Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

Published by wannipa.waen, 2018-05-10 23:42:58

Description: ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

Search

Read the Text Version

ภูมศิ าสตร์ของไทยการแบ่งเขตหรอื ภาคในทางภูมิศาสตร์ ทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจและสามารถศกึ ษาข้อเทจ็ จริงของแตล่ ะภมู ิภาคได้ชัดเจนยิ่งขึน้ และรู้จักสภาพแวดล้อมของแตล่ ะภาค รวมท้งั ปญั หาของแตล่ ะท้องถ่นิ เพื่อวางแผนและพฒั นาหรือแก้ไขปญั หาในภาคต่างๆน้ันได้อย่างรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ ความเป็นมาของการแบ่งภาคภูมศิ าสตร์ของไทย ประเทศไทยมีพื้นทป่ี ระมาณ 513,115.06 ตารางกิโลเมตร มขี นาดใหญเ่ ปน็ อันดับ 3ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้รองจากประเทศอนิ โดนีเชียและพม่า เดิมไดแ้ บ่งภูมิภาคของประเทศไทยออกเปน็ 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคใต้ แต่ปจั จุบนั ได้แบง่ ออกเปน็ 6ภาค ได้แก่ 1. ภาคเหนอื 2. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 3. ภาคตะวนั ตก 4. ภาคกลาง 5. ภาคตะวนั ออก 6. ภาคใต้ ลกั ษณะของประเทศไทย ประเทศไทยมคี วามยาววัดจากอาเภอแมส่ าย จังหวัดเชยี งรายถงึ อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา มคี วามยาวประมาณ 1,620 กิโลเมตร สว่ นทีก่ วา้ งท่ีสุดของประเทศวดั จากดา่ นเจดยี ส์ ามองค์ อาเภอสังขระ จงั หวัดกาญจนบุรีถึงตาบลชอ่ งเม็ก อาเภอพิบลุ มงั สาหาร จงั หวัดอบุ ลราชธานี มคี วามยาวประมาณ 750กิโลเมตรสว่ นท่แี คบสุดวดัจากตาบลคลองวาฬ อาเภอเมือง จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ มีความยาวประมาณ10.6 กิโลเมตร อาณาเขตของประเทศไทย ทิศเหนือ ตดิ ต่อกบั ประเทศพมา่ และลาว มที วิ เขาแดนลาวและแม่น้าโขงเป็นพรมแดนธรรมชาติ ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั ประเทศลาวและกัมพูชา มีทิวเขาหลวงพระบาง พนมดงรัก และทิวเขาบรรทัด และแม่น้าโขงเปน็ พรมแดนธรรมชาติ ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กับประเทศพม่า มีทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาตะนาวศรี แมน่ า้ สาละวิน แมน่ ้าเมย และแม่น้าปากจั่นเป็นพรมแดนธรรมชาติ ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั อา่ วไทยและประเทศมาเลเซยี มีแม่น้าโกลก และทิวเขาสนั กาลาครี เี ป็นพรมแดนธรรมชาติ ลักษณะภูมปิ ระเทศของประเทศไทย 1. เขตภูเขาและหบุ เขาภาคเหนอื ลักษณะภมู ิประเทศสว่ นใหญเ่ ป็นเทือกเขา แนวเทือกเขาทอดตวั ยาวในแนวเหนือ-ใต้ เทอื กเขาท่ีสาคัญได้แก่ เทอื กเขาแดนลาว เทือกเขาถนนธงชยั เทือกเขาผปี นั น้า เทือกเขาหลวงพระบาง และมีทรี่ าบหุบเขาลักษณะแคบ ๆ อยรู่ ะหว่างแนวเทือกเขาเป็นบรเิ วณท่ีมแี ม่น้าไหลผา่ นมีดนิ ตะกอนอุดมสมบรู ณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก 2. เขตทร่ี าบลมุ่ ภาคกลาง ลักษณะภูมปิ ระเทศส่วนใหญเ่ ป็นท่รี าบล่มุ แม่น้า แบง่ เป็น 2 ส่วน คอื ทรี่ าบตอนบนต้งั แตจ่ ังหวัดนครสวรรค์

ข้นึ ไป จะเปน็ ที่ราบลมุ่ แมน่ า้ และที่ราบลูกฟกู มีภเู ขประปราย -ทีร่ าบตอนล่างตงั้ แต่นครสวรรคล์ งมาถึงอา่ วไทยเปน็ทร่ี าบดินดอนสามเหล่ยี ม มีลักษณะดนิ เปน็ ตะกอนน้าพา 3. เขตเทือกเขาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ลักษณะภมู ิประเทศส่วนใหญเ่ ป็นทร่ี าบสงู รูปร่างคลา้ ยกระทะหงาย มีขอบทางดา้ นตะวันตกและดา้ นใต้ลาดลงทางดา้ นตะวนั ออก เทอื กเขาท่สี าคัญได้แก่ เทอื กเขาเพชรบรู ณ์ เทือกเขาดงพญาเยน็ เทือกเขาสันกาแพงเทือกเขาภพู าน บริเวณตอนกลางของภาคเป็นแอง่ เรียกวา่ แอ่งโคราช 4. เขตภูเขาและทีร่ าบภาคตะวนั ออก ลักษณะภมู ปิ ระเทศส่วนใหญเ่ ป็นที่ราบลูกฟูกสลบั กับภเู ขาและมที ีร่ าบชายฝั่งทะเล มแี มน่ า้ สายสน้ั ๆ 5. เขตเทือกเขาภาคตะวันตก ลกั ษณะภมู ิประเทศส่วนใหญเ่ ป็นภเู ขาและหุบเขาท่ีทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ มพี นื้ ทรี่ าบแคบ ๆเทอื กเขาทีส่ าคัญไดแ้ ก่ เทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาถนนธงชัยท่ีทอดตัวยาวตอ่ เน่อื งลงมา 6. เขตคาบสมทุ รภาคใต้ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ คาบสมุทรยื่นลงไปในทะเล ขนาบด้วยทะเลท้ัง 2 ด้าน มีภเู ขาทอดตวั แนวเหนอื -ใต้ มแี ม่นา้ สายสัน้ ๆและมีทร่ี าบชายฝัง่ ทะเลดา้ นตะวันออกกว้างกว่าทร่ี าบชายฝั่งทะเลด้านตะวันตก จังหวัดที่มีพรมแดนติดต่อกบั ประเทศเพ่ือนบ้าน1. พรมแดนไทย-ลาว ตดิ ตอ่ กับภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ได้แก่ จงั หวดั เชยี งราย น่าน อตุ รดิตถ์พิษณโุ ลก อานาจเจรญิ เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และอบุ ลราชธานี2. พรมแดนไทย-กมั พชู า ติดตอ่ กบั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื และภาคตะวันออก ไดแ้ ก่จงั หวดั บุรีรัมย์ สุรนิ ทร์ ศรีสะเกษ อบุ ลราชธานี สระแกว้ จันทบรุ ี ตราด3. พรมแดนไทย-พมา่ ตดิ ต่อกับภาคเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ ได้แก่จังหวดั เชยี งใหม่ แมฮ่ ่องสอน ตากกาญจนบรุ ี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชมุ พร และระนอง4. พรมแดนไทย-มาเลเซยี ติดตอ่ กบั ภาคใต้ ได้แก่จังหวัดสตลู สงขลา ยะลา นราธวิ าส

ภมู ิมิลักษณ์ของภูมิภาคทางภมู ิศาสตรข์ องประเทศไทย1. ภูมลิ กั ษณ์ภาคเหนอื รูปท่ี 1-2-2-1 แผนทีภ่ าคเหนือ ภูมิประเทศภาคเหนอื พจิ ารณาเปน็ เขตภูมิลกั ษณ์ ไดด้ งั นี้1.1 เขตเทอื กเขาและหุบเขาตะวนั ตก ไดแ้ ก่ พนื้ ทเ่ี ทือกเขาและหบุ เขาด้านตะวนั ตกของภูมิภาค ครอบคลุมบริเวณจังหวดั แม่ฮ่องสอนและบา่ งส่วนของจงั หวัดเชียงใหม่ ประกอบดว้ ยเทอื กเขาถนนธงชัย ซง่ึ แทรกสลบั ด้วยหุบเขาและแอง่ ที่ราบระหว่างภเู ขา ทสี่ าคญั ได้แก่ แอ่งแม่แจ่ม แอ่งปายแอง่ แม่ฮ่องสอน และแอ่งแม่สะเรียงเขตภมู ลิ กั ษณ์นี้มีโครงสรา้ งธรณีของหนิ แกรนิตเป็นหนิ ฐาน ซงึ่ ถูกปิดทบัดา้ นบนด้วยหินตะกอน และหนิ แปรตา่ งๆเชน่ หินทราย หนิ ปนู เน้ือตา่ งๆ หินกรวดมน หินดนิ ดาน หินเชริ ์ต นอกจากนี้ยงั มีหนิ แปรชนดิ หนิ ไนส์และหินชสี ต์ปิดประกบ แทรกสลับอยูเ่ ป็นตอนๆ ขณะท่ีตามหุบเขาและแอ่งทีร่ าบระหว่างภูเขาสะสมดว้ ยตะกอนน้าพายคุ วอเทอร์นารีทม่ี คี วามอุดมสมบรู ณ์สงู เหมาะสาหรับการทาเกษตรกรรมในแอ่งทรี่ าบ ดงั น้นั จึงพบแหล่งชุมชนขนาดใหญ่ในแอ่งทรี่ าบตา่ งๆ เช่น แอ่งแม่ฮ่องสอน แอ่งแมส่ ะเรยี ง เป็นต้น

ลักษณะสาคัญของภูมลิ ักษณ์เขตเทอื กเขาและหุบเขาตะวันตก คือ1) เป็นเขตเทอื กเขาสลับซับซอ้ นและมีระดบั สูงท่ีสดุ ของประเทศ ประกอบด้วยเทือกเขาถนนธงชัยตะวนั ออกเทอื กเขาถนนธงชยั กลาง และเทือกเขาถนนธงชัยตะวันตก2) เป็นเขตทีม่ ีพนุ า้ รอ้ นปรากฏอยมู่ าก ท่ีสาคญั เช่น พนุ ้ารอ้ นผาบ่อง พุนา้ รอ้ นโป่งสัก จังหวดั แม่ฮ่องสอนพุน้ารอ้ นฝาง พนุ า้ ร้อนเทพพนม จงั หวัดเชยี งใหม่เป็นต้น พุนา้ ร้อนดังกล่าวให้ประโยชนใ์ นการเปน็ แหลง่ พลงั งานผลิต กระแสไฟฟ้า และสามารถใชเ้ พื่อท่องเท่ียวได้ รูปท่ี 1-2-2-2 พนุ า้ ร้อน (อ.สนั กาแพง จ.เชยี งใหม่) 1.2 เขตเทือกเขา – สลับแอง่ ตอนกลาง ไดแ้ ก่พื้นทเี่ ทือกเขาและแอง่ ทีร่ าบระหวา่ งภูเขาตอนกลางของภมู ิภาคครอบคลมุ พื้นทบ่ี างสว่ นของจังหวัดเชียงราย พะเยา เชียงใหม่ ลาพูน และลาปาง เขตนป้ี ระกอบดว้ ยเทือกเขาทส่ี าคัญคือ เทือกเขาแดนลาวทางตอนเหนือ และเทอื กเขาผีปนั นา้เขตนี้มโี ครงสรา้ งธนณีท่ีซับซ้อน มหี นิ แกรนติ เป็นฐานแกน ปิดทบั ดว้ ยหนิ ตะกอนและหินแปรชนดิ ตา่ งๆ เช่น หนิทราย หนิ ดินดาน หินปูน หินฟิลไลต์ หินชีสต์ เปน็ ตน้ บางส่วนมีการแทรกซ้อนข้นึ มาของหินอคั นีภายนอก ชนิดหินบะซอลต์ หนิ ไรโอไลต์ และหินแอนดไี ซต์ เช่น ในเขตจงั หวดั ลาปาง มีปรากฏซากภูเขาไฟหนิ บะซอลต์อยู่หลายแหง่ เปน็ ตน้ เขตนย้ี งั มีหุบเขาแทรกสลบั อยู่ระหวา่ งสันเขาและมีแอ่งที่ราบระหว่างภูเขาซึ่งเป็นศนู ยร์ วมของสายน้าและตะกอนวตั ถุตน้ กาเนิดท่ผี ุพังจากหนิ และแร่ในภูเขา ซง่ึ ถูกพาเคลอื่ นยา้ ยมากับสายนา้ ทาใหด้ นิ ในแอง่ ท่รี าบมีความสมบรู ณ์ จงึ เป็นเขตเกษตรกรรมทสี่ มบูรณ์ โดยเฉพาะการปลกู ผลไมแ้ ละพืชผกั

1.3 เขตเทือกเขา – สลับแอง่ ตะวันออก ไดแ้ ก่ พืน้ ทเ่ี ทอื กเขา ทวิ เขา หบุ เขา และแอง่ ทีร่ าบระหวา่ งภเู ขาด้านตะวนั ออกครอบคลุมเนือ้ ทีท่ ั้งหมดของจงั หวดั แพร่ น่าน อุตรดติ ถ์ และเนื้อทบี่ างสว่ นของจงั หวดั พะเยาและเชยี งรายประกอบด้วยภูมิประเทศหลัก คือ เทือกเขาหลวงพระบางและแอ่งทีร่ าบระหวา่ งภเู ขา ลกั ษณะสาคญั ของภูมิลักษณ์เขตเทอื กเขาสลบั แอ่งตะวันออก คอื 1) เทือกเขาเขตนี้มลี ักษณะธรณีส่วนใหญ่เป็นหินตะกอน ไดแ้ ก่ เทือกเขาหลวงพระบาง ท่เี ป็น พรมแดนธรรมชาตริ ะหว่างไทย – ลาว 2) มภี มู ิประเทศทุรกันดารปรากฏอยู่ตามขอบแอ่ง ไม่เหมาะทาการเกษตร แต่อาจใชเ้ ปน็ ภูมิทศั น์เพื่อการท่องเทีย่ วได้ เช่น เสาดินนาน้อย จังหวดั นา่ น แพะเมืองผี จังหวัดแพร่ เป็นตน้1.4 เขตท่รี าบสลับทิวเขาลุ่มน้าโขง ไดแ้ ก่ พื้นท่รี าบสลับทิวเขาทางตอนเหนอื ของภมู ิภาค มแี มน่ า้สาย สาคญั คอื แมน่ ้าอิงและแม่นา้ กก โดยแม่น้าทัง้ สองรวมท้ังแควสาขาไหลจากทีส่ ูงตอนกลางไปลงท่ีราบลมุ่ แมน่ ้าโขงทางตะวันออก เขตน้มี ที ะเลน้าจืดขนาดใหญท่ สี่ ุดของภูมิภาคอย่ใู นเขตจังหวัดพะเยา คือ กว๊านพะเยา รูปที่ 1-2-2-3 เทือกเขาภูพาน (เขตติดตอ่ ระหว่าง จ.อุดรธานแี ละหนองบัวลาภ)ู ลกั ษณะสาคัญของภมู ลิ ักษณ์เขตท่ีราบสลบั ทวิ เขาลุม่ น้าโขง คอื1) เปน็ ท่ีราบระหว่างภูเขาผืนใหญท่ ีส่ ุดในภาคเหนือ ครอบคลมุ ที่ราบของจังหวัดพะเยาต่อเนื่องไปจนถึงทร่ี าบจงั หวดั เชียงราย เปน็ ปจั จัยทาให้เขตนม้ี ีเกษตรกรรมในท่ีราบอยูก่ วา้ งขวาง โดยเฉพาะพ้นื ท่ีทานาปลกู ข้าวจะมีมากทส่ี ุดในภาคเหนอื

2) อยใู่ นเขตพนื้ ที่ลุ่มนา้ ทไ่ี หลลงแมน่ า้ โขงทางตอนเหนือ พน้ื ท่ีลมุ่ แม่นา้เกือบทั้งหมดของภาคเหนอื จะวางตวั และมีทิศทางไหลของสายน้าในแนวเหนือ – ใต้ ตามการวางตวั ของระบบเทือกเขาและทวิ เขา โดยมีเทอื กเขาผปี ันนา้ ทาหน้าที่ตามธรรมชาติในการปันน้าให้ไหลลงใตส้ ่ทู ่ีราบภาคกลาง ได้แก่ แม่นา้ ปงิ แม่นา้ วัง แมน่ ้ายม และแมน่ า้ นา่ น กับแม่นา้ ที่ไหลข้ึนเหนือลงสูแ่ ม่นา้ โขง คือ แม่น้ากกและแม่น้าอิง 2. ภมู ิลกั ษณภ์ าคตะวนั ออกเฉียงเหนอื รปู ท่ี 1-2-2-4 แผนท่ีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2.1 เขตแนวภเู ขาขอบภูมิภาค เป็นเขตภเู ขาขอบทร่ี าบสูงโคราช ท้ังดา้ นตะวนั ตกและดา้ นใต้ โดยขอบด้านตะวันตก เป็นส่วนหน่ึงของเทอื กเขาเพชรบรู ณแ์ ละทิวเขาพังเหย ส่วนขอบด้านใตเ้ ปน็สว่ นหนึ่งของเทือกเขาสันกาแพงและเทือกเขาพนมดงรกั แนวภูเขาเขตน้ีทาหน้าท่ีเปน็ พรมแดนธรรมชาติ แยกทีร่ าบสูงโคราชออกจากทรี่ าบภาคกลางและที่ราบต่ากัมพูชา ภเู ขาส่วนใหญ่เป็นภเู ขารูปอโี ต้ ลกั ษณะสาคัญของภูมลิ กั ษณเ์ ขตแนวภูเขาขอบภูมภิ าค คอื 1) เป็นแหลง่ ต้นน้าสายสาคัญ เชน่ แม่นา้ ชี แมน่ า้ เหอื ง แมน่ ้าเลย น้าพอง น้าพรมลานา้ ชแี ม่นา้ มลู ห้วยลาปลายมาศห้วยทับทัน ลาโดมใหญ่ รวมทั้งแม่น้าโขง เปน็ ตน้ 2) เป็นพน้ื ทปี่ ่าไมท้ ส่ี าคัญ เน่ืองจากการมีภเู ขาระดับสงู มากทาใหก้ ารเดนิ ทางเข้าถึงยากการเขา้ ไปตัดไม้ของชาวบ้านจึงยากด้วย จึงทาให้มปี ่าไม้เหลืออย่มู ากในบริเวณภูเขา 3) เปน็ แหลง่ วตั ถุตน้ กาเนดิ ดนิ ใหก้ ับทีด่ อนและที่ราบ เมอื่ หินและแรใ่ นภูเขาผุพังตามธรรมชาตจิ ะถกู สายนา้ พาลงสู่ท่ีตา่ ตามแรงโน้มถ่วงโลก ทาให้ธาตอุ าหารมาสะสมอยู่ในที่ดอน ท่รี าบ และที่ลุม่พัฒนาเป็นแหลง่ เกษตรกรรมทส่ี าคัญ 4) เป็นแหลง่ อุทยานแห่งชาตแิ ละเขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ปา่ เชน่ อุทยานแหง่ ชาติภูเรอือุทยานแห่งชาติภูกระดึงเขตรักษาพันธุส์ ัตวป์ า่ ภหู ลวง เขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ ่าภูเขยี ว เปน็ ตน้

รูปที่ 1-2-2-5 แนวภูเขาโดดหินปนู (อ.หนองหิน จ.เลย) 2.2 เขตแนวภูเขาตอนกลางของภมู ภิ าค เขตแนวภูเขาตอนกลางของภูมภิ าค ได้แก่ เขตเทือกเขาภพู าน ทว่ี างตวั ในแนวตะวันออกเฉยี งใต้ –ตะวนั ตกเฉียงเหนือ ซึง่ อยเู่ กือบตรงกลางของภูมภิ าคค่อนขนึ้ มาทางเหนือ ทาหนา้ ทแ่ี บ่งแผน่ ดนิ อสี านออกเป็นแอ่งโคราชและแอง่ สกลนคร โดยแอ่งโคราชมีขนาดเนือ้ ทม่ี ากกวา่แอ่งสกลนคร ประมาณ 3 เท่าแตม่ คี วามสูงจากระดบั น้าทะเลปานกลางนอ้ ยกว่า นอกจากนี้ยังทาหนา้ ท่เี ป็นแนวปะทะเมฆฝนตามธรรมชาติจากพายดุ เี ปรสชนั ทาให้พ้นื ที่หน้าภูเขาในจงั หวัดบริเวณแม่นา้ โขงมปี ริมาณฝนมาก 2.3 เขตทีส่ งู เขาโดดท่สี ูงเขาโดด เป็นภมู ิประเทศที่ประกอบดว้ ยลักษณะภูมปิ ระเทศท่ีสงู กับ ลักษณะภูมิประเทศภูเขาโดดๆ จงึ หมายถึง ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศที่มรี ะดบั สูงมากกว่าบรเิ วณใกลเ้ คยี งและมภี เู ขาโดดแทรกสลบั อยดู่ ้วย 2.4 เขตโคกโนน โคกและโนน เป็นลักษณะภมู ิประเทศท่ีเป็นทด่ี อนเหมือนกนั และเปน็ลักษณะภูมปิ ระเทศที่ปรากฏอยู่อยา่ งกว้างขวางในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นอกจากนี้ถ้าพจิ ารณาจากชอื่ ของหมู่บา้ น ตาบล หรืออาเภอแล้วมักข้ึนต้นด้วยคาวา่ โคกหรือ โนน เช่น อาเภอโนนสูง อาเภอโคกศรีสุพรรณ อาเภอโนนไทย เป็นตน้ เรียกวา่ ภูมนิ าม (geographic name) ลักษณะสาคัญของภูมลิ กั ษณเ์ ขตโคกโนน คือ 1) เปน็ ที่ตง้ั ถน่ิ ฐานบ้านเรือน ชาวภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ส่วนใหญจ่ ะต้ังถ่ินฐานอยู่บนโคกหรือโนน สว่ นนอ้ ยจะอยู่ในทีร่ าบทล่ี ุม่ เนื่องจากปญั หาน้าทว่ มและหนีจากคราบเกลอื ทีถ่ ูกน้าชะละลายออกมาตามทร่ี าบและท่ลี มุ่ 2) เปน็ พนื้ ทเ่ี พาะปลูกพชื ไร่และไมย้ นื ต้น เชน่ มันสาปะหลงั อ้อย ขา้ วฟา่ งปอแก้ว เปน็ ต้น ซึง่ เปน็ พืชเศรษฐกจิ หลกั นอกเหนอื จากขา้ วเหนียวและข้าวเจา้

รปู ที่ 1-2-2-6 ผักสลดั 2.5 เขตท่รี าบ ทรี่ าบ เปน็ ลักษณะภมู ิประเทศทีม่ ีความแตกตา่ งระดับภายในพน้ื ท่นี ้อยมาก ท่ีราบในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือส่วนใหญม่ กั ถกู น้าท่วมขังในข่วงน้าหลาก และแห้งขอดในช่วงหน้าแลง้ โดยเฉพาะในทร่ี าบแอง่ โคราชทร่ี าบในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื สว่ นใหญ่จะใช้ปลูกขา้ ว ทั้งข้าวเจ้าและข้าวเหนียวและเปน็ พืน้ ทเ่ี ล้ยี งสัตว์ประเภทโคและกระบือ 3 ภมู ลิ ักษณภ์ าคกลางรูปที่ 1-2-2-7 แผนทีภ่ าคกลางภูมปิ ระเทศภาคกลาง พิจารณาเปน็ เขตภูมลิ ักษณ์ได้ดงั นี้

3.1 เขตภเู ขาดา้ นตะวันออก ครอบคลุมเทือกเขาเพชรบรู ณ์ตะวันตกทง้ั หมดและพ้ืนที่บางส่วนของเทือกเขาเพชรบรู ณต์ ะวนั ออกและเทือกเขาดงพญาเยน็ (เดมิ ) อยู่ในเขตจงั หวัดเพชรบูรณ์ พิษณโุ ลกลพบุรี และสระบุรีเขตเทือกเขาดงั กล่าวมีความสาคัญตรงที่เปน็ ทสี่ งู ตอนกลางของประเทศ ลกั ษณะสาคญั ของภูมลิ ักษณ์เขตภเู ขาดา้ นตะวนั ออก คือ 1) เป็นพนื้ ทส่ี นับสนุนปรมิ าณนา้ ของแม่น้าน่านและแม่นา้ ป่าสัก โดยแมน่ า้ท้ัง 2 สาย ถือเปน็ แหลง่ นา้ ตามธรรมชาติสาคัญทห่ี ลอ่ เล้ยี งท่รี าบภาคกลาง ถงึ แมว้ า่ แมน่ ้าน่านจะมตี ้นน้าอยู่ใน เขตจังหวดั น่านในภาคเหนือ และมีแม่นา้ ป่าสักมตี น้ น้าอย่ใู นเขตจังหวัดเลยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็ตาม แต่แม่นา้ทั้ง 2 กไ็ ด้รับปริมาณน้าส่วนหนง่ึ จากภูเขาสูงเขตนี้รูปที่ 1-2-2-8 ภูมปิ ระเทศที่ราบในเขตท่รี าบภาคกลางตอนบน (บริเวณทีร่ าบลุ่มน้าน่าน จ.พจิ ิตร) 2) เป็นแหล่งสนบั สนนุ ตะกอนวัตถตุ น้ กาเนิดดนิ ในที่ราบ ภเู ขาด้าน ตะวันออกประกอบ ดว้ ยหินหลากหลายชนิด ซึง่ เม่ือหินเหล่านี้ผุพงั จะเปน็ วตั ถุต้นกาเนดิ ดิน และถกู สายนา้ พามาสะสมในท่ีราบช่วยให้ดินมคี วามอุดมสมบรู ณ์ เหมาะสมแกก่ ารปลูกพืชเศรษฐกิจต่างๆ โดยเฉพาะข้าว 3) เปน็ แหลง่ ทมี่ สี ถานที่ท่องเทีย่ วทางธรรมชาตอิ ยู่มาก เช่น อุทยานแหง่ ชาตนิ า้ ตกชาตติ ระการ อุทยานแห่งชาติภูหนิ รอ่ งกล้า อุทยานแหง่ ชาติเขาใหญ่ เป็นต้น 4) เป็นแนวปะทะเมฆฝนตามธรรมชาติ ทาใหม้ ีฝนตกหนกั บรเิ วณด้านหน้าภเู ขาตง้ั แตเ่ ขตลาดเชงิ เขาจงั หวัดนครนายกไปจนตลอดจงั หวดั พิษณโุ ลก 5) เป็นแหล่งอตุ สาหกรรมซีเมนตแ์ ละโรงงานเซรามิกท่ีสาคญั เน่ืองจากเขตภูเขาตะวันออกมหี ินปูนท่ีเป็นวัตถุดบิ หลกั ในอุตสาหกรรมซเี มนต์อยมู่ าก โดยเฉพาะในเขตอาเภอมวกเหล็กและแก่งคอย จังหวัดสระบรุ ีและมีหนิ ไรโอไลตท์ ี่สลายตวั แล้วให้แร่ดนิ ขาว ซึง่ เปน็ วัตถุดบิ หลักในอตุ สาหกรรมเซรามิกอยู่มากโดยเฉพาะแถบ จงั หวดั สระบรุ แี ละนครนายก

รปู ที่ 1-2-2-9 ภูเขาที่มีหนิ ปูน 6) เป็นแหลง่ ปลูกมะขามหวานที่มชี ื่อเสียง โดยเฉพาะในเขตจังหวดัเพชรบูรณท์ ี่มหี นิ อัคนีชนิดหินไรโอไลตแ์ อนดีไซต์ และบะซอลต์ ทผ่ี พุ งั แล้วให้ธาตุอาหารหลักชนดิ โพแทสเซียมแก่ดนิ ซึง่ เปน็ ธาตุอาหารทช่ี ่วยใหผ้ ลไม้ตา่ งๆมีรสหวานมากขึ้น 3.2 เขตภูเขาด้านตะวันตก เขตภเู ขาด้านตะวันตก ครอบคลมุ พ้ืนท่บี างส่วนในเขตจังหวดักาแพงเพชร จงั หวัดนครสวรรค์ จังหวดั อทุ ยั ธานี และจังหวดั สพุ รรณบรุ ี เปน็ ส่วนหน่งึ ของเทือกเขาถนนธงชัยตอนล่าง เขตนเ้ี ปน็ พื้นท่ีตน้ น้าแควสาขาของแม่นา้ ปงิ แมน่ า้ เจา้ พระยา และแมน่ ้าทา่ จีน ท่สี าคญั เช่น คลองวงั ม้าหว้ ยขาแข้ง ห้วยทับเสลา แมน่ า้ สะแกกรงั เป็นตน้ เปน็ ท่ีพื้นปา่ ไมผ้ นื ใหญ่ของประเทศทต่ี ่อเนอื่ งกับภาคตะวันตก เชน่ เขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ห้วยขาแข้ง อทุ ยานแหง่ ชาติคลองลาน อุทยานแหง่ ชาตพิ เุ ตย เปน็ ต้น ลักษณะสาคญั ของภมู ิลักษณเ์ ขตภูเขาด้านตะวันตก คอื 1) เป็นแหล่งหินก่อสรา้ งสาคญั ไดแ้ ก่ หินแกรนิตที่จงั หวดั นครสวรรค์และอุทยั ธานี หินปูนใช้เปน็ หินประดบั ทจ่ี ังหวัดกาแพงเพชร และหินอ่อนท่จี ังหวดั กาแพงเพชร 2) เป็นพนื้ ทผ่ี ืนป่ามรดกโลก ได้แก่ เขตรกั ษาพันธส์ุ ตั วป์ า่ หว้ ยขาแข้ง –ทงุ่ ใหญ่นเรศวรเนื่องจากมลี ักษณะพิเศษคือ“เป็นแหล่งที่อยู่อาศยั ของชนดิ พันธุ์พชื และสตั ว์หายากและเป็นแหลง่ รวบรวมความหลากหลายทางชีวภาพท่ีสาคัญแหง่ หน่งึ ของโลก”(กรมศลิ ปากร.2543 : 44) 3) เปน็ แหล่งเพาะปลกู พืชไรท่ ่ีสาคัญ เช่น ออ้ ย มันสาปะหลงั ข้าวโพดทานตะวัน ข้าวฟ่าง สบั ปะรด เปน็ ต้น 3.3 เขตทีด่ อนเขาโดดตอนกลาง ไดแ้ ก่ ที่ดอนเขาโดดพยุหะคีรี – ตาคลี –นครสวรรค์ ทวี่ างตัวตัดผ่านตามขวาท่รี าบภาคกลาง ทาให้แบ่งทร่ี าบภาคกลางออกเป็น ท่ีราบภาคกลางตอนบน

กบั ที่ราบภาคกลางตอนล่าง โดยมลี กั ษณะเปน็ ภเู ขาเล็กๆ หรือกลุม่ ภูเขาเล็กๆ มีระดับความสงู ไม่มาก เน่ืองมาจากเปน็ ภูเขาของหนิ ในยุคเกา่ ประเภทหินแปรและหินอัคนภี ายนอกที่แทรกซอนขน้ึ มาบางคร้ังมหี นิ ทราย และหินปูน ท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ เขาวง เขาคอก ในเขตอาเภอหนองม่วงจงั หวดั ลพบุรี เขาอหิ ลัก เขาชายธง เขาชอนเด่ือเขาสนามชัยเขาตะแบง เขาแมเ่ หล็ก เขากะลา เขาโยง และเขาลูกชา้ ง ในเขตอาเภอเมือง จังหวดั นครสวรรค์ รปู ท่ี 1-2-2-10 การเพาะปลูกอ้อยการใช้ทด่ี นิ ในเขตทีด่ อนเขาโดดตอนกลาง ส่วนใหญ่เป็นพนื้ ทท่ี าไร่ เช่น ไร่ออ้ ย มันสาปะหลงั ไร่ข้าวฟ่าง เป็น ต้น 3.4 เขตทรี่ าบภาคกลางตอนบน ไดแ้ ก่ พน้ื ท่ีราบตั้งแตแ่ นวเขตทด่ี อนเขาโดดตอนกลางขึ้นไปท้ังหมดในเขตจังหวัดสโุ ขทยั พิษณุโลก กาแพงเพชร พิจิตร และนครสวรรค์ วางตวั ในแนวเหนอื – ใต้ ประกบขา้ งดว้ ยภูเขาสูงดา้ นตะวนั ออกและตะวันตก ทรี่ าบภาคกลางตอนบนเกิดจากอิทธิพลของแมน่ ้าปิง แม่น้ายม และแม่น้านา่ น รวมทงั้ แควสาขาของแม่นา้ ทง้ั 3 สายไดพ้ าตะกอนมาทบั ถม โดยด้านล่างเป็นตะกอนหินกงึ่ แขง็ ตวั ยุคเทอร์เชยีรี ซงึ่ มีการสารวจพบน้ามันดิบทล่ี านกระบือจังหวัดกาแพงเพชรส่วนดา้ นบนเปน็ ตะกอนน้าพา ยุคควอเทอร์นารีเขตนี้มีการทาไร่และทาสวนในเขตทร่ี าบเชงิ ดอน ขณะท่ีบริเวณทีร่ าบและท่ลี ุม่ มีการทานา ท้ังนาปรงั และนาปี ลกั ษณะสาคญั ของภูมลิ ักษณเ์ ขตท่รี าบภาคกลางตอนบน คอื1) เป็นที่ต้ังแหลง่ มรดกโลก เมอื งประวัตศิ าสตร์สุโขทัยและเมอื งบรวิ าร คือ อุทยานประวตั ศิ าสตร์ศรสี ชั นาลยัสโุ ขทัยและกาแพงเพชร ส่งิ ก่อสรา้ งสว่ นใหญ่ใชศ้ ิลาแดงเป็นวัสดหุ ลัก โดยหาไดจ้ ากท่ดี อนซ่งึ อยตู่ ามบริเวณชายขอบทร่ี าบภาคกลางตอนบน2) มีเนนิ ตะกอนรปู พดั ขนาดใหญ่ปรากฏอยู่ ครอบคลมุ พ้ืนทีแ่ ถบตะวันออกของกาแพงเพชร แนวแคบๆด้านตะวันตกของจังหวัดพษิ ณุโลกและพิจิตร เกิดจากการสะสมของตะกอน ทาให้ดเู ปน็ เนินในบรเิ วณทีท่ างนา้ หรือสายนา้ ตา่ งๆมีการเปล่ียนระดับจากหบุ เขาชนั สู่ท่รี าบจงึ ทาให้ความเรว็ และแรงของกระแสน้าลดลง จนไม่สามารถพาตะกอนบางสว่ นไปได้ ในที่สดุ จงึ ไดท้ ้งิ ตะกอนเหลา่ นน้ั ไวก้ ระจายออกคล้ายซี่ของพัด เรียกวา่ เนินตะกอนรูปพดั (alluvial fan)

3.5 เขตท่รี าบภาคกลางตอนลา่ ง เปน็ ท่รี าบต้งั แต่พ้นื ทบ่ี ริเวณตอนเหนือของอาเภอเมืองอุทยั ธานีลงมา จนถึงบรเิ วณชายฝงั่ ก้นอ่าวไทย1) มีพ้นื ที่ดนิ เปรยี้ วจัดเปน็ บริเวณกว้างขวาง จงึ ไม่เหมาะสมตอ่ การปลกู พชื เศรษฐกจิ2) เปน็ บริเวณท่เี คยเปน็ ทะเลเกา่ ไดแ้ ก่ พ้นื ท่ีบางสว่ นของเขตจงั หวัดสมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม สมุทรปราการกรงุ เทพมหานคร นครปฐม นนทบรุ ี ปทุมธานี นครนายก พระนครศรีอยธุ ยา และสุพรรณบรุ ี รวมท้งั จงั หวดัปราจนี บุรีและฉะเชิงเทราของภาคตะวันออก 3) เปน็ ที่ต้ังของแหล่งมรดกโลกทางวฒั นธรรม ได้แก่ อทุ ยานประวตั ิศาสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยาและเมืองบรวิ ารวสั ดุหลกั ทีใ่ ชใ้ นการก่อสรา้ งจะเปน็ อฐิ ที่ทามาจากดินเหนียว4. ภูมิลกั ษณ์ภาคตะวนั ออก รูปที่ 1-2-2-11 แผนท่ีภาคตะวันออก ภมู ปิ ระเทศภาคตะวนั ออก พิจารณาเป็นเขตภมู ลิ ักษณ์ได้ดังนี้4.1 เขตภูเขาสงู เขตภเู ขาสงู เชน่ เทอื กเขาบรรทดั เทือกเขาสันกาแพง เขาสอยดาว เขาใหญ่ เป็นตน้ลกั ษณะสาคญั ของภูมิลักษณ์เขตภเู ขาสูง คือ 1) เป็นแนวปะทะเมฆฝนตามธรรมชาติ พิจารณาได้ 2 บรเิ วณกวา้ งๆ คือ บรเิ วณดา้ นหน้าทิวเขาสอยดาว และดา้ นหน้าเทือกเขาบรรทัดในเขตจงั หวดั จนั ทบุรีและตราด โดยเฉพาะทีอ่ าเภอคลองใหญ่ มปี ริมาณฝน สูงมากเขตนี้จงึ มีพชื พรรณธรรมชาตสิ ว่ นใหญ่เปน็ ป่าดบิ ชื้นและป่าดบิ เขา สว่ นอีกบริเวณอยู่ในเขตรบั ลม เทอื กเขาสนั กาแพง ตอนเหนือของจังหวัดปราจีนบรุ ีและสระแกว้ โดยทัง้ สองเขตไดร้ ับอิทธิพลจากลม มรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้และลมใตเ้ หมือนกัน 2) เป็นพื้นทีป่ า่ ไมท้ ส่ี าคญั เนื่องจากพนื้ ทีภ่ ูเขาสงู จะได้รับความชน้ื จากเมฆที่ลอยมาปะทะ ทาให้ตน้ ไมไ้ ดร้ ับ ความชน้ื จงึ มปี ่าไม้ประเภทตา่ งๆ ขนึ้ ปกคลุมอยู่มาก

3) เปน็ แหลง่ สนับสนนุ ตะกอนทรายชว่ ยสร้างสรรคห์ าดทรายที่สวยงาม โดยเฉพาะชายหาดแถบจงั หวัดชลบรุ ี และระยอง จะไดร้ บั ตะกอนทรายทผ่ี ุพังจากหนิ แกรนิต หินไนส์และหนิ ควอร์ตไซตจ์ ากภูเขาสูงตอนกลางภมู ภิ าค 4) เปน็ พน้ื ท่ตี ้นนา้ ของสายน้าในภาคตะวนั ออก เช่นแมน่ า้ ปราจีนบุรี แมน่ ้าจันทบรุ ี แมมน่ า้ เวฬุ แม่นา้ ประแส เปน็ ตน้ 5) เป็นแหลง่ สนับสนุนธาตอุ าหารใหด้ นิ ในทรี่ าบ เม่ือหนิ และแรธ่ าตุผุพงัโดยกระบวนการตามธรรมชาติจะถูกน้าพัดพามาสะสมในที่ราบและที่ลุ่ม จึงทาใหด้ นิ มีความอดุ มสมบรู ณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจตา่ งๆ 6) เปน็ พื้นทอี่ นุรกั ษร์ ปู แบบตา่ งๆ เช่น อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ อุทยานแหง่ ชาตทิ บั ลาน เขตรักษาพันธุ์สัตวป์ ่า เขาเขียว เขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ เขาสอยดาว เป็นต้น 4.2 เขตท่สี ูง ที่ดอนและโคกโนนรปู ที่ 1-2-2-12 โคกโนนและท่ีดอนลักษณะสาคญั ของภูมลิ ักษณ์เขตท่ีสูง ทด่ี อนและโคกโนน คือ 1) เปน็ พื้นท่ไี รช่ นดิ ตา่ งๆ เนอื่ งจากเป็นภูมิประเทศที่ดอน ดนิ จึงมีความชน้ื นอ้ ย 2) เป็นพ้นื ท่ีเลี้ยงโคและกระบือ โดนเฉพาะบรเิ วณจังหวดั ฉะเชิงเทราและสระแกว้ 4.3 เขตท่ีราบ ท่ีราบจะเป็นพนื้ ทรี่ บั น้าทถ่ี ูกระบายมาจากภูเขาสูง ทต่ี อนสูง รวมทั้งรับตะกอนวตั ถตุ ้นกาเนิดดนิ ท่ีถูกพดั พาเคลอื่ นยา้ ยจากทส่ี ูง ทาใหด้ ินในเขตทรี่ าบมีความอดุ มสมบรู ณ์ เหมาะสาหรับใชเ้ ปน็แหลง่ เกษตรกรรม และตง้ั ถิน่ ฐานบา้ นเรือน เช่น ทร่ี าบฉนวนไทย ทีร่ าบลมุ่ นา้ – บางปะกง เป็นต้น

4.4 เขตชายฝ่งั ภาคตะวนั ออกมพี ้นื ที่ติดต่อกับทะเลบริเวณอา่ วไทยอยู่ทางด้านตะวันตกและดา้ นใตภ้ มู ภิ าค ภมู ิประเทศชายฝ่ังของภาคตะวนั ออกมีท้งั ชายฝั่งลาดชนั ราบเรียบและราบลุ่ม รวมทัง้ หาดทรายหาดโคลน หาดเลน และหาดหนิ ลักษณะสาคัญของภมู ลิ ักษณ์เขตชายฝ่ัง คือ 1) เป็นเขตทอ่ งเที่ยวทางทะเลทสี่ าคญั เช่น อา่ วบางแสน อา่ วพทั ยา แหลมแมพ่ ิมพ์ อา่ วค้งุวิมาน อ่าวคุง้ กระเบน เปน็ ต้น2) เป็นเขตทชี่ ่วยสนับสนุนเศรษฐกจิ ภาคอุตสาหกรรม ได้แก่ ชายฝง่ั บริเวณทา่ เรอื แหลมฉบัง อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และชายฝงั่ บริเวณทา่ เรือมาบตาพดุ อาเภอเมอื ง จงั หวัดระยอง 4.5 เขตเกาะ คือ สภาพภมู ปิ ระเทศชายฝ่งั ทะเลที่มเี กาะหลายเกาะมารวมตัวกนั รปู ท่ี 1-2-2-13 เกาะชา้ ง(อ.เกาะช้าง จ.ตราด) ลกั ษณะสาคัญของภูมิลักษณ์เขตเกาะ คือ1) เปน็ แหล่งท่องเที่ยวทสี่ าคญั เชน่ เกาะสีชัง เกาะล้าน เกาะไผ่ เกาะคราม เกาะเสม็ด เกาะมันใน เกาะมันกลางเกาะมันนอก เกาะช้าง เกาะกูด เกาะหมาก เกาะรัง เกาะขาม เป็นตน้2) เปน็ แหลง่ แวะจอดพกั และหลบคล่ืนลมของเรือ เกาะที่ตงั้ อย่รู ะหวา่ งแผ่นดินใหญ่และทะเลลกึ มีส่วนชว่ ยกาบงั ลม ทพี่ ัดเขา้ สู่ฝั่ง บางคร้งั เรือขนาดเล็กและขนาดกลาง เช่น เรือประมง เรือขนถ่ายสนิ ค้า เป็นตน้ สามารถใชเ้ ปน็ ท่ี กาบงั ลมพายใุ นทะเลท่ีพดั ผา่ นได้ โดยเฉพาะบรเิ วณเกาะสีชงั5. ภมู ลิ กั ษณ์ภาคตะวนั ตก

รปู ท่ี 1-2-2-14 แผนทีภ่ าคตะวันตก ภูมปิ ระเทศภาคตะวันตก พจิ ารณาเปน็ เขตภูมิลกั ษณไ์ ดด้ งั น้ี 5.1 เขตเทือกเขาถนนธงชัยตอนล่าง ได้แก่ แนวเทอื กเขาถนนธงชยั กลาง ทต่ี ่อเนื่องจาก อาเภอออมก๋อยจังหวัดเชียงใหม่ต่อเน่ืองเขา้ มาในเขตจงั หวดั ตากด้านอาเภอทา่ สองยาง แม่ระมาด และสามเงาทือกเขาถนนธงชยั ตอนลา่ งจะตอ่ เนือ่ งจากจงั หวัดตากไปจนถงึ จังหวดั กาญจนบรุ ตี อนบนสิน้ สดุ ทีแ่ นวแมน่ า้ แควนอ้ ย ลกั ษณะสาคญั ของภูมลิ ักษณเ์ ขตเทอื กเขาถนนธงชัยตอนล่าง คอื 1) เป็นแหล่งสนับสนนุ สายนา้ ให้ที่ราบภาคกลาง เช่นแม่น้าปงิ หว้ ยขนุ แมท่ ้อ แมน่ ้าวงั ม้า แมน่ า้ สะแกกรัง เปน็ ตน้ 2) เป็นแหล่งหนิ ตัดประเภทหินแกรนิตท่สี าคัญ ได้แก่ พื้นท่ีจงั หวดัตากเขตอาเภอเมอื งตากและบา้ นตากเนื่องจากบริเวณนี้ มีหนิ แกรนติ สีสนั และเน้ือตา่ งๆอยูม่ าก เอ้ือต่อการทาเหมืองหนิ เพ่อื ใช้เปน็ วัสดใุ นงานก่อสรา้ ง

รูปที่ 1-2-2-15 แรธ่ าตใุ นไทย 3) การวางตัวของเทือกเขาทาใหด้ า้ นหลังเทือกเขาแหง้แล้ง ไดแ้ ก่ พื้นที่บรเิ วณอาเภอสามเงา บ้านตากเมืองตากและอาเภอวังเจ้า จังหวดั ตาก รวมทง้ั บรเิ วณเขตติดตอ่กลั ป์ภาคกลาง เปน็ บรเิ วณทีม่ ีปริมาณฝนเฉลี่ยรายปนี ้อยมากทสี่ ดุ เขตหน่งึ ของประเทศเน่ืองจากเป็นเขตเงาฝนของเทอื กเขาสูงจากลมมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้ 5.2 เขตเทือกเขาตะนาวศรี แนวเทอื กเขาตะนาวศรีเป็นแนวท่ีพาดผา่ นตามแนวชายแดนขนานกบั แม่น้าแควนอ้ ยต้งั แต่ดา่ นเจดยี ์สามองค์ อาเภอสังขละบุรี ผา่ นเขตทองผาภูมิ ไทรโยค แลว้ ผ่านลงทางใต้ทางด้านตะวันตกของจังหวดั ราชบรุ ี เพชรบุรี และประจวบคีรขี นั ธ์ แนวเทอื กเขาตะนาวศรเี ร่ิมต้นจากตอนใตแ้ นวรอยเล่ือนเจดียส์ ามองค์ ลกั ษณะเด่นคอื เปน็ เทอื กเขาที่มหี ินแกรนิตเป็นหินฐาน 5.3 เขตทด่ี อนเขาโดด ได้แก่ พื้นท่ดี ้านตะวันออกของเขตเทือกเขา ทง้ั เทือกเขาถนนธงชัยและเทอื กเขาตะนาวศรีซึง่ เป็นพน้ื ที่ท่ีมีความสงู นอ้ ยกวา่ ตะนาวศรีและเทอื กเขาถนนธงชยั จงึ เปน็ ทส่ี ะสมตะกอนที่เคลอื่ นตัวมาจากภูเขาโดยลานา้ พัดพามาทาให้เกิดเปน็ ภมู ิประเทศลาดเชิงเขาประเภทเนินตะกอนรปู พดัสว่ นใหญ่เป็นพน้ื ทท่ี าไร่ เช่น อ้อย มันสาปะหลัง สบั ปะรด ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ รวมถงึ สวนขนนุ มะมว่ ง เป็นตน้ 5.4 เขตท่ีราบและทีร่ าบลมุ่ พน้ื ที่ราบและพน้ื ทรี่ าบลุ่มเปน็ ที่สะสมตะกอนน้าพาของแม่นา้และแควสาขาทาให้เป็นพ้นื ที่ท่มี คี วามอดุ มสมบรู ณ์แห่งหน่ึงของประเทศไทย ที่สาคัญไดแ้ ก่ เขตที่ราบลมุ่ แม่นา้แมก่ ลองและเขตท่ีราบลุ่มแม่น้าเพชรบรุ ี 5.5 เขตชายฝง่ั เพชรบุรี-ประจวบคีรขี ันธ์ เปน็ ท่รี าบท่ีประกอบไปดว้ ยแนวสนั ทรายชายฝง่ั สลบั กบั ทีล่ มุ่ ระหวา่ งสันทรายทร่ี าบดงั กลา่ วอยใู่ นเขตชายฝ่ังอาเภอบา้ นแหลม ชะอา หวั หนิ ปราณบุรี สามร้อยยอด กุยบรุ ี เมืองประจวบครี ีขนั ธท์ บั สะแก บางสะพาน และบางสะพานนอ้ ย 6 ภูมลิ กั ษณภ์ าคใต้

รปู ท่ี 1-2-2-16 แผนท่ีภาคใต้ 6.1 เขตแนวเทือกเขาสูง ไดแ้ ก่ เทอื กเขาภูเก็ต เทือกเขานครศรีธรรมราช และเทือกเขาสนั กาลาครี ี ลักษณะสาคญั ของภมู ิลักษณเ์ ขตแนวเทอื กเขาสูง คือ 1) เทือกเขาสูงเปน็ แนวปะทะเมฆฝน ทั้ง 3 เทือกเขามรี ะดบั สงูมากจงึ ทาให้เปน็ แนวปะทะเมฆฝนตามธรรมชาติ เชน่ ท่ีตาบลคึกคัก อาเภอตะกว่ั ป่า จังหวัดพงั งา เปน็ เขตรบัลมของเทือกเขาภูเก็ต จากลมมรสุมตะวันตดเฉียงใต้ ทาให้มฝี นตกชุกและตกหนัก รปู ท่ี 1-2-2-17 เทอื กเขานครศรีธรรมราช (อ.นาโยง จ.ตรงั ) 2) เทอื กเขาสูงเป็นแหลง่ แรด่ บี ุกและวุลแฟรม ท้งั 3 เทอื กเขาเปน็แหล่งสนิ แร่โลหะทีส่ าคัญ คือ ดีบุกและวุลแฟรม เนือ่ งจากมีหินแกรนิตเปน็ หินฐาน 3) เทอื กเขาสูงเปน็ พนื้ ท่ตี ้นนา้ ของภาคใต้ เน่ืองจากการเป็นแนวปะทะของเมฆฝนตามธรรมชาติ และปกคลมุ ด้วยป่าไม้ จงึ ทาใหเ้ ปน็ แหลง่ กาเนิดและสนับสนุนสายน้าใหแ้ ก่ลาธาร คลอง หว้ ย และแมน่ ้าสายต่างๆของภาคใต้ 4) เทอื กเขาสูงเปน็ พ้นื ทีป่ ่าไม้ โดยเฉพาะป่าดิบชนื้ ทเี่ ปน็ พืชพรรณธรรมชาตสิ ว่ นใหญข่ องภาคใต้ จะถูกปกคลุมอยตู่ ามสนั เขา ไหลเ่ ขา เชงิ เขา หรือหุบเขาของทง้ั 3 เทือกเขา 6.2 เขตบรเิ วณพ้นื ทสี่ ูงตอนกลาง บริเวณพืน้ ทีส่ ูงตอนกลาง คอื บรเิ วณท่สี ูงทเี่ ป็นภเู ขาโดด ภเู ขาเต้ยี ลาดเชงิ เขา และท่ีดอนต่อเน่ืองกนั เป็นพืน้ ที่สูงในตอนกลางของคาบสมุทรภาคใต้ หรืออย่รู ะหว่าง

เทอื กเขาภเู ก็ตกับเทือกเขานครศรีธรรมราชเปน็ พ้นื ท่ปี ลูกยางพารา เนอ่ื งจากการเปน็ ภมู ปิ ระเทศทส่ี ูงและอยู่ในเขตร้อนชื้น จงึ ทาให้ปลูกยางพาราได้ดี นอกจากนยี้ ังมีพชื เศรษฐกจิ ประเภทปาลม์ นา้ มนั และผลไม้ชนดิ ตา่ งๆ 6.3 เขตภาคใต้ชายฝ่งั ทะเลตะวันออก คอื ชายฝ่งั ทะเลด้านอ่าวไทย ครอบคลมุ พน้ื ที่ชายฝง่ั ทะเลตงั้ แต่บรเิ วณอาเภอประทวิ จงั หวดั ชุมพร ไปจนตลอดปาน้าโก – ลก อาเภอตากใบ จงั หวัดนราธิวาส ลักษณะสาคัญของภูมลิ ักษณเ์ ขตภาคใต้ชายฝ่งั ทะเลตะวนั ออก คือ 1) เปน็ ชายฝง่ั ทะเลท่ีมีทรี่ าบชายฝั่งกวา้ งกว่าชายฝั่งทะเลตะวนั ตก เป็นทีต่ ้ังของชุมชนเมืองขนาดใหญ่ ไดแ้ ก่ จังหวัดชมุ พร สุราษฎรธ์ านี นครศรธี รรมราช พทั ลงุ สงขลา ปัตตานี 2) มีลกั ษณะภมู ิประเภทยอ่ ยสนั ดอนจะงอยทรายปรากฏอยู่ ไดแ้ ก่แหลมตะลุมพกุ จังหวดั นครศรีธรรมราช และแหลมโพธ์ิ จงั หวัดปัตตานีรปู ที่ 1-2-2-19 อ่าวประจวบ (อ.เมือง จ.ประจวบครี ีขันธ)์ 3) มที ะเลสาบนา้ เค็มและน้ากร่อยขนาดใหญ่ที่สุดของ ประเทศ ไดแ้ ก่ ทะเลสาบสงขลา ทะเลหลวง และทะเลนอ้ ยครอบคลุมพ้ืนท่ีบางสว่ นของจังหวัดสงขลาและพทั ลงุ 6.4 เขตภาคใตช้ ายฝงั่ ทะเลตะวนั ตก คือชายฝ่ังทะเลด้านอันดามัน ครอบคลุมพนื้ ทีต่ ั้งแต่จังหวดั ระนองไปจนตลอดจังหวัดสตูล ลกั ษณะสาคญั ของภูมิลักษณเ์ ขตภาคใตช้ ายฝ่งั ทะเลตก คือ 1) เป็นชายฝง่ั ที่มแี หล่งท่องเที่ยวทางทะเลอยู่มากและมีชื่อเสียง เชน่ หาดปา่ ตอง หมู่เกาะสรุ นิ ทร์ หมเู่ กาะสิมิลนั เขาตะปู เขาพิงกนั เกาะพีพี เปน็ ต้น 2) เปน็ ชายฝ่ังทม่ี ีทีร่ าบชายฝ่ังทะเลแคบ โดยเฉพาะชายฝ่งัแถบจังหวัดระนองและพงั งา จะเป็นชายฝัง่ ลาดชนั เน่ืองจากสว่ นใหญท่ ่ไี หลเขาติดกบั ชายทะเล 3) เป็นชายฝ่งั ท่มี ีป่าชายเลนขึน้ อยู่มาก โดยเฉพาะตามปากน้าปากคลองสบกับทะเล จะนาเอาตะกอนโคลนเลนหรือทรายแปง้ มาสะสม จงึ มปี ่าชายเลนข้นึ อยู่มาก

ลักษณะภมู ิอากาศประเทศไทยมภี ูมิอากาศแตกตา่ งกนั เล็กน้อย จัดเปน็ ภูมิอากาศแบบร้อนช้ืน (Tropical rainy climates) ซึ่งแบ่งออกเปน็ 3 ชนดิรูปที่ 1-2-3-1 แสดงฤดูการตา่ งๆ 1. อากาศแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูหรืออากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน (Savannaclimate) ได้แก่ บริเวณต้ังแต่อาเภอหวั หิน จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์ เปน็ พื้นที่ที่มฝี นตกเฉพาะในฤดฝู น และแลง้ ในฤดูหนาวและฤดรู ้อน ดงั นั้นลักษณะพชื พรรณธรรมชาตสิ ่วนใหญ่จงึ เป็นท่งุ หญ้าและป่าโปร่ง ประเภทปา่ ผลดั ใบ เชน่ทุ่งหญา้ และป่าแดงหรือปา่ เต็งรงั ในภาตะวันออกเฉยี งเหนือและบรเิ วณท่รี าบภาคกลาง ซึ่งปจั จบุ ันถกู ดัดแปลงเป็นทน่ี า แลเป็นท่ตี งั้ บ้านเรือนเกือบหมดแลว้รปู ท่ี 1-2-3-2 อากาศแบบฝนเมอื งร้อนเฉพาะฤดูหรอื อากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองรอ้ น 2. อากาศแบบฝนเมอื งรอ้ นตลอดปหี รอื อากาศแบบปา่ ดบิ (Tropical rainyforest) ไดแ้ ก่ บริเวณชายฝั่งตะวนั ออกของคาบสมุทรภาคใต้ ต้ังแต่จังหวัดชมุ พรลงไป จะมฝี นตกหนักตลอดปีประมาณ 2,000 – 2,500 มิลลิเมตรต่อปี ลักษณะพืชพรรณจงึ เป็นปา่ ไม้เขียวชอุ่มทัง้ ปี จึงเรยี กว่าป่าดบิ

3. อากาศแบบฝนเมืองรอ้ นเกือบตลอดปหี รืออากาศแบบมรสุมเมอื งร้อน (Tropicalmonsoon- climates) ได้แก่ บริเวณทางตะวันตกของคาบสมทุ รภาคใต้ และทางตะวนั ออกเฉียงใตข้ องอ่าวไทยจะไดร้ ับฝนมากจากลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใตท้ ี่พดั ผ่าน และมชี ่วงที่ฝนน้อยอยู่ 1 เดือนหรอื 2 เดอื น ฉะน้นั จึงไม่จดั เปน็ ฝนตกตลอดปี ลกั ษณะพืชพรรณเปน็ ป่าดบิ เชน่ เดียวกับฝง่ั ตะวันออกรูปท่ี 1-2-3-3 อากาศแบบฝนเมืองร้อนเกือบตลอดปีหรอื อากาศแบบมรสุมเมืองร้อนภูมิอากาศประเทศไทยไดร้ ับอิทธพิ ลหรือมีปัจจยั สาคัญจากระบบลมมรสุม กล่าวคอื ลมมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือ พัดจากแผน่ ดนิ บริเวณตอนกลางของทวปี เอเชยี ระหว่างปลายเดอื นตุลาคม ถงึ เดือนกุมภาพนั ธ์ สภาพอากาศโดยทว่ั ไปจะมีอุณภมู ิตา่ และแห้งแลง้ ทอ้ งฟ้ามเี มฆนอ้ ย และพชื พรรณบางชนิดมีการทิง้ ใบ จดั เป็นฤดหู นาวรูปท่ี 1-2-3-4 แสดงการจาลองการเขา้ ของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ พดั จากมหาสมุทรเข้าส่แู ผน่ ดินระหว่างปลายเดอื นพฤษภาคมถึงตน้ เดือนตุลาคม โดยนาอากาศร้อนและความช้นื เข้ามา จึงทาให้มีฝนตกกระจายทัว่ ไป ซึ่งจะตกหนักและตกชกุ บรเิ วณชายฝั่ง

และด้านรบั ลม ของเทือกเขาจดั เปน็ ฤดูฝนรปู ที่ 1-2-3-4 แสดงการจาลองการเขา้ ของลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ ช่วงการเปลี่ยนผ่านฤดูกาลระหว่างปลายเดือนกุมภาพนั ธ์ถึงต้นเดือนพฤษภาคม เปน็ ชว่ งที่ประเทศไทยไดร้ บั พลังงานความรอ้ นจากดวงอาทติ ยส์ งู สดุ เน่อื งจากไดร้ ับแสงตั้งฉากจากดวงอาทิตย์ สภาพอากาศโดยทวั่ ไปจงึ ร้อนอบอ้าวและแหง้ แลง้ จดั เปน็ ฤดูรอ้ น 1. ทรพั ยากรดิน ดินเกิดจากการผุพังของหินที่อยูบ่ นผวิ โลก ด้วยการกระทาของอากาศ นา้ ตน้ ไม้ สตั ว์ตลอดจนมนษุ ย์ ดนิ เม่ือเกิดข้ึนแล้ว จะไม่อยู่กับที่ โดยเฉพาะดินในบรเิ วณลาดเขาหรือที่สูง จะถกู พัดพาไปสู่ทีต่ า่ เชน่ พาไปไว้ตามหบุ เขา หรือตามปากแมน่ า้ เป็นตน้ ดนิ ในประเทศไทยสว่ นมากเป็นดนิ ที่ถูกพดั พามาจากทส่ี งู เชน่ จากเทือกเขาผีปันน้า เป็นต้นดินพวกนเ้ี รียกวา่ ดนิ ตะกอน ดังน้ันตามหุบเขาทางภาคเหนือ เช่นลุ่มแม่น้าปิง จังหวัดเชยี งใหม่ ตามเชิงเขาแถบลุม่ นา้ ยม จะมีดินตะกอน

ตกตามปากลาธาร ทาใหเ้ กดิ ดนิ รูปสามเหลี่ยมคล้ายพัด ถา้ เป็นทรี่ าบปากแมน่ า้ เชน้ แมน่ ้าเจ้าพระยา จะเรียกว่า ดินดอนสามเหลย่ี ม เปน็ ต้น กลมุ่ ดินในประเทศไทย ประเทศไทยแบ่งชนิดดนิ ออกเป็น 3 ชนิด 1) ดินในทลี่ มุ่ หมายถึง พืน้ ทซี่ งึ่ มีระดับราบและมีการระบายน้าไม่ดี เชน่ ทรี่ าบดินตะกอนพบมากในเขตทรี่ าบภาคกลาง รวมทง้ั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และทร่ี าบชายฝัง่ ภาคใต้ฝั่งตะวันออก เป็นดนิ ทม่ี ีความอดุ มสมบูรณเ์ หมาะสาหรบั การปลกู ข้าวและปลกู พืชโดยการยกร่องรปู ที่ 1-2-4-1 การทาการเกษตรทางภาคพื้นดนิ 2) ดนิ ท่ีอยูต่ ามที่ราบแบนและที่เนินเขา คอื ดิน ท่ีอยูต่ ามปากแม่น้าลาธารเกา่ ๆ บรเิ วณชานภเู ขา ตามขา้ งภูเขา และตามเชิงเขา พบมากในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื และที่ราบชายฝง่ั ภาคใต้ เปน็ ดนิ ทีม่ ธี าตุอาหารประเภทด่างน้อย เหมาะสาหรบั เพาะปลูกพืชไร่ เช่น มนั สาปะหลงั อ้อย ขา้ วโพด เป็นตน้ 3) ดินในบรเิ วณภูเขา เปน็ ดินทอี่ ยู่ตามภเู ขาภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือถา้ พ้ืนท่ีไมส้ ูงชันมาก ชาวไรห่ รอื ชาวเขาเผ่าตา่ งๆ จะถางเพื่อทาไร่ ปลูกขา้ ว ขา้ วโพดและผกั ตา่ งๆ นอกนั้นปลอ่ ยท้งิ ไวเ้ ปน็ พื้นทปี่ ่าไม้ เพอ่ื รกั ษาตน้ น้าและผลผลติ ไมท้ างเศรษฐกจิ 2. ทรพั ยากรน้า แหล่งน้า แหลง่ หรือทม่ี าของนา้ มี 3 แหลง่ ดงั น้ี 1) หยาดน้าฟา้ (Precipitation) ได้แก่ นา้ ค้าง หิมะ ลูกเหบ็ หมอก ทีก่ ลนั่ ตวัหรือละลายกลายเปน็ หยดน้า และน้าจากน้าฝน

ประเทศไทยอย่ใู นเขตมรสุม ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดจากมหาสมทุ รเขา้ สแู่ ผน่ ดินระหว่างปลายเดอื นพฤษภาคมถงึ ต้นเดือนตุลาคม (ฤดฝู น) ทาให้มฝี นตกกระจายทวั่ ไป ปรมิ าณฝนของประเทศไทยโดยรวมมคี า่ ประมาณ 1,600 มลิ ลิเมตรตอ่ ปี โดยบริเวณภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคกลางตอนบน และภาคตะวันออก มีปริมาณฝนน้อยฝนช่วงฤดหู นาวและมีฝนมากในช่วงฤดฝู น ขณะที่คาบสมุทรภาคใตฝ้ ่งั ตะวนั ออกจะมีปรมิ าณฝนมากในช่วงฤดหู นาว สว่ นภาคใตฝ้ ง่ั ตะวนั ตกจะมีฝนมากในช่วงฤดูฝน2) นา้ บนผิวดิน หรือนา้ ผวิ พื้น หรือท่านา้ (Surface water) คือ น้าทไี่ หลหรือมีอยตู่ ามพ้นื ผวิ ดิน เช่น แม่นา้ ลาคลองตามธรรมชาติ รวมถึงน้าท่ีอาจจะขังอยู่ตามหว้ ย หนอง คลอง บึง ทะเล และลุม่ น้า หรือทะเลสาบทม่ี นุษย์สร้างขนึ้ในประเทศไทยมแี หลง่ นา้ ผวิ ดินประเภทหว้ ยใหญ่ๆ ทเ่ี กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เช่น บงึ -บอระเพ็ด หนองหาน กวา๊ นพะเยา นอกจากนัน้ ยงั มีแหล่งน้าท่มี นษุ ยส์ รา้ งข้ึน คือ อา่ งเก็บน้า เพื่อเกบ็ น้าไว้ใช้ประโยชน์ในดา้ นต่างๆ เชน่ การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ รวมถึงเก็บไวใ้ ช้ในหน้าแลง้ เปน็ ตน้3) น้าใต้ดินหรอื นา้ บาดาล (Ground water) นา้ ใต้ดนิ ได้แก่ นา้ ฝน น้าที่ละลายจากหมิ ะและก้อนน้าแข็ง หรือนา้ บนดนิ เชน่ นา้ ในลาธาร แม่นา้ อ่างเก็บนา้ ทซี่ ึมลงไปในดนิ และช่องว่างระหว่างหิน นา้ ในดนิ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทนา้ ในดิน หมายถงึ น้าทซ่ี ึมซับอยู่ในดินเน่ืองจากดนิ อุ้มน้าจนอ่ิมตวัน้าในชน้ั ดนิ หรอื นา้ บาดาล หมายถึง น้าใต้ดนิ ทซ่ี ึมลึกลงไปในพน้ื ดนิ ไปรวมอยู่ ในชน้ั ของหิน 3. ทรัพยากรแร่ แรเ่ ป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ใี ช้แลว้ หมดไป มีความสาคัญและมีบทบาทต่อกจิ กรรมทางเศรษฐกจิภาคอุตสาหกรรมของมนษุ ย์เชน่ เหล็ก ทองแดง ทองคา ตะกว่ั สงั กะสี เปน็ ตน้ แร่ บางออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) แรโ่ ลหะ คือแรท่ ม่ี ีคณุ สมบัติทางกายภาพ เชน่ หลงั จากผ่านกระบวนการแปรรูปแลว้ จะมนี ้าหนักมาก ขัดแล้วเปน็ เงา สามารถตีแผน่ หรือรีดออกเป็นเส้นได้ และหลอมละลายเมื่อถกู ความร้อนสงู เปน็ ต้นแร่โลหะทีส่ าคัญ ได้แก่ แร่ดีบุก เหลก็ แมงกานสี ทงั สเตนและวลุ แฟรม ตะกั่วและสงั กะสี ทองคา เงนิ และทองแดง2) แร่อโลหะ คอื แร่ทม่ี ีคณุ สมบตั ิทางกายภาพตรงกันข้ามกับแร่โลหะ และสามารถนาไปใชไ้ ดเ้ ลยโดยไมต่ ้องนามาถลุงหรือแยกแรก่ ่อน จาแนกออกเปน็

รปู ที่ 1-2-4-2 แร่ธาตตุ ่างภายในประเทศ ร่อโลหะทีใ่ ช้ในการก่อสรา้ ง ไดแ้ ก่ หนิ กรวด ทราย ปนู ขาว ปูนซเี มนต์ ยปิ ซมั และใยหินเป็นกลมุ่ แรท่ ่ีสามารถผลติ ได้ทว่ั ไปแร่อโลหะเคมี ไดแ้ ก่ กามะถนั เกลอื แคลไซต์ เปน็ แรท่ ีน่ ามาใช้เป็นวตั ถดุ ิบในอุตสาหกรรมเคมตี ่างๆ เชน่ ยาฆา่แมลง บาปราบศตั รูพชื การผลิตยารกั ษาโรคตา่ งๆ เป็นต้นแรอ่ โลหะทาปุ๋ย ไดแ้ ก่ ไนเตรตแรอ่ โลหะเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา ได้แก่ แรด่ นิ เหนียว ประกอบด้วยเกาลิไนต์ อลิ ไลต์และมอนต์ –มอรลิ โลไนต์ เปน็ แร่ท่ีนามาใชผ้ ลติ เครื่องปน้ั ดินเผา เครือ่ งสขุ ภณั ฑ์ และส่วนประกอบในการก่อสรา้ งแร่อโลหะใช้ขัดถู ได้แก่ หนิ ทราย ทบั ทิม และเพชร เป็นแรท่ ี่นามาใช้ตัด ขัดถูและตกแต่งเครื่องมอื เครื่องใชต้ ่างๆแร่อโลหะทป่ี ้องกนั ความรอ้ น ได้แก่ ยิปซัม ใยหิน แมกนเี ซียม และไมกา เป็นแร่ทนี่ ามาใชเ้ ปน็ ฉนวน เพอ่ื ป้องกันความรอ้ นในเคร่อื งใช้ ในอาคารบ้านเรอื น และเส้ือผ้าทใี่ ช้ผจญเพลงิแรอ่ โลหะทาสี ไดแ้ ก่ แร่ดนิ เหนียว ดนิ เหลอื ง ไดอะโทไมต์ และแบไรต์ เป็นแร่ทีน่ ามาใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ สาคัญในการผลิตสี 3) แร่เช้อื เพลงิ เปน็ แรท่ ี่นามาใชผ้ ลิตพลงั งานทัง้ ความร้อนและแสงสว่าง มคี วามสาคัญกับภาคอุตสาหกรรมมากทสี่ าคัญไดแ้ ก่ ถ่านหนิ นา้ มนัปโิ ตรเลยี ม และแกส๊ ธรรมชาติ

4. ทรัพยากรปา่ ไม้ ป่าไม้เป็นแหลง่ กาเนิดของต้นน้าลาธาร โดยปา่ ไม้ในแตล่ ะบริเวณจะแตกตา่ งกัน ขนึ้ อยู่กับลกั ษณะภมู ิอากาศภูมิประเทศ น้า และดนิ รปู ท่ี 1-2-4-3 แผนทแี่ สดงแหลง่ แร่ธาตุภายในประเทศไทย ป่าไมใ้ นประเทศไทย จาแนกเปน็ 3 ประเภท คอื 1) ปา่ ไมไ้ มผ่ ลดั ใบ (Evergreen Forest) เป็นปา่ ไม้ทีต่ น้ ไมม้ ใี บเขียวชอุม่ ตลอดทั้งปี ป่าดิบหรอื ป่าดบิ ชนื้ พบบริเวณท่ีมีความช่มุ ช้นื สงู มปี รมิ าณนา้ ฝนสูงกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี สูงกว่าระดับนา้ ทะเล ต้งั แต่ 500 เมตรข้นึ ไป เปน็ ป่าไมท้ ่ีพบในทกุ ภูมิภาคของประเทศไทย แต่พบมากในภาคใตแ้ ละภาค ตะวนั ออก ป่าดบิ เขา พบบริเวณที่มีปริมาณนา้ ฝนประมาณ 1,500 – 2,000 มิลลเิ มตรต่อปี สงู กวา่ระดับนา้ ทะเล 1,000 เมตร ขึ้นไป เป็นปา่ ไม้ท่ีพบมากทางภาคเหนือ สว่ นใหญใ่ นภูมิภาคอื่นๆ เชน่ ภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื เปน็ ต้น ป่าสนเขาหรือป่าสน พบบรเิ วณที่มีปรมิ าณนา้ ฝนประมาณ 1,000 – 1,500 มลิ ลิเมตรต่อปี สงู กวา่ ระดับน้าทะเล 600 – 1,200 เมตร เปน็ ปา่ ไม้ทพ่ี บบริเวณเขาสงู เช่น ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เปน็ ตน้

ปา่ โกงกาง พบบรเิ วณชายฝ่งั ทะเล เช่น จังหวัดสมทุ รปราการ สมทุ รสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ชลบุรี ระยอง จนั ทบุรี ตราด และพลเปน็ แหง่ ๆ ทางชายฝั่งทะเลต้งั แตจ่ งั หวัดประจวบครี ีขันธ์ถงึ นราธวิ าส เป็นตน้ 2) ปา่ ไม้ผลัดใบ (Deciduous Forest) เป็นปา่ ไม้ทีต่ ้นไมม้ ีการท้ิงใบในช่วงหนา้ แล้ง และ จะผลิใบเมื่อถงึ ฤดฝู นป่าแพะ ป่าแดง ป่าโคก หรือป่าเต็งรัง เป็นป่าไมท้ ่ีพบในทุกภมู ภิ าคของประเทศไทย ยกเวน้ ภาคใต้ โดยเฉพาะใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบมากถึง ร้อยละ 70 – 80 ของพ้นื ที่ป่าไม้ 3) ปา่ ผลดั ใบผสมหรือปา่ เบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest)เปน็ ป่าตน้ ไมม้ กี าร ผลดั ใบหรือทง้ิ ใบทั้งหมดไปพร้อมกนั ในคราวเดียวกันทั้งผืนปา่ พบมากในภาคกลาง ภาคเหนอื และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวนั ตก 5. ทรพั ยากรสัตว์ป่า สัตว์ป่า หมายถึง สัตวท์ ่มี กี ระดูกสันหลังท่ีอาศัยป่าเปน็ ถ่ินกาเนดิ และถ่ินอาศัย ได้แก่ สัตว์ครง่ึ บกคร่ึงน้า สัตว์เลื้อยคลาน นก และสตั วเ์ ลย้ี งลูกด้วยนม พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสตั ว์ป่า พ.ศ. 2503 ได้ให้คานิยามวา่ สตั ว์ ป่า หมายถึง สัตว์ทกุ ชนิดท่ีอาศยั อย่ใู นป่า ยกเว้นสตั ว์จาพวกแมลงหรอื สัตวท์ ี่ไม่มกี ระดกู สนั หลัง สัตว์ป่าในประเทศไทย จาแนกตามพระราชบัญญัติสงวนและคมุ้ ครองสตั ว์ป่า พ.ศ. 2503 แบ่ง ออกเป็น 3 กลมุ่1) สตั ว์ป่าสงวน หมายถึง สัตวป์ ่าหายาก มี 15 ชนดิ ไดแ้ ก่ แรด กระซู่ กปู รีหรือโคไพร ควายปา่ ละ องหรอื ละมงั่ เลียงผา กวางผา นกเจา้ ฟ้าสิรนิ ธร นกแต้วแร้วทอ้ งดา นกกระเรียง แมวลายหนิ อ่อน สมเสรจ็ เกง้ หม้อ และพะยูนหรือหมนู า้ เป็นสตั ว์ทหี่ ้ามลา่ โดยเด็ดขาด

รูปท่ี 1-2-4-4 สัตว์สงวนในไทย 2) สัตวป์ า่ คมุ้ ครอง แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท สัตว์ปา่ คุ้มครองประเภทท่ี 1 หมายถึง สตั วป์ ่าท่ปี กตคิ นจะไม่ใชเ้ นอื้ เป็นอาหารหรอื ไม่ล่าเพื่อการกีฬาเป็นสัตวป์ ่าที่ทาลายศตั รูพชื หรือขจัดส่ิงปฏิกูล หรือสงวนไว้เพ่ือประดับความงามตามธรรมชาติ หรือไม่ให้จานวนลดลง มที ัง้ สิ้น 166 ชนดิ เชน่ ช้าง ชะมด กระรอก ลงิ เสอื ปลา หมาไม้ เป็นตน้ และนกชนดิ ต่างๆอกี 130 ชนดิ เช่น นกกวกั นกเงือก นกเขาไฟ เป็นต้น สตั วป์ า่ คมุ้ ครองประเภทท่ี 2 หมายถงึ สตั วป์ า่ ที่คนนยิ มใช้เนื้อมาปรุงอาหารหรอื ล่าเพือ่ การกีฬา มีทัง้ สนิ 29 ชนิด เชน่ กระทิง กวาง กระจง เสอื โคร่ง หมคี วาย เป็นต้น และนกอ่นื ๆอีก 19 ชนิด เชน่ นกกระสา นกแขวกนกอโี กง้ ไกป่ า่ เป็นตน้ 3) สัตว์ป่าทีไ่ ม่สงวนและคุม้ ครอง หมายถึง สตั ว์ป่าทีส่ ามารถทาการล่าได้ตลอดเวลาแต่ต้องไมล่ า่ ในเขตหวงหา้ ม เชน่ อุทยานแหง่ ชาติ เขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั วป์ ่า และเขตหา้ มลา่ สตั ว์ เป็นตน้ สัตว์ปา่ ที่ไม่สงวนและคุ้มครอง เชน่ หนู ค้างคาว ตะกวด แย้ งเู ห่า นกกระจาบหมูปา่ เป็นต้นจากสภาพภูมศิ าสตร์และทรัพยากรธรรมชาติท่ีมคี วามหลากหลายในแตล่ ะภูมภิ าคประเทศไทยจึงเป็นแหล่งที่มพี ืชทีม่ ีความอดุ มสมบรู ณส์ ูง สง่ ผลตอ่ การประกอบอาชพี ต่างๆ ดงั นี้

1. อาชพี การเกษตร ประเทศไทยมพี น้ื ที่ท่ีมดี ินและน้าอดุ มสมบูรณ์ จงึ เหมาะแก่การเพาะปลูก ทั้งการทานา ทาสวนและทาไร่ ประกอบกับมีการจดั ระบบชลประทานที่ดโี ดยเฉพาะในภาคตะวนั ตกและภาคเหนอื ซ่ึงมลี ักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสงูเปน็ แหล่งตน้ น้าลาธารทส่ี าคัญ จึงเปน็ แหล่งที่ เหมาะแก่การสร้างเข่อื นขนาดใหญ่เพอื่ กกั เก็บนา้ ไว้เพ่ือการเกษตรและการบรโิ ภค ทาให้มกี ารขยายพื้นท่ีการเกษตรออกไปอย่างกวา้ งขวาง สามารถปลูกพืช หมุนเวยี นได้ตลอดทัง้ ปี เป็นการเพมิ่ ผลผลติ ซง่ึ เป็นอาหารทใี่ ชบ้ ริโภคภายในประเทศ และเปน็ สินคา้ สง่ ออกสร้างอาชีพสร้างรายได้ สง่ ผลให้เกิดความมน่ั คงแก่เศรษฐกจิ ของประเทศรปู ท่ี1-2-5-1 การปลกู ผักในน้าโดยไม่ใช้ดนิ นอกจากการเพาะปลกู แล้ว ยังมีกรเลี้ยงสัตว์ เช่น เป็ด ไก่ วัว ควาย เป็นตน้ ควบคู่ไปกบั การเพาะปลกู โดยบางพน้ื ที่มีการพฒั นาในรปู แบบของฟารม์ ปศุสัตว์ เชน่ ฟาร์มโคนม นอกจากนี้ ยังมีการทาประมงน้าจดื ประมงนา้ กร่อยประมงทะเล และการเพาะเลีย้ งสตั ว์น้าชายฝงั่ 2. อาชีพอุตสาหกรรม ประกอบดว้ ยอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดยอ่ ม และอุตสาหกรรมในครัวเรือน และนาไปสกู่ ารพฒั นาระบบเศรษฐกิจของประเทศ ลกั ษณะธรณวี ิทยาของประเทศทาใหม้ ีหินอคั นี หนิ ตะกอน และหินแปรประเภทตา่ งๆเกดิขน้ึ อย่ทู ่ัวภูมภิ าค เปน็ แหลง่ กาเนิดของทรัพยากรแรห่ ลายชนดิ เชน่ ดบี กุ ทงั สเตน วลุ แฟรม สังกะสี ทองแดง แร่พลอย เป็นตน้ ประกอบกับการนาเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั เข้ามาใช้ ทาให้การคน้ หาและการทาเหมืองแร้มคี วามสะดวกมากขึน้ แร่ถูกนามาใช้ประโยชนส์ าหรบั การเป็นวตั ถดุ บิ ของอุตสาหกรรมอย่างกว้างขว้าง ส่งผลให้เกดิโรงงานถลงุ และการผลิตขนาดใหญต่ ามพ้นื ทต่ี า่ งๆตามมา เช่นโรงงานผลิตสังกะสแี ละเฟลดส์ ปาร์ โรงงานผลติปนู ซเี มนต์ เปน็ ตน้ นอกจากนีย้ ังมแี ร่เช้อื เพลิงท่ีสาคัญ คอื นา้ มนั ปโิ ตรเลยี มถ่านหิน และแกส๊ ธรรมชาติ ซง่ึนามาใช้ เป็นเชื้อเพลงิ ในการผลิตไฟฟ้าและอุตสาหกรรมเคมี แหลง่ สาคัญได้แก่พ้ืนที่ ภาคตะวนั ออก การต้ังนิคมอสุ าหกรรมและทา่ เรือน้าลึกเพื่อพัฒนาพ้นื ทชี่ ายฝ่ังให้เป็นแหลง่ อุตสาหกรรมเพ่อื ทดแทนการนาเขา้ และเพื่อการส่งออก

ความสมบูรณ์ของปา่ ไม้และพืชพรรณธรรมชาติชนิดตา่ งๆก่อใหเ้ กดิ อุตสาหกรรมในครัวเรือน และหัตถกรรม โดยใช้เคร่ืองจกั รง่ายๆไมซ่ ับซ้อน เช่น การทอผ้า การทาเคร่ืองปันดนิ เผา การแกะสลัก การจักรสาน การทาเครื่องเงนิ ประดบั มุก เปน็ ตน้ สินคา้ เหลา่ น้สี ่วนใหญผ่ ลิตเพือ่ ใช้ภายในท้องถิน่ และขายให้กบันักท่องเทยี่ ว ปจั จุบันไดร้ บั การสนบั สนนุ จากรัฐบาลให้เป็นสนิ คา้ หนงึ่ ตาบลหนง่ึ ผลติ ภัณฑแ์ ละพฒั นารูปแบบให้สวยงาม เพื่อการส่งออกขายยังต่างประเทศ ลักษณะภูมิประเทศที่สวยงามและการมีเอกลักษณท์ างวฒั นธรรม ทาใหเ้ กดิ อุตสาหกรรมท่องเทยี่ ว ซ่ึงเป็นอุตสาหกรรมบริการ ทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ โดยอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกีย่ วข้อง เช่น โรงแรม การขนส่ง บริษทั ทัวร์ รา้ นคา้ อุตสาหกรรมการก่อสรา้ ง เป็นตน้ 3. อาชพี การคา้ และบริการ ประกอบด้วย การคา้ ภายในประเทศและการคา้ ระหวา่ งประเทศ เปน็ ธรุ กิจการซ้ือขาย แลกเปล่ยี นสนิ ค้า ท่ีไดจ้ ากผลผลติ ทางการเกษตร และอตุ สาหกรรมต่างๆโดยปัจจัยทางสภาพภูมิศาสตร์ทาให้เกดิ ความแตกต่างกัน ทั้งในดา้ นชนิด ปรมิ าณ และคุณภาพ ซึ่งสง่ ผลต่อการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของประเทศ ลักษณะท่ีเป็นคาบสมุทรของประเทศ ทาใหเ้ ปน็ จดุ ศูนยก์ ลางในการติดต่อกับประเทศตา่ งๆ เกิดการแลกเปล่ียน สนิ คา้ และวฒั นธรรม ซึ่งพัฒนาไปสอู่ าชีพค้าขายอยา่ งแพร่หลาย การค้าภายในประเทศ มีการขยายตวั เพ่ิมข้ึนอยา่ งรวดเรว็ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชากร ส่วนใหญเ่ ป็นสินคา้ ทม่ี ีความจาเปน็ ต่อการดาเนินชีวิต ไดแ้ ก่ สินคา้ ประเภทอปุ โภคบรโิ ภคท่ีได้จากการเกษตร อตุ สาหกรรมในครัวเรือน และอุตสาหกรรมขนาดย่อม แตป่ จั จุบันคา่ นยิ มทางวตั ถุทาให้สินค้าประเภทฟุม่ เฟือยและการบรกิ ารในรูปแบบต่างๆ มบี ทบาทมากขึ้นในสังคมรูปที่ 1-2-5-2 สถานทีท่ ่องเที่ยวทางภาคเหนอื ยามหนา้ หนาว

การค้าระหวา่ งประเทศ ทาใหเ้ ห็นการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจได้อย่างชัดเจน มกี ารขยายตวั และพัฒนา หลากหลาย รปู แบบ ทงั้ ด้านเทคโนโลยี การสอื่ สาร การคมนาคม ลกั ษณะของชุมชนประกอบด้วย ประชากรและเชื้อชาติ การต้ังถ่ินฐาน บ้านเรือน 1. ประชากรและเชื้อชาติ ประเทศไทยประกอบดว้ ย ประชากรท่ีมีเช้ือชาติไทยประมาณร้อยละ 90 ส่วนท่ีเหลือร้อยละ 10 เป็นคนเช้ือชาติอื่นๆ เช่น จีน ลาว ญวน เขมร และชนกลุ่มนอ้ ยท่ีกระจายอยใู่ นภูมิภาคต่างๆซ่ึงมีการนาเอาความเช่ือ ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยม และเทคโนโลยใี นการประกอบอาชีพติดตวั มาดว้ ย จึงทาใหม้ ีการผสมผสานทางวฒั นธรรม ซ่ึงมีอิทธิพลต่อลกั ษณะทางสงั คม วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศ รูปที่ 1-2-6 แบบจาลองโลกในยคุ ปัจจุบัน2. การต้ังถิน่ ฐานบ้านเรือน ส่วนใหญ่จะต้งั บา้ นเรือนอยใู่ กลช้ ิดกนั เป็นแบบรวมกลุ่มกนั แบบกระจุก โดยอาศยั ปัจจยั ทางสภาพภูมิศาสตร์เป็นตวั กาหนดสาคญั โดยเฉพาะบริเวณที่ราบซ่ึงมีดินดี แหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ เส้นทางคมนาคมสะดวก การส่ือสารโทรคมนาคมชดั เจน ปัจจยั

ดงั กล่าวส่งเสริมใหพ้ ้ืนที่เหล่าน้ีพฒั นาสู่ความเป็นเมือง เป็นศูนยก์ ลางของแหล่งอุตสาหกรรมการศกึ ษา การคา้ การเมือง และการปกครอง ในประเทศไทย ประชากรส่วนใหญ่ต้งั ถิ่นฐานกนั อยอู่ ยา่ งหนาแน่นบริเวณที่ราบลุ่มน้าเจา้ พระยาตอนล่างในภาคกลาง ท่ีราบลุ่มน้าปิ ง วงั ยม น่านในภาคเหนือ ที่ราบลุ่มน้าโขง ชี มูล ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ท่ีราบชายฝั่งตะวนั ออกเฉียงใต้ ในภาคตะวนั ออก และที่ราบชายฝั่งตะวนั ออกในคาบสมุทรภาคใต้ปัจจุบนั วฒั นธรรมจากประเทศต่างๆจึงหลง่ั ไหลเขา้ สู่ประเทศ เป็นท่ีรวมของประชาชนหลายเช้ือชาติ ศาสนา ประเทศไทยจึงมีการพฒั นา และมีความหลากหลายทางดา้ นวฒั นธรรม 1. วฒั นธรรมทางวตั ถุหรือรูปธรรม ที่สาคญั ไดแ้ ก่ อาหาร ท่ีอยอู่ าศยั การแต่งกาย และการรักษาพยาบาล 1.1 อาหาร การบริโภคและปรุงอาหารมีความแตกต่างกนั ไปตามกลุ่มเช้ือชาติ ศาสนา เช่น คนไทยนิยมบริโภคและปรุงอาหารท่ีมีหลายรส วตั ถุดิบในการประกอบอาหารมีท้งั สมุนไพร พชื และสตั ว์ คนไทยเช้ือสายจีนนิยมบริโภคอาหารท่ีมีโปรตีนจากเน้ือสัตว์สูง เช่น หมู เป็ด ไก่ มีรสจืด มนั และตอ้ งปรุงจากอาหารสด คนไทยมุสลิมนิยมบริโภคนมแพะ ไม่บริโภคเน้ือหมู เป็นตน้

รูปที่ 1-2-7-1 อาหารการกนิ ในยคุ ปัจจุบนั ส่วนอาหารทพี่ เิ ศษเฉพาะกล่มุ ชน หรืออาหารพืน้ เมืองของแต่ละเชื้อชาติ ศาสนา พบได้ตามงานพธิ สี าคญั ต่างๆ เช่น งานบวช งานแต่ง เทศกาล เป็ นต้น 1.2 ทอ่ี ยู่อาศัย แต่เดิมมีลกั ษณะที่สอดคลอ้ งกบั สภาพภูมิอากาศ เป็นบา้ นช้นั เดียวมีใตถ้ ุนสูงเพอื่ ใหพ้ น้ จากน้าท่วม สัตวร์ ้ายมีพิษเป็นท่ีพกั ผอ่ น ทางานฝี มือในยามวา่ ง เกบ็ อุปกรณ์เครื่องใช้ และก้นั คอเล้ียงสตั ว์ วสั ดุที่ใชส้ ร้างส่วนใหญ่ เป็นไมท้ ี่มีอยใู่ นทอ้ งถ่ินเมื่อไดร้ ับอิทธิพลจากต่างชาติและการผสมผสานวฒั นธรรมจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ประกอบกบั การพฒั นาเทคโนโลยใี นการก่อสร้างและวสั ดุก่อสร้าง ทาใหร้ ูปแบบของบา้ นและลกั ษณะที่อยอู่ าศยั มีการเปล่ียนแปลง เช่น บา้ นแบบจีนนิยมสร้างเป็นช้นั คร่ึงหรือสองช้นั มีพ้นื ที่สูงไวส้ ่วนหน่ึงเรียกวา่ “เล่าเตง” ส่วนชาวไทยมุสลิมนิยมสร้างบา้ นตามแบบตะวนั ออกกลางมีหลงั คาทรงป้ันหยาเป็นส่วนประกอบของบา้ น 1.3 การแต่งกาย มีความคลายคลึงกนั ท้งั ประเทศ แต่มีรายละเอียดต่างๆ เช่น ชนิดของผา้ ลกั ษณะการตดั เยบ็ การประดบั ตกแต่งแตกต่างกนั เนื่องจากสภาพภูมิอากาศส่วนใหญ่ อยู่ในเขตร้อน เส้ือผา้ การแต่งกายจึงเป็นแบบง่ายๆ สวมเส้ือผา้ หลวมๆ ต่อมาไดร้ ับอิทธิพลจากชาวตะวนั ตก อินเดีย และจีน วฒั นธรรมการแต่งกายจึงเปล่ียนไป ฝ่ ายชายมีการสวมเส้ือใส่กางเกง ฝ่ ายหญิงมีการสวมเส้ือผา้ หลากสีสนั ลวดลาย ใส่กระโปรงและกางเกงมากข้ึนส่วนชุดไทยหรือชุดประจากลุ่มชนต่างๆ นามาใส่ในเทศกาลงานประเพณีสาคญั

รูปท่ี 1-2-7-2 การแต่งกายของผู้หญิง รูปที่ 1-2-7-3 การแต่งกายของผู้ชาย 1.4 การรักษาพยาบาล ปัจจุบนั ไดจ้ ดั ต้งั โรงพยาบาลและสถานีอนั นามยั พร้อมท้งั จดั หาแพทยแ์ ละพยาบาลแผนปัจจุบนั ใหบ้ ริการ

ดา้ นการ รักษาพยาบาลมากข้ึน แต่ประชาชนบาส่วนกย็ งั คงนิยมรักษาโดยหมอพ้ืนบา้ นดว้ ยวธิ ีการบาบดั รักษาดว้ ยสมุนไพรต่างๆควบคู่ไปกบั พิธีกรรมเพ่ือสร้างขวญั และกาลงั ใจแก่ผปู้ ่ วย รวมถึงความเชื่อทางไสยศาสตร์ เช่น การนบั ถือผฟี ้าเพราะเชื่อวา่ สามารถรักษาอาการเจบ็ ป่ วยได้ เป็นตน้ 2. วฒั นธรรมทไ่ี ม่ใช่วตั ถุหรือนามธรรม ทสี่ าคญั ได้แก่ คติความเช่ือ ขนบธรรมเนียม ประเพณี สภาพครอบครัว การเมืองการปกครอง ศาสนา การศกึ ษา 2.1 คตคิ วามเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ส่วนใหญ่มีความผกู ผนั กบั ธรรมชาติและสัมพนั ธ์ กบั การประกอบอาชีพ มีความเชื่องในเร่ืองของพระพุทธศาสนา ไสยศาสตร์หรืออิทธิปาฏิหาริยท์ ่ีมีอานาจเหนือธรรมชาติ เช่น ตน้ ไมป้ ่ าเขามีเทพารักษ์ เจา้ ป่ าเจา้ เขาคอยปกป้องดูแล ทุ่งนามีพระแม่โพสพ ผนี าคอยดูแลรักษาผนื นา เป็นตน้ รวมถึงความเชื่อในเรื่องโหราศาสตร์ การทานายโชคชะตา การดูฤกษย์ าม กลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีท่ียดึ ถือปฏิบตั ิ สืบทอดกนั มาอยา่ งต่อเนื่องเป็นเวลานาน เป็นเหตุใหเ้ กิดพธิ ีกรรม ประเพณีและเทศกาลต่างๆ เช่น พระราชพธิ ีจรด พระนงั คลั แรกนาขวญั การไหวแ้ ม่ยา่ นางเรือ การแห่นางแมว เป็นตน้ คติความเชื่อในลกั ษณะดงั กล่าวมีส่วนทาใหส้ งั คม แต่ละกลุ่มสามรถอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข เกิดการสร้างสรรคแ์ ละสามคั คี 2.2 สภาพครอบครัว ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวเกษตรกรรม ตอ้ งพ่งึ พาแรงงานจึงเป็ นครอบครัวขนาดใหญ่ มีความสมั พนั ธ์ใกลช้ ิดและอยพู่ ร้อมหนา้ พร้อมตากนั แต่ปัจจุบนั สภาพที่พบเห็นทว่ั ไป คือ มีแต่ผสู้ ูงอายทุ ี่อยบู่ า้ นเล้ียงหลาน ส่วนหนุ่มสาววยั ทางานจะเดินทางสู่กรุงเทพฯ หรือชุมชนเมืองเพอ่ื หางานทา จะกลบั บา้ นในช่วงเทศกาลสาคญั เช่น สงกรานต์

2.3 การเมืองการปกครอง ใชร้ ะบอบประชาธิปไตย ประชาชนให้ความสาคญั กบั การเลือกผนู้ าของชุมชน เช่น กานนั และผใู้ หญ่บา้ นมากข้ึน รวมถึงการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั การเมืองการปกครองก็มากข้ึนดว้ ย 2.4 ศาสนา เป็นเคร่ืองยดึ เหน่ียวจิตใจและเป็นส่วนหน่ึงของวถิ ีการดาเนินชีวติ คนไทยส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพทุ ธ และยดึ มน่ั ในคาส่ังสอนแห่งพระพทุ ธศาสนามาโดยตลอด มีความเช่ือในเร่ืองของกฎแห่งกรรมท่ีเกิดข้ึน กิจกรรมวนั สาคญั เก่ียวกบั ศาสนา เช่น วนั มาฆบูชา วนั วสิ าขบูชา วนั อาสาฬหบูชา เป็นตน้ นอกจากน้ี ยงั มีชาวไทยบางส่วนที่นบั ถือศาสนาอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ ศาสนาอิสราม และคริสตศ์ าสนา 2.5 การศึกษา พอ่ แม่ผปู้ กครองส่วนใหญ่นิยมใหบ้ ุตรหลานไดร้ ับการศึกษาสูง ซ่ึงในปัจจุบนั มีโอกาสและ ช่องทางต่างๆ สนบั สนุนดา้ นการศึกษา ประกอบกบั การมีนโยบายที่ช่วยเหลือเด็กใหม้ ีโอกาสไดศ้ ึกษาต่อโดยใหท้ ุนการศึกษา แก่โรงเรียนต่างๆการเปลย่ี นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม กบั การเกดิ ภูมสิ ังคมใหม่ของประเทศไทย เริ่มข้ึนหลงั จากมีการพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมเพ่อื มุงหวงั ใหเ้ กิดการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ ท้งั ภายในประเทศและกบัต่างประเทศ มีการนาเทคโนโลยี

และวทิ ยาการใหม่ๆ เขา้ มาใชใ้ นการเพาะปลูก การผลิตและการดาเนินชีวติ ในทุกๆดา้ น ก่อใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทางดา้ นการประกอบอาชีพ ลกั ษณะของชุมชนและท่ีอยอู่ าศยั รวมถึงวถิ ีการดาเนินชีวติ ของประชาชน และเป็นเหตุใหเ้ กิดการ ใชท้ รัพยากรต่างๆ อยา่ งมากมายส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติและสังคม รูปท่ี 1-2-8 การเปล่ียนแปลงทางสังคมของโลกในอนาคต ผลกระทบทเี่ กดิ จากสภาพสังคมและวฒั นธรรม เนื่องจากความเจริญทางดา้ นวตั ถุในรูปแบบต่างๆ ที่หลง่ั ไหลเขา้ มาในชุมชนอยา่ ง รวดเร็ว ทาใหก้ ารเกษตรที่ผลิตเพื่อยงั ชีพเปลี่ยนไปสู่การผลิตเพ่อื การคา้ ขาย เกษตรกรตอ้ งกยู้ มืเงินมาลงทุนซ้ือป๋ ุยยาฆ่าแมลง และเทคโนโลยกี ารเกษตร ต่างๆ ประสบกบั ปัญหาขาดทุนจนเป็นหน้ีสิน อีกท้งั เงินยงั เป็นปัจจยั สาคญั ในการดาเนินชีวติ คนในชุมชนจึงหนั มาขายท่ีดินและอพยพยา้ ยถ่ินฐาน ทิ้งสวนไร่นาเพ่ือไปทางานในโรงงานและสถานที่ท่องเที่ยวชุมชน ชนบทกลายเป็นชุมชนเมือง ความสัมพนั ธ์ในครอบครัวและระหวา่ งคนในชุมชนท่ี อบอุ่นคอยช่วยเหลือเอ้ือเฟ้ือซ่ึงกนั และกนั เร่ิมจางหายไปจากปัญหาดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมท่ีเกิดข้ึน หน่วยงานของรัฐบาลและเอกชนท่ีเก่ียวขอ้ งได้

พยายามแกไ้ ขปัญหาต่างๆโดยยดึ ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติเป็นแนวทางนอกจากน้ี ยงั มีอีกส่วนหน่ึงซ่ึงมีบทบาทสาคญั ที่ช่วยส่งเสริม และประสานงานเพือ่ ใหก้ ารแกไ้ ขปัญหาไดด้ ียง่ิ ข้ึน ไดแ้ ก่ โครงการหลวงหรือมูลนิธิ โครงการศิลปาชีพพเิ ศษ และโครงการอนัเน่ืองมาจากพระราชดาริ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระราชดาริที่จะพฒั นาความเป็นอยู่ ของราษฎรใหเ้ กิดความ “พออยู่ พอกนิ ” โดยพระราชทานใหจ้ ดั ต้งั โครงการศูนยพ์ ฒั นาอนั เนื่องมาจาก พระราชดาริ รูปที่ 1-2-9 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯทรงเสดจ็ ไปดูความเป็นอยขู่ องประชาชน

ศูนย์พฒั นาอนั เนื่องมาจากพระราชดาริท้งั 6 ศูนย์ ต้งั อยู่ในภูมภิ าคต่างๆ โดยมีแนวทางและวตั ถุประสงค์ทสี่ าคญั ดงั นี้ 1. เป็นแบบจาลองย่อส่วนสภาพทางกายภาพและสังคมของภูมิภาคน้นั ๆ ไว้ ณ ที่แห่งเดียวกนั เพอื่ เป็นสถานท่ีศกึ ษา คน้ ควา้ ทดลอง และพฒั นาพ้นื ที่จริงภายใตล้ กั ษณะทางสภาพภูมิศาสตร์และสงั คม วฒั นธรรมของภูมิภาคน้นั ๆ 2. มีลกั ษณะของ พพิ ธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติของการพฒั นาทม่ี ชี ีวติ คือ เป็นแหล่งของการแลกเปลี่ยนความรู้ดา้ นการศกึ ษา คน้ ควา้ ทดลอง และวจิ ยั ต่างๆ ที่ไดผ้ ลแลว้ ระหวา่ งนกั วชิ าการ ผปู้ ฏิบตั ิงานและประชาชน เป็นแหล่งความรู้ของประชาชน แหล่งศึกษาทดลองของเจา้ หนา้ ท่ีผปู้ ฏิบตั ิงานและแลกเปล่ียนถ่ายทอดประสบการณ์และแนวทางแกไ้ ขปัญหาระหวา่ งราษฎร เจา้ หนา้ ท่ีส่งเสริมและนกั วชิ าการ 3. เป็นต้นแบบแห่งความสาเร็จ เน่ืองจากนาความรู้จากหลายสาขาที่มีประโยชน์เก้ือหนุนกบั การพฒั นาสาขาอ่ืนๆ ดว้ ย

เช่น การพฒั นาดา้ นการเกษตร การอนุรักษแ์ ละพฒั นาส่ิงแวดลอ้ มและการบริหารจดั การ 4. เป็นต้นแบบของการบริหาร เนื่องจากแนวทางการดาเนินงานของศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาทุกแห่ง เนน้ การประสานงาน ประสานแผนและบริหารจดั การระหวา่ งกรม กอง และส่วนราชการต่างๆ โดยไม่มีหน่วยงานใดเป็นเจา้ ของ 5. มีลกั ษณะ การบริการเบด็ เสร็จทจี่ ุดเดียว เพอ่ื ใหป้ ระชาชนไดร้ ับความสะดวกสบายในการติดต่อขอความช่วยเหลือ จากหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล โดยสามารถนาความรู้ที่ไดร้ ับน้ีไปใช้ประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพและการดาเนินชีวติในปัจจุบนั ผลจากการดาเนินตามแนวพระราชดาริโดยใหค้ วามสาคญั กบั การพฒั นาคน ให้สามารถอยไู่ ดด้ ว้ ยการพง่ึ พาตนเอง ได้ปรากฏให้เหน็ ได้อย่างชัดเจน คือ ประชาชนมีการประกอบอาชีพ มีรายไดฐ้ านะทางเศรษฐกิจดีข้ึน ส่งผลใหส้ ภาพชุมชน มคี ุณภาพ เกิดการดารงไว้ซ่ึงวฒั นธรรมไทย การพฒั นาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยงั่ ยืน




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook