Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารกูรู้ ฉบับปฐมฤกษ์ ฉบับที่ 1 ปีที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

วารสารกูรู้ ฉบับปฐมฤกษ์ ฉบับที่ 1 ปีที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

Description: วารสารกูรู้ ชมรมโอเพนซอร์สและฟรีแวร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Keywords: กูรู้, โอเพนซอร์ส, ฟรีแวร์

Search

Read the Text Version

วารสารกรู ู ชมรมโอเพนซอรส และฟรีแวร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทรวารสารเพ่อื การใหค วามรู ใหด วยหัวใจ ใหอสิ ระ ฉบบั ปฐมฤกษ ปท่ี 1 ฉบับท่ี 1 มกราคม ­ มิถุนายน 2561

\" การใหความรูเปน ทาน คือทานอนั สงู สดุ \" พระวภิ ัทร ปญญาวุฑโฺ ฒ

วารสารกูรูชมรมโอเพนซอรสและฟรีแวร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทรฉบบั ปฐมฤกษ ปท่ี 1 ฉบับท่ี 1 มกราคม ­ มิถุนายน 2561 เกยี่ วกับ: กรู ู วารสารกูรู เปน วารสารของชมรมโอเพนซอรสและฟรีแวร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร พิมพเ ผยแพรป ล ะ 2 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 เดือนกรกฏาคม ­ ธนั วาคม และฉบับเดอื นมกราคม ­ มิถนุ ายน วารสารกูรู ฉบบั ปฐมฤกษเดอื นกรกฏาคม 2561 (ฉบบั ท่ี 1 ปท่ี 1 กรกฎาคม ­ ธนั วาคม 2561) วารสารกรู ู ยินดพี จิ ารณาผลงานการวจิ ัยและบทความเพ่อื เผยแพร บทความหรอื ขอความในวารสารกรู ูเ ปน ความคิดของ ผูเขยี น ไมใชค วามคิดของผูจ ดั ทําและไมถ อื เปนขอ ผูกพนั กับชมรมฯ แตอ ยา งใด ผสู นใจสง บทความไดท่ี [email protected] จัดทาํ : กูรูทป่ี รึกษา พระวิภทั ร ปญ ญาวุฑโฺ ฒ อดีตประธานชมรมโอเพนซอรสและฟรแี วร มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร นาย พิเชษฐ เพยี รเจรญิ หวั หนาฝา ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา สาํ นักวทิ ยบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานีบรรณาธกิ าร นาย ศิรพิ งษ ศิรวิ รรณกองบรรณาธิการ ดร.อโณทัย โภคาธิกรณ นาย จรุงวิทย บญุ เพ่ิม รองศาสตราจารย ปญ ญรกั ษ งามศรีตระกูล นาย วิศิษฐ โชติอทุ ยางกรู นาย อํานาจ สคุ นเขตร นาย วิบูลย วราสิทธชิ ยั นาย ภทั ธ เอมวัฒน นาย ภาดา สายออนตา นาย กฤษฎ คงสีพุฒสถานท่พี ิมพ พมิ พท ่โี รงพิมพฝ า ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา สํานักวทิ ยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานี วตั ถุประสงค: กูรู1. เพอ่ื เผยแพรประชาสมั พนั ธก ารใชงานซอฟตแวรโ อเพนซอรส และฟรีแวร2. เพือ่ เผยแพรผ ลงานวจิ ยั ผลงานพัฒนา และผลงานวชิ าการ ดา นเทคโนโลยีสารสนเทศและวทิ ยาการคอมพิวเตอรโดยใชซอฟตแ วร โอเพนซอรส และฟรแี วรข องสมาชกิ ชมรมฯ และรวมทง้ั ผูส นใจจากหนวยงานตางๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชนภายในประเทศ3. เพ่อื เปน ศนู ยร วมแลกเปลย่ี นและกระจายองคค วามรใู นนวัตกรรมใหมๆ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศและวทิ ยาการคอมพวิ เตอร

วารสารกูรูชมรมโอเพนซอรส และฟรแี วร มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทรฉบับปฐมฤกษ ปท ี่ 1 ฉบบั ที่ 1 มกราคม ­ มิถุนายน 2561 สารบญัสารจากบรรณาธกิ าร วารสารกูรู “ชมรมโอเพนซอรสและฟรีแวร มหาวทิ ยาลัย App Mobile by IONICสงขลานครนิ ทร\" เปน วารสารท่ีตพี ิมพเผยแพรบ ทความวชิ าการ สัมฤทธิ์ ฤทธภิ ักด.ี ..........................................................1บทความเชงิ พฒั นาและงานวจิ ัย โดยมวี ัตถุประสงค เพื่อนําเสนอบทความทางวิชาการและบทความผลงานเชงิ พฒั นาและงานวจิ ัย แนะนําชมรมโอเพนซอรส และฟรแี วร มหาวิทยาลยั สงขลานครินทรทีม่ คี ณุ ภาพ เพอ่ื ถายทอดใหผ ทู ่ีสนใจสามารถนําไปพัฒนาหรือ อํานาจ สุคนเขตร...........................................................6สรางใหเกิดองคความรูใหมและประโยชนในเชิงปฏิบัติการทางดานการจดั การเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี GPING : เครอ่ื งมือทดสอบการเชืิ่อมตอระบบเครือขายคอมพวิ เตอร ซอฟตแ วรโอเพนซอรสและฟรแี วร รวมไปถึง อาํ นาจ สคุ นเขตร. ..........................................................7วิชาการที่เก่ียวของและเพื่อใหบ ริการวิชาการแกส งั คมในการเปนศนู ยกลางเผยแพร แลกเปลีย่ นความคิดเห็น ประสบการณ การใชแ อปพลเิ คชัน Plickers ศิรพิ งษ ศิรวิ รรณ...........................................................10 ขอขอบพระคณุ กองบรรณาธกิ ารทกุ ทา น เจา ของวารสารเอกสาร บทความ บทความวจิ ยั ทง้ั ท่กี ลาวถงึ และไมไดกลา วถงึ กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู เร่ือง กีฬาสมาธแิ ละ 3D Printingรวมท้ังหนวยงานและองคกรท่ีสนับสนุนการจัดทําวารสาร พระวิภัทร ปญ ญาวุฑฺโฒ................................................18วชิ าการ “กรู ”ู สําเรจ็ ลุลว งตามวัตถุประสงค มา ณ โอกาส น้ี กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู เรอื่ ง Ubuntu Networking ดร.จิรวฒั น แทนทอง.....................................................19 บรรณาธกิ าร

App Mobile By Ionic *สัมฤทธ์ิ ฤทธภิ ักดีNative Application เครื่องมอื และภาษาหลกั ทถี่ ูกออกแบบมาใหใ ชในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นแฟลตฟอรม น้ัน ๆ โดยเฉพาะ เชน เครื่องมืออยา ง xcode และ ภาษา Objective­C หรือ Swift ถกู ออกแบบมาใหใชพฒั นา mobile application บนระบบปฏิบตั ิการ iOSขอ ดขี องการพฒั นาแอพลิเคชั่นแบบ Native • สามารถเขา ถงึ ฟงกช น่ั การทาํ งานของ Platform น้ัน ๆ ไดอ ยางครบถว น • ประสทิ ธภิ าพการทํางานสูงสุด มคี วามยืดหยนุ เอ่ือประโยชนตอนกั พัฒนาสงู สดุHybrid Application เคร่ืองมือและภาษาทถ่ี ูกพัฒนาเพิ่มคณุ สมบตั ใิ หสามารถนาํ มาพฒั นาโมบายแอพพลเิ คชน่ั ได โดยอาศัย Frameworkหรอื SDK ท่ีถกู สรางมาจากหลากหลายภาษา และมีเคร่อื งมอื ทเ่ี หมาะสมกบั framework หรอื SDK นน้ั ๆขอ ดีของการพฒั นาแอพลิเคชนั่ แบบ Hybrid • ประหยดั ทรัพยากรในข้นั ตอนการพฒั นา • เปนการพฒั นาแบบ Cross­Platform สามารถพฒั นาโดยใชชุดคาํ ส่ังหรือภาษาใด ภาษาหน่งึ ใหสามารถใชงานไดในหลายระบบปฏิบตั ิการ*นกั วชิ าการคอมพิวเตอร ศนู ยค อมพวิ เตอร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร วทิ ยาเขตหาดใหญ 1

ขอ เสยี ของการพฒั นาแอพลิเคชัน่ แบบ Hybrid • สามารถเขา ถงึ ฟง กช ั่นการทํางานของ Platform นนั้ ๆ ไดไ มเตม็ ท่ี การทาํ งานในบางฟง กช นั่ ดอ ยกวาการพัฒนาแบบ Native • Web App คอื การเขียน App โดยใช HTML หรือ Java Script เหมอื นการเขียน Web ทําใหคนเขยี น Web ดวยHTML JavaScript ไมตองเรียนรูภาษาใหม • Hybrid App หรือ Cross Platform คอื การเขยี น App ดวยโปรแกรม ภาษาใด ภาษาหนึ่ง แตส ามารถเอาไปใชกับ platform อ่นื ๆ ไดอ ีกดว ย เชน ใชง านไดท ้งั Android, iPhone iOS ,Windows Phone และ อ่ืนๆ • Native App คือ การเขียน Code ท่ที าํ งานกับ CPU หนวยประมวลผลนั้นไดเ ลย โดยไมตองผานตัวแปลงภาษา( Virtual Machine ) เชน Android 2

Ionic Framework ionic framework เปน เครอื่ งมือทีใ่ ชในการพฒั นา Mobile Application แบบ Hybrid  คือ เราสามารถพัฒนาแอปครง้ั เดียวแลวรนั ไดหลาย Platform เชน Android , iOSขอ ดีทเี่ ดนๆของ ionic framework • สามารถพัฒนาใหติดตอกบั Hardware ของอุปกรณไ ด เชน กลอ ง, ไมโครโฟน ฯลฯ โดยใชงานรวมกับ PhoneGap/Cordova • ไดรบั การยอมรบั จากบรษิ ัทชั้นนาํการตดิ ตง้ั Installation 1. Nodejs 2. Ionic  3. Cordova  4. Editor : Use Webstorm or Visual Studio Code or SublimeIonic พัฒนาดวยเทคโนโลยอี ะไรบา ง • HTML : HTML5 คอื คือ ภาษามารกอปั ทีใ่ ชส ําหรับเขียน website • CSS : CSS3 คือ สไตลชที เปน ภาษาท่ีใชเปน สวนของการจดั รูปแบบการแสดงผลของ HTML • JavaScript : Angular Js คือ JavaScript Framework รปู แบบหน่งึ ทพ่ี ฒั นามาจาก Google หนาทข่ี องมันคือเปนengine ทีใ่ ชค วบคมุ ในสวน front end ของเวบ็ ไดเปน อยา งดมี กี ารทํางานแบบ Model View Controller (MVC) 3

Cordova • Cordova ทําหนา ท่หี อ Application ไวอกี ทคี รับ • Cordova ทําหนา ที่ติดตอกบั Hardware ของ Mobile เปนหลกั เพราะมี API ติดตอกบั Hardware โดยตรงเชน Camera, Media, NetworkLink • https://market.ionic.io/ • http://web.airdroid.com/ • http://cordova.apache.org/ • http://phonegap.com/ (TakeOver by Adobe)Installation (Step 1) Install Nodejs (version 4.4.3) (Step 2) npm install ­g ionic (Step 3) npm install ­g cordova (Step 4) Test Command ( Window ­> Cmd/ OSX ­> Terminal ) 1. node ­­version 2. ionic 3. cordova (Step 5) Create & RUN First Project 1. cd Desktop 2. ionic start WorkShop blank ­­type ionic1 3. ionic serve 4. Open Webstorm Edit /www/index.html 4

พืน้ ฐาน Ionic • ข้ึนตน ดว ย ng (Angularjs) • ขนึ้ ตนดวย ion (Ionic) • การใชงาน Console (Chrome Browser Inspector) เพือ่ ทาํ การ log ขอ มลู หรือแจง เตอื น เพ่อื Debug โปรแกรม • การสรางไฟล html เปน template มาผกู กบั Javascipt ไฟลห ลักของโปรแกรมคือ app.jsภายในไฟล Index.htmlภายในไฟล app.js ฉบบั ถัดไปผูเขียนแนะนาํ การใชง าน ionic เพมิ่ เติม 5

แนะนําชมรมโอเพนซอรสและฟรแี วร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร อาํ นาจ สคุ นเขตร*ความเปนมา พ.ศ. 2543 บุคลากรมหาวิทยาลยั สงขลานครินทรท ุกวทิ ยาเขต ทงั้ อาจารย วศิ วกร นกั วิชาการ นกั ศกึ ษาและผสู นใจรวมกลุมกันใชงานซอฟตแวรร ะบบปฏิบัตกิ ารลนี ุกซ ซง่ึ ตกลงกนั ใชชื่อกลุมวา  \" กลุม ผูใ ชง านลนี กุ ซใ นมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร หรอื PSU­LUG \"  ดาํ เนนิ กิจกรรมใหความรู แลกเปลยี่ นเรยี นรู แลกเปลี่ยนความคดิ ความรแู ละชวยเหลือซ่งึกนั และกัน ในดานซอฟตแวรร ะบบปฏบิ ัตกิ ารลนี กุ ซร วมถงึ การบรหิ ารจัดการดานตางๆ ของระบบคอมพิวเตอร โดยมคี วามรว มมอื กันทงั้ ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั กลมุ ผูใชง านลนี กุ ซในมหาวิทยาลยั สงขลานครินทรไดด าํ เนินกจิ กรรมอยา งตอเน่อื ง เมอื่ วนั ที่ ๑ พฤษภาคม๒๕๔๖ ย่ืนขอจดทะเบยี นเปนชมรมฯ ภายใตส โมสรอาจารยแ ละขาราชการ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตหาดใหญโดยใชชอื่ “ชมรมโอเพนซอรส และฟรีแวร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร” ประธานคนแรกคอื นายวิภัทร ศรตุ ิพรหม ขณะน้ันดํารงตาํ แหนง วิศวกร สงั กดั ศนู ยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร (ปจ จบุ นั อปุ สมบทนามหรอื ฉายาวา พระวิภัทรหรือพระปญ ญาวุฒโฑ) เดิมมสี าํ นักงานตัง้ ทีห่ อ ง 108 ศนู ยค อมพวิ เตอร มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร วิทยาเขตหาดใหญดําเนินกิจกรรมเผยแพรองคค วามรูและประสบการณทางดา นโอเพนซอรส และฟรีแวรผา นการแลกเปลี่ยนเรียนรู การฝก อบรมและเผยแพรบนคลงั ความรผู า นเว็บไซต http://opensource.psu.ac.th จนเปน ทีร่ ูจกั ทง้ั ในประเทศและตา งประเทศ มีผูดาํ รงตาํ แหนง ประธานชมรม ดังนี้ พ.ศ. 2546 ­ 2549 นายวภิ ทั ร ศรตุ พิ รหม พ.ศ. 2549 ­ 2555 นายวิภทั ร ศรุติพรหม พ.ศ. 2555 ­ 2556 นายวิบูลย วราสิทธิชัย พ.ศ. 2557 ­ 2560 นายอํานาจ สคุ นเขตร พ.ศ. 2561 ­ ปจจุบนั นายศริ ิพงษ ศิริวรรณ ปจ จุบันนายศริ พิ งษ ศริ วิ รรณ ตาํ แหนง นักวชิ าการคอมพิวเตอรชาํ นาญการพเิ ศษ สงั กัด คณะเภสัชศาสตรมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร วทิ ยาเขตหาดใหญ เปน ประธานชมรมฯ สมาชกิ มที ั้งหมด 70 คน หลกั ปรชั ญาการดําเนนิ งานทก่ี ําหนดไวค ือ \"การใหค วามรเู ปนทาน คอื ทานอันสูงสดุ \" เผยแพรอ งคค วามรูทางดา นโอเพนซอรส และฟรแี วรผ า นกิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู คลงั ความรูผานเว็บไซต http://opensource.psu.ac.th และ http://ossf.in.psu.ac.thเปน เวบ็ ไซตเ พือ่ เผยแพรขาวสารและกิจกรรมตางๆ ของชมรมฯ*นักวิชาการคอมพิวเตอรชาํ นาญการ กลุมงานเผยแพรน วัตกรรมและพฒั นาส่ือคอมพวิ เตอรเพ่ือการศกึ ษา ฝา ยเทคโนโลยีทางการศึกษา สาํ นักวทิ ยบริการ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร วทิ ยาเขตปตตานี 6

GPING : เครื่องมอื ทดสอบการเชืิ่อมตอระบบเครือขาย อาํ นาจ สุคนเขตร* ระบบเครอื ขายมคี วามสาํ คัญอยางยิง่ ในการดํารงชพี การเรยี น การสอน การทํางาน การวิเคราะหและอน่ื ๆหลายหนว ยงานมีระบบการทาํ งานหลกั บนระบบเครือขา ย เชน การลงเวลาเขา ­ออกการทํางาน การลงเวลาเขา­ออกโรงเรียนระบบบรหิ ารจดั การการเรียนการสอน (LMS) ระบบบริหารจดั การลกู คา เปนตน ผูทมี่ ีหนาดแู ลบรหิ ารจัดการระบบเครือขายมีความสาํ คัญอยางยงิ่ ทีจ่ ะทําใหระบบเครอื ขา ยของหนวยงานนนั้ ๆ ใชง านไดตามปกติ การบริหารจัดการระบบเครือขายดวยการทดสอบการเช่ือมตอที่ทุกทานใชงานกันมานานและมีประสิทธิภาพนั่นกค็ ือ คาํ สง่ั \" ping \" ซ่งึ มคี วามสาํ คญั อยา งมากทีช่ ว ยใหผดู แู ลระบบเครอื ขายสามารถวเิ คราะหแ ละแกไ ขปญ หาระบบเ ค รื อ ข า ย ไ ด อ ย า ง ถู ก ต อ ง GPING (กราฟก ­ปง ) เปน โปรแกรมอรรถประโยชนท ี่มปี ระสิทธิภาพสูง ใชใ นทดสอบการเชื่อมตอระบบเครอื ขายดว ยคาํ สง่ั Ping มคี วามสามารถสรางกราฟโฮสตห ลายเครือ่ งไปพรอมกนั ในชว งการสมุ เลือกที่ผูใชก ําหนดและสรางกราฟรายละเอียดไดเ หมอื นกบั โปรแกรมวิเคราะหระบบเครอื ขาย GPING มีความสามารถหลากหลาย เชน การนําเขา ชือ่ โฮสตจากไฟลขอความ, ทดสอบการเช่ือมตอไดห ลายเคร่ืองพรอมกัน, ต้งั คาการทดสอบระบบเครือขายไดหลายแบบ, แสดงสถติ กิ ารสง การรับ การสูญหาย รอยละการสญู หายและ เวลาเดนิ ทางไปกลับได, สรา งกราฟ PING แบบกําหนดชว งเวลาไดตามความตอ งการการ Download และเรียกใชง าน GPING 1. Download GPING ท่ี https://jaist.dl.sourceforge.net/project/gping/gping_2.0.zip 2. ขยายไฟล gping_2.0.zip ออก เมื่อขยายไฟลออกมาแลวจะไดโ ฟลเดอร gping_2.0 3. คล๊ิกขวาท่ีไฟล gping_2.0.exe ในโฟลเดอร gping_2.0 คลก๊ิ เลอื กเมนู Properties 4. คลิก๊ แทป็ Compatibility ใสเ ครอ่ื งหมาย หนา Run the program as an administrator จากน้นัคลก๊ิ ปุม OK ดงั ภาพที่ 1. 5. เรียกใชง าน GPING โดยดับเบิ้ลคลก๊ิ ท่ไี ฟล gping_2.0.exe เมอ่ื GPING พรอมใชงานจะแสดงดังภาพที่ 2.*นกั วชิ าการคอมพิวเตอรช าํ นาญการ กลมุ งานเผยแพรนวตั กรรมและพัฒนาสือ่ คอมพวิ เตอรเ พือ่ การศกึ ษา ฝา ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา สํานักวิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานี 7

ภาพที่ 1. แทป็ เมนู Compatibility ภาพท่ี 2. GPING พรอ มทาํ งาน เมนบู าร: แสดงคาํ ส่งัการใชงาน GPINGไตเติลบาร: แสดงช่อื โปรแกรม ปุม:เพิ่มโฮสต (Add host) ปมุ :นําเขา โฮสต (Import)กําหนดระยะเวลาการ pingบนั ทึกการทาํ งาน (Log) ปุม:นาํ เขา โฮสต (Import) ปุม:หยดุ ping (Stop ) ปุม :เรม่ิ ping (Start ) ปุม:แสดงกราฟ (Graph ) ปุม:บนั ทึกกราฟ (Save ) ปมุ :ตั้งคา (Preference) ภาพที่ 3. สวนตา งๆ ของ GPING เร่ิมใชง าน GPING ดวยการคลิ๊กปมุ Add Host ใส IP Address ทต่ี องการ ping ลงไป จากนัน้ คลก๊ิ ปมุ Addดังภาพท่ี 4 จากน้นั คลก๊ิ ปุม OK หากตอ งการ ping ครั้งละหลาย IP Address ใหค ลิ๊กปุม Add Host ไปจนกวาจะครบ เสรจ็แลวคล๊ิกปุม : เร่มิ ping จากนนั้ โปรแกรม GPING จะเริม่ ทาํ งานดว ยคําส่ัง ping และนาํ คา ทีไ่ ดมาสรา งเปน กราฟดงั ภาพที่ 5 หากตอ งการบันทกึ กราฟเกบ็ ไวใช คลิ๊กปมุ :บันทึกกราฟ การควบคุมระยะเวลาการสงคาํ ส่ัง ping เชน pingทกุ 5 นาที หรอื ping ทุกชว่ั โมงใหคลิ๊กที่ Control Panel 8

ภาพที่ 4. ใสห มายเลขไอพลี งในชอ ง IP Address ภาพท่ี 5. GPING ทํางานพรอ มแสดงกราฟ หากตองการตั้งความถี่ในการ ping หรอื สที ใ่ี ชแ สดงกราฟใหค ลิ๊กปุม:ต้ังคา (Preference) ตัง้ คาตามความตอ งการดงั รายละเอียดในภาพท่ี 6 ภาพที่ 6. ปรบั ตั้งคาตามความตองการ GPING เปน เครื่องมอื ท่ีชว ยใหผ ูด แู ลระบบเครือขา ยสามารถวิเคราะหป ญ หาการเชอ่ื มตอ ดวยเคร่อื งมอื งายๆ และไมสลบัซบั ซอนและมีประสทิ ธภิ าพ ซง่ึ ทา นควรหามาติดตงั้ ไวในครอบครองและขอใหส นุกกบั การใชง าน GPING ตอไป 9

การใชแ อปพลิเคชัน Plickers *ศิรพิ งษ ศิริวรรณPlickers คืออะไร ? Plickers (Paper + Clicker) เปนเครื่องมอื ในการชว ยสอนลกั ษณะ Quick Active Learning Tools โดยจะมแี ผนกระดาษเปน รหัสโคดใหนกั ศกึ ษา ซึง่ กระดาษดังกลา วจมดี านทต่ี างกันทงั้ 4 ดานสําหรบั เลือกคาํ ตอบ และมีตัวเลขเฉพาะของนักศกึ ษาแตละคนอยทู มี่ ุมกระดาษ เม่อื อาจารยไ ดเปด คําถามที่ไดส รางข้ึนผา นทางแอปพลเิ คชัน plickers.com นักศกึ ษาจะสามารถเห็นคาํ ถามและรวมกนั ตอบคําถามโดยการชูกระดาษรหัสโคด ในดานตางๆที่ตองการตอบ เชน A, B ,C หรือ D จากนัน้ อาจารยจะใชสมารทโฟนเปด แอปPlickers (สามารถดาวนโหลดไดท ้งั ใน Apple iOS และ Android) เพ่ือเชื่อมโยงขอ มลู จากเวบ็ plickers.com แลว เปดกลอ งเพ่ือสแกนรหสัโคดทน่ี ักเรยี นตอบได ซง่ึ รูปแบบผลลัพธ คือ จะมีการแสดงผลของคาํ ตอบตามทโี่ คด ท่นี ักศกึ ษาถือในทันที โดยระบบจาํ ทาํ การเก็บรวบรวมเปน สถิตไิ วในเว็บ plickers.com เพ่ือใหอ าจารยไ ดนาํ ไปพัฒนาการเรียนการสอนตอ ไปไดการเขาเว็บไซต Plickers เพอื่ สมคั รสมาชิก 1. เปดเขา เว็บไซต http://www.plicker.com แลวคลิกที่ปุม Sign up เพ่อื ทําการสมัครสมาชกิ*นกั วิชาการคอมพิวเตอรชาํ นาญการ ศูนยเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะเภสชั ศาสตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ 10

2. เมอ่ื ปรากฏหนาตาง Sign up ใหพมิ พข อมูลสว นตวั ของทา นเพอื่ สมคั รใชบ รกิ าร (ตามภาพตวั อยา ง) 3. เม่อื ลงทะเบียนเรยี บรอยแลว จะปรากฏหนา ตางการทาํ งานของ Plickers ซ่งึ จะปรากฏ Classes ชอ่ื “Demo Class”ในการใชงานครงั้ แรกการสรางหองเรียน 1. ขน้ั ตอนการสรางหอ งเรยี นใหเลอื กผานเมนู Classes 2. คลิกปุม + Add New class 3. จะปรากฏหนาตา งการสรางหอ งเรยี นขนึ้ มา โดยจะมีรายละเอยี ดดังน้ี Name your class: ชอื่ หองเรียน Year: ระดบั ชัน้ Subject: วชิ าหรือหมวด Class color: สขี องหองเรยี น 4. เมอื่ กรอกขอมูลครบถวนแลวกดปมุ Save เพ่อื บันทึก 11

การเพม่ิ รายช่อื นักศกึ ษา 1. เมอื่ สรา งหอ งเรียนเรียบรอ ยแลว ขั้นตอนตอ ไปคอื การเพม่ิ รายช่ือนักศึกษาเขา ไปในหอ งเรยี นทาํ ดังนี้ คลิกทหี่ อ งเรยี นท่ีตอ งการเพม่ิ รายชือ่ เชน Training Pharmacy 2. หลังจากเปด หอ งเรียนเรยี บรอ ยแลว สามารถเพ่มิ รายชื่อนกั ศกึ ษาไดโดยพิมพใ นชอง Enter Student Name จากนั้นกดปุม Enter ดงั ภาพ (สามารถเพ่ิมนกั ศกึ ษาไดส งู สุด 63 คน/หอ งเรียน) 3. หากมีรายชื่อนกั ศึกษาและตอ งการเพม่ิ รายชอ่ื นกั ศกึ ษาครั้งละหลายคนใหคลิกปมุ Add Roster 4. เม่อื กรอกขอ มูลครบถวนแลวกดปมุ Save เพื่อบนั ทกึ 5. จะปรากฏการด รายชอ่ื นักศึกษาตามจาํ นวนท่กี รอกไว 12

5. จะปรากฏการดรายชื่อนักศึกษาตามจาํ นวนทกี่ รอกไวการสรางขอคาํ ถามแบบทดสอบใน Plickers 1. ใหเลือกเมนูดา นบนชือ่ Library 2. จากน้ันคลกิ ปมุ New Question สรา งแบบทดสอบใหมการสรา งขอ คําถามแบบทดสอบใน Plickers 1. ใหเลือกเมนดู านบนชอ่ื Library 2. จากน้ันคลิกปมุ New Question สรางแบบทดสอบใหม 3. จะปรากฏหนา ตา ง New Question สาํ หรับใหกรอกขอมลู คาํ ถามใหม 13

การเพ่มิ คําถามเขาในหองเรียน Library 1. ใหเ ลอื กเมนูดานบนชอื่ Library 2. เลอื กขอคําถามทตี่ องการเพมิ่ เขาหอ งเรยี น Training Pharmacy จากน้ันกดปมุ + Add to Queue เพื่อเพ่มิ เขาหอ งเรยี น 3. เม่อื เพิ่มคําถามเขาไปในหอ งเรียนแลว ทางดา นขวาจะปรากฎคาํ ถามดังกลาวเขาไปอยูภายในช่อื หองที่เราเลือกไว 4. ใหคลิกเมนู LiveView เพื่อใชลองทดสอบใชงาน 14

การนาํ แอป Plickers ไปใชงานผา นโทรศัพทม ือถือ Smart Phone 1. ใหตดิ ตัง้ แอปชื่อ Plickers ในโทรศัพทม อื ถอื Smart Phone รองรบั ท้งั ระบบ IOS และ Android 2. เขาสรู ะบบกดปมุ Sign in โดยการลอ็ กอนิ อเี มลท ่ไี ดส มัครสมาชิกไว 3. ปอ นขอมูลอีเมลของทานและรหสั ผานตามท่ีไดสมคั รแอป Plickers ไว 4. หลงั จากนนั้ ใหเลอื กหอ งเรียนทจ่ี ะทําการทดสอบ เชน Training Pharmacy 5. เม่ือเขาหองเรยี นแลวจะปรากฏขอคาํ ถามขึน้ มา หากตองการใชคําถามขอใดใหคลกิ บนขอ คาํ ถามบนหนา จอโทรศพั ทเพอ่ื แสดงผลใหนกั ศึกษา 15

6.ขอคาํ ถามจะปรากฏในหนา จอโทรศพั ทม อื ถือ Smart Phone พรอ มกบั ปรากฏบนหนา จอคอมพวิ เตอร เมื่อนักศึกษาอา นคาํ ถามเรยี บรอ ยแลว นกั ศึกษาสามารถยกปายบตั รภาพเพ่ือตอบคาํ ถาม 7. ใหอ าจารยกดปมุ กลอ งถา ยภาพ Scan เพ่อื ทาํ การเกบ็ ผลลัพธค าํ ตอบของนักศกึ ษาในหองเรียน 8. โปรแกรม Plickers จะจดั เก็บการสแกนคําตอบของนกั ศกึ ษาแตล ะคนเขา สรู ะบบและจะตรวจสอบความถูกตอ งของคาํ ตอบพรอมแจง สถานะ ถูกตองหรือผิด รวมถึงการแสดงแผนภูมแิ ทง การตอบตัวเลือกของนักศกึ ษาทั้งหมด 16

การจัดทาํ บัตรภาพสาํ หรับนักศกึ ษา 1. ใหคลกิ เมนหู วั ขอ Cards 2. คลิกดาวนโหลดเอกสาร PDF ซ่งึ ใชสาํ หรับการพมิ พบัตรภาพออกทางเครอ่ื งพมิ พใ หนักศกึ ษาใชงาน 3. จากตัวอยางคลกิ หัวขอ Large Font เพ่อื ใชสาํ หรับการพมิ พบตั รภาพขนาด 2 ภาพ/หนากระดาษ A4 สุดทา ยนี้ ขอใหทา นผูอา นมคี วามสนุกสนานเพลิดเพลินกบั การใช Plickers ในบัดดล 17

กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู เรื่อง กีฬาสมาธิและ 3D Printingวนั ที่ 24 มิ.ย.2559 ณ หองประชมุ สาํ นกั ทรพั ยากรการเรยี นรคู ุณหญงิ หลง อรรถกวีสนุ ทรแลกเปลีย่ นเรยี นรูโดย พระวภิ ัทร ปญ ญาวุฑโฺ ฒ 18

กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู เร่ือง Ubuntu Networkingวันท่ี 19 พ.ค.2560 ณ หอ งอบรม สาํ นักทรัพยากรการเรียนรคู ณุ หญิงหลง อรรถกวีสนุ ทรแลกเปลี่ยนเรียนรูโดย ดร.จิรวฒั น แทนทอง 19