Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารยธรรมโลก

อารยธรรมโลก

Published by tossawat10tonsing, 2021-12-11 12:03:29

Description: อารยธรรมโลก

Search

Read the Text Version

รายงาน เรอ่ื ง ศกึ ษา วิเคราะห์ เปรียบเทยี บการเปลย่ี นแปลงและความเป็นไปของสงั คมโลกในอดีตมาสู่โลกยคุ ปจั จบุ นั และศึกษาความสามารถในการปรบั ตวั ของสงั คมโลกสมัยใหม่ผ่านวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ จดั ทำโดย นายทศวรรษ ต้นสงิ ห์ รหัสนักศกึ ษา 634110042 สงั คมศึกษา หมู่ 2 เสนอ แก้วประสิทธิ์ อาจารย์ นิตพิ ฒั น์ รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของการศกึ ษารหัสวชิ า SE 62610 รายวิชา อารยธรรมโลก ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร

ก คำนำ รายงานฉบับน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า อารยธรรมโลก (SE62610) ค.บ.2 สงั คมศึกษา จดั ทำขึ้นเพ่ือ สืบค้นข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงและความเป็นไปของสังคมโลกในอดีตมาสู่โลกยคุ ปัจจุบันและศึกษาความสามารถในการปรับตัวของสังคมโลกสมัยใหม่ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งใน รายงานฉบับนี้ประกอบไปด้วยเนื้อหาของการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงและความเป็นไป ของสังคมโลกในอดีตมาสู่โลกยุคปัจจุบันและศึกษาความสามารถในการปรับตัวของสังคมโลกสมัยใหม่ผ่าน วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ ผู้จดั ทำเลอื กทำรายงานเก่ียวกับเร่ืองการศึกษา วิเคราะห์ เปรยี บเทยี บการเปลี่ยนแปลงและความ เป็นไปของสังคมโลกในอดตี มาสู่โลกยคุ ปัจจุบันและศึกษาความสามารถในการปรบั ตัวของสังคมโลกสมัยใหม่ ผ่านวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ เพราะเปน็ หัวข้อทีน่ า่ สนใจ ผู้จดั ทำหวังวา่ รายงานฉบบั น้ีจะให้ความรูแ้ ละเป็น ประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ่านทกุ ๆทา่ น ผจู้ ัดทำ นายทศวรรษ ตน้ สงิ ห์

สารบญั ข เรื่อง หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข การเปลีย่ นแปลงทางสังคม 1-3 สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ 4-9 วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ 10-11 บรรณานุกรม ค

1 การเปล่ียนแปลงทางสังคม ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ราชบัณฑิตยสถาน (2524 : 337) อธิบายวา่ การเปลยี่ นแปลงทางสังคม หมายถงึ การท่ี ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรอื รปู แบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว ระบบการปกครอง ไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป ไม่วา่ จะเปน็ ด้านใดก็ตามการเปลยี่ นแปลงทางสังคมนีอ้ าจจะเป็นไป ในทางก้าวหนา้ หรือถดถอย เปน็ ไปได้อย่างถาวรหรือช่ัวคราว โดยวางแผนใหเ้ ป็นไปหรือเปน็ ไปเอง และท่เี ปน็ ประโยชนห์ รือใหโ้ ทษก็ไดท้ ้ังส้ิน การเปล่ียนแปลงทางสงั คมของสงั คมไทยตง้ั แต่อดตี จนถึงปจั จบุ ัน การเปล่ียนแปลงทางสังคมนบั ตงั้ แต่สมยั สโุ ขทัยจนถงึ ก่อนสมยั รัชกาลท่ี 4 คนไทยมถี ชี ีวติ ท่ี เรียบงา่ ย เรม่ิ มกี ารตดิ ต่อค้าขายกบั ต่างชาติ มีการเปล่ียนแปลงทางสงั คมอยา่ งค่อยเป็นค่อยไปจนกระท่ัง สังคมไทยไดร้ บั อิทธิพลมากจากอารยธรรมตะวนั ตกมากย่ิงข้ึนในสมัยรัชการท่ี 4 ทำให้เกิดการเปลย่ี นแปลงทาง สงั คมอยา่ งรวดเร็ว ต่อมาไดม้ ีการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลท่ี 5 ทำใหส้ งั คมไทยเกิดการเปลยี่ นแปลง แทบทุกดา้ น เช่น ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านการปกครอง ด้านการศึกษา ด้านเทคโนโลยี เป็นตน้ เมอ่ื กล่าวถึงการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมในสมัยปจั จุบัน จะเหน็ ได้ว่าการเปลย่ี นแปลงเกือบทุก ดา้ นโดยเฉพาะหลงั จากที่ประเทศไทยไดป้ ระกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2504 เป็นตน้ มา ทท่ี ำใหก้ ารเปล่ยี นแปลงของสงั คมไทยมกี ารกำหนดทศิ ทางและแบบแผนมากข้ึน ปจั จัยที่มีผลต่อการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม 1. ปจั จัยภายใน 1.1 สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดล้อมทางภูมศิ าสตร์ ลักษณะของพืน้ ท่ี ตลอดจนความอดุ มสมบรู ณ์ของ ทรัพยากรธรรมชาติเปน็ ปจั จัยท่ชี ่วยกำหนดการจัดระเบยี บและสภาพตา่ งๆ ในสงั คม 1.2 การเปลีย่ นแปลงด้านประชากร การเปลีย่ นแปลงเรื่องขนาดและการกระจายของประชากรทำใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงทาง สังคม อาจะเกดิ การรบั เอาวฒั นธรรมไปใช้ หรอื เกดิ การผสมผสานกบั วฒั นธรรมเดมิ ของตน 2. ปจั จยั ภายนอก 2.1 สงั คมทอ่ี ยู่โดดเด่ียวและสงั คมทีม่ ีการติดต่อสมาคม สังคมท่ีมกี ารตดิ ต่อสมาคมกับบุคคลหรอื กลุม่ ต่างๆ บ่อยคร้ัง จะทำให้มกี ารเปลีย่ นแปลง มากและรวดเรว็ ในทำนองเดยี วกนั สังคมที่อยูโ่ ดดเด่ยี วจะมีการเปลยี่ นแปลงน้อยมากหรอื เกดิ การคงทท่ี าง วฒั นธรรม 2.2 โครงสรา้ งของสงั คมและวฒั นธรรม

2 สังคมท่มี กี ารแขง่ ขัน จะมีการเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรมมากกว่าสงั คมที่มแี บบแผน หรอื โครงสร้างของสังคมและวัฒนธรรมในแบบเดียวกัน 2.3 ทัศนคติและค่านยิ มเฉพาะสังคม สังคมทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงอยเู่ สมอจะมีทัศนคติท่ีแตกต่างกนั ออกไป ทัศนคติและค่านิยม เป็นปัจจยั ทช่ี ่วยใหท้ ราบวา่ การเปลยี่ นแปลงจะมีโอกาสเกดิ ขึน้ ได้มากน้อยเพียงไร เชน่ ในสังคมทย่ี ึดมัน่ ขนบธรรมเนยี มประเพณีด้งั เดิมจะเป็นสังคมท่มี ีการเปลีย่ นแปลงนอ้ ยและช้ามาก สว่ นสังคมทม่ี ีค่านิยมท่ี สง่ เสรมิ การยอมรับใหม้ สี ่ิงใหมๆ่ ก็จะเกดิ การเปล่ยี นแปลงงา่ ยและรวดเรว็ 2.4 ความต้องการทีร่ ับรู้สิง่ ใหม่ๆ ความต้องการทรี่ ับรู้สิ่งใหมๆ่ ของสมาชกิ ในสงั คม เป็นปจั จยั ท่ีช่วยบอกทิศทางและอตั รา การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม เช่น เม่ือมีความต้องการทีแน่นอนจนเป็นที่ยอมรบั ของสงั คมแล้วกจ็ ะมีาการ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการน้ัน ซงึ่ สง่ ผลให้เกดิ การเปล่ียนแปลงทางสังคมในท่สี ดุ 2.5 พ้นื ฐานทางวฒั นธรรม เมือ่ พืน้ ฐานทางวฒั นธรรมเปลี่ยนไป จะทำใหเ้ กดิ สงิ่ ใหมๆ่ เกิดขึน้ เช่น ในปัจจุบันท่ีพืน้ ฐาน ทางวัฒนธรรมในด้านเทคโนโลยี หรือความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์เจรญิ กวา่ ในอดตี ทำให้สามารถนำ ทรัพยากรธรรมชาติและแรธ่ าตตุ า่ งๆ มาใชใ้ นการผลติ ส่ิงอำนวยความสะดวกมากข้นึ ซ่ึงเป็นสาเหตใุ ห้วิถชี วี ิต ของผ้คู นในสงั คมเปลย่ี นแปลงไป รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปล่ยี นแปลงทางสังคมทเ่ี กิดขนึ้ นนั้ มสี าเหตุท่สี ำคญั มาจากการเปลย่ี นแปลงทเี่ ปน็ ไปตาม ธรรมชาติประการหน่ึง กบั การเปลยี่ นแปลงท่ีเกดิ ข้ึนจากมนษุ ย์เปน็ ผ้กู ระทำอีกประการหนง่ึ แต่ในกระบวนการ ของการเปลยี่ นแปลงสามารถทำให้เกดิ รูปแบบของการเปล่ยี นแปลง 2 แบบ ดังน้ี 1.การเปลี่ยนแปลงแบบเสน้ ตรง เปน็ การเปล่ยี นแปลงทางสังคมที่กลา่ ววา่ ทกุ สงั คมจะมี ววิ ัฒนาการแบบเดยี วกนั ตลอด โดยเปลี่ยนแปลงจากสังคมที่มคี วามเจรญิ ของอารยธรรมขั้นตำ่ ไปสู่สงั คมที่มี ความเจริญของอารยธรรมระดบั สงู ข้ันตอ่ ไป นักวิชาการท่ีเสนอรปู แบบของการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมแบบ เสน้ ตรงไดแ้ ก่ ออกุสต์ กองต์ เลวสิ เฮนรี่ มอรแ์ กน และคาร์ล มารค์ ซ์ เป็นต้น 2.การเปล่ียแปลงแบบวฎั จักร เป็นการเปลย่ี นแปลงทางสังคมทไ่ี ม่มคี วามสมำ่ เสมอ สงั คมจะมี จดุ เริ่มตน้ จากนัน้ จะคอ่ ยๆ เจรญิ ก้าวหน้าขนึ้ เร่อื ย ๆ จนถึงทีส่ ุดก็จะเสื่อมสลายไป คลา้ ยกับความเจรญิ ของ มนษุ ยท์ เ่ี ร่ิมจากเด็กทารก เติบโตเปน็ วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ วัยชรา และในที่สดุ ก็ตายจากไป หรอื หากเปรียบเทียบ การเปลยี่ นแปลงเปน็ เวลาในวันหนง่ึ ๆ คือ เร่ิมจากเช้ามดื สวา่ ง และมดื แล้วค่อย ๆ กลับมาเชา้ ใหม่ ซงึ่ การ เปลีย่ นแปลงแบบนี้เมื่อสงั คมมคี วามเจรญิ ถึงจุดสูงสุดแลว้ กจ็ ะค่อย ๆ เสอ่ื มสลายลง โดยไมไ่ ดส้ ูญหายไปแต่จะ มกี ารปรับปรงุ และเจรญิ ขน้ึ มาใหม่ เช่น สงั คมของกรีก อียิปต์ จีน อินเดยี เป็นต้น

3 อปุ สรรคในการเปลีย่ นแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสงั คมอาจไม่ไดร้ ับการยอมรับเสมอไป การเปล่ยี นแปลงบางอยา่ งอาจได้รับ การยอมรบั เพยี งบางสว่ น หรอื บางอย่างอาจไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั เลย ซ่ึงอปุ สรรคในการเปลี่ยนแปลงทางสังคม อาจสรปุ ได้ดังนี้ 1. การเห็นประโยชนข์ องการเปลี่ยนแปลง การเปล่ยี นแปลงจะไม่ไดร้ บั การยอมรับ หากสมาชิกในสงั คมไม่เหน็ คุณคา่ หรอื ประโยชน์ของ การเปลี่ยนแปลงนั้น ซ่งึ การเปล่ยี นแปลงบางอยา่ งเกดิ ขึ้นจากการทดลอง เชน่ การส่ือสารดาวเทียม เปน็ ตน้ แต่บางเร่อื งก็ไม่สามารถนำมาทดลองได้ เชน่ ภตู ผปี ศี าจ วญิ ญาณ เป็นตน้ สงั คมจะยอมรบั การเปล่ียนแปลง เม่อื สง่ิ ต่างๆ เหล่านั้นแสดงให้เห็นถงึ คณุ ประโยชน์ที่มตี ่อสังคม 2. ความสอดคลอ้ งกับวฒั นธรรมเดิม สงั คมจะยอมรับการเปลยี่ นแปลงท่ีเกิดขึน้ เม่ือการเปล่ยี นแปลงน้นั มีความสอดคล้องกบั วัฒนธรรมเดมิ หรอื ช่วยให้สังคมพฒั นาดีขึน้ โดยการเปล่ียนแปลงนน้ั ต้องไม่ขดั ต่อวัฒนธรรมทีม่ ีอยเู่ ดิมของ สงั คม ซง่ึ สงั คมจะยอมรับการเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดข้นึ ถ้าส่ิงนั้นสอดคล้องกับการปฏิบตั ิเดิมของตน และมีการ พัฒนาให้ดขี น้ึ เพ่ือประโยชนใ์ นการนำไปใช้ 3. กลุ่มรักษาผลประโยชน์ กลุ่มที่รกั ษาผลประโยชนจ์ ะคัดคา้ นการเปล่ียนแปลงถา้ พบวา่ การเปลี่ยนแปลงนน้ั ทำให้เสีย ผลประโยชน์ของกลมุ่ แตใ่ นทางตรงกนั ข้าม กลุ่มจะให้การสนบั สนุนถ้าพบว่าการเปล่ยี นแปลงนั้นเป็น ประโยชน์ต่อกลุ่ม 4. ตวั แทนการเปลยี่ นแปลง ตวั แทนการเปลีย่ นแปลงทีม่ ีอิทธิพลหรอื มีอำนาจจะประสบผลสำเร็จามากกวา่ ตัวแทนที่ไม่มใี คร รจู้ ักและหากตัวแทนการเปลีย่ นแปลงมีความเข้าใจและรจู้ ักวัฒนธรรมท่ตี นเข้าไปทำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างวัฒนธรรใหม่และวัฒนธรรมเดมิ จะทำให้การเปล่ยี นแปลงเหล่าน้นั เป็นไปตามความ คาดหมาย

4 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 1.สภาพสงั คมมนษุ ยส์ มยั กอ่ นประวัติศาสตร์ นับเป็นเวลาหลายแสนปีแล้วที่มนุษย์ได้จับกลุ่มกระทำการเพื่อประโยชน์ร่วมกันบางอย่าง สังคมมนุษย์ในยุค แรก ๆ ยังเป็นสังคมของชนกลุ่มเล็กๆที่เร่ร่อนไปตามแหล่งอาหาร การคบหาสมาคมระหว่า งกลุ่มยังจำกัด (ปริญญา เวสารชั ธ.์ 2535:18) นกั สงั คมวทิ ยาเรียกสงั คมมนษุ ย์ยคุ นีว้ า่ มนษุ ย์สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ (Pre-historic World) เรม่ิ ตง้ั แตก่ ารปรากฏตัวเป็นครั้งแรกของมนุษย์ จนถึงยุคก่อนที่ จะมีการใช้ตวั อักษร สังคมในยคุ น้ถี ูกเรียกวา่ สังคมด้งั เดิม (Primitive Society) ผูค้ นในสมยั นจี้ ะมีประวัตคิ วาม เป็นมาร่วมกันเป็นเผ่าพันธุ์หรือชาติวงศ์เดียวกัน มีภาษาพูดและวัฒนธรรมรูปแบบเดียวกัน มนุษย์ในสมัยนี้มี ชีวิตแบบคนเถื่อนพึ่งพาธรรมชาติ นักโบราณคดีแบ่งสมัยก่อนประวัติศาสตร์ออกเป็นยุคหินและยุคโลหะ โดย ยคุ หินแบ่งไดเ้ ป็น ยคุ หนิ เก่า (Old Stone Age) ยุคหนิ ใหม่ (New Stone Age) และยคุ โลหะแบ่งออกเป็น ยุค ทองแดง (Copper Age) ยุคสำริด (Bronze Age) และยคุ เหลก็ (Iron Age) 1.1 สงั คมมนุษย์ยคุ หนิ เกา่ ยุคหินเก่าแบ่งเป็นยุคย่อยๆได้ 3 ระยะ ได้แก่ยุคหินเก่าตอนต้น ยุคหินเก่าตอนกลางและยุคหินเก่าตอนปลาย คนในยุคหินเก่าดำรงชีพด้วยการล่าสัตว์และเสาะแสวงหาพืชผักผลไม้กินเป็นอาหาร มีการพึ่งพาอาศัย ธรรมชาติและสภาวะแวดล้อมอย่างเต็มที่ กล่าวคือ เมื่อฝูงสัตว์ที่ล่าเป็นอาหารหมดลง ก็ต้องอพยพย้ายถ่ิน ติดตามฝูงสัตว์ไปเรื่อยๆ การที่มนุษย์จำเป็นต้องแสวงหาถิ่นที่อยู่ใหม่เพราะต้องล่าสัตว์ดังกล่าว อาจทำให้คน ต้องปรับพฤติกรรมการบริโภคไปในตัวด้วย เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของคนในยุคหินเก่าต้องอยู่กับการแสวงหา อาหาร และการป้องกนั ตวั จากสัตวร์ ้ายและภยั ธรรมชาติ รวมถึงการต่อสใู้ นหมู่พวกเดยี วกันเพ่ือการอยรู่ อด จึง ทำใหต้ อ้ งพฒั นาเกีย่ วกบั เคร่ืองมือลา่ สตั ว์ โดยการพฒั นาอาวุธทที่ ำด้วยหนิ สำหรับตดั ขดู หรอื สับ เชน่ หอก มีด และเขม็ เปน็ ต้น 1.2 สังคมมนุษย์ยคุ หินใหม่ คนในยุคหินใหม่ได้เริ่มปฏิวตั ิการครองชีพด้วยการเปลี่ยนวถิ ีชวี ติ จากการล่าสตั วแ์ ละหาของป่ามาเลี้ยงสัตว์มา ทำการเพาะปลกู แทน ถือเปน็ การปฏวิ ัตทิ างสังคมและเศรษฐกิจครงั้ สำคัญของมนุษยชาติ การเปล่ยี นวถิ ีชวี ติ มา เป็นเกษตรกรดังกล่าว นอกจากจะทำให้คนต้องหันมาเลี้ยงสัตว์และฝึกหัดสัตว์ให้เชื่องแล้ว คนยังต้องเรียนรู้ การไถหวา่ นและเกบ็ เกย่ี วพชื เช่น ลูกเดอื ย ข้าวสาลี ข้าวโพด เปน็ ตน้ อกี ดว้ ย 1.3 สังคมมนุษย์ยุคโลหะ คนยคุ โลหะเรม่ิ รจู้ ักใช้ทองแดงและสัมฤทธิ์ มาทำเปน็ เครือ่ งมือเครื่องใชแ้ ละเครื่องประดบั ในสว่ นของกิจกรรม การเพาะปลกู และเลี้ยงสตั วไ์ ด้มกี ารพฒั นาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขึ้น วิถีชีวิตของคนในยุคโลหะไดเ้ ปลย่ี นจาก สภาพความเป็นอยู่แบบชุมชนเกษตรมาเป็นชมุ ชนเมือง ซงึ่ เมืองดังกลา่ ว ตอ่ มาได้กลายเป็นศูนยก์ ลางของการ

5 เกษตรกร การปกครองและสังคม ความสัมพันธ์ทางสังคมของคนยุคนี้จะอยูก่ ันแบบเครือญาติ (Kinshiprelations) มคี วามรกั ใคร่กลมเกลยี ว และผูกพันอยา่ งใกล้ชิดเพราะเปน็ สงั คมขนาดเลก็ การจดั ระเบียบทางสังคมจะเป็นไปในแบบของตระกูล (Clan) และหมู่บ้าน (Village) มากกว่าทีจ่ ะเปน็ ไปในสงั คม แบบปัจจบุ นั 2.สภาพสงั คมมนษุ ย์สมัยประวตั ิศาสตร์ สังคมมนุษยส์ มัยประวัตศิ าสตร์ เริ่มขึ้นเมือ่ มนษุ ยร์ ู้จักการใช้ตวั อักษรในการจดบันทึกเร่ืองราวต่าง ๆ ทำให้เรา สามารถศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ได้กระจ่างชัดมากขึ้น สภาพสังคมในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจาก หม่บู ้านแบบเกษตรกรรมได้ขยายใหญ่ขึ้นกลายสภาพมาเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกจิ คนที่อาศยั อยู่ในเมืองมิได้ มีเพียงผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเท่านั้น แต่มีผู้ประกอบอาชีพอื่นๆมากขึ้น ความสัมพันธ์ทางสังคมของคน ในยคุ นขี้ ้นึ อยู่กบั อาชีพ และตำแหน่งหน้าท่ีทางสงั คม ไดแ้ ก่ พวกช่างฝีมือ ชา่ งปั้นหม้อ ชา่ งก่อสร้าง ช่างทอผ้า เป็นต้น ส่วนผู้ที่ทำหน้าที่ฝ่ายปกครองได้แก่ พระ และนักรบ ซึ่งถือเป็นกลุ่มชนชั้นสูง รองลงมาคือ ช่างฝีมือ พ่อค้า ชาวนา ชาวไร่ ซึ่งเป็นอาชีพอิสระ ชนชั้นต่ำสุดคือ พวกทาสหรือกลุ่มผู้ใช้แรงงาน จะเห็นได้ว่าสังคม มนุษย์สมัยประวัติศาสตร์จะมีความเป็นชุมชนเมืองสูง ผู้คนประกอบด้วยกลุ่มต่างๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบ อาชีพหรือมีหน้าที่ต่างกัน รวมอยู่ในชุมชนเดียวกัน ซึ่งมีความสลับซับซ้อนมากกว่าสังคมเดิม การครองชีพมี ความสะดวกสบายมากขึ้น ทำให้คนมีเวลาว่างมากขึ้น เอื้ออำนวยต่อการสร้างสมความเจริญต่าง ๆ จน กลายเป็นอารยธรรมของโลก ซึ่งพอจะแยกได้ดงั นี้ 2.1 สังคมมนุษยส์ มัยโบราณ จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ แหล่งอารยธรรมโบราณจะอยู่บรเิ วณลุ่มแม่น้ำสายสำคัญในทวปี เอเชีย ทวปี แอฟริกาและรอบๆทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียน เช่น ล่มุ แม่น้ำไนล์ ล่มุ แมน่ ำ้ ไทรกรสี -ยูเฟรตสี ลุม่ แมน่ ้ำสินธุ ลมุ่ แม่นำ้ ฮวงโห เปน็ ตน้ ซ่ึงอาจแบ่งออกไดเ้ ป็นอารยธรรมโบราณตะวันตก และอารยธรรมโบราณตะวนั ออก ดัง จะกล่าวถงึ อาณาจกั รสำคัญ ๆ ดังนี้ • 2.1.1 เมโสโปเตเมีย เมโสโปเตเมยี (Mesopotamia) หมายถึง ดินแดนท่อี ยรู่ ะหว่างแม่น้ำไทกรีส (Tigris) และยเู ฟรตสิ (Euphrates) ปจั จุบนั คือเขตประเทศอิรัก ณ ที่นี้สังคมแบบเมืองในยุคหินใหม่ได้เจริญขึ้นเป็นครั้งแรก จึงนับว่าเป็นแหล่งความเจริญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก นครรัฐซูเมอร์ (Sumer) คือแหล่งกำเนิดอารยธรรมแห่งแรกในเมโสโปเตเมีย ผู้ให้กำเนิดอารยธรรมแห่งนี้คือ ชาวสุเมเรียน (Sumerians) เชื่อว่ามาจากที่ราบสูงอิหร่านและเข้ามาอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำไทกรีสเมื่อ ประมาณ 4,000 ปกี อ่ นคริสตกาล

6 • 2.1.2 อาณาจักรอยี ิปต์ อียิปต์โบราณอันเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมโบราณ หมายถึง ดินแดนลุ่มแม่น้ำไนล์ นับตั้งแต่ที่ตั้งเขื่อนอัสวัน ทางตอนใต้ขึ้นมาถึงนครไคโรปัจจุบัน ข้อแตกต่างในการสร้างอาณาจักรระหว่างชาวสุเมเรียนกับชาวอียิปตค์ ือ ชาวสุเมเรียนเข้ามารวมกลุ่มในรูปของนครรัฐ แต่สำหรับอียิปต์ได้รวมเข้าอยู่ภายใต้กษัตริย์องค์เดียว เม่ือ ประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล กษัตริย์ผู้ครองอียิปต์พระนามว่าเมนิส (Menes) ได้สถาปนาราชวงศ์ข้ึน ปกครองเปน็ ฟาโรห์ (Pharaoh) องคแ์ รกของราชอาณาจักรอยี ิปต์ ราชอาณาจกั รนี้ไดร้ ุ่งเรืองสืบต่อเน่ืองกันมา อกี เป็นเวลาเกือบ 3,000 ปี • 2.13 อาณาจกั รกรีก กรีกโบราณได้รับอิทธิพลความเจริญโดยตรง จากทั้งเมโสโปเตเมีย และอียิปต์ ด้วยอิทธิพลดังกล่าว ชาวกรีก โบราณจึงพัฒนาอารยธรรมจนกลายเป็นอารยธรรมท่ียิ่งใหญ่ที่สุดแหง่ หนึ่งของโลก ชาวกรีกเป็นชาวอารยันซ่งึ ชนเผ่านี้มีถิ่นเดิมอยู่ทางเหนือ เมื่อประมาณ 3,000 ปีก่อน คริสตกาลได้แยกออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มหน่ึง เดินทางไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียเรียกว่า ชาวอินโดอารยัน อีกกลุ่มหนึ่งเดินทางมุ่งไปทาง ตะวนั ตก ผ่านตอนใต้ของรสั เซียลงส่แู หลมบอลขา่ น และเข้ามาตงั้ รกรากบรเิ วณคาบสมุทรเพโลพอนเนซสั ( Peloponnesus ) ทใ่ี นปัจจบุ ันเรยี กว่ากรีซ • 2.1.4 อาณาจักรโรมัน ชาวโรมันก็เป็นชนเผ่าอินโดยูโรเปียนเช่นเดียวกับชาวกรีก ซึ่งชนเผ่าอินโดยูโรเปียนแยกออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ หลายกลุ่มด้วยกัน ได้แก่ กลุ่มชาวละติน (Latin) กลุ่มชาวอีทรัสกัน (Etruscan) เป็นต้น ในบรรดากลุ่มต่าง ๆ เหลา่ นีช้ าวโรมนั เปน็ กลมุ่ ท่เี ข้มแข็งทีส่ ดุ ในชั้นต้น ชาวโรมันตกอยู่ใต้อำนาจการปกครองของพวกอีทรัสกัน ต่อมาได้ร่วมใจกันขับไล่กษัตริย์อีทรัสกัน ออกไปจากกรุงโรมเป็นผลสำเร็จ และได้สถาปนากรุงโรมเป็นสาธารณรัฐอิสระ (Republic) และเพื่อความ ปลอดภัยจากชาวละตินกลุ่มอื่น ๆ ชาวโรมันจงึ คอยปราบปรามพวกกล่มุ ตา่ ง ๆ รวมทงั้ พวกกรีกเขา้ ไว้ในอำนาจ ได้มากที่สุด เพราะชาวโรมนั เป็นชาตินักรบที่เข้มแขง็ และสามารถครอบครองดนิ แดนต่าง ๆ เป็นบริเวณกว้าง ใหญ่ไพศาล คนทว่ั ไปจึงมกั เรียกชาวโรมนั วา่ จักรวรรดโิ รมัน • 2.1.5 อาณาจกั รลมุ่ แมน่ ้ำสินธุ บริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุ ตั้งแต่เขตที่ราบหุบเขาหิมาลัยไปจนจดชายฝั่งทะเลในเขตอินเดียภาคตะวันตก ทาง แคว้นปัญจาบและบริเวณประเทศปากีสถานในปัจจุบันเป็นแหล่งกำเนดิ อารยธรรมอินเดีย และต่อมาได้ขยาย

7 ไปครอบคลุมลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบน แม่น้ำสินธุมคี วามสัมพันธ์กับอารยธรรมของพวกสเุ มเรียนในดินแดนเมโส โปเตเมีย อาจกลา่ วไดว้ า่ ผลิตภัณฑ์จากนครในลุ่มแม่น้ำสินธุได้เผยแพร่ไปถงึ ริมฝั่งแม่นำ้ ไทกรีส-ยูเฟรติส มีการ แลกเปล่ียน สินคา้ ไม่ใช่เฉพาะวตั ถุดบิ และสินค้าประเภทฟุ่มเฟอื ยเทา่ นนั้ แต่ยังรวมไปถึงพวกอาหารดว้ ย • 2.1.6 อาณาจักรลุม่ แม่น้ำฮวงโห ลุ่มแม่น้ำฮวงโห หรือลุ่มแม่น้ำเหลือง เป็นแหล่งอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่แหล่งหนึ่งของโลก ตั้งอยู่ในประเทศจีน เรื่องราวของจีนในสมัยดึกดำบรรพ์นัน้ ประกอบด้วยนิทานและนิยายต่าง ๆ มากมาย ต่อมาเราสามารถสบื คน้ เรื่องราวเกี่ยวกับแหล่งอารยธรรมของลุ่มแม่น้ำ ฮวงโหได้ถึง 5,000 ปีเศษ เพราะว่ามีผู้บันทึกเหตุการณ์ไว้ มี การค้นพบอาวุธและเครื่องมือหินในประเทศอีกมากมาย โดยเฉพาะทางตะวันตกเฉียงเหนือของแคว้นโฮนาน และขุดค้นพบซากโครงกระดูกมนุษย์ในถ้ำใกล้กับกรุงปักกิ่ง นักโบราณคดีตั้งชื่อโครงกระดูกว่า “โครงกระดูก มนุษย์ปักกิ่ง” ทำให้ทราบว่าบริเวณที่เป็นประเทศจีนเคยเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์รุ่นแรกๆ ที่ยังมีรูปร่าง หน้าตาไม่เหมือนกัน มนุษย์สมัยปัจจุบันอายุ 50,000-110,000 ปีมาแล้ว อารยธรรมสมัยนี้จัดอยู่ในยุคหินเก่า ตอนต้น 2.2 สังคมมนุษยส์ มัยกลาง สมัยกลาง หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 5 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกถูกพวกอ นารยชนเผ่าเยอรมันเขา้ ยึดครอง จนกระท่งั ถงึ ครสิ ศตวรรษที่ 15 ซงึ่ เปน็ ปีทีก่ รงุ คอนสแตนติโนเปลิ เมืองหลวง ของจักรวรรดิโรมันตะวนั ออก อยู่ใต้อิทธิพลของพวกออตโตมันเตอรก์ ซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม รวมระยะเวลา ของสมัยกลางราว 1,000 ปี สังคมสมัยกลางเป็นสังคมเกษตรกรรม ไม่มีอุตสาหกรรมหรือการค้าขาย ในแง่ อารยธรรมกล่าวได้ว่า สมัยกลางเป็นยุคมืด ศาสนาคริสต์มีอิทธิพลต่อชีวิตผู้คนโดยทั่วไป วัดกลายเป็น ศูนย์กลางความรู้โดยมีพระและบาทหลวงเป็นผูส้ อนอ่านเขียน และถ่ายทอดวิทยาการ สังคมยุโรปจึงตกอยู่ใต้ อิทธิพลของศาสนาคริสต์ในราวคริสตศตวรรษที่ 8 – 9 ได้มีการก่อตัวของระบบศักดินาสวามิภักด์ิ (Feudalism) ระบบศักดินาสวามิภักดิ์ หรือระบบฟิวดัล คำว่าฟิวดัล (Feudal) มาจากภาษาละตินว่า Feudum ใน ภาษาอังกฤษหมายถึง Fee หรือ Fief แปลว่า ที่ดิน ลักษณะสำคัญของระบบฟิวดัลคือ ความผูกพันระหว่าง เจ้าของที่ดิน (Lord) กับผู้ทำกินในที่ดิน หรือผู้รับมอบที่ดิน เรียกว่า วาสซาล (Vassal) ทั้งลอร์ดและวาสซาล จะต้องทำพิธีสาบานต่อกันว่าจะรักษาพันธะและหน้าที่ของตน กล่าวคือ ลอร์ดจะต้องพิทักษ์รักษาวาสซาลให้ ปลอดภัยจากศัตรู ให้ความยุติธรรมปกป้องคุ้มครอง ส่วนวาสซาลจะต้องช่วยทำงานให้ลอร์ด ทั้งทางด้าน การทหาร และช่วยเหลอื ทางด้านการเงนิ แกล่ อรด์ สังคมสมยั กลางแบ่งคนออกเป็น 3 ชนชนั้ คอื ชนช้ันขุนนาง มหี นา้ ทใี่ นการปกครอง กลุ่มทสี่ องคือ สามัญชน สว่ นใหญ่เป็นชาวนาซึ่งอาศัยอยใู่ นทีด่ ินของขุนนางในลักษณะ ของทาสติดทีด่ ิน ชาวนาโดยท่ัวไปมชี ีวิตที่ลำบากยากไร้ ต้องส่งผลผลิตให้แก่ขุนนาง ชนกลุ่มที่ 3 คือ พระและ

8 นักบวช ซึ่งมีหน้าที่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาคริสต์ ซึ่งสมัยกลางนี้ ศาสนาคริสต์มีอิทธิพลมาก จนกล่าวได้วา่ สมัยกลางเป็นสมัยแห่งศรทั ธา (Age of Faith) ชีวิตผู้คนตั้งแต่เกิดจนตายจะถูกควบคุมด้วย ศาสนจักร พวกที่ ไมป่ ฏิบตั ิตามคำสอนทางศาสนาจะถกู ลงโทษด้วยวิธที ่เี รยี กวา่ บพั พาชนียกรรม( Excommunication ) ศาสนาอิสลาม ในราวคริสตศตวรรษที่ 7 ได้กำเนิดศาสนาใหม่คือ ศาสนาอิสลาม โดยมีศาสดาคือ นบีมูฮัมหมัด ได้ประกาศคำสอนหรือความเชื่อในดินแดนตะวันออกกลาง และแพร่กระจายไปทั่วจนถึงลุ่มแม่น้ำสินธุ การ ขยายตัวของศาสนาอิสลามทำให้ภาษาอาหรับเปน็ ท่รี จู้ ักกนั แพร่หลาย เป็นคู่แข่งสำคญั ของศาสนาคริสต์ จนทำ ใหเ้ กิดสงครามศาสนาทเ่ี รียกว่า สงครามครูเสดขน้ึ สงครามครเู สด เป็นสงครามศาสนาทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่าง ค.ศ. 1095 ถึง ค.ศ. 1272 โดยมีสงครามครัง้ สำคัญๆ 8 ครงั้ ชาวครสิ ต์ในยโุ รปได้เดนิ ทางไปสรู้ บกับพวกมุสลมิ ในตะวันออกกลาง จุดประสงคส์ ำคัญ คอื การแย่งชิงนคร เยรูซาเล็ม ซึ่งเป็นสถานที่สำคัญทางศาสนาคริสต์แลศาสนาอิสลาม สงครามครูเสดทำให้ระบบศักดินา สวามิภักดิ์ถูกทำลายลง เพราะขุนนางต้องสูญเสยี กำลังคน และกำลังทรัพย์ในการรบ ส่วนทาสติดที่ดินทีอ่ าสา ไปรบ หากรอดชีวิตกลับมาก็ได้เป็นอิสระ อำนาจของขุนนางจึงลดลง นอกจากนี้สงคราม ครูเสดยังกระตุ้น การค้าระหว่างโลกตะวนั ตก และโลกตะวันออก พวกนักรบครูเสดไดน้ ำสินค้า เชน่ เครื่องเทศ ผ้าไหม ผา้ ซาติน และผลไม้ชนิดต่าง ๆ กลับไปเผยแพร่ในยุโรป สังคมจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เกิดชุมชนเมือง ขยายตัวครอบคลมุ ไปท่วั ยุโรป อิทธพิ ลของศาสนาคริสตล์ ดน้อยลง มีการเรียกร้องใหม้ ีการปฏริ ูปศาสนา 2.3 สังคมมนุษย์สมยั ใหม่ สมัยใหมเ่ ริม่ ขึ้นต้งั แตร่ าวกลางครสิ ตศตวรรษท่ี 15 เมอื่ ระบบศกั ดินาสวามิภกั ดิเ์ สื่อมลงไดม้ ีการสถาปนารัฐชาติ (Nation State) ขึ้น ปัจจัยสำคัญสืบเนื่องมาจากอิทธิพลของศาสนาจักรเสื่อมลง เกิดความรู้สึกชาตินิยมขึ้น นอกจากนี้ยุคของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการซึ่งเกิดในช่วง คริสตศตวรรษที่ 14–16 ได้เกิดการก่อตัวของลัทธิ มนุษยนิยม (Humanism) ขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาการเกิดขึ้นในแหลมอิตาลี มีความก้าวหน้าทางวิทยาการ ส่วนการปฏิรูปศาสนาทำให้เกิดศาสนาคริสต์นิกายใหม่ คือ โปรเตสแตนท์ และเป็นการลดบทบาทของ สันตปาปาลง พระมหากษัตริย์มีอำนาจมากขึ้น จึงก่อให้เกิดสังคมในรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า รัฐชาติเกิดขึ้นคร้ัง แรกในยโุ รปแล้วแพรก่ ระจายไปทวั่ รฐั ชาตทิ สี่ ำคัญในระยะแรกไดแ้ ก่ สเปน โปรตเุ กส ฝร่ังเศส อังกฤษ เป็นต้น รฐั ชาตเิ หล่าน้ีจะปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย์ การค้นพบดินแดนใหม่ทำให้ชาวยุโรปเข้าไปจับจองดินแดนส่วนต่าง ๆ ของโลกในลักษณะของการยึดครอง อาณานิคม และนำไปสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งมีผลกระทบต่อสังคมมนุษย์อย่างมาก กล่าวคือ การปฏิวั ติ อุตสาหกรรมทำให้เกิดการขยายตัวของเมือง มีประชากรเพิ่มมากขึ้น เมื่อเกิดการผลิตในระบบ โรงงานทำให้ ประชากรถกู เอารดั เอาเปรียบจากนายทนุ ทั้งในดา้ นคา่ จา้ ง สวสั ดกิ ารและทว่ั ไป การทำงาน การใช้แรงงานเด็ก และสตรี เกดิ ชนชน้ั ใหมท่ ีม่ บี ทบาทและระบบทางเศรษฐกจิ คือ ชนช้ันกลาง หลังการปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมได้เกิด

9 การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยมในทวีปเอเชียและแอฟริกา จนเป็นสาเหตุให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 สงครามโลกทั้งสองครั้งมีผลกระทบโดยตรงต่อชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะสงครามโลกครั้งที่ 2 มนุษย์ได้นำ ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีมาผลติ อาวธุ ประหัตประหารกัน

10 วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ หมายถงึ กระบวนการศึกษา วิเคราะห์ และตคี วามจากร่องรอยหลักฐานทั้ง ที่เป็นลายลักษณ์อักษร และไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ โดยใช้หลักเหตุผล อธบิ ายเหตกุ ารณ์ และความเปน็ มาตา่ งๆ ในอดีต ให้มคี วามใกลเ้ คยี งความเป็นจรงิ มากที่สดุ การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ ช่วยให้เราเขา้ ใจปจั จบุ ันมากยิง่ ขึ้น วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ จงึ ถูกใช้เป็นแนวทางใน การศึกษาวิจัยภูมิหลังในอดีต เพื่อให้ผู้ศึกษาพิจารณาหลักฐานอย่างรอบด้านก่อนสรุปผล อีกทั้งยังเป็น กระบวนการสรา้ งความน่าเช่อื ถือใหก้ ับชุดข้อมลู ดว้ ย สำหรบั วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ 5 ขัน้ ตอน มีดงั น้ี 1. การกำหนดหวั ขอ้ ถอื เป็นขน้ั ตอนแรกที่ผู้ศึกษาประวตั ิศาสตร์จะต้องกำหนดเป้าหมาย และขอบเขตทีต่ ้องการศึกษาให้ชดั เจน ว่า ตอ้ งการศึกษาเร่อื งอะไร เพราะเหตุใด อยู่ในความสนใจหรือไม่ แล้วจึงตั้งคำถามต่อสิ่งท่ีต้องการศึกษา รวมถงึ การประเมินเรอ่ื งเวลา และทุนสำหรบั วิจัย 2. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ต้ังสมมติฐานไวส้ ำหรับหวั ข้อทตี่ ้องการศึกษา แล้วเรมิ่ ค้นควา้ ขอ้ มูล ความแตกต่างของการสบื ค้นทาง ประวตั ิศาสตร์ ไม่สามารถใช้ชุดแบบสอบถามได้ แตต่ ้องลงมือศึกษาหลักฐานตา่ งๆ ทง้ั หลกั ฐานชนั้ ตน้ และชน้ั รอง เพื่อรวบรวมข้อมูลให้รอบด้าน และตรงตามเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ 3. ประเมินคุณคา่ หลักฐาน ทางประวตั ศิ าสตร์จะใชว้ ิธกี ารประเมินคุณค่าของหลกั ฐานทีเ่ รียกวา่ การวิพากษ์ โดยพจิ ารณาว่าหลักฐานแต่ ละชนิ้ น่าเชอื่ ถือหรือไม่ สามารถนำมาใช้อ้างอิงไดห้ รือไม่ ตรวจสอบความแท้-เทยี ม อายุความเกา่ แก่ ซึง่ บางคร้งั อาจตอ้ งอาศยั ผเู้ ช่ยี วชาญทางโบราณคดี หรือใช้การพสิ จู น์หลักฐานดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ 4. การตีความวิเคราะหข์ อ้ มูล เม่ือคัดเลือกหลักฐานได้แลว้ ข้ันตอนต่อมาคือการตีความเจตนาท่แี ทจ้ รงิ ของหลักฐาน ไมว่ า่ จะเป็นภาษาทใ่ี ช้ ขนาด รปู ร่าง ลกั ษณะทางศลิ ปะ สภาพสังคม ฯลฯ วิเคราะหว์ า่ หลกั ฐานและข้อมูลที่ไดร้ ับแฝงคติความเชื่อ อย่างไรบ้าง 5. การเรียบเรยี งนำเสนอ ขั้นตอนสุดท้ายของวิธีทางประวัติศาสตร์ เมื่อสรุปผลการศึกษาวิจัยได้แล้ว แบ่งออกเป็นการนำเสนอ

11 ระดับพื้นฐาน เชิงบรรยาย งานเขียน และการนำเสนอระดับวิเคราะห์ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญและ ประสบการณท์ ่ีได้รับการฝึกฝนมาอย่างดี

ค บรรณานกุ รม https://punriboon.wixsite.com/education01/new-page-1 https://www.baanjomyut.com/library_4/global_society/01_1.html https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2074390


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook