ และ ความชน้ื ทมี่ ผี ลตอ่ ผปู้ ฏิบตั ิงาน จากการศึกษาพบว่าผปู้ ฏิบตั ิงานควรมีอุณหภมู ิท่เี หมาะสม ระหว่างอุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซยี ส ถึง 27 องศาเซลเซยี ส ความชนื้ สัมพทั ธ์ระหว่าง 40% - 70% มีความดังของเสียงไม่ควรเกนิ 65 เดซเิ บล จะทาใหผ้ ู้ปฏบิ ตั งิ านมีประสทิ ธิภาพการทางานสูงสุด ปญั หาอกี อยา่ งทม่ี ักเกิดขนึ้ กบั ผปู้ ฏบิ ัติงานคือความลา้ ของตา เนือ่ งจากระยะของการมอง ซึง่ ตอ้ ง มองระยะใกลเ้ ปน็ เวลานาน เมอ่ื พกั สายตา จะแก้ไขดว้ ยการมองไกลและการบรหิ ารนัยตา ด้วย การกลอกตาเปน็ วงกลม มองไปรอบ ๆ กว้างตามเขม็ นาฬิกา 3 รอบ และกระพรบิ ตาบ่อย ๆ เพื่อใหน้ า้ ตาหลอ่ เล้ียงได้ท้ังตา ช่วยลดความระคายตาและการลา้ ของตา 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันนาเขา้ ส่บู ทเรยี น - ครูซกั ถามนักเรยี นอธบิ ายความสาคัญของวิธีการปองกนั อุบัติภัยตาง ๆ ในการปฏบิ ตั งิ านโรงแรม กจิ กรรมนักศกึ ษา - นักศกึ ษาช่วยกันตอบคาถาม พร้อมทัง้ ช่วยอธิบายความสาคัญของวิธกี ารปองกันอุบตั ภิ ัยตาง ๆ ในการ ปฏบิ ัติงานโรงแรม ขั้นการเรียนรู้ - ครอู ธบิ ายความสาคัญของวิธกี ารปองกนั อุบตั ภิ ัยตาง ๆ ในการปฏิบัตงิ านโรงแรม - ดูทักษะการอธบิ ายความสาคัญของวธิ กี ารปองกันอุบตั ิภัยตาง ๆ ในการปฏบิ ตั ิงานโรงแรม ข้นั สรุป

- ครูสรุปบทเรียน พร้อมมอบกจิ กรรมทดสอบท้ายบทให้นักเรยี นฝกึ ปฏบิ ัติ 7. สื่อการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 2. ตาราวชิ าความปลอดภยั ในโรงแรม 3. ตวั อยา่ งความสาคัญของวิธกี ารปองกันอบุ ัตภิ ัยตาง ๆ ในการปฏิบตั ิงานโรงแรม 4. แบบทดสอบ 8. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 8.1 หลักฐานความรู้ - ใบความรู้ - แบบทดสอบ 8.2 หลกั ฐานการปฏิบตั ิงาน - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ - แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9. วดั และประเมนิ ผล 9.1 การวดั ผล - การตรวจผลงาน, ตรวจแบบทดสอบ - การสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ ประเมนิ ผลคุณธรรม จรยิ ธรรมอนั พงึ ประสงค์ 9.2 การประเมนิ ผล - นักศกึ ษาได้คะแนนร้อยละ 60 ขึน้ ไป ถอื ว่าผา่ นการประเมนิ 10. กิจกรรมเสนอแนะ / งานท่มี อบหมาย (ถา้ มี) ให้นักเรียนอธิบายความสาคัญของวธิ ีการปองกนั อบุ ตั ิภยั ตาง ๆ ในการปฏบิ ัติงานโรงแรมตามสภาพจรงิ คนละ 1 แบบ 11. เอกสารอา้ งอิง ตาราวชิ าความปลอดภัยในโรงแรม

12. บันทกึ หลงั การสอน 12.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้ -นกั เรยี นได้รับความรู้ และความเขา้ ใจการอธบิ ายความสาคัญของความสาคัญของวิธกี ารปองกันอบุ ัตภิ ัยต าง ๆ ในการปฏบิ ัติงานโรงแรมนกั เรยี นมีระเบียบวนิ ัย มีเหตผุ ลในการปฏบิ ตั งิ านดยี ิ่งขน้ึ 12.2 ปัญหาที่พบ - เน้ือหาต้องปรบั ให้เขา้ กับเหตกุ ารปัจจบุ นั 12.3 แนวทางแก้ปญั หาหรือพฒั นา - เลอื กเนือ้ หาการเรยี นการสอนให้เขา้ กับเหตุการณป์ ัจจุบัน 12. บันทึกหลงั การสอน 12.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 12.2 ปญั หาท่พี บ ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... 12.3 แนวทางการแก้ปญั หาหรือพัฒนา ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงช่อื ………………………………………..ผสู้ อน นายธณภณ สภุ าโชติอังคณา

แผนการจัดการเรยี นรู้รายหนว่ ย วชิ า ความปลอดภัยในโรงแรมรหัสวิชา 2701-2102 สอนครั้งท่ี 7-12หน่วยท่ี 2 ช่อื หน่วย ปฐมพยาบาลเบื้องตนและชวยเหลือผูอนื่ เม่ือเกดิ เหตกุ ารณฉุกเฉิน เวลา 12ชวั่ โมง คาบที่ 7-12 …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคญั ความหมายและความสาคญั ของการปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล (First Aid) หมายถึง การใหความชวย เหลอื ขัน้ ตนแกผูปวยหรือผูบาดเจบ็ อยางกะทันหนั ในทีเ่ กดิ เหตุโดยใชเครอ่ื งมือเทาทีจ่ ะหาไดประกอบกับความรูใน การชวยเหลอื ผูปวย กอนสงตอไปยังโรงพยาบาล หรือสถานบรกิ ารทางการแพทย 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจในความหมายและความสาคัญของวิธกี ารปองกันอบุ ัตภิ ัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงานโรงแรม 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจในวิธีการปองกนั อุบัตภิ ัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงานโรงแรม 3. มีความรู้ในการการวิเคราะหส์ ถานการณ์วธิ ีการปองกันอบุ ตั ภิ ยั ตาง ๆ ในการปฏบิ ตั ิงานโรงแรม 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป 1. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจในความหมายและความสาคญั ของความสาคญั ของวิธีการปองกนั อุบตั ิภัยตาง ๆ ในการปฏบิ ัติงานโรงแรม 2. เพือ่ ใหร้ ูแ้ ละเข้าใจในการการจดั ลาดบั ความสาคัญของความสาคัญของวิธกี ารปองกันอุบตั ภิ ยั ตาง ๆ ในการปฏบิ ตั งิ านโรงแรม 3. เพอื่ ใหม้ ีมนุษยสมั พนั ธ์ มรี ะเบียบวินยั มีเหตุผล มีความพอประมาณ มีหลักคุ้มกันในการ ปฏิบตั งิ าน 3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. ปฏิบัติและทาความเข้าใจในความหมายและความสาคัญของวธิ ีการปองกนั อบุ ัติภัยตาง ๆ ในการปฏิบัตงิ านโรงแรม 2. ปฏบิ ตั ิและทาความเข้าใจในการการจดั ลาดบั ความสาคัญของวิธีการปองกันอุบัตภิ ยั ตาง ๆ ในการปฏิบตั ิงานโรงแรม 3. มีมนุษยสัมพันธ์ มีระเบยี บวนิ ยั มเี หตุผล มีความพอประมาณ มีหลักคุ้มกันในการ ปฏิบตั ิงาน 4. การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

4.1 ความพอประมาณ - สามารถอธิบายความสาคญั ของวิธกี ารปองกนั อุบตั ภิ ัยตาง ๆในการปฏบิ ัตงิ านโรงแรม 4.2 ความมเี หตุผล - มคี วามรู้ และทักษะในการอธบิ ายความสาคญั ของวธิ กี ารปองกนั อบุ ตั ภิ ัยตาง ๆในการปฏบิ ตั งิ านโรงแรม 4.3 ความมีภมู คิ ุ้มกัน - ปฏิบตั งิ านโดยคานึงถึงความปลอดภัย และชว่ ยอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม - มกี ารอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรมไทย และน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้งาน 4.4 เงอ่ื นไขความรู้ - มคี วามรู้ในการเลือก และวธิ ีการทางานทถ่ี ูกตอ้ ง - เห็นความสาคญั ของการมาใช้งานไดถ้ ูกตอ้ ง 4.5 เงื่อนไขคณุ ธรรม - มคี วามพากเพยี รพยายาม - มคี วามสนใจใฝร่ ู้ มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ การบรู ณาการกบั มาตรฐานสถานศกึ ษา 3 ดี 1. ด้านประชาธิปไตย - ผู้เรยี นสามารถตดั สินใจเลือกกลุม่ ตามความสมัครใจ - ผู้เรียนแสดงและรับฟังความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่นื 2. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ ไทย - ผู้เรียนมีวินยั ความรับผดิ ชอบ สนใจใฝ่รู้ และมมี นษุ ยสัมพันธ์ 3. ด้านภมู ิคุม้ กนั ภยั จากยาเสพติด - ผเู้ รียนใชเ้ วลาว่างในการศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง เขยี นหัวข้อต่าง ๆ ในใบ งานสง่ ในสปั ดาหถ์ ัดไป 5. สาระการเรยี นรู้ ความหมายและความสาคัญของการปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล (First Aid) หมายถึง การใหความชวย เหลอื ขั้นตนแกผูปวยหรอื ผูบาดเจ็บอยางกะทันหันในท่ีเกิดเหตุโดยใชเคร่ืองมือเทาที่จะหาไดประกอบกับความรูใน การชวยเหลอื ผูปวย กอนสงตอไปยังโรงพยาบาล หรือสถานบริการทางการแพทย

ความสาคญั ของการปฐมพยาบาลในชวงชีวติ ของมนุษยทุกคนจะตองมีชวงใดชวงหน่ึงท่ีไดรับบาดเจ็บหรือ เจ็บปวย ซึ่งสามารถเกิดขึ้นไดทุกเวลาและสถานท่ี โดยเฉพาะอุบัติเหตุ การปฐมพยาบาลตองกระทาอยางรวดเร็ว และถูกตอง ดังนั้นจึงไมจาเปนวาผูใหการปฐมพยาบาลจะตองเปนแพทยหรือพยาบาลเทาน้ัน เมื่อมีการบาดเจ็บ หรอื เจ็บปวยเกดิ ขึน้ ผูประสบเหตุการณสามารถใหการชวยเหลอื ไดอยางปลอดภยั หรอื บรรเทาความเจบ็ ปวยได ถาคนสวนมากมีความรูในการปฐมพยาบาลซ่ึงอาจจะชวยเหลือชีวิตผูบาดเจ็บไวไดหรือชวยบรรเทาความเจ็บปวย ปองกนั ไมใหอาการของโรคเลวลงและยังชวยปองกันไมใหเกิดความพิการหรือโรคแทรกซอนตามมา ดังขาวที่พบได บอยจากสื่อหนังสือพิมพ วิทยุ หรือโทรทัศน เชน ผูบาดเจ็บทนพิษบาดแผลไมไหวเสียชีวิตกอนนาสงโรงพยาบาล หรอื เดก็ เลก็ รับประทานลูกอมตดิ คอทาใหเสียชีวิต เปนตน สวนอุบัติเหตุอ่ืนๆ เชน บาดแผลจากแมลงสัตวกัดตอย กินยาหรือสารพิษซ่ึงพบไดบอยเชนกัน ดังน้ันจึงควรท่ีจะเรียนรูในการปองกันและการปฐมพยาบาลเพ่ือท่ีจะชวย ตนเองและผอู นื่ ไดอบุ ัตเิ หตุที่พบบอยในชวี ติ ประจาวันและการปฐมพยาบาลอุบัติเหตุเปนเหตุท่ีเกิดขึ้นโดยไมทันคิด ถือกนั วาเปนความบงั เอิญทเี่ กดิ ขึน้ โดยไมได ต้ังใจและไมคาดฝนมากอน ที่ทาใหประชาชนไดรับการสูญเสียท้ังชีวิต และทรพั ยสนิ ซ่งึ สาเหตุทีท่ าใหเกดิ อบุ ตั เิ หตอุ าจเกิดจากทงั้ ตัวบุคคลรวมกับการกระทา เชน ความบกพรองของราง กาย ความเจ็บปวยเรือ้ รัง สภาพจิตใจ ขาดความรู หรือขาดความระมัดระวัง เปนตน นอกจากนี้ยังมีสาเหตุจากส่ิง แวดลอม เชน สภาพแวดลอมทีอ่ ยูอาศยั อาจมี เศษแกว เศษตะปมู ีสตั วอนั ตราย เปนตน ซง่ึ ในทีบ่ ทน้ีจะขอกลาวถงึ อบุ ัตเิ หตทุ ่เี กิดจากตัวบคุ คลรวมกบั การกระทาทพ่ี บบอยในชีวิตประจาวันและเปนภาวะฉุกเฉินท่ีตองไดรับการปฐม พยาบาลเบอ้ื งตน เพ่ือชวยเหลอื ชีวติ ผูบาดเจ็บหรือชวยบรรเทาความเจ็บปวย ปองกันไมใหเกิดความพิการหรือโรค แทรกซอนได ดงั น้ี 1. บาดแผล และการหามเลอื ด 2. การหมดสติ เปนลม ชัก 3. ขอเคล็ด ขอเคลอื่ น 4. ส่งิ แปลกปลอมเขา ตา หู คอ จมกู 5. แมลงกดั ตอย 1. บาดแผล และการหามเลอื ด 1.1 บาดแผล บาดแผล (wounds) หมายถึง ลักษณะที่ผิวหนังหรือเยื่อเมือก (mucous membrane) และสวนที่อยูลง ไปแยกออกจากกันโดยสาเหตใุ ด ๆ กต็ าม ผิวหนงั ทเ่ี กิดบาดแผล อาจพบลกั ษณะแผลได 2 ลักษณะ คอื 1) แผลปด (closed wound) เปนบาดแผลท่ไี มมีรอยแยกของผิวหนงั ปรากฏใหเห็น เกิดจากแรงกระแทก ของของแข็งท่ีไมมีคม แตอาจมีการฉีกขาดของเน้ือเยื่อและเสนเลือดฝอยใตผิวหนังจึงทาใหมีเลือดออกคั่งอยูใต ผิวหนงั ถามองจากภายนอกจะเห็นเปนลกั ษณะช้า เชน แผลฟอกชา้ เปนตน 2) แผลเปด (opened wound) เปนบาดแผลท่ที าใหเกดิ รอยแยกของผวิ หนงั เชน แผลถลอก แผลฉีกขาด แผลตดั แผลถกู ยิง แผลถูกแทง เปนตน ซ่ึงแผลเปดเหลาน้ี มักมีเลือดออก บวม แดง รอน และเจ็บปวด ในกรณีท่ี แผลอักเสบเนื่องจากการติดเชื้อจะทาใหมีหนอง บางคนมีไขหรือตอมน้าเหลืองบริเวณใกลเคียงโตรวมดวย ถา อักเสบรุนแรงเช้อื อาจลุกลามเขากระแสเลือด ทาใหเกดิ ภาวะโลหิตเปนพษิ ได

หลกั การปฐมพยาบาลผูมีบาดแผล แผลปด ไดแก แผลฟอกช้า ประคบดวยความเย็นทันที เพ่ือใหเลือดท่ีอยูใตผิวหนังออกนอยลง หลังจากน้ัน 24 ชั่วโมง ควรประคบดวยความรอนเพื่อชวยใหแผลยุบบวมเร็วขึน้ แผลเปด ไดแก 1) แผลขวนหรือถลอก ลางแผลดวยน้าสะอาดและสบู เพ่ือลางสิ่งสกปรกออกใหหมด ซับแผลใหแหง เชด็ ดวยยาฆาเช้ืออยางออน เชน แอลกอฮอล แผลจะแหง หายไดเรว็ 2) แผลตัด หามเลือดถาเลือดออกมาก เม่ือเลือดหยุดแลวจึงทาความสะอาดบริเวณรอบ ๆ แผล ทาดวย ยาฆาเชื้อ และปดแผลดวยผาสะอาดใหเรียบรอย ในกรณีที่มีชิ้นสวนของอวัยวะถูกตัดขาดออกมา ใหนาชิ้นสวน อวยั วะนนั้ ใสถงุ พลาสติกทีส่ ะอาด และใสในถุงท่มี นี ้าแข็งอีกช้ันหนึง่ เพ่อื รกั ษาเนื้อเย่ือของอวัยวะสวนน้ัน ซ่ึงแพทย อาจจะนามาเย็บติดท่เี ดิมได 3) แผลฉีกขาด ถาเปนแผลเล็ก ทาความสะอาดบาดแผลดวยน้าและสบู จนแผลสะอาด แลวใชผาแต งแผลปด โดยใชผาพันใหขอบแผลติดกัน ถาแผลมีเลือดออกมาก ใชผาสะอาดกดลงบนแผลจนกวาเลือดหยุด ไม ควรลางแผล เพราะจะทาใหเลือดออกมากข้ึน และแผลจะติดเชื้อไดงาย ควรนาสงแพทยภายใน 8 ช่ัวโมง ที่ไดรับ บาดเจบ็ ในกรณีท่ีบาดแผลกวางหรอื ขาดกระรุงกระริ่ง อาจจาเปนตองเย็บแผล 1.2 การหามเลือด การมีเลือดออกจานวนมากและเร็ว โดยเฉพาะจากหลอดเลือดใหญ ๆ ทาใหเปนอันตรายถึง ชีวิตได ตามธรรมชาติเลือดสามารถหยุดไดเองภายใน 2-8 นาที แตบางกรณีตองใชวิธีหามเลือด เพื่อใหเลือดหยุด ซงึ่ สามารถทาไดหลายวธิ แี ลวแตตาแหนงและปริมาณของเลือดทอ่ี อกมากนอยเพยี งใด หลกั การปฐมพยาบาลในการหามเลือด 1) ใชนวิ้ ที่สะอาดกดบาดแผลโดยตรง วธิ ีน้ีบาดแผลเลก็ ๆ เลอื ดมักจะหยุดได 2) ใชผาสะอาด หนา ๆ กดลงบนบาดแผล ถายงั มเี ลือดซึมออกมาไดอาจเพมิ่ จานวนผาอีกหลาย ๆ ชั้น แล วพันดวยผารดั ใหแนนซา้ อกี คร้งั 3) ใชวิธีกดบนหลอดเลือดแดงใหญซ่ึงมาสูบริเวณน้ัน เชน บาดแผลบริเวณแขนต่ากวาขอศอก โดยใหผู บาดเจบ็ กางแขนออกไปจากลาตัว หงายแขนขึ้น ใชน้วิ มอื กดลงตรงสวนกลางของแขนสวนบน กดหลอดเลือดแดงน้ี ใหติดกับกระดกู ตนแขน ถากดถกู ตอง จะคลาไมพบชีพจรทขี่ อมือขางนน้ั 4) วิธีการขันชะเนาะ โดยใชผายาว หรือสายรัด ใชรัดเหนือแผล เพ่ือใหเลือดหยุด โดยใชสาลีหรือผานุ มวางสวนที่จะรัดกอน แลวจึงใชผายาว หรือสายรัด เพ่ือจะใหแนนอาจใชวิธีขันชะเนาะ คือใชชายผาทั้ง 2 ดาน พันเปนเกลียว 2-3 รอบ แลววางทอนไมเล็ก ๆ บนเกลียวผานั้นแลวผูกเหนือทอนไมอีกคร้ัง การขันชะเนาะนี้เป นการกดหลอดเลือดท่ีมาเล้ียงบริเวณน้ัน และสวนที่ต่ากวา ฉะนั้นไมควรรัดแนนจนเกินไป ควรคลายและชัน ชะเนาะใหมทุก ½ ช่วั โมง 2. การหมดสติ เปนลม ชกั 2.1 การหมดสติ การหมดสติ หมายถงึ ภาวะทีร่ างกายไมรับรูหรือตอบสนองตอสิ่งแวดลอม หรือภาวะไมรูสึกตัวได แบงได เปน 2 ประเภท คอื 1) การหมดสติแตมกี ารหายใจ เชน ลมบาหมู พิษจากยาบางชนิด เมาเหลา เปนลม เสนโลหิต

ในสมองแตก ช็อก พิษของโรคบางชนิด เชน เบาหวาน บาดเจ็บท่ีศีรษะ เปนตน และ 2) การหมดสติพรอมกับมี อาการหายใจขัด หรือหยุดหายใจ เชน การใชยาหรือสารบางชนิด เชน ฝน มอรฟน จมน้า สิ่งแปลกปลอมอุด หลอดลม ถกู กระแสไฟฟาดูด โรคหวั ใจ เปนตน ในบทนีจ้ ะขอกลาวเฉพาะหลกั การปฐมพยาบาลผูปวยที่หมดสติแต มีการหายใจ หลักการปฐมพยาบาลผูปวยท่หี มดสติ 1) จัดทานอนสาหรบั ผูปวยหมดสตหิ าสาเหตขุ องการหมดสติการจดั ทานอนสาหรับผูปวยหมดสติ 1.1) จัดใหนอนทาตะแคงเกอื บควา่ ไปดานใดดานหน่ึงศรี ษะไมหนนุ หมอน หันศีรษะไปดานน้ันโดยใหหนาแหงนขึ้น เล็กนอย 1.2) จบั แขนขางหน่ึงใหแนบกับลาตัว สวนอีกขางใหวางราบกับพ้ืนงอแขนเล็กนอย 1.3) จัดขาขางท่อี ยูดานบนใหงอเขาเล็กนอย 2) ตรวจระบบทางเดินหายใจไมใหมีสิ่งอุดตัน โดยใชมือกดท่ีปลายคางของผูปวยเพื่อเปดปากและตรวจดูในชอง ปากและคอวามีสิง่ ใดอุดตันหรอื ไม 3) คลายเสอ้ื ผา และส่ิงรัดตวั ใหหลวม โดยปลดกระดมุ เม็ดบนของเสอื้ และเข็มคัด (ถาม)ี ออก 4) ใหความอบอนุ แกรางกายโดยหาผาหมหรือเสื้อ มาคลมุ ตัวผูปวย 2.2 เปนลม เปนลม เปนอาการหมดสติเพียงชั่วคราว เน่ืองจากเลือดไปเลี้ยงสมองไมพอ สาเหตุ และลักษณะอาการ ของคนเปนลมที่พบบอย เชน หิว เหนื่อย เครียด ตกใจ กังวลใจ กลัว เสียเลือดมาก อาการและอาการแสดง วิงเวยี นศีรษะ ตาพรา หนามดื ใจส่นั มอื เทาไมมแี รง หนาซดี เหง่อื ออก ตวั เย็น ชพี จร เบา เร็ว หลักการปฐมพยาบาลผูปวยทเ่ี ปนลม 1) พาเขาทีร่ ม ที่อากาศถายเทสะดวก 2) นอนราบไมหนุนหมอน หรอื ยกปลายเทาใหสงู เล็กนอย 3) คลายเสื้อผาใหหลวม 4) พัดหรอื ใชผาชุบนา้ เชด็ เหงอ่ื ตามหนา มอื และเทา 5) ใหดมแอมโมเนยี 6) ถารูสึกตัวดี ใหดม่ื น้า 7) ถาอาการไมดีขึน้ นาสงตอแพทย 2.3 ชัก ชัก หมายถึง การทมี่ อี าการกระตกุ หรอื เกร็งของกลามเน้ือ แขน ขา หนา ลาตัว โดยจะรูตัว หรือไมรูตัวก็ ได ซงึ่ มสี าเหตุมาจาก โรคทางสมอง ความดนั โลหติ สงู บาดทะยักในเด็กแรกเกิด ไดรับสารพิษ เชน สารตะก่ัว หรือ จากไขสูงในเดก็ เลก็ ๆ

หลกั การปฐมพยาบาลผูปวยชกั 1) นาผูปวยนอนในท่ีปลอดภยั ใหนอนราบตะแคงหนาไปทางดานใดดานหนึง่ เพือ่ ใหส่ิงท่อี ยูในปอดไหลออก 2) ปลดหรอื คลายเสือ้ ผาใหหลวม 3) ถามีเสมหะ นา้ าลาย หรอื เศษอาหาร ฟนปลอมใหเอาออกจากปาก 4) ถาชักจากไขสงู รบี เชด็ ตวั ดวยน้าเย็นจนกวาไขจะลด และใหยาลดไข 5) ระมัดระวงั การกระทบกระแทกหรอื ตกจากทนี่ อน จากเตียง 6) หามใหสงิ่ ใด ๆ ทางปาก เพราะจะทาใหผูปวยสาลกั 7) ใหผปู วยนอนอยูในทเ่ี งียบ ๆ โลง อากาศถายเทไดสะดวก 8) ผูท่เี คยไดรับการวินจิ ฉยั วาเปนโรคลมชัก แตขาดยา ก็ใหยากนั ชักตามขนาดทเ่ี คยใช 9) ถาอาการไมดีขึน้ นาสงตอแพทย 3. ขอเคลด็ ขอเคลอื่ น 3.1 ขอเคล็ด ขอเคล็ด เปนการฉีกขาดของเสนเอ็นหรือกลามเนื้อที่อยูรอบ ๆ ขอตอเนื่องจากหกลม ถูก กระแทก หรอื ขอเคลื่อนไหวมากเกนิ ปกติ ทีพ่ บบอย ไดแก ขอเทาพลิก เดินสะดุด ผูปวยจะมีอาการปวดเจ็บขอน้ัน มากโดยเฉพาะเมื่อมกี ารเคลื่อนไหวหรือใชนว้ิ กดขอทเ่ี คล็ด หรอื รอบ ๆ ขอน้นั จะบวม แดง รอน และอาจมีรอยช้าร วมดวย หลักการปฐมพยาบาลผูปวยขอเคล็ด 1) ใน 24 ชัว่ โมงแรกหลังขอไดรับบาดเจ็บ ควรประคบดวยน้าเย็นหรือน้าแข็งทันที ทาประมาณ 2-3 คร้ัง เพือ่ ลดอาการบวมและปวด หลัง 24 ชัว่ โมงไปแลว ประคบดวยนา้ รอนหรือแชนา้ อนุ เพื่อลดอาการอกั เสบ 2) ใหขอที่บาดเจ็บอยูนิ่ง ๆ หรือเคลื่อนไหวนอยท่ีสุด โดยใชผาพันรอบขอใหนานพอควร ยกขอน้ันใหสูง เชน ขอเทาเคลด็ เวลานอนหาผาหรอื หมอนหนนุ ขอเทานนั้ ใหสูง 3) ถาปวด กนิ ยาแกปวดทกุ 4-6 ชั่วโมง 4) ถาอาการไมดขี ึ้น ควรปรึกษาแพทย 3.2 ขอเคล่ือน ขอเคลื่อน หมายถึง ภาวะท่ีปลายกระดูกหรือหัวกระดูกสองอันที่มาชนกันประกอบขึ้นเปนขอเคลื่อนออก จากตาแหนงเดิม ทาใหเย่ือหุมขอนั้นมีการฉีกขาด หรือมีการยืดของเอ็นกลามเน้ือ เสนเลือด เน้ือเยื่อ และเส นประสาทบริเวณน้ันอาจฉีกขาดหรือช้า ขอที่มีการเคล่ือนที่พบบอย ไดแก ขอไหล ขอมือ ขอตะโพก ขอเขา กระดูกสะบา สวนมากเกิดจากขอนั้นหรือบริเวณใกลเคียงถูกกระทบกระแทกแรง ๆ เชน ถูกตี หกลม การเหว่ียง การบิดหรอื กระชากอยางแรงเปนตน ผูปวยจะมีอาการบวมและปวดมาก กดเจ็บบริเวณรอบ ๆ ขอ และขอน้ันจะมี รปู รางผดิ ไปจากเดมิ ทาใหความยาวของขาหรอื แขนขางทม่ี ีขอเคล่ือนสัน้ หรอื ยาวกวาปกติ อาจคลาพบปลาย หรือหวั กระดกู ทห่ี ลดุ ออกมาได หลกั การปฐมพยาบาลผูปวยขอเคลอื่ น

1) จดั ใหผูปวยอยูในทาที่สบาย 2) ไมควรดึงใหเขาท่ีเอง เพราะอาจทาใหเอ็น กลามเน้ือ เสนเลือด และเน้ือเยื่อบริเวณนั้นไดรับอันตราย มากขนึ้ 3) ใหขอนั้นอยนู ิ่ง โดยใชผาพันพยงุ หรอื ดามไวใหอยูในทาท่ีเปนอยู 4) นาผูปวยสงโรงพยาบาล เพราะอาจตองเอกซเรยเพ่ือการวนิ ิจฉยั ตอไป 4. สง่ิ แปลกปลอมเขา ตา หู คอ จมูก สิ่งแปลกปลอม หมายถึง วัสดุ หรือวัตถุของแข็งของเหลว หรือส่ิงใด ๆ ก็ตาม อาจมีชีวิตหรือไมมีชีวิตเข าไปใน ตา หู คอ จมูก และทาใหเกิดการระคายเคือง หรืออุดก้ันทาใหมีอาการผิดปกติ อาจทาใหเกิดอาการตั้งแต ราคาญ เจบ็ ปวด จนกระทง่ั เปนอันตรายถึงเสียชวี ิตได 4.1 ส่ิงแปลกปลอมเขาตาตาเปนอวัยวะที่เก่ียวขอกับการมองเห็น ประกอบดวยสวนท่ีเก่ียวของกับการ มองเห็น เชน กระจกตา แกวตา เปนตน และสวนที่ชวยการมองเห็นหรือปองกันอันตรายที่เกิดข้ึน ไดแก ค้ิว หนัง ตา ขนตา เปนตน ส่งิ แปลกปลอมทเ่ี ขาตาสวนมาก ไดแก เศษฝุนละออง เศษเหลก็ ขนตาแมลง ซึ่งกอใหเกิดอาการ ระคายเคอื ง นheตาไหล เจ็บปวด ลมื ตาไมขน้ึ หลกั การปฐมพยาบาลผูปวยท่มี ีสิ่งแปลกปลอมเขาตา 1) อยาขยต้ี า ใหลืมตาในนา้ สะอาด หรอื ลางตาดวยนา้ อนุ 2) ถามองเห็นสิ่งแปลกปลอมอยูใหเปดเปลือกตาขึ้น ใชมุมผาบาง ๆ ท่ีสะอาดหรือใชสาลีพันปลายไมเขี่ย ออก 3) ถาสิ่งแปลกปลอมตดิ อยูในเปลอื กตาบน ใหจับและดึงเปลือกตาบนดวยน้ิวหัวแมมือกับนิ้วช้ี พับหนังตา บนดวยไมพันสาลี บอกใหผูบาดเจ็บมองลงต่าจะเห็นบริเวณเปลือกตา และดวงตาจากนั้นใชผาสะอาดเขี่ยสิ่ง แปลกปลอมออก 4) เมอื่ สิ่งแปลกปลอมท่ีเขาตาออกเรียบรอยแลว ควรลางตาดวยน้าสะอาดหรอื นา้ อนุ ปรมิ าณมาก ๆ 4.2 สิ่งแปลกปลอมเขาหูหูเปนอวยั วะท่เี กี่ยวของกับการไดยนิ และการทรงตัว สิ่งแปลกปลอมท่ีเขาในหู ที่ พบบอย ๆ อาจแบงเปน 2 ประเภท คอื 4.2.1. สง่ิ แปลกปลอมประเภทเศษวตั ถุ ไดแก กอนหนิ กอนดิน กอนกรวด เมล็ดพชื ลูกปดยางลบ กระดุม กระดาษ เปนตน สวนใหญจะพบในเดก็ เล็ก ทีห่ ยบิ ส่ิงของตางๆ ใกลตัวใสเขาไป โดยไมรูถึงอันตรายวาเปนอยางไร หรือเลนกัน นอกจากนีส้ ามารถพบไดในคนปญญาออน และผูใหญที่ใชสาลี ขนนกปนหไู ดเชนกนั หลักการปฐมพยาบาลผูปวยท่ีมสี ่ิงแปลกปลอมเขาหูประเภทเศษวตั ถุ 1) อยาพยายามใชนิ้วมอื หรือไมแคะหเู พราะจะทาใหวัตถุเล่อื นลกึ ลงไป 2) ใหเอยี งหขู างนน้ั ต่าลง หรือใหนอนตะแคงและกระตุกใบหูขางน้นั มากๆ วัตถจุ ะเล่ือนออกมาเองได

3) ถาวัตถุยงั ไมออกรีบสงโรงพยาบาล 4.2.2 ส่ิงแปลกปลอมประเภทตัวแมลงตางๆ ไดแก ยุง แมลงสาบ ตัวหนอน เห็บ เหา มักพบไดท้ังในเด็ก และผูใหญ ส่งิ แปลกปลอมเหลาน้ีจะเคล่ือนที่ไปมาทาใหเกิดความราคาญและเจ็บปวดอยางมาก ผูบาดเจ็บจะรูสึก ออื้ ราคาญ การไดยินอาจเสยี ไปเล็กนอย ในเด็กมักจะเอามอื จบั บรเิ วณหูหรือแคะหู หลักการปฐมพยาบาลผูปวยท่มี สี ง่ิ แปลกปลอมเขาหูประเภทตัวแมลงตางๆ 1) ใชน้าสะอาดหยอดเขาไปในหูจนเต็ม เพ่ือใหแมลงลอยตัวข้ึนมา ถามีประวัติวาแกวหูทะลุ หรือเปนหู น้าหนวก หามหยอดนา้ เขาไป เพราะจะทาใหอักเสบได หลงั จากนัน้ ใชไมพันสาลีทีส่ ะอาด ทาความสะอาดหขู างนั้น 2) ถาใชน้าหยอดแลวยังไมออก โดยเฉพาะพวกมด หมัด หรือเห็บ ซ่ึงจะเกาะแนนตองตะแคงใหน้าไหล ออกจนหมด แลวหยอดดวย แอลกอฮอล 70% เพอ่ื ใหแมลงตาย 3) ในกรณีท่ีไมมีแอลกอฮอลอาจใชน้ามันมะกอกหยอดแทน เพ่ือปองกันไมใหแมลงเกาะหรือกัดแกวหูแล วนาสงโรงพยาบาล ถาปวดหมู ากใหกนิ ยาแกปวดกอนนาสง 4) ถาแมลงน้ันตายและไมลอยขึ้นมา อาจเปนเพราะแมลงตัวใหญ ใหรบี สงโรงพยาบาล 4.3ส่ิงแปลกปลอมเขาคอคออยูบริเวณดานในสุดของปาก ทอี่ ยูใตคอลงไปเปนกลองเสยี ง หลอดอาหาร และ หลอดลม ส่ิงแปลกปลอมที่เขาสูคอที่ติดคอ เชน กางปลา กระดูกไก สตางค หรือฟนปลอม พบตั้งแตปาก โคนลิ้น ตอมทอนซิล มักเปนพวกกางปลา กรณีลงในหลอดอาหารสวนบน ก็อาจไมเกิดอาการผิดปกติได ถาเขาหลอดลม อาจทาใหทางเดนิ หายใจอดุ ตนั และตายได กรณีติดคอ จะมีอาการเจ็บเวลากลืน หรือ เจ็บคอมากเวลากลนื หลักการปฐมพยาบาลผูปวยท่มี สี ง่ิ แปลกปลอมเขาคอ 1) ถาเปนกางหรือกระดูกขนาดเล็ก ให ดื่มน้ามากๆ กลืนกอนขาวสุก หรือกลืนขนมป งนุมๆ สิ่ง แปลกปลอม จะหลุดไปในกระเพาะอาหาร 2) หามใชมอื แคะ หรือลวง เพราะจะทาใหเน้ือเย่ือบริเวณท่ีมีส่ิงแปลกปลอมฝงอยูบวม แดง และเอาออก ยากข้นึ อาจมกี ารอกั เสบและตดิ เชือ้ ตามมาได 3) ถามองไมเหน็ สิง่ แปลกปลอมเลย ควรนาสงโรงพยาบาล แพทยจะสองกลองและใชคีบออกมา 4) กรณีสิ่งแปลกปลอมเขาหลอดลม ผูปวยจะมีอาการสาลักอยางรุนแรง ไอ หายใจลาบาก หายใจมีเสียง ดัง ถามีการอุดตนั มาก จะพบอาการตวั เขยี ว ปลายมอื ปลายเทาเขยี วรวมดวย ใหชวยเอาสง่ิ แปลกปลอมออก โดย 4.1) ยืนขางหลังผูปวยแลวสอดมือทั้งสองผานใตแขนมากอดไวเหนือเอวหรือเหนือสะดือเล็กนอย กาหมัด โดยใชมือซอนกัน กดท่ีทองของผูปวยและกระตุกขึ้นอยางแรงทันที การทาเชนน้ีจะทาใหลมออกจากปอดดันสิ่ง แปลกปลอมทีต่ ดิ อยูหลดุ ออกจากคอและกลองเสยี งได 4.2) ในกรณีเปนเดก็ เลก็ ใหจับเดก็ หอยศีรษะและตบบรเิ วณกลางหลัง 4.3) ถาเปนเดก็ โต ใหจับนอนคว่าพาดบนตักผูใหญ โดยใหศีรษะของเด็กหอยต่ากวาลาตัว แลวตบบริเวณ กลางหลัง

4.4) ถาเปนคนอวนหรือหญิงมีครรภ ใหวางมือบริเวณกึ่งกลางหนาอกเหนือลิ้นปเล็กนอย ผูปฐมพยาบาล อยูดานหลังของผูปวย ใหกดแรงๆ บริเวณหนาอกติดตอกนั 6-10 ครั้ง 4.5) หลังจากเอาสง่ิ แปลกปลอมออก ใหรบี นาผูปวยสงโรงพยาบาล 4.4 ส่งิ แปลกปลอมเขาจมูก อวัยวะสาคัญนอกจากตา และหูของเราแลว จมูก ก็นับวาเปนอวัยวะที่สาคัญไมแพกัน เพราะนอกจาก จมูกจะใชในการหายใจแลว จมูกก็ยังเปนอวัยวะตางที่ชวยในการรับกล่ินตางๆ ใหเราดวย มักพบในเด็กโดยการ สอดใสเขาไปเอง ท่ีพบบอย ไดแก ยางลบ กระดุม เมล็ดผลไม ขาวเปลือก กอนหิน เปนตน ถาติดอยูในรูจมูกผู บาดเจ็บจะมีอาการคัดจมูกมีน้ามูกใส ๆ และจามในระยะแรก นาน ๆ เขาจะมีสีเหลืองมีกลิ่นเหม็น เปนแผลมี หนองและมีเลอื ดออก สวนใหญมกั พบขางเดยี ว ในบางกรณถี าเปนเศษเล็กและล่ืน อาจตกลงไปในกระเพาะอาหาร หรอื หลอดลม หลักการปฐมพยาบาลผูปวยที่มีสิ่งแปลกปลอมเขาจมกู 1) อยาใชนว้ิ หรอื ไมแคะออก เพราะจะทาใหวัตถนุ น้ั เลื่อนลงไปอีก 2) ใหปดจมูกขางหนึ่งแลวสง่ั แรง ๆ วัตถนุ นั้ ก็อาจจะหลดุ ออกมาได 3) ถาวัตถุน้ันอยูลึกมาก สั่งไมออก ใหรบี ปรกึ ษาแพทย 5. แมลงกัดตอย 5.1 ผึ้ง ตอ แตน ตอย แมลงเหลาน้ีมีพิษตอคนท่ีพบบอยมาก ปากมีไวสาหรับเคี้ยวและดูด แตไมดูดเลือด ตัวเมยี มเี หล็กในและตอมพษิ เมอื่ ถกู แมลงเหลานี้ตอยโดยเฉพาะผงึ้ มันฝงเหลก็ ในเขาไปในบริเวณท่ีตอยและปลอย สารพษิ จากตอมพิษออกมา ผูถูกแมลงตอสวนมากมีอาการเฉพาะท่ี คือ บริเวณที่ถูกตอยจะปวด บวม แดง แสบ ร อน แตบางคนอาจมอี าการรุนแรงมากข้นึ เชน อาการบวมลุกลามไปยังบริเวณใกลเคียง ริมฝปากบวม หนังตาบวม คัน มีลมพิษขึ้น บางคนแพมากทาใหมีอาการหายใจลาบาก หัวใจเตนผิดปกติ หอบ คลื่นไส อาเจียน เจ็บหนาอก บางคร้งั อาจมไี ข และชกั ความรุนแรงข้ึนกบั ภูมิไวของแตละคน และจานวนครัง้ ทีถ่ กู ตอย หลกั การปฐมพยาบาลผูปวยถกู แมลงกัดตอย 1) รีบเอาเหล็กในออกโดยระวังไมใหถุงน้าพิษที่อยูในเหล็กในแตก อาจทาโดยใชใบมีดขูดออก หรือใช สกอ็ ตเทปปดทาบบรเิ วณทถ่ี ูกตอยแลวถงึ ออกเหลก็ ในจะตดิ ออกมาดวย 2) ประคบบรเิ วณท่ถี ูกตอยดวยความเยน็ เพื่อลดอาการปวด 3) ทาพวกครมี สเตอรอยด (Steroid) เพื่อลดอาการบวมแดง หรอื นา้ ยาที่มฤี ทธ์เิ ปนดางออน ๆ ปดแผล เช น แอมโมเนยี นา้ ปูนใส

4) ถามีอาการแพเฉพาะท่ี เชน บวม คนั หรือเปนลมพษิ ใหยาแกแพ 5) ในกรณีท่ีมีบวมตามหนาและคอ ซ่ึงทาใหหายใจไมสะดวกตองรีบนาสงโรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา ข้นั ตอไป 5.2 แมลงปอง ตะขาบกัด แมงปองมีเหล็กในอยูที่หาง เม่ือถูกตอยจะมีอาการปวดแสบปวดรอนอยาง รุนแรงบริเวณทถ่ี ูกตอย สวนตะขาบ มีเขี้ยว 1 คู เวลากัดคนจะใชเขี้ยวฝงลงในเน้ือมองเห็นเปน 2 จุด อยูดานขาง ซง่ึ ตางจากรอยเขี้ยวงูซ่ึงฝงเข้ียวตรงลงไปบริเวณที่ถูกกัดจะบวมแดงและปวด บางรายอาจมีไข ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน หลกั การปฐมพยาบาลผูปวยถูกแมลงปอง ตะขาบกดั 1) ใชน้าแขง็ ประคบ เพ่อื ลดอาการบวม และปวด 2) ทาบริเวณทถ่ี กู กดั ดวยแอมโมเนียหรือครมี สเตอรอยด 3) รักษาตามอาการ เชน ปวดมากใหยาแกปวด มีไขใหยาลดไขการบริการการแพทยฉุกเฉิน (Emergency Medical Service, EMS)แมวาผูบาดเจ็บหรือผูปวยจากสาเหตุตางๆ จะไดรบั การปฐมพยาบาลอยางถูกตองแลวแต ยังมีอาการท่ีอาจเปนอันตราย ตองไดรับการชวยเหลือเพ่ิมข้ึนในสถานพยาบาลท่ีเหมาะสมจะทาใหชีวิตของเขา ปลอดภัยมากยงิ่ ขนึ้ ดังนั้นผูปฐมพยาบาลจึงควรทราบเกยี่ วกับการบริการการแพทยฉุกเฉิน เพ่ือนาไปใชในการสงต อผูบาดเจ็บไดอยางรวดเร็วและถูกตองบริการการแพทยฉุกเฉิน หมายถึง การใหบริการรักษาพยาบาลผูเจ็บปวย ฉกุ เฉิน ณจุดเกดิ เหตุ โดย มีบคุ ลากรทมี่ คี วามรูออกปฏบิ ตั กิ ารพรอมรถพยาบาลที่มีเคร่ืองมือ ในการรักษาพยาบาล ขน้ั พ้ืนฐานและข้ันสงู หลงั การรกั ษาแลว มกี ารนาสงโรงพยาบาลโดยมีการประสานงานอยางเปนระบบ ซึ่งกิจกรรม ท้ังหมดอยูภายใตการกากับของแพทยและใหบริการตลอด 24 ช่ัวโมงประวัติความเปนมาของระบบบริการการ แพทยฉุกเฉินระบบบริการการแพทยฉุกเฉินของประเทศไทย เปนบริการที่รัฐจัดใหแกประชาชนท่ีไดรับบาดเจ็บ และเจ็บปวยฉุกเฉนิ โดยไมคดิ มูลคา มีระบบการแจงเหตทุ ี่มปี ระสทิ ธภิ าพและเขาถึงได งาย มีศนู ยรบั แจงเหตุสามารถใหบริการตลอด 24 ช่ัวโมง ครอบคลุมพื้นที่ท่ัวประเทศ โดยบุคลากรท่ีมีความรูและ ยานพาหนะทม่ี คี วามพรอมไปใหการรักษา ณ จุดเกิดเหตุภายในเวลาอันรวดเร็ว โดยมีมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีมี คุณภาพ ระบบการแพทยฉุกเฉินในประเทศไทยเริ่มตนจากมูลนิธิฮั่วเคี้ยวปอเต็กเซียงตึ๊ง (มูลนิธิปอเต็กตึ๊งในปจจุ บัน) ไดรเิ ริ่มใหบริการขนสงศพไมมญี าติใน พ.ศ. 2480 ในเวลาตอมาไดใหบริการรับสงผูปวยและผูบาดเจ็บฉุกเฉิน เชนเดียวกับใน พ.ศ.2513 ที่มูลนิธิรวมกตัญ ไู ดเปดใหบริการในลักษณะเดียวกัน ไดเปนตนกาเนิดของระบบการ แพทยฉกุ เฉนิ ที่คนทัว่ ไปสามารถเขาถึงการบริการไดโดยไมมีการเลือกปฏิบัติ และไมใชบริการเฉพาะกิจ ระบบการ แพทยฉุกเฉินในประเทศไทยจึงไดรบั การพฒั นาขน้ึ นบั ต้ังแตนั้นมา พรอมๆกับการพัฒนาเคร่ืองมือและอุปกรณชวย ชีวิตในหองฉุกเฉินของโรงพยาบาลแตละแหง ทั้งภาครัฐ และเอกชน ใน พ.ศ.2536 กระทรวงสาธารณสุขไดรับ ความชวยเหลือทางเทคนิคจาก Japan International Cooperation Agency (JICA)ในการจัดต้ังศูนยอุบัติเหตุ (Trauma Center) ณ โรงพยาบาลขอนแกน ซึ่งครอบคลุมการใหบริการชวยเหลือกอนถึงโรงพยาบาล (pre- hospital care) ดวย ตอมา พ.ศ.2537 โรงพยาบาลวชิรพยาบาลไดเปดใหบริการรถพยาบาลฉุกเฉินโดยใชช่ือวา

SMART (Surgico-Medical Ambulance and Rescue Team) ตามแผนปองกันอุบัติภัยของกรุงเทพมหานคร และ พ.ศ.2538 กระทรวงสาธารณสุขไดเปดตัวตนแบบระบบรักษาพยาบาลกอนถึงโรงพยาบาล ณ โรงพยาบาล ราชวิถีในชื่อ “ศูนยกูชีพนเรนทร” โดยภายหลัง โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีและโรงพยาบาลเลิดสิน ไดเขารวม เครอื ขายใหบรกิ ารดวย ตอมากระทรวงสาธารณสขุ ไดจดั ตั้งสานักงานระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน ข้ึนเปนหนวย งานในสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ และดาเนินงานการแพทยฉกุ เฉนิ มาอยางตอเนื่อง หนวยงาน/องคกร ทง้ั หลายท่กี ลาวมานจ้ี ึงเปนตนกาเนดิ ทม่ี าของ “สถาบนั การแพทยฉุกเฉินแหงชาติ” ทาหนาท่ีพัฒนางานการแพทย ฉุกเฉินมาจนมีความกาวหนา และผลงานเปนท่ีประจักษในวงกวาง การขยายบทบาทมาเปนสถาบันการแพทย ฉุกเฉินแหงชาติ ซ่ึงเปนองคกรของรัฐท่ีมีฐานะเปนนิติบุคคลในกากับของรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข ก็ เพื่อให มีรูปแบบการบริหารจัดการที่มีความคล องตัวและสามาร ถบริหารงานตามนโยบายการบริหารงานของ คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉินไดอยางมีประสิทธิภาพ ทาใหการแพทยฉุกเฉินของประเทศไทย สามารถกาวกระ โดดไปสงผลใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการคุมครองสิทธิในการเขาถึงระบบการแพทยฉุกเฉินอยางท่ัวถึง เทาเทียม มี คุณภาพมาตรฐาน ตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ.2551 ไดอยางแทจริงการแจงขอ ความชวยเหลือเบอรโทรศัพทฉุกเฉิน ไดแก 1669 191 หรือเบอรโทรศัพทของโรงพยาบาลท่ีใกล ที่เกิดเหตุควร ปฏบิ ัติดังน้ี 1. ตั้งสติใหดี ไมตนื่ ตกใจ 2. โทรแจง 1669 หรอื 191 หรือเบอรโทรศพั ทของโรงพยาบาลที่ใกลที่เกิดเหตุ 2.1. เกดิ เหตอุ ะไร 2.2. มผี ูบาดเจ็บกีค่ น แตละคนมอี าการอยางไร 3. สถานที่เกิดเหตุ 4. ใหการชวยเหลอื เบอ้ื งตนอยางไร 5. ชอ่ื ผูแจงที่ขอความชวยเหลอื เบอรโทรศัพทท่ีสามารถตดิ ตอกลบั ได 6. ใหการชวยเหลือผูบาดเจบ็ จนกวาบุคลากรทางการแพทยจะมาถึงทีเ่ กดิ เหตุ สรุปหลักทั่วไปในการปฐมพยาบาล เม่อื พบผูปวยหรือผูบาดเจบ็ ใหตง้ั สติ อยาตกใจ ประเมินสถานการณแลวรีบชวยเหลือทันที ยกเวนในกรณี ท่ีมอี ปุ สรรคตอการชวยเหลือ เชน มีแก็สพิษ มีวัสดุกีดขวาง เปนตน ใหยายผูปวยออกมาในที่ปลอดภัยเสียกอนจึง ดาเนินการชวยเหลือ พิจารณาชวยเหลือผูบาดเจ็บในกรณีท่ีจะมีอันตรายตอชีวิตโดยรีบดวนกอน อยาใหมีคนมุง ทั้งนี้เพ่ือใหมีอากาศปลอดโปรง มีแสงสวางเพียงพอ และมีบริเวณกวางขวางเพียงพอ อีกท้ังสะดวกในการใหการ ปฐมพยาบาลดวย และจัดใหผูบาดเจบ็ อยใู นทาที่เหมาะสมในการปฐมพยาบาล และไมเพิ่มอันตรายแกผูบาดเจ็บด วย อยาเคลื่อนยายผูบาดเจ็บเกินความจาเปน เพราะอาจทาใหเปนอันตรายย่ิงขึ้น ถาตองเคลื่อนยายตองปฏิบัติด วยความระมดั ระวงั และ ใหคานงึ เสมอวา อยาทาการรักษาดวยตนเอง ใหการปฐมพยาบาลท่ีจาเปนอยางถูกตองเท านน้ั แลวนาผูบาดเจ็บสงโรงพยาบาลทันทีหรือประสานบรกิ ารการแพทยฉกุ เฉิน

บรรณานกุ รมวิภาพร วรหาญ. (2552). การปฐมพยาบาลและการพยาบาลฉุกเฉนิ . ขอนแกน. มหาวทิ ยาลัยขอนแกน.สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ.ประวัตอิ งคกร. เขาถึงไดจาก http://www.emit.go.th/main/system/index.aspx. คนหาเมอ่ื วนั ท่ี25 เมษายน 2555. 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น - ครซู ักถามนักเรยี นอธิบายความสาคญั ของปฐมพยาบาลเบอ้ื งตนและชวยเหลือผูอื่น เม่ือเกิดเหตุการณ ฉกุ เฉนิ กิจกรรมนักศกึ ษา - นกั ศกึ ษาชว่ ยกนั ตอบคาถาม พรอ้ มทง้ั ชว่ ยอธบิ ายความสาคัญของปฐมพยาบาลเบ้ืองตนและชวยเหลอื ผู อ่ืน เมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉิน ขัน้ การเรียนรู้ - ครอู ธิบายความสาคัญปฐมพยาบาลเบื้องตนและชวยเหลอื ผูอื่น เม่อื เกิดเหตุการณฉุกเฉิน - ดทู กั ษะการอธิบายความสาคัญของปฐมพยาบาลเบ้อื งตนและชวยเหลอื ผูอ่นื เม่ือเกดิ เหตุการณฉุกเฉิน ข้ันสรปุ - ครูสรปุ บทเรียน พรอ้ มมอบกิจกรรมทดสอบท้ายบทให้นกั เรียนฝึกปฏบิ ตั ิ 7. สือ่ การเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. ตาราวชิ าความปลอดภัยในโรงแรม 3. ตัวอย่างความสาคัญของปฐมพยาบาลเบ้ืองตนและชวยเหลือผูอน่ื เมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉิน 4. แบบทดสอบ

8. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 8.1 หลกั ฐานความรู้ - ใบความรู้ - แบบทดสอบ 8.2 หลักฐานการปฏิบตั ิงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม - แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 9. วัดและประเมนิ ผล 9.1 การวดั ผล - การตรวจผลงาน, ตรวจแบบทดสอบ - การสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ ประเมินผลคุณธรรม จริยธรรมอนั พงึ ประสงค์ 9.2 การประเมินผล - นกั ศึกษาได้คะแนนร้อยละ 60 ขนึ้ ไป ถอื วา่ ผา่ นการประเมิน 10. กิจกรรมเสนอแนะ / งานทมี่ อบหมาย (ถ้ามี) ให้นกั เรยี นอธิบายความสาคัญของปฐมพยาบาลเบื้องตนและชวยเหลอื ผูอ่นื เมือ่ เกิดเหตุการณ ฉกุ เฉนิ ตามสภาพจรงิ คนละ 1 แบบ 11. เอกสารอา้ งอิง ตาราวชิ าความปลอดภยั ในโรงแรม 12. บนั ทึกหลังการสอน 12.1 ขอ้ สรุปหลังการจดั การเรยี นรู้ -นกั เรียนได้รับความรู้ และความเขา้ ใจการอธบิ ายความสาคญั ของความสาคัญของวิธกี ารปองกนั อุบตั ภิ ัยต าง ๆ ในการปฏบิ ตั งิ านโรงแรมนกั เรียนมีระเบียบวนิ ัย มเี หตผุ ลในการปฏบิ ัติงานดยี ่ิงขึ้น 12.2 ปญั หาที่พบ - เน้ือหาต้องปรบั ใหเ้ ข้ากบั เหตกุ ารปจั จุบนั 12.3 แนวทางแกป้ ญั หาหรือพัฒนา - เลือกเนอ้ื หาการเรยี นการสอนให้เข้ากับเหตุการณป์ ัจจบุ ัน

12. บันทึกหลังการสอน 12.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรยี นรู้ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 12.2 ปัญหาท่พี บ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 12.3 แนวทางการแก้ปัญหาหรอื พัฒนา ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ลงช่อื ………………………………………..ผูส้ อน นายธณภณ สภุ าโชติอังคณา แผนการจดั การเรียนรรู้ ายหน่วย วิชา ความปลอดภยั ในโรงแรมรหัสวชิ า 2701-2102 สอนคร้ังที่ 13-36 หน่วยที่ 3ชอื่ หนว่ ย ปฏิบัตงิ านดวยความปลอดภัย เวลา 12ชวั่ โมง คาบที่ 13-36 …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคญั

ความปลอดภัย หมายถงึ การท่ีรางกายปราศจากอบุ ตั ิภยั หรือทรพั ยสนิ ปราศจากความเสยี หายใด ๆ เป นสง่ิ ทีม่ นษุ ยหรือสตั วตองการความปลอดภัยทง้ั สิน้ ความปลอดภัยจะเปนประโยชนมากหรือนอยเพยี งใดขึน้ อยูกบั การปฏิบตั หิ รอื การกระทาของตนเองความปลอดภายในโรงงานความปลอดภยั คือ สภาพทีป่ ลอดภยั จากอบุ ัติภยั ต าง ๆ อันจะเกิดแกรางกายชีวิตหรือทรพั ยสนิ ในขณะปฏิบตั งิ านในโรงงาน ซ่ึงก็คอื สภาพการทางานท่ีถกู ตองโดย ปราศจาก “อบุ ัติเหตุ” ในขณะทางานน่นั เองอบุ ตั ิเหตุ อาจนยิ ามไดวา คือเหตุการณที่เกิดข้นึ อยางไมพงึ ประสงคใน ระหวางการทางานและมีผลไปขดั ขวางหรอื กอผลเสยี หายแกการทางานน้นั ในโรงงานตาง ๆ 2. สมรรถนะประจา หนว่ ยการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจในความหมายและความสาคัญของการปฏิบัตงิ านดวยความปลอดภยั 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจในวิธีการปฏิบัตงิ านดวยความปลอดภยั 3. มคี วามรใู้ นการการวเิ คราะหส์ ถานการณ์วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านดวยความปลอดภัย 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงค์ท่ัวไป 1. เพื่อให้เข้าใจในความหมายและความสาคัญของความสาคญั ของการปฏิบัติงานดวยความปลอดภยั 2. เพื่อใหร้ ู้และเข้าใจในการการจัดลาดบั ความสาคญั ของความสาคญั ของการปฏิบตั งิ านดวยความ ปลอดภยั 3. เพ่ือให้มีมนษุ ยสมั พันธ์ มีระเบยี บวินัย มีเหตุผล มคี วามพอประมาณ มีหลักคุ้มกันในการปฏิบตั ิงาน 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัตแิ ละทาความเขา้ ใจในความหมายและความสาคญั ของการปฏิบตั งิ านดวยความปลอดภัย 2. ปฏิบัติและทาความเข้าใจในการการจดั ลาดับความสาคัญของการปฏิบัติงานดวยความปลอดภยั 3. มีมนุษยสมั พันธ์ มีระเบยี บวินยั มีเหตุผล มคี วามพอประมาณ มีหลักคมุ้ กันในการ ปฏบิ ตั ิงาน 4. การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.1 ความพอประมาณ - สามารถอธบิ ายความสาคญั ของการปฏิบัตงิ านดวยความปลอดภัย 4.2 ความมเี หตผุ ล - มีความรู้ และทักษะในการอธิบายความสาคญั ของการปฏิบัติงานดวยความปลอดภัย 4.3 ความมีภูมิคุ้มกนั - ปฏิบตั ิงานโดยคานงึ ถึงความปลอดภัย และชว่ ยอนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อม - มีการอนรุ ักษศ์ ิลปวัฒนธรรมไทย และนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้งาน

4.4 เงอื่ นไขความรู้ - มคี วามรู้ในการเลือก และวธิ กี ารทางานท่ีถูกตอ้ ง - เหน็ ความสาคัญของการมาใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 4.5 เงือ่ นไขคุณธรรม - มคี วามพากเพยี รพยายาม - มีความสนใจใฝร่ ู้ มคี วามคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศกึ ษา 3 ดี 1. ด้านประชาธิปไตย - ผเู้ รียนสามารถตัดสินใจเลอื กกล่มุ ตามความสมัครใจ - ผู้เรียนแสดงและรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื 2. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเป็นไทย - ผู้เรยี นมวี ินยั ความรับผิดชอบ สนใจใฝ่รู้ และมมี นษุ ยสัมพันธ์ 3. ดา้ นภูมคิ ุ้มกนั ภัยจากยาเสพติด - ผ้เู รียนใชเ้ วลาวา่ งในการศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้อง เขียนหวั ข้อต่าง ๆ ในใบ งานส่งในสปั ดาหถ์ ัดไป 5. สาระการเรยี นรู้ ความปลอดภัย หมายถึง การที่รางกายปราศจากอุบัติภัย หรือทรัพยสินปราศจากความเสียหายใด ๆ เป นสง่ิ ทมี่ นุษยหรอื สัตวตองการความปลอดภยั ทัง้ สิ้น ความปลอดภัยจะเปนประโยชนมากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูกับ การปฏบิ ัตหิ รอื การกระทาของตนเองความปลอดภายในโรงงานความปลอดภัย คือ สภาพท่ีปลอดภัยจากอุบัติภัยต าง ๆ อันจะเกิดแกรางกายชีวิตหรือทรัพยสินในขณะปฏิบัติงานในโรงงาน ซ่ึงก็คือสภาพการทางานท่ีถูกตองโดย ปราศจาก “อบุ ตั ิเหตุ” ในขณะทางานนั่นเองอุบตั เิ หตุ อาจนยิ ามไดวา คือเหตุการณท่ีเกิดข้ึนอยางไมพึงประสงคใน ระหวางการทางานและมีผลไปขัดขวางหรือกอผลเสียหายแกการทางานน้ันในโรงงานตาง ๆ น้ัน ยอมจะเกิด อบุ ตั ิเหตุกับระบบตาง ๆ ไดมาก อาทิ - เคร่ืองจักรเครอ่ื งกล - ระบบไฟฟา - ระบบขนสงหรือขนถายวัสดุ - เครอื่ งมือกล - วสั ดดุ บิ สารเคมี สารไวไฟ ฯลฯ - ตวั อาคารโรงงาน , ทางเดนิ และท่ีอ่ืน

ซง่ึ ในการเกิดอบุ ัติเหตุอาจแบงออกเปนประเภทดังน้ี - เกดิ ผลเสียแกอาคาร เครื่องจักรหรือทรัพยสินของสวนรวม - เกดิ ผลเสียตอคนงานโดยตรง อบุ ตั ิเหตุท่เี กิดแกชวี ิตรางกายจากสถติ ิท่ปี ระเมนิ มาพบวา อุบัติเหตทุ เ่ี กดิ แกรางกายของคนงานคิดเปนเปอรเซ็นต ความบอย ๆ คร้ังในการเกดิ ดังน้ี พบวา 24.20% เกดิ ทน่ี ้วิ มือ 15 % เกดิ ทตี่ า 13.21% เกดิ ท่ีเทา 18.53 % เกิดทีม่ ือ 5.73 % เกดิ ที่ขา 5.14 % เกดิ ท่แี ขน สาเหตขุ องการเกิดอุบตั ิเหตุ 1. สาเหตุจากการกระทาที่ไมปลอดภยั ไดแก - การกระทาไมถูกวิธีหรอื ไมถูกขน้ั ตอน - ความประมาท พลัง้ เพลอ เหมอลอย - การมีนิสยั ชอบเส่ยี ง - การไมปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทางาน - การทางานโดยไมมีอูปกรณปองกันอันตรายสวนบคุ คล - การแตงกายไมเหมาะสม - การทางานโดยไมใชการดเคร่อื งจักร - ใชเครื่องมือไมเหมาะสมหรือผิดประเภท - การหยอกลอกนั ระหวางทางาน - การทางานโดยสภาพรางกายและจิตรใจไมปกติ เชน เมาคาง ปวย

2. สาเหตุจากสภาพการณท่ไี มปลอดภัย ไดแก - สวนทเี่ ปนอนั ตรายหรือสวนท่ีเคล่อื นไหวไมมีอปุ กรณปองกนั อนั ตราย - การวางผังไมถูกตอง วางส่งิ ของไมเปนระเบยี บ - พน้ื โรงงานขรุขระเปนหลุมบอ - พน้ื โรงงานมเี ศษวสั ดุมัน - สภาพการทางานไมปลอดภัยเชน เสยี งดัง อากาศรอน ฝุนละออง - เครอ่ื งมือ เครื่องจักร อุปกรณชารุด - ระบบไฟฟา อุปกรณไฟฟาชารุด การปองกนั อุบัติเหตุ มหี ลักการหรอื วิธแี บงออก 3 สถานะการณคือ 1. การปองกนั กอนการเกิดอุบัติเหตุ คอื การปองกันหรือมีการเตรียมการลวงหนา เพ่ือไมใหเกดิ อุบัตเิ หตุ โดยมี หลกั การตางๆ เชน 1.1 หลกั การ 5 ส. สูการปองกนั อุบัติเหตุ เชน 1.1.1 สะสาง หมายถงึ การแยกแยะงานดี-งานเสยี ใช-ไมใช 1.1.2 สะดวก หมายถงึ การจดั การ จดั เกบ็ ใหเปนระเบียบเปนหมวดหมู 1.1.3 สะอาด หมายถงึ การทาความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักรอุปกรณ สถานที่ กอน และหลงั การใชงาน 1.1.4 สขุ ลกั ษณะ หมายถึงผูปฎบิ ตั ิงานตองรักษาสขุ อนามัยของตัวเองและเคร่ืองมือ สถานที่ 1.1.5 สรางนสิ ยั หมายถงึ การสรางนิสัยท่ีดี 1.2 กฎ 5 รู 1.2.1 รู งานทปี่ ฎิบัตวิ ามีอนั ตรายอยางไร มีขน้ั การทางานอยางไร 1.2.2 รู การเลอื กใชเครื่องมอื เคร่ืองจกั ร อุปกรณ 1.2.3 รู วธิ กี ารใชเครื่องมือ เครอื่ งจักร อุปกรณ 1.2.4 รู ขอจากดั การใชเคร่ืองมือและเครื่องจักร อุปกรณ 1.2.5 รู วิธกี ารบารงุ รกั ษา เครอื่ งมือและเครอ่ื งจักร อุปกรณ 1.3 ปฎบิ ัติตามกฎระเบยี บขอบังคบั 2. การปองกันขณะเกิดอุบัตเิ หตุ หมายถงึ การเตรยี มตัวลวงหนา เปนการลดอนั ตรายใหนอยลงหรือไมเกิดอันตราย เลย มหี ลักดังนค้ี ือ 2.1 การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบคุ คลเพ่ือปองกนั อวยั วะของรางกาย ดงั นี้ 2.1.1 หมวกนิรภัย

2.1.2 อปุ กรณปองกันตา ใบหนา 2.1.3 อุปกรณลดเสียง ปองกันหู 2.1.4 อปุ กรณปองกันทางการหายใจ 2.1.5 อุปกรณปองกันลาตัว แขนขา 2.1.6 อปุ กรณปองกันมือ 2.1.7 อปุ กรณปองกนั เทา 2.2 การปฎิบตั งิ านโดยใชการดเคร่ืองจักร 2.2.1 การดเคร่ืองกลงึ 2.2.2 การดเครื่องเจียระไน 2.2.3 การด ปดสวนทีห่ มุนของเครอื่ งจักร เชน ฟนเฟอง 3. การปองกันหลงั การเกดิ อุบัตเิ หตุ คือการปองกันไมใหเกดิ อบุ ัติเหตุซ้าซอนข้ึน หรือมีการลดอนั ตรายทีเ่ กิดขน้ึ อย างตอเนื่อง 3.1 การอพยบ การขนยาย หลังการเกิดอุบตั ิเหตุขึน้ จะมีการตกใจ ต่ือนกลัว ดังน้นั ควรมีการวางแผนการ อพยบ หรือการขนยายผูปวยอยางถูกวิธี 3.2 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน เพื่อลดอันตรายใหนอยลง เชนการหามเลือดการผายปอด 3.3 การสาหรวจความเสียหายหลงั การเกิดอุบัติเหตุ เชน ผูบาดเจ็บ สถานท่ี แสดงขอเปรียบเทยี บอาการผูปวย ท่ีเพอ่ื นรวมงานรูและไมรวู ธิ ปี ฐมพยาบาลดังนนั้ เพื่อปองกันอุบัติเหตุ อันเกดิ จาก การใชเครื่องมือกล จึงควรทราบกฎโรงงานเกีย่ วกับการใชเคร่ืองมือกล ซ่งึ ไดประกาศใชโดย สานกั งานแรงงาน นานาชาติ (International Labour Office) ณ กรงุ เจนีวา ประเทศสวสิ เซอรแลนด เม่ือป ค.ศ. 1956 ดังไดคดั ย อหวั ขอสาคัญดังน้ี 1. เครื่องมือกลทุกชนดิ จะตองทาจากวัสดทุ ่ีถูกตองเหมาะสมกบั การใชงาน 2. การใชเครอื่ งมอื แตละช้ินจะตองใชใหถูกตองกับงานในหนาที่ ซึ่งเครื่องมือชนิ้ นั้นไดรบั การออกแบบมา เพือ่ ใชงานนัน้ ๆ โดยเฉพาะ ตัวอยางงานท่ีพบมากคือ การใชมีดแทนไขควง การใชประแจไปตอกหรอื ทุบแทนคอน หรอื การใชประแจผดิ ขนาด 3. ดามไมที่ใชทาดามของเคร่ืองมือจะตอง 3.1 เปนไมเน้ือดี ไมมีรอยแตก และแนวเน้ือไมไปตามความยาวดาม 3.2 มีขนาดและรปู รางทเ่ี หมาะสมกบั งาน 3.3 ผวิ ตองเรยี บ ปราศจากรอยหยาบ หรอื เส้ยี นคอนท่ีมดี ามทาจากไมเน้ือออน 4. ในสถานทท่ี ม่ี สี ารไวไฟ หรอื วัตถุระเบิดอยู การทางานจะตองใชเครือ่ งมือทีไ่ มกอใหเกดิ ประกายไฟขน้ึ ไดงานที่ พบมากคือ ผาถังํนา้ มนั หรือแกสอะเซทติลนี ดดยใชสกัดเพราะจะเกิดประกายไฟ ควรใชคอนไม และสกัดทาจาก โลหะเมอรเล่ียมผสม ซงึ่ ไมเกิดประกายไฟขณะตอก

5. หัวคอนหรอื หัวสกัดอาจเกิดการแตกเยนิ ของโลหะที่เรียกวาเกดิ “หวั เหด็ ” ขึ้นจะตองไดรับการกาจดั ครบี รอย เยนิ ออก โดยการลับกบั หินเจียระไนอยางสมา่ เสมอ และที่ปลายหัวคอนควรใชลิ่มโลหะแผนตอกอัดลงในเน้ือไมขอ งดามเพื่อการปองกันหลุดของหวั คอนขณะใชงาน 6. เคร่อื งมือทม่ี ีปลายแหลม หรือมสี ันคมควรมีปลอกสวมหุมสวนทคี่ มทุกครัง้ หลังใชงาน 7. เคร่อื งมือตาง ๆ เมื่อเลกิ ใชงาน จะตองไมวางไวบนพนื้ หรือวางขวางทางเดนิ หรือบนโตะทางานหรือชัน้ หรอื บน เครื่อง โดยปลอยปลายใหย่ืนออกมา ซึง่ ลักษณะเชนน้ีจะเกดิ อันตรายจากการที่คนงานเดนิ ผานไปชนหรอื ปดใหหล นลงมาเกดิ อันตรายไดงายควรทาความสะอาดและจดั เกบ็ ลงกลองหรือทีเ่ ก็บเครื่องมือใหเรียบรอย 8. จะตองทาแผง ชั้น ห้ิง กลอง หรือภาชนะอืน่ ๆ สาหรับเกบ็ เครื่องมือทุกชน้ิ อยางเปนระเบยี บ และไมปะปนกนั ในลกั ษณะหยบิ ใชไดสะดวก เกบ็ เขาที่ไดงาย และตรวจสอบไดสะดวก 9. ในการจดั ระเบียบบริการเครื่องมือในโรงงานควรจะตอง 9.1 มีผูรบั ผดิ ชอบตรวจรบั เครอื่ งมือทกุ วนั 9.2 ตองมีการตรวจสภาพเคร่ืองมือ และบารุงรกั ษาเครื่องมือทกุ ช้ินใหคงสภาพ 9.3 ตองมีการซอมแซมเครื่องมือในสวนที่ชารดุ ท่ีซอมแซมได หรอื มกี ารกาจัดเครื่องมือท่ชี ารดุ ท้ิงไปและ จัดหาใหมอยางสม่าเสมอการท่มี ีเครื่องมือขาดแคลน ไมพอใชงานทง้ั ปริมาณและชนดิ เคร่ืองมือ คือ สาเหตสุ าคญั ท่จี ะทาใหเกดิ การใชเครื่องมือผิดประเภท การปองกันอุบตั ิเหตุ อุบตั ิเหตุเปนเหตุการณท่เี กิดขึ้นโดยบังเอิญ มิไดมีการคาดนึกไวกอน ฉะนน้ั จงึ มิไดมีการต้ังใจแฝงอยู เชน ขณะขน้ึ ไปทางานบนทส่ี ูงบงั เอญิ คอนหลุดมอื ลงมาถึงแมวาคอนนน้ั จะไมโดนใครหรอื ทาใหสิง่ ของท่พี ื้นลางเสียหายประการ ใด ก็ยังเปนอบุ ัติภัยอยูน้ันเอง ความรนุ แรงของอุบตั ภิ ยั อาจจดั ตามลาดบั ความเสียหายใดดังนี้ คือ 1. ไมกอความเสียหายหรือมีผูใดไดรับบาดเจบ็ 2. กอความเสียหายแกสิง่ ของหรือทรัพยสิน 3. ทาใหมีผูบาดเจบ็ ตองเสียคารักษาพยาบาล 4. ทาใหมีผูถงึ แกความตาย ตองเสียคาทาขวญั ฉะนั้นผูมีหนาที่เกีย่ วของกบั การดาเนนิ งานดานปองกันอุบัติภยั จะตองมีความรูความเขาใจมที ศั นคติท่ดี ีใน เรื่องอบุ ัตภิ ยั เพ่ือเปนการปองกนั อุบตั ิภัยทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ทุกฝายจาเปนท่จี ะตองรวมกนั วางแผนแนวทางการปองกนั อบุ ัตภิ ัยไวเพื่อความปลอดภยั ของผูปฏิบัตงิ านหลักในการดาเนนิ การปองกันอบุ ัติเหตุการดาเนนิ การปองกัน

อุบตั เิ หตจุ ะประสบความสาเร็จ จะตองมีหลกั ในการดาเนินการปองกันอุบตั เิ หตุ ซงึ่ พอสรุปได 3 ประการดวยกัน คอื 1. จะตองเขาใจถึงความสาคัญของปญหาการเกิดอุบัตเิ หตุ และจะตองสานึกอยูเสมอวาสามารถหลีกเลี่ยงได โดย อาศยั การปองกันและแนวทางการแกไขอยางถกู วธิ ี 2. จะตองทราบถึงสาเหตุที่ทาใหเกดิ อุบตั เิ หตขุ อเท็จจรงิ ตาง ๆ 3. การปองกันและการแกไขอยางจรงิ จัง จะตองไมอยูในความประมาท วธิ กี ารปองกนั อุบตั เิ หตุ การปองกนั อุบตั ิเหตใุ นโรงงาน ซึง่ เปนหนาทที่ ี่สาคญั ประการหนึง่ ของฝายบรหิ าร และมีความสาคัญมาก เพราะเป นการตัดไฟแตตนลม ชวยแกปญหาทางการบริหารไดอยางกวางขวางยิ่งข้นึ วิธีการปองกนั อุบตั ิเหตุ ท่ีกระทากนั มหี ลายวธิ ี ดงั น้ี 1. โดยการออกกฎโรงงาน (Regulation) ใหมาตรฐานการทางาน แนวทางปฏิบตั ติ าง ๆ ทถี่ ูกตองและปลอดภยั ใน โรงงาน 2. โดยการจัดทามาตรฐาน (Standardization) กาหนดมาตรฐานของโครงสรางเครอื่ งจักรกลและข้นั ตอนการ ปฏิบัติงานตาง ๆ ท่สี อดคลองกบั คุณสมบัติทางความแข็งแรงของวัสดุ 3. โดยการตรวจสอบ (Inspection) เพ่ือตดิ ตามผลการปฏบิ ตั งิ านของคนงานเพื่อใหสอดคลองกบั กฎโรงงานและ มาตรฐานท่ีตงั้ ไว 4. โดยการวิจัยทางเทคนคิ (Technical research) เปนการศึกษาวิจยั คณุ สมบัติของวัสดุตาง ๆ โครงสรางการใช งานของเครื่องจักรตาง ๆ วธิ กี ารปฏิบตั งิ านและการออกแบบชิ้นสวนจกั รกลตาง ๆ ทมี่ ีผลตอความปลอดภัยของ คนงาน 5. โดยการวิจยั ทางการแพทย (Medical research) เปนการศึกษาวิจัยเก่ียวกบั รางกายคนงานและความสัมพนั ธ ระหวงสภาวะท่ีเหมาะสมกับสภาพความพรอมของคนงานในการทางาน เพื่อนาขอมูลประกอบในการออกแบบสิ่ง แวดลอมทเี่ หมาะสมแกการปฏิบตั ิงาน 6. โดยการวิจัยทางจติ ศาสตร (Psychological research) ศึกษาตนเหตแุ ละความสัมพันธระหวางจติ ใจคนงานกบั การเกิดอบุ ัติภยั ในการทางาน 7. โดยการวิจยั ทางสถิติ (Statistical research) เปนการศกึ ษาโดยการรวบรวมขอมูลและวจิ ยั หาแนวโนมของการ เกิดอุบัติภัย และจุดที่มีการเกิดอุบัติภัยไดมากที่สดุ เพื่อทราบสาเหตทุ ีแ่ ทจริงของการเกิดอบุ ตั ภิ ัยในแบบตาง ๆ 8. โดยการใหการศึกษา (Education) โดยการสอนวิชาวศิ วกรรมความปลอดภัยในมหาวทิ ยาลัยในวิทยาลัย อาชวี ศกึ ษา และในโรงงานอุตสาหกรรม 9. โดยการฝกอบรม (Traininig) โดยการอบรมคนงานทกุ คนทเี่ ขารบั หนาทเ่ี พื่อใหมีการทางานทปี่ ลอดภัยที่สุด 10.โดยการเชญิ ชวน (Persuasion) ดวยการใชสอ่ื ประชาสัมพนั ธตาง ๆ เพ่ือสรางความเคยชิน และนิสัยการทางาน ทีด่ แี กคนงานท่ัวไปท่ีอานหรอื พบเหน็ สื่อประชาสัมพันธเหลานน้ั เปนประจาทุกวัน 11. โดยการประกนั ภัย (Insurance) ใชการใหรางวัลชมเชยแกคนงานทท่ี างานดเี ดน มีอบุ ัตภิ ัยเกดิ ข้นึ นอยท่ีสุด

12. โดยการใหระเบียบการปฏิบัติงานแตละชนดิ โดยเฉพาะ(Safetymeasureswithinthe individual unrderking) ทงั้ 11 ประการขางตนจะบรรลุไดเม่ือขอที่ 12 ไดรับการตอบสนองอยางถูกตองจากผูเกี่ยวของ การวางนโยบายการปองกันอุบัตเหตุการบริหารงานที่ดี จะตองมีนโยบายไวเปนหลัก มีแนวทางการดาเนนิ งานท่ี ชัดเจนเพ่ือใชในการปฏบิ ัติงานน้ัน ๆ ดงั นน้ั การวางนโยบายการปองกนั อุบตั ิเหตุพอจะสรปุ ไดดงั นี้ 1. ขนั้ วางนโยบาย ซ่ึงประกอบดวย -วตั ถปุ ระสงค ตองถือความปลอดภยั ของผูปฏิบตั งิ านเปนหลัก คือ ความปลอดภยั กอนความสะดวกสบาย -วิธปี ฏบิ ตั งิ านตองวางระเบยี บวิธีการปฏบิ ัติใหรดั กมุ ครบถวนหาทางแกไขสภาพและการกระทาท่ไี ม่ ปลอดภยั 2. ขั้นตดิ ตามผลงาน ผูมีอานาจหนาทที่ ่ีไดรับมอบหมายในการตรวจตราเพื่อใหเปนไปตามวธิ ปี ฏิบัตแิ ละวัตถปุ ระ สงคของการปองกันอบุ ัตภิ ัย ตองหม่ันตรวจตราสอดสงดูแลติดตามการปฏิบัตงิ านของผูปฏิบัติงานอยางสม่าเสมอ และเขมงวดใหทุกคนปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑตาง ๆ ทีว่ างไวตลอดจนการจดั สถานทแี่ ละสภาพแวดลอมในการ ทางาน ไมมสี ิง่ ลอใจ 3. ขัน้ รายงานและวิเคราะห ประกอบดวย - การรายงานอบุ ัติเหตุ เม่ือมีอบุ ัตเหตเุ กิดขนึ้ ผูปฏบิ ัติงานจะตองรายงานการเกิดอุบตั ิเหตใุ หฝายบริหารทราบ ลาดับขั้น แลวเก็บสถติ ิไวเพื่อวิเคราะห - การวิเคราะห คือ การคนหาสาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุแลวหาทางแกไขและปองกันตอไปประโยชนของการปอง กันอุบตั ิเหตุอบุ ัตเิ หตุเม่ือเกดิ ขึ้นแลวยอมตองเกดิ ความเสียหายขึน้ ไมวาทางตรงหรือทางออมอาจเสยี หายทาง ดานทรัพยสิน รางกายและจิตใจ แลวแตชนดิ และอบุ ัติเหตุนัน้ ๆ การปองกันอุบัติเหตุจะตองเปนการปองกนั ทเี่ หตุ ควบคุมทตี่ นเหตุ เม่ือเราปองกันไมใหเกิดอบุ ตั ิเหตแุ ลว สามารถทาใหเกิดประโยชนมากมายหลายประการดวยกนั คือ 1. ประโยชนกับตวั เราเอง ไมทาใหรางกายพิการหรือเสียทรพั ยสิน สุขภาพจิตเสือ่ มและเสยี เวลาโดยใชเหตุ 2. ประโยชนแกบุคคลอ่นื ไมทาใหบคุ คลอื่นตองไดรับความเดอื ดรอน ซึง่ อาจเกดิ การเสยี หายเหมือนกับตวั เราก็ได ทั้ง ๆ ทสี่ าเหตุไมไดเกดิ จากตัวเขาแตเกดิ จากตวั เราตางหากเปนตัวกระทาขนึ้ 3. ประโยชนตอสังคม ตวั เราเปนสวนหนงึ่ ของสงั คม เรารับผิดชอบสงั คมและสังคมกร็ บั ผิดชอบตอตวั เรา การเกดิ อบุ ัติเหตแุ กตวั เรานนั้ ยอมเปนภาระแกสงั คม เชน การรกั ษาพยาบาล การเปลย่ี นแปลงอาชพี ใหม หรือการวางงาน รายรับไมพอกบั รายจาย เชน ขาหัก ไมสามารถประกอบอาชีพได นอกจากนก้ี ารเกิดอบุ ัตภิ ัยนน้ั ในบางครงั้ อาจทา ใหส่งิ สาธารณสมบตั ิเกิดเสยี หายขนึ้ ไดดังน้ันการปองกนั อบุ ัติภยั ก็สามาถทาใหเกิดประโยชนตอสงั คมไดกฎโรงงาน เกยี่ วกบั ความปลอดภัยในการฝกงานหรอื ทางานในโรงงาน จาเปนจะตองปฏบิ ัติตามกฎของโรงงานแตละโรงงาน ซ่ึงแตกตางไปตามลักษณะเฉพาะของงานอยางเครงครัด แตอยางไรก็ตามมีกฎโรงงานเบอ้ื งตนซ่งึ จาเปนตองปฏิบตั ิ สาหรบั โรงงานทว่ั ๆ ไปดงั น้ีกฎ –ระเบยี บ WORKSHOP 1. นกั ศกึ ษาทกุ คนตองเขาใจสญั ญาณ สญั ลักษณหรือคาสงั่ ตาง ๆ ของ WORKSHOP 2. นกั ศกึ ษาตองสวมเสื้อปฏิบัติงาน (SHOP) และติดกระดุมทุกเม็ด 3. นักศกึ ษาหญงิ ตองสวมกางเกงขายาว

4. นักศึกษาตองสวมรองเทาหนงั หุมสน อนุโลมรองเทาผาใบหุมสน 5. นกั ศกึ ษาทผี่ มยาวตองมัดผมใหเรยี บรอย 6. หามนักศึกษาทุกคน สวมใสนาฬิกาและเครื่องประดับทุกชนิดในขณะปฏบิ ัติงาน 7. ตองเขาแถวเช็คชอ่ื เวลาเขาและเวลาออก ทบ่ี ริเวณหนาหองปฏบิ ัติการ 8. ตองหยุดการปฏบิ ตั งิ านทั้งหมด เม่อื ถงึ เวลาพักและเม่ือหมดเวลาปฏบิ ัติงาน 9. ตองต้งั ใจปฏบิ ัตงิ านตามที่ไดรับมอบหมาย และทาตามท่ีถกู ตองเทานน้ั 10. ตองขออนุญาตอาจารยผูสอน กอนที่จะนางานนอกเหนอื จากที่ไดรบั มอบหมายมาทา ในหองปฏบิ ตั ิการ 11. ตองจดั เตรยี มและตรวจสอบ ความพรอมของเครื่องมือกอนปฏิบตั กิ าร 12. ตองแจงใหอาจารยผูสอนทราบ เมื่อเครอื่ งมือ , อปุ กรณหรือเคร่ืองจกั รกลชารดุ ขณะปฏบิ ัติงาน 13. ตองแจงใหอาจารยผูสอนทราบ เมอ่ื เกิดอบุ ตั ิเหตุทุกกรณี 14. ตองแจงใหอาจารยผูสอนทราบ เมือ่ เกิดอาการไมสบาย 15. ตองสวมเครื่องปองกันอันตรายทุกคร้ัง เมื่อปฏิบัติงานที่อาจกอใหเกิดอบุ ัตเิ หตุ 16. หามเลนหรอหยอกลอในขณะปฏิบัติงานโดยเด็ดขาด 17. หามเดินเคร่ืองจกั รกล กอนไดรบั อนุญาตจากอาจารยผูควบคุม 18. หามท้ิงเศษโลหะ , ํนา้ มันหรอื จาระบี ลงบนพื้น 19. หามนาเอาเครือ่ งมือหรืออุปกรณใด ๆ ออกจากหองปฏบิ ตั ิการโดยเด็ดขาด 20. ทุกครง้ั เมื่อเลิกปฏิบตั ิงาน ตองทาความสะอาดเครื่องมือ , อปุ กรณ , เครอ่ื งจักรกล รวมท้ังพื้นหองปฏิบัติการ ใหเรยี บรอย เครอ่ื งมือเคร่อื งใชที่เบิกยมื ออกมา ตองสงกลบั คืนท่ีเดิมพึงระลึกไวเสมอวา ช้ินสวนอวยั วะของรางกาย มนุษย ไมมีอะไหลสาหรบั เปลยี่ นเหมือนเครื่องจกั รกล จงึ ตองทนุถนอมไว เพื่อความปลอดภัยของตนเองและเพ่อื เพือ่ นรวมงานการบรหิ ารความปลอดภยั ในโรงฝกงานโรงฝกงานซง่ึ ไดรับคาชมจากผูปกครองนกั ศึกษาอาจมี ลกั ษณะสาคัญคอื สามารถทาใหนักศึกษามีความสบายพอใจในการทางานและใหความปลอดภยั 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเขา้ ส่บู ทเรียน - ครซู กั ถามนักเรียนอธบิ ายความสาคัญของปฏบิ ัตงิ านดวยความปลอดภัย กจิ กรรมนกั ศึกษา - นกั ศกึ ษาช่วยกันตอบคาถาม พร้อมทั้งชว่ ยอธบิ ายความสาคัญของการปฏิบตั ิงานดวยความปลอดภยั ข้นั การเรียนรู้ - ครอู ธบิ ายความสาคัญปฏบิ ตั งิ านดวยความปลอดภัย - ดูทักษะการอธิบายความสาคญั ของปฏบิ ัตงิ านดวยความปลอดภัย

ข้ันสรปุ - ครูสรุปบทเรยี น พรอ้ มมอบกิจกรรมทดสอบทา้ ยบทใหน้ กั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิ 7. ส่อื การเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. ตาราวชิ าความปลอดภัยในโรงแรม 3. ตวั อยา่ งความสาคัญของปฏิบตั งิ านดวยความปลอดภยั 4. แบบทดสอบ 8. หลักฐานการเรียนรู้ 8.1 หลักฐานความรู้ - ใบความรู้ - แบบทดสอบ 8.2 หลกั ฐานการปฏบิ ัตงิ าน - แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ - แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 9. วดั และประเมนิ ผล 9.1 การวัดผล - การตรวจผลงาน, ตรวจแบบทดสอบ - การสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ ประเมนิ ผลคุณธรรม จริยธรรมอันพงึ ประสงค์ 9.2 การประเมนิ ผล - นักศกึ ษาได้คะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไป ถือวา่ ผา่ นการประเมนิ 10. กิจกรรมเสนอแนะ / งานทม่ี อบหมาย (ถ้ามี) ให้นกั เรยี นอธิบายความสาคัญของปฏบิ ัติงานดวยความปลอดภัยตามสภาพจรงิ คนละ 1 แบบ 11. เอกสารอ้างอิง ตาราวชิ าความปลอดภยั ในโรงแรม 12. บนั ทึกหลงั การสอน

12.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ -นกั เรียนไดร้ ับความรู้ และความเขา้ ใจการอธิบายความสาคัญของความสาคัญของปฏิบตั ิงานดวย ความปลอดภยั และฝกึ นกั เรยี นมรี ะเบยี บวนิ ัย มเี หตผุ ลในการปฏบิ ตั ิงานดยี ิง่ ขึ้น 12.2 ปญั หาทพ่ี บ - เนอ้ื หาตอ้ งปรับให้เข้ากบั เหตุการปัจจุบัน 12.3 แนวทางแกป้ ัญหาหรอื พฒั นา - เลอื กเน้อื หาการเรียนการสอนให้เขา้ กับเหตุการณป์ จั จบุ ัน 12. บนั ทึกหลงั การสอน 12.1 ขอ้ สรุปหลังการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 12.2 ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 12.3 แนวทางการแก้ปญั หาหรอื พัฒนา ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………………………………..ผู้สอน นายธณภณ สภุ าโชตอิ งั คณา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook