Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสนาพุทธในประเทศศรีลังกา

ศาสนาพุทธในประเทศศรีลังกา

Published by boosadee2878, 2020-06-11 05:33:57

Description: ศาสนาพุทธในประเทศศรีลังกา

Search

Read the Text Version

สงั คมศกึ ษา 5

ใบความรู้เร่อื ง ศาสนาพทุ ธในประเทศศรลี ังกา รวู ันเวลิสเซยาสถปู (อังกฤษ: Ruwanwelisaya Stupa) มหาสถูปทรงโอควำ่ ในเมือง อนรุ าธปรุ ะ (อังกฤษ: Anuradhapura) ประเทศศรลี งั กา ศาสนาพทุ ธได้แผ่ขยายจากประเทศอินเดียสลู่ ังกาทวีป เมอื่ ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๓๖ ในคราวที่พระเจ้า อโศกมหาราช (องั กฤษ: Ashoka the Great) ทรงอุปถมั ภก์ ารสังคายนาพระธรรมวินัยคร้ังท่ี ๓ ในอนิ เดยี และ ได้ส่งพระเถระผูร้ อบรแู้ ตกฉานในพระธรรมวินยั ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดนิ แดนต่าง ๆ รวม ๙ สายด้วยกัน และใน ๙ สายนั้น สายหนึ่งได้มายังเกาะของชาวสิงหล (คือประเทศศรีลังกา ในปัจจุบัน) โดยการนำของพระ มหินทเถระ ในรัชสมัยของพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ (อังกฤษ: Devanampiya Tissa) แห่งอาณาจักรอนุราธปุ ระ (อังกฤษ: Anuradhapura period, ระหวา่ ง ๓๗๗ ปี กอ่ น ค.ศ. - ค.ศ. ๑๐๑๗) ซง่ึ เปน็ กษตั ริย์ของลังกาใน ขณะนั้น ศาสนาพุทธที่เข้าสู่ลังกาในยุคนี้ เป็นศาสนาพุทธแบบเถรวาท พระมหินทเถระได้นำเอาพระไตรปิฎก และอรรถกถาไปส่ลู ังกาดว้ ย การเดินทางไปสลู่ งั กาของพระมหินทเถระในคร้ังนัน้ นอกจากเปน็ การเผยแผ่พุทธ ศาสนาแล้ว ยังถือว่าเป็นการปลูกฝังวัฒนธรรมของชาวลังกา เพราะท่านมิเพียงแต่นำเอาพระพุทธศาสนาไป เท่านั้น ท่านยังได้นำเอาอารยะธรรม ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม เข้าไปด้วย ลำดับต่อมา พระนางอนุฬาเทวี มเหสีและสตรีบริวารจำนวนมาก ปรารถนาจะอุปสมบทบ้าง พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะจึงทรงส่งคณะทูตไปสู่ ราชสำนักของพระเจ้าอโศก ทูลขอพระนางสังฆมิตตาเถรี และกิ่งพระศรีมหาโพธิ์ ด้านทักษิณมาสู่ลังกาทวีป และพระนางสงั ฆมิตตาเถรีเปน็ อุปชั ญาย์บรรพชาอปุ สมบทแก่สตรชี าวลังกา ไดต้ ง้ั คณะภิกษุณีข้นึ ในลงั กา

ประวตั คิ วามเป็นมา การเผยแผ่ศาสนาพุทธทเี่ กาะลงั กา เมื่อพระมหินทเถระ (บาลี: Mahinda, สันสกฤต: Mahendra ท่านเป็นพระโอรสของพระเจ้าอโศก มหาราช เกิดในอจุ เจน รัฐมัธยประเทศ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๓) ไดร้ ับมอบหมายจากพระอปุ ัชฌาย์ คอื พระ โมคคัลลีบุตรติสสเถระ (บาลี: Moggaliputta-Tissa) ให้ไปเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาที่เกาะลังกาแล้ว ก็พิจารณา ว่า ถึงเวลาสมควรทจี่ ะเดินทางไปหรือไม่ กร็ ู้วา่ ยังไม่สมควร เนอ่ื งจากพระเจ้ามุฏสีวะ แหง่ กรุงอนรุ าธปุระ ทรง ชราภาพมาก ไม่สามารถยกย่องเชิดชูพระศาสนาได้ จึงรอเวลาถึง ๗ เดือน จนพระเจ้ามุฏสีวะเสด็จสวรรคต จากน้นั พระเจ้าเทวานัมปยิ ตสิ สะ (อังกฤษ: Devanampiya Tissa) พระราชโอรสขน้ึ ครองราชย์ต่อมา และพระ เจ้าอโศกได้ทรงส่งเครอื่ งบรรณาการเปน็ จำนวนมากไปถวาย พรอ้ มกับธรรมบรรณาการมขี อ้ ความว่า “ หม่อมฉันไดถ้ งึ พระพทุ ธเจ้า พระธรรม และ พระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะท่ีพงึ่ แล้ว ไดแ้ สดงตน เปน็ อบุ าสกในพระศาสนาแห่งศากยบตุ ร, ข้าแต่พระองค์ ผู้สูงสดุ กวา่ นรชน! ถึงพระองค์ ทา่ นก็จงยงั จติ ให้ เลอ่ื มใสในอุดมวัตถุทัง้ ๓ เหล่าน้ีเถดิ ขอให้ทรง เข้าถึงรัตนะทง้ั ๓ นั้นว่า เป็นสรณะท่พี ึ่ง ดว้ ยพระศรัทธาเถิด” — — ทมี่ า: อรรถกถา มหาวภิ ังค์ ปฐมภาค เวรัญชกณั ฑ์ หนา้ ต่างท่ี ๕ (84000.org) พระมหินทเถระ พระอรหนั ต์ผู้นำศาสนาพทุ ธมายังเกาะลงั กา

ในปี พ.ศ. ๒๓๖ พระมหินทเถระ พร้อมกับพระอิฏฏิยเถระ พระอุตติยเถระ พระภัททสาสเถระ พระ สัมพลเถระ สุมนสามเณร (โอรสของพระนางสังฆมิตตา ) ซึ่งล้วนเป็นพระอรหันต์พร้อมด้วยปฏิสัมภิทา และภัณฑกอุบาสก ผู้ได้เห็นสัจจะแล้ว รวมเป็น ๗ ท่าน ได้เหาะไปทางอากาศ ไปที่มิสสกบรรพต หรือเจติย บรรพต แปลวา่ ภเู ขาแหง่ เจดยี ์ อยู่ทางทศิ ตะวนั ออก (ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร) ของเมอื งอนุราธปรุ ะ ในปัจจบุ ัน เรียกว่ามิหินตเล หรือมหินทเล (อังกฤษ: Mihintale) และถัดจากมหินตเลนั้นมีอัมพัตถละเจดีย์ (อังกฤษ: Ambasthala Dagaba แปลว่าเจดีย์บนเนินมะม่วง ) สถานที่ที่พระมหินทเถระ พบกับพระเจ้าเทวานัมปิยติส สะ ขณะเสดจ็ ออกมาลา่ สัตว์ เม่ือทา่ นทง้ั สองไดพ้ บกัน พระมหนิ ทเถระไดถ้ วายพระพรวา่ “บดั น้ี ชมพทู วปี ร่งุ เรืองไปดว้ ยผา้ กาสาวพสั ตร์ สะบัดอบอวลไปดว้ ยลมฤษี, ในชมพูทวปี นั้น มีพระ อรหันตพ์ ุทธสาวกเป็นอันมาก ซ่งึ เป็นผูม้ ีวิชชา ๓ และได้บรรลฤุ ทธ์ิ เช่ียวชาญทางเจโตปรยิ ญาณ สน้ิ อา สวะแลว้ ” — — ทีม่ า: อรรถกถา มหาวิภังค์ ปฐมภาค เวรัญชกัณฑ์ หนา้ ตา่ งที่ ๕ (84000.org) เมอ่ื พระเถระทดสอบพระปัญญาของพระราชาแล้ว ทราบวา่ ทรงเป็นบัณฑิต จักทรงสามารถรู้ธรรมได้ จึงแสดงจูฬหัตถิปโทปมสูตร ในเวลาจบกถา พระราชาพร้อมด้วยข้าราชบริพารประมาณส่ีหมื่นดำรงอยู่ในไตร สรณคมน์ ประกาศตนเปน็ พทุ ธมามกะ อัมพัตถละเจดีย์ สร้างขึ้น ณ จุดที่พระมหินทเถระ พบกับพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ เป็นครั้งแรก ภายในบรรจุ พระธาตุพระมหินทเถระ ด้านซ้ายที่เป็นก้อนหินสูง ๆ นั้น บนยอดสูงสุด คือ จุดที่พระมหินทเถระ และคณะ สงฆ์ผู้ติดตาม ลงเหยียบพื้นเกาะลังกาเป็นครั้งแรก และเป็นที่ที่สุมนสามเณร ประกาศชุมนุมเทวดา เพื่อฟัง ธรรมจากพระมหนิ ทเถระ

ศาสนาพุทธเจริญรุ่งเรอื งในเกาะลังกา เมื่อพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ เสด็จกลับแล้วพระมหินทเถระ มอบให้สุมนสามเณร ประกาศเวลาฟัง ธรรมทัว่ เกาะลงั กา เสยี งโฆษณานนั้ กระฉ่อนไปถงึ พรหมโลก เม่ือพระเถระเห็นเทวดามาประชุมกนั มากมาย จึง แสดงสมจิตตสูตร ในเวลาจบกถา เหล่าเทวดาประมาณอสงไขยหนึ่งได้บรรลุธรรม นาคและสุบรรณมากมายก็ ไดต้ ัง้ อยใู่ นสรณคมน์ วันรุ่งขึ้นพระราชาส่งรถไปรับพระเถระ และคณะไปฉันและแสดงธรรมในพระราชวังกรุงอนุราธปุระ ท่านไม่ขึ้นรถ แต่เหาะมาทางอากาศ เมื่อพระเถระเห็นการบูชาและสักการะของพระราชาแล้ว ก็คิดว่า พระพุทธศาสนาจักแผ่ไปทัว่ ลังกาทวีป และตั้งมน่ั ไม่หว่นั ไหวดจุ แผ่นดิน และไดแ้ สดงเปตตวตั ถุ วมิ านวตั ถุ และ สัจจสังยุต โปรดพระราชาและชาวเกาะ สตรีในวัง ๕๐๐ ที่มีพระนางอนุฬา เป็นประมุข ได้สำเร็จเป็นพระ โสดาบัน และแสดงอาสิวิโสปมสูตร มีผู้บรรลุพระโสดาบัน ๑,๐๐๐ คนในวันต่อมา พระเถระแสดงธรรม มีผู้ บรรลุธรรม ๒,๕๐๐ คน พระราชาถวายพระราชอุทยานนันทวัน (อังกฤษ: Mahamegavana) เป็นอารามแห่ง แรกบนเกาะลังกา ชื่อว่าติสสะมหารามราชมหาวิหาร (บาลี: Tissamaharama Raja Maha Vihara, สิงหล: තිස්සමහාරාම රජ මහා විහාරය) พระเถระแสดงธรรมท่ีอุทยานน้ีทุกวันเปน็ เวลา ๗ วัน มีผู้บรรลุธรรม ๘,๕๐๐ คน ตั้งแต่นั้นมาอุทยานนนั ทวันก็ได้ช่ือวา่ โชติวนั เพราะว่า เป็นสถานท่ีพระศาสนา ปรากฏความรุ่งเรืองขึ้น นอกจากนี้ อำมาตย์ชื่ออริฏฐะ กับพี่ชายและน้องชายรวม ๕๕ คน ได้ออกบวช และ บรรลุเป็นพระอรหันต์ ทำให้ราชตระกลู ประกอบด้วยเจ้าพี่เจา้ น้อง ๑๐ องค์ เกิดความเลือ่ มใส ในเวลานัน้ ได้มี พระอรหนั ต์ ๖๒ รปู (๗+๕๕) เขา้ จำพรรษาแรกที่เจติยบรรพต ตสิ สะมหารามเจดีย์ (อังกฤษ: Tissamaharama Dagoba) อย่ภู ายในตสิ สะมหารามราชมหาวิหาร การอัญเชญิ พระบรมสารีรกิ ธาตุมาประดษิ ฐานที่เกาะลังกา

ในเวลาต่อมา หลังจากเสร็จส้ินการจำพรรษาที่เจตยิ บรรพต แล้ว เมื่อถึงเวลาออกพรรษา พระมหินท เถระ ได้ทูลกับพระเจ้าเทวานมั ปิยตสิ สะ ความว่า \"อาตมภาพไม่ได้เฝา้ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ มานานแลว้ อย่อู ยา่ งไม่มที ีพ่ ึ่ง อยากจะไปยงั ชมพทู วีป\" พระราชาตรัสว่า \"ทา่ นผู้เจริญ พระคุณเจา้ ได้พูดแล้วมิใชห่ รือวา่ พระสัมมาสมั พุทธเจ้าปรินพิ พานแล้ว\" พระเถระทูลว่า “มหาบพิตร แมพ้ ระองคป์ รนิ ิพพานแล้วก็จรงิ ถงึ อยา่ งนั้นพระสรีรธาตุของพระองค์ยงั อย”ู่ พระราชาตรสั วา่ “ข้าพเจ้ารู้ ท่านผ้เู จรญิ พระคณุ ทา่ นจำนงค์หวังการสรา้ งพระสถปู ” แล้วตรสั ต่อไปวา่ “ทา่ นผเู้ จรญิ ขา้ พเจ้าจะสร้างพระสถปู นิมนต์พระคุณเจ้าเลอื กพืน้ ที่ในบัดนเ้ี ถิด อนึ่ง ขา้ พเจ้าจกั ได้พระ ธาตแุ ตท่ ไี่ หน ท่านผ้เู จรญิ ” พระเถระทูลวา่ “มหาบพติ ร ทรงปรึกษากับสมุ นสามเณรดูเถิด” จากนั้น พระเถระสั่งการให้สุมนสามเณร ผู้เป็นโอรสของพระนางสังฆมิตตา ไปเฝ้าพระเจ้าอโศก ที่ เมืองปาฏลีบุตร แล้วขอพระราชทานพระบรมสารีริกธาตุที่อยู่ในครอบครองเพื่อมาประดิษฐานที่เกาะลังกา พระเจ้าอโศกทรงยินดีรบั บาตรจากมือสามเณรบรรจุพระธาตุถวาย สามเณรรับพระธาตนุ ้ันแล้ว เข้าไปเฝ้าท้าว สักกเทวราช ทรงขอให้พระราชทานพระธาตุรากขวัญ (กระดูกไหปลาร้า) เบื้องขวา เมื่อท้าวสักกเทวราชถวาย แกส่ ามเณรแลว้ ก็จะนำไปประดษิ ฐานไวใ้ นเจตยิ บรรพต ในครั้งนั้น พระเถระและพระราชา รวมทั้งชาวเกาะทั้งหมด ต้อนรับพระธาตุ โดยมีพระมหินทเถระ เป็นประมุข บรรจุพระธาตุที่พระเจ้าอโศกธรรมราชา ทรงพระราชทานมา ไว้ที่เจติยบรรพต แล้วเชิญพระธาตุ รากขวัญเบือ้ งขวาไปมหานาควันอุทยาน ในเวลาบ่าย ขณะนั้นพระราชาทรงทำการบูชาสักการะพระธาตุ แล้ว ประทับบนคอช้างตัวประเสริฐ ทรงกั้นเศวตฉัตรด้วยพระองค์เองบนเศียรช้างมงคล เสด็จถึงอุทยานพอดี ทรง รำพงึ ว่า ถา้ วา่ นเ้ี ปน็ พระธาตุของพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ไซร้ เศวตฉตั รจงเบนออกไป ชา้ งมงคลจงคกุ เขา่ ลงบนพืน้ ขอใหผ้ อบบรรจุพระธาตุจงมาประดษิ ฐานอยู่บนกระหม่อมของเรา ซึ่งก็เป็นไปตามอย่างที่ทรงอธิษฐาน จึงมีความปีติอย่างยิ่ง เมื่อพระเถระทูลว่า ให้วางผอบบรรจุพระ ธาตุไว้บนกระพองช้าง ช้างก็มีความดีใจ บันลือเสียงดุจเสียงนกกระเรียน มีฝนโบกขรพรรษ ตกลงมา แผ่นดินใหญ่ไหวจนถึงทีส่ ดุ นำ้ มีอันให้รู้ว่า พระธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจักประดิษฐานแล้วในเกาะลังกา ส่วนช้างนั้นก็เดินไปยังสถานที่จะสร้างพระเจดีย์ คือถูปาราม (อังกฤษ: Thuparamaya Pagoda) ซึ่งเป็นที่ต้ัง บรโิ ภคเจดยี ์ของพระสมั มาสัมพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ถงึ ๓ พระองค์ พระเถระทลู พระราชาให้สร้างเจดยี ม์ ลี ักษณะ ดงั กองขา้ วเปลอื ก เมือ่ ประชาชนมาประชมุ กนั เพ่ือฉลองพระธาตทุ ี่ถปู ารามนั้น พระธาตไุ ด้แสดงยมกปาฏิหาริย์ คล้ายกบั ท่พี ระผ้มู พี ระภาคทรงแสดง ณ โคนต้นคันฑามพฤกษ์ ใกล้กรงุ สาวตั ถี ด้วยพทุ ธานภุ าพ ที่ทรงอธิษฐาน ไว้

มหาเซยาสถปู (องั กฤษ: Mahaseya Stupa) ทม่ี หิ ินตเล ภายในบรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุส่วน พระอณุ หิส (หนา้ ผาก) ท่ีพระเจ้าอโศกพระราชทานมา ประวัติเกาะลงั กาเกี่ยวกบั พระพุทธเจ้า เนื้อความในอรรถกถาเขียนขึ้นต้นไว้ว่า \"ดังได้สดับมา ในอดีตกาล ทวีปนี้ (เกาะลังกา) ได้มีชื่อว่า...\" ขอยกมากล่าวอย่างย่อ ๆ ว่าในครั้งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่ากกุสันธะ อุบัติขึ้นแล้วในโลก ทวีปนี้ (เกาะ ลังกา) ได้มีชื่อว่าโอชทวีป สมัยนั้น ถึงความวิบัติด้วยโรคไข้เซื่องซึม พระผู้มีพระภาคทรงตรวจดูสัตวโลกด้วย พุทธจักษุ ได้เสด็จมาที่เกาะลังกาพรอ้ มด้วยภิกษุ ๔๐,๐๐๐ รูป ด้วยพุทธานุภาพ โรคนั้นก็สงบลง เมื่อโรคสงบ ลง ทรงแสดงธรรม มีผู้บรรลุธรรม ๘๔,๐๐๐ คน เมื่อจะเสด็จกลับ ได้ประทานธมกรก (ที่กรองน้ำ) ชาวเมือง สร้างเจดยี ท์ ีเ่ ดียวกบั ถปู าราม บรรจุธมกรก นน้ั ไว้ขา้ งใน และทรงให้พระสาวกนามวา่ พระมหาเทวะ อยทู่ ่เี กาะนี้ เพื่อสัง่ สอนประชาชน ในสมัยพระผู้มีพระภาคพระนามว่าโกนาคมน์ ทวีปนี้ (เกาะลังกา) ได้มีชื่อว่าวรทวีป สมัยนั้น เกิดฝน แล้ง ข้าวยากหมากแพง มีความอดยาก ทรงทอดพระเนตรตรวจดูสัตวโลกด้วยพุทธจักษุ ทรงพระมหากรุณา เสด็จมาที่เกาะนี้พร้อมกับภิกษุ ๓๐,๐๐๐ รูป เมื่อเสด็จไปถึง ฝนก็ตกต้องตามฤดูกาล ภิกษาหาได้ง่าย ด้วย พุทธานุภาพ พระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงธรรม มผี บู้ รรลุธรรม ๘๔,๐๐๐ คน ทรงโปรดให้พระมหาสมุ น ซึง่ มภี กิ ษุ ๑,๐๐๐ รูปเป็นบริวาร อยู่ที่เกาะนี้ และประทานประคดเอว ชาวเมืองได้สร้างพระเจดีย์ที่เดียวกับถูปา ราม บรรจุประคดเอว นนั้ ไวภ้ ายใน

เจดยี ถ์ ูปาราม ทเ่ี มอื งอนุราธปุระ ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุส่วนพระรากขวญั เบื้องขวา และเคยเป็นท่ตี ง้ั ของบรโิ ภคเจดีย์ของพระพุทธเจา้ ในอดีต ๓ พระองค์ ในสมยั พระผมู้ ีพระภาคพระนามว่ากสั สป ทวีปนี้ (เกาะลงั กา) ไดม้ ชี อื่ วา่ มัณฑทวปี สมัยนน้ั ชาวเกาะมี การทะเลาะวิวาท แก่งแย่งกัน ย่อมถึงความพินาศ พระผู้มีพระภาคทรงตรวจดสู ัตวโลกด้วยพุทธจักษุ ได้เสด็จ มาพร้อมกับภิกษุ ๒๐,๐๐๐ รูป เพื่อระงับการวิวาท แล้วทรงแสดงธรรม มีผู้บรรลุธรรม ๘๔,๐๐๐ คน ทรงให้ พระเถระนามวา่ สัพพนนั ที พร้อมดว้ ยภิกษุ ๑,๐๐๐ รปู เปน็ บริวารอยทู่ ี่เกาะนี้ และประทานผา้ สรงนำ้ ชาวเมือง ได้สรา้ งเจดียท์ ่เี ดยี วกับถปู าราม บรรจุผา้ สรงน้ำ นน้ั ไว้ภายใน เกลานิยาเจดีย์ ทวี่ ดั เกลานยิ าราชมหาวหิ าร รมิ ฝ่งั แมน่ ้ำเกลานิ กรุงโคลัมโบ

เชอ่ื กนั วา่ ภายในบรรจุบัลลังก์ทองคำทพี่ ระพุทธเจ้าเคยประทบั น่งั แสดงธรรม คราวเสดจ็ มาลังกาคร้ังที่ สาม และที่วัดนี้เอง ที่คณะสงฆ์จากมอญ เดินทางมาบวชเมื่อราว ๕๐๐ ปีก่อน แล้วนำกลับไปเผยแผ่ท่ีรามัญ ประเทศ (พมา่ ) เรียกวา่ นกิ ายสมี ากัลยาณี อันเปน็ ต้นวงศ์พระสงฆ์ธรรมยตุ ิกนกิ าย ของไทย ริโภคเจดีย์ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ก่อน ๓ พระองค์ ได้ประดิษฐานอยู่แล้วในถูปาราม เจดีย์ เหล่าน้ันย่อมสาบสูญไปเพราะความอันตรธานแห่งพระศาสนา เหลือแต่เพียงฐานเท่านั้น และถูกห้อมล้อมอยู่ ดว้ ยพุม่ ไมต้ ่าง ๆ ทม่ี เี รยี วกิ่งสะพรงั่ ดว้ ยหนามดว้ ยอานภุ าพของเทวดา โดยตงั้ ใจว่า ใคร ๆ อยา่ ได้ประทุษร้ายท่ี นน้ั ดว้ ยของเป็นเดน ไมส่ ะอาด มลทินและหยากเยอ่ื ข้อความในอรรถกถา มีต่อไปว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า (คือพระโคตมพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน) พระองค์น้ี เคยเสดจ็ มาเกาะลงั กา เมือ่ ยงั ทรงพระชนม์อยู่ถึง ๓ ครั้ง คือ • ครั้งแรก เสด็จมาพระองค์เดียวเท่านั้น เพื่อทรมานยักษ์ (เชื่อกันว่า คือบริเวณที่ตั้งมหิยังคณเจดีย์ เมอื งมหยิ ังเกนา่ ในปจั จบุ ัน) แลว้ ทรงตั้งใหอ้ ารักขาท่ีเกาะนี้ เสด็จรอบเกาะ ๓ รอบ ต้งั พระทัยว่า เมื่อ เราปรนิ ิพพานแล้ว ศาสนาของเราจกั ประดิษฐานอยบู่ นเกาะนี้ • ครั้งที่สอง เสด็จมาพระองค์เดียวเหมือนกัน เพื่อต้องการทรมานพญานาคลุงและหลาน เมื่อทรง ทรมานนาคเหล่านน้ั แล้ว ไดเ้ สด็จกลบั • ครง้ั ทส่ี าม เสด็จมาพรอ้ มกับภิกษุ ๕๐๐ รปู เป็นบริวาร ประทับน่ังเข้านิโรธสมาบัติ ณ ท่ีปัจจุบัน เป็น ทต่ี ง้ั ของมหาเจดีย์ ทต่ี ั้งถปู ารามเจดยี ์ ทป่ี ระดิษฐานต้นพระศรมี หาโพธิ์ ทีต่ ั้งมตุ งิ คณเจดีย์ ทตี่ ัง้ ทีฆวาปี เจดีย์ และที่ตั้งเกลานิยาเจดีย์ (อังกฤษ: Stupa at Kelaniya Raja Maha Vihara) ที่วัดเกลานิยาราช มหาวิหาร เมืองโคลมั โบ และครั้งที่ ๔ หลังจากที่ทรงเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์ก็เสด็จมา ประดษิ ฐานทเ่ี กาะนี้ — — ท่มี า: อรรถกถา มหาวิภงั ค์ ปฐมภาค เวรัญชกณั ฑ์ หน้าต่างท่ี ๕ (84000.org) จติ รกรรมฝาผนงั ทวี่ ดั เกลานิยาราชมหาวิหาร (อังกฤษ: Kelaniya Raja Maha Vihara or Kelaniya Temple) เมืองโคลัมโบ ประเทศศรีลงั กา (ในภาพ) พระโคตมพุทธเจ้า เสด็จมายงั เกาะลังกาเปน็ ครง้ั ทส่ี าม

พระเจา้ อโศกทรงสง่ กิ่งต้นพระศรมี หาโพธแิ์ ละพระนางสังฆมิตตาไปเกาะลังกา ภาพวาด ครอบครัวในราชวงศ์สิงหล ของพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ แห่งอาณาจักรอนุราธปุระ (สิงหล: අනුරාධපුර රාජධානිය) ครองราชย์ระหว่าง ๓๐๗ - ๒๖๗ ปี กอ่ นคริสตศ์ ักราช เมื่ออภัยราชกุมาร น้องชายของพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ทรงมีความเลื่อมใสในปาฏิหาริย์แห่งพระ ธาตุนั้นแล้ว ท่านพร้อมกับประชาชนชาวเมืองได้ออกบวช รวมเป็นภิกษุสามหมื่นรูป เมื่อการฉลองพระเจดีย์ สำเร็จแล้ว พระนางอนุฬา พระชายาของอภัยราชกมุ าร พร้อมกับสตรี ๑,๐๐๐ นาง ไปกราบทูลพระราชาวา่ มี ความประสงค์จะบวช พระราชาทรงสดับคำของพระนางแล้ว ได้ตรัสพระดำรัสนี้กะพระเถระว่า \"ท่านผู้เจริญ! พระนางอนุฬาเทวมี ีพระประสงคจ์ ะบวช, ขอพระคุณทา่ นให้พระนางบวชเถดิ \" พระเถระถวายพระพรวา่ มหาบพติ ร! การให้มาตุคามบวช ไมส่ มควรแก่พวกอาตมภาพ, แต่ในนครปาตลีบตุ ร มีพระเถรนี ามว่าสังฆมิต ตา เป็นน้องสาวของอาตมภาพ, ขอพระองค์ได้ทรงโปรดใหน้ มิ นตพ์ ระเถรนี ัน้ มา มหาบพิตร! กแ็ ลโพธิพฤกษ์ (ตน้ ไม้เปน็ ทต่ี รัสร)ู้ ของพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าองค์ก่อน ๆ ทั้ง ๓ พระองค์ ได้ประดิษฐานอยู่ทเ่ี กาะน้ี, โพธิ พฤกษอ์ นั เปล่งขา่ ยคอื รัศมีใหม่ ๆ ของพระผู้มพี ระภาคเจ้าแม้ของเรา ก็ควรประดษิ ฐานอยบู่ นเกาะน้ี เพราะฉะนนั้ พระองค์พงึ สง่ พระราชสาสน์ไปโดยวิธที ี่พระเถรีสังฆมิตตาจะพงึ เชญิ ไม้โพธิ์มาดว้ ย — — ทม่ี า: อรรถกถา มหาวิภังค์ ปฐมภาค เวรัญชกัณฑ์ หนา้ ต่างท่ี ๖ (84000.org)

พระราชาจึงให้อริฏฐะอำมาตย์ หลานของพระองค์ เป็นคนเชิญพระราชสาส์นไปถวายพระเจ้าอโศก และเถรสาส์นของพระมหินทเถระไปถวายพระสังฆมิตตาเถรี เมื่อพระเจ้าอโศกทรงทราบ ซึ่งก็เป็นความตั้งใจ ของพระองค์อยู่แลว้ ทจี่ ะส่งตน้ พระศรีมหาโพธิ์ไปท่ีเกาะลังกา แต่ไมท่ ราบวธิ ีที่จะได้กง่ิ โพธิ์ โดยไม่ใช้อาวุธมีคม ตัด เมอ่ื ได้ปรกึ ษาพระเถระทง้ั หลาย ทา่ นพระโมคคลั ลบี ุตรตสิ สเถระกถ็ วายพระพรว่า “พระผู้มีพระภาคทรงอธษิ ฐานวา่ เพอ่ื ต้องการใหต้ น้ มหาโพธป์ิ ระดษิ ฐานท่ีเกาะลังกา พระเจ้าอโศก มหาราชจกั เสด็จมารับเอาตน้ มหาโพธิ์ ในเวลานั้น กง่ิ มหาโพธ์ิด้านทศิ ใต้จงขาดเองทเี ดยี ว แล้ว ประดิษฐานในกระถางทอง” — — ที่มา: อรรถกถา มหาวิภงั ค์ ปฐมภาค เวรัญชกณั ฑ์ หน้าต่างท่ี ๖ (84000.org และกเ็ ปน็ ไปอย่างนนั้ พระเจา้ อโศกทรงปีตโิ สมนสั อย่างยิ่ง ไดบ้ ชู าต้นมหาโพธ์ดิ ว้ ยสมบตั ิอนั ใหญ่ และ ได้ส่งต้นมหาโพธิ์และพระสังฆมิตตาเถรีขึ้นเรือไปเกาะลังกา เมื่อเรือถึงเกาะลังกา พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะก็ ถวายการต้อนรับอย่างย่ิงใหญ่ พระราชาทรงปลูกต้นมหาโพธิน์ ั้นที่ใจกลางของพระราชอุทยานมหาเมฆวัน อัน เปน็ สถานท่พี ระผู้มีพระภาคของเราประทับนงั่ เข้านโิ รธสมาบัติ และสมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ๓ พระองค์เคยประทับนั่งเข้าสมาบัติ ทั้งเป็นสถานที่มีต้นซึกใหญ่ ซึ่งเป็นต้นไม้ตรัสรู้ของพระพระพุทธเจ้ากกุ สันธะ ต้นมะเดื่อ ต้นไม้ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าโกนาคมน์ และต้นไทร เป็นต้นไม้ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้ากสั สปะ ประดษิ ฐานอยู่ เมือ่ ทรงปลูกตน้ มหาโพธแ์ิ ลว้ ต้นมหาโพธ์ิก็แสดงอทิ ธิปาฏหิ ารยิ ์ ขณะพระมหินทเถระ พระนางสังฆมิต ตาเถรี และพระเจ้าเทวานัมปยิ ติสสะ พร้อมด้วยข้าราชบริพาร และประชาชนชาวเกาะท้ังหมดมองดูอยู่น่ันเอง ผลหนึ่งจากกิ่งด้านทิศตะวันออกสุกแล้วก็หล่นจากกิ่ง พระเถระน้อมหัตถ์เข้ารับไว้ แล้วถวายผลนั้นแด่ พระราชาใหท้ รงปลกู เมื่อทรงปลกู ก็แตกสาขาออกเปน็ ตน้ โพธิ์ออ่ น ๆ ถึง ๘ ตน้ สูงประมาณ ๔ ศอก ประชาชนปลกู ตน้ หนึ่งไว้ท่ีท่าช่ือชมพูโกปฏั ฏนะ ในโอกาสท่ตี ้นมหาโพธิ์ประดิษฐานคร้ังแรกเมื่อมาถึง เกาะลังกา อีกต้นหนึ่งที่ประตูบ้านของควักกพราหมณ์ อีกต้นหนึ่งท่ีถูปาราม อีกต้นหนึ่งท่ีอิสสรนิมมาน วิหาร อีกต้นหนึ่งใกล้ปฐมเจดีย์ อีกต้นหนึ่งท่ีเจติยบรรพต อีกต้นหนึ่งท่ีบ้านกาชรคาม ในโรหณชนบท อีกต้น หนง่ึ ท่ีบ้านจนั ทนคาม ขอ้ ความในอรรถกถามีต่อไปวา่ เมอื่ ต้นมหาโพธิอ์ นั เป็นธงชัยแหง่ พระสทั ธรรมของพระทศพล ประดษิ ฐานอยแู่ ลว้ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่ชนชาวเกาะโดยรอบ ด้วยการสืบต่อลำดับแห่งลูกหลานอย่างนี้แล้ว พระนางอนุฬาเทวีพร้อม กับมาตุคามพันหนึ่ง คือ หญิงสาว (ผู้เป็นบาทบริจารกิ าของตน) ๕๐๐ คน และหญิงชาววังอีก ๕๐๐ คนผนวช ในสำนกั ของพระนางสงั ฆมติ ตาเถรี ไมน่ านนกั พร้อมดว้ ยบรวิ ารกด็ ำรงอยู่ในความเป็นพระอรหันต์. ฝ่ายพระราชภาคิไนยชื่ออริฏฐะแล พร้อมกับบุรุษ ๕๐๐ คน บวชในสำนักของพระเถระ พร้อมด้วยบริวาร ได้ ดำรงอยูใ่ นความเป็นพระอรหนั ต์ ต่อกาลไมน่ านเช่นเดยี วกัน.

จติ รกรรมฝาผนังทวี่ ดั เกลานยิ าราชมหาวิหาร (อังกฤษ: Kelaniya Raja Maha Vihara or Kelaniya Temple) เมืองโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา (ในภาพ) พระสังฆมิตตาเถรี เชิญกิ่งพระศรีมหาโพธิ์ เดินทางโดยเรือไปเกาะ ลังกา ขณะทพ่ี ระเจา้ เทวานมั ปยิ ติสสะ เสดจ็ ลงไปรอรบั ถงึ ในน้ำ

สงครามกบั ชาวทมิฬ และความเส่อื มของศาสนาพทุ ธ เมื่อ พ.ศ. ๔๐๐ เศษ รัชสมัยของพระเจ้าวัฏฏคามนีอภัย ได้มีพวกทมิฬ (อังกฤษ: Tamils, ทมิฬ: தமிழர)் เข้ามาตแี ละเขา้ ครองอนุราธปรุ ะ เป็นเวลา ๑๔ ปี จนพระองค์ต้องเสียราชบลั ลังก์ เสดจ็ ลภ้ี ยั ไป ซ่องสุมกำลัง ระหว่างน้ันทรงไดร้ บั การอปุ ถมั ภจ์ ากพระมหาติสสะ ต่อมากลบั มาครองราชยอ์ กี คร้งั ไดท้ รงให้ทำ การสังคายนา และได้ทำการจารึกพระพุทธพจน์ลงในใบลานเป็นครั้งแรก ได้อุปถัมภ์พระมหาติสสะ พร้อมได้ สร้างวัดถวาย คือวัดอภัยคีรีวิหาร จนทำให้พระภิกษุชาวมหาวิหารไม่พอใจ จนเป็นเหตุให้คณะสงฆ์แตก ออกเป็น ๒ คณะ คือคณะมหาวหิ าร กับคณะอภัยครี วี ิหาร ตั้งแต่นั้นมาคณะสงฆล์ งั กาได้แตกออกเป็น ๒ กลุ่ม ใหญ่ แตย่ ังเป็นนกิ ายเถรวาท มลี กั ษณะตา่ งกนั คอื • คณะมหาวิหาร ฝ่ายอนุรักษนิยม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขพระธรรมวินัยใดๆ และยังตำหนิรังเกียจ ภิกษตุ า่ งนิกายว่าเปน็ อลชั ชี • คณะอภยั คีรวี หิ าร เป็นคณะท่ีเปดิ กว้าง ยอมรับเอาความคดิ เหน็ ตา่ งนิกาย ไมร่ งั เกยี จภกิ ษุตา่ งนกิ าย จติ รกรรมฝาผนังทวี่ ัดเกลานยิ าราชมหาวิหาร (องั กฤษ: Kelaniya Raja Maha Vihara or Kelaniya Temple) เมอื งโคลมั โบ ประเทศศรลี ังกา (ในภาพ) พระพุทธโฆษาจารย์ กบั คัมภรี ว์ ิสุทธมิ รรค จำนวน ๓ ฉบบั เมื่อ พ.ศ. ๙๕๖ พระพุทธโฆสะ ในประเทศไทยมักเรียกว่าพระพุทธโฆษาจารย์ (อังกฤษ: Buddhaghosa) เดินทางจากอินเดียมายังศรีลังกา เพื่อปริวรรตคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฏกภาษาสิงหลเป็น ภาษามคธ (บาลี) เพื่อนำกลับไปยังชมพูทวีปท่านเป็นพระอรรถกถาจารย์ในนิกายเถรวาทผู้มีชีวิตอยู่ราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๐ เป็นผู้แต่งคัมภีร์หลายเล่ม ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือคัมภีร์วิสุทธิมรรค (บาลี: วิสุทฺธิมคฺค

Visuddhimagga, อังกฤษ: The Path of Purification) ซึ่งรวบรวมแนวคำสอนเกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมเพ่ือ การหลุดพ้นจากทุกข์ การตีความคำสอนในพระพุทธศาสนาของท่านถือเป็นแนวคิดที่ใช้เป็นหลักในนิกายเถร วาทในปจั จุบัน ทัง้ นักวิชาการตะวันตกและชาวพุทธเถรวาทตา่ งยอมรับวา่ ท่านเป็นอรรถกถาจารย์ที่สำคัญที่สุด ในนิกายเถรวาท ระหวา่ งพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ ถงึ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗ เป็นยคุ ทีล่ ังกาเดือดร้อนวุ่นวายเพราะการรุกราน จากอินเดียบ้าง ความไม่สงบภายในบ้าง ในระหว่างยุคนี้เองที่ภิกษุณีสงฆ์สูญสิ้น และพระภิกษุสงฆ์เสื่อม จนกระทั่งเมื่อพระเจ้าวิชัยพาหุที่ ๑ (อังกฤษ: Vijayabahu I, ครองราชย์ระหว่าง ปี ค.ศ. ๑๐๕๕ - ค.ศ. ๑๑๑๐) มีพระราชประสงค์จะฟื้นฟูศาสนาพุทธในปี พ.ศ. ๑๖๐๙ ทรงหาพระภิกษุที่อุปสมบทถูกต้องแทบไม่ ครบ ๕ รูป และต้องทรงอาราธนาพระสงฆ์จากพม่าตอนใตม้ ากระทำอุปสมบทกรรมในลงั กา ชำระพระพทุ ธศาสนา พระเจ้าปรากรมพาหทุ ่ี ๑ กษัตริย์มหาราชท่ีสำคญั พระองค์หนง่ึ ของลงั กา ในรัชสมัยพระเจา้ ปรากรมพาหทุ ี่ ๑ (บาลี: Mahā Parākaramabāhu, อังกฤษ: Parakramabahu I the Great, ระหว่าง พ.ศ. ๑๖๙๗ - พ.ศ. ๑๗๓๐) ทรงเป็นมหาราชที่สำคัญที่สุดองค์หนึ่งของลังกา ทรง ปกครองบ้านเมืองไดส้ งบเรียบร้อย ในด้านการพระศาสนา ทรงชำระการพระศาสนาให้บรสิ ุทธิ์ ยังคณะสงฆ์ให้

รวมเขา้ เปน็ อนั หนึง่ อันเดียวกนั ได้อกี ครั้งหน่งึ พระองค์ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระสังฆราช ปกครองคณะสงฆ์เป็น ครั้งแรก รัชสมัยของพระองค์เป็นยุคที่มีศิลปกรรมงดงามมาก ลังกาได้กลายเป็นศูนย์กลางการศึกษา พระพุทธศาสนา ปรากฏเกียรติคุณแพร่ไปทั่ว มีพระสงฆ์และนักปราชญ์เดินทางจากประเทศใกล้เคียง เพื่อมา ศกึ ษาศาสนาพุทธในลังกา แล้วนำไปเผยแผ่ในประเทศของตนเปน็ อนั มาก ศาสนาพุทธเจรญิ รุ่งเรืองอยู่ระยะหนึ่ง แต่ภายหลังจากรัชกาลนีแ้ ลว้ พวกทมิฬจากอินเดียก็มารกุ ราน อีกและได้เข้าตั้งถ่ินฐานม่ันคงขยายอาณาเขตออกไปเรื่อย ๆ อาณาจักรสิงหลต้องถอยร่นทางใต้ ต้องย้ายเมอื ง หลวงอยู่บ่อย ๆ ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญได้ยาก นอกจากจะเพียงธำรงรักษาความมั่นคงเข้มแข็งไว้เท่า น้ัน เหตกุ ารณส์ ำคญั ครงั้ หน่ึง คอื ใน พ.ศ. ๒๐๑๙ พระภกิ ษคุ ณะหน่ึงจากพม่า ได้มารับการอุปสมบทกรรมท่ีลังกา และนำคมั ภรี ์ภาษาบาลเี ท่าท่มี ีอยูไ่ ปยงั พม่าโดยครบถว้ นเม่ือประมาณ พ.ศ. ๒๐๕๐ ยคุ โปรตเุ กส และฮอลันดา ชนชาติโปรตุเกสได้เข้ามาค้าขาย และถือโอกาสรุกรานชาวสิงหลขณะที่กำลังอยู่ในความวุ่นวาย พวก โปรตุเกสก็ได้ดินแดนบางส่วนไว้ครอบครอง และพยายามบีบบังคับประชาชนทีอ่ ยู่ใต้ปกครองให้นับถือศาสนา คริสต์ นิกายคาทอลิก คราวหนึ่งถึงกับยึดอำนาจกษัตริย์ได้ ทำให้ศาสนาพุทธกลับเสื่อมถอยลง จนถึงกับต้อง นิมนต์พระสงฆ์จากประเทศพมา่ มาใหก้ ารอุปสมบทแก่กลุ บุตรชาวลังกา ต่อมาชาวฮอลันดาได้เข้ามาค้าขายใน ลงั กาและได้ชว่ ยชาวลังกาขับไลพ่ วกโปรตเุ กสได้ในปี พ.ศ. ๒๒๐๐ แลว้ ฮอลนั ดากเ็ ขา้ ยดึ ครองพ้นื ท่ีท่ยี ดึ ได้ และ นำเอาคริสต์ศาสนามาเผยแผ่ พยายามกีดกันพระพุทธศาสนา แตไ่ มส่ ำเร็จ สถานการณ์ศาสนาพุทธในขณะนั้น ย่ำแย่ลงมาก เพราะนอกจากจะเกิดการแก่งแย่งกันเองแล้ว ศาสนาพุทธยังถูกกดขี่จากพวกโปรตุเกสและ ฮอลันดา ประชาชนไม่น้อยก็ไปเข้ารีตกับศาสนาคริสต์ พวกชาวพุทธในใจกลางเกาะ มัวแต่รบราฆ่าฟันกัน ศาสนาพุทธขาดผูอ้ ุปถัมภ์และยังเกิดวิกฤตการณข์ า้ วยากหมากแพงอยา่ งรุนแรง จนพระภิกษุสงฆ์ต้องทิ้งวัดวา อาราม จนไม่มีพระภิกษุหลงเหลืออยู่เลย คงมีสามเณรเหลืออยู่บ้าง โดยมีสามเณรสรณังกร เป็นผู้ดูแลคณะ สามเณรทเ่ี หลอื อยู่

นิมนตพ์ ระสงฆจ์ ากสยาม พระเจา้ กิตตริ าชสงิ หะ และสามเณรสรณงั กร เมื่อ พ.ศ. ๒๒๙๔ (พ.ศ. ๒๒๙๓ ตามการนับแบบไทย) สามเณรผู้ใหญ่ชื่อสามเณรสรณังกร (อังกฤษ: Weliwita Sri Saranankara Thero) ได้ทูลขอให้พระเจ้ากิตติราชสิงหะ (อังกฤษ: Kirti Sri Raja Singha) แห่ง แคนด้ี (อังกฤษ: Kandy เมืองหลวงสุดท้ายของยุคกษัตริย์โบราณของศรีลังกา เป็นเมืองที่ตั้งของวัดพระเขี้ยว แกว้ ในปจั จุบนั ) กษัตรยิ ์ลังกาในขณะนนั้ ใหส้ ่งทูตมาขอนิมนต์พระสงฆ์จากเมืองไทย (กรงุ ศรีอยุธยา) ไปฟ้ืนฟู พระพุทธศาสนา ณ ลังกาทวีป สมัยนั้นตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (อังกฤษ: Borommakot ครองราชย์ พ.ศ.๒๒๗๕ - ๒๓๐๑) แห่งอาณาจักรอยุธยา พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจึงได้ส่งพระ สมณทูตไทยจำนวน ๑๐ รูป มีพระอุบาลีเถระ (อังกฤษ: Upali Thera) เป็นหัวหน้า เดินทางมายังประเทศ ลงั กา มาทำการบรรพชาอุปสมบทแกก่ ุลบุตรชาวลังกาถงึ ๓,๐๐๐ คน ณ เมอื งแคนดี้ สามเณรสรณังกรซง่ึ ได้รับ

การอุปสมบทในครัง้ นี้ ได้รับการสถาปนาจากกษัตริย์ลงั กาให้เป็นสมเด็จพระสังฆราช จึงได้เกิดคณะสงฆ์นิกาย สยามวงศ์ หรือนิกายสยามวงศ์/อุบาลีวงศ์ ขึ้นในลังกา ต่อมาพระอุบาลีเถระเกิดอาพาธและได้มรณภาพใน ลงั กาในเวลาตอ่ มา ในสมัยเดียวกันนั้นได้มีสามเณรคณะหนึ่งเดินทางไปขอรับการอุปสมบทในประเทศพม่า แล้วกลับมา ตั้งนิกายอมรปุรนิกาย ขึ้น อีกคณะหนึ่งได้เดินทางไปขออุปสมบทจากคณะสงฆ์เมืองมอญ กลับมาตั้งนิกาย รามัญนิกาย ขึ้น ในสมัยนี้ได้มีนิกายเกิดขึ้นในลังกา ๓ นิกาย คือ ๑.นิกายสยามวงศ์ หรืออุบาลีวงศ์ ๒.นิกาย อมรปุรนกิ าย และ ๓.นกิ ายรามญั นกิ ายทั้ง ๓ นี้ ยงั คงสืบทอดมาจนถึงปจั จุบัน ยคุ องั กฤษปกครอง และปจั จบุ ัน พนั เอก เฮนรี สตลี โอลคอต ผู้เป็นหวั เรือหลักในการฟ้ืนฟูศาสนาพทุ ธในศรีลงั กา

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๔๐ และอีก ๑๙ ปีต่อมา อังกฤษได้ครองอำนาจแทนฮอลันดา ขยายอำนาจไป ทั่วประเทศลังกา โดยรบชนะกษัตริย์แคนดี ได้ตกลงทำสนธิสัญญารับประกันสิทธิของฝ่ายลังกาและการ คุ้มครองพระศาสนา ครั้นต่อมาได้เกิดกบฏขึ้น เมื่อปราบกบฏได้สำเร็จ อังกฤษได้ดัดแปลงสนธิสัญญาเสยี ใหม่ ระบบกษัตริย์ลังกาจึงได้สูญสิ้นตั้งแต่บัดนั้น ตั้งแต่อังกฤษเข้ามาปกครองลังกาตอนต้น พระพุทธศาสนาได้รับ ความเปน็ อสิ ระมากขน้ึ ดว้ ยสนธสิ ญั ญาดังกลา่ ว การเดินทางมาถึงศรีลงั กาของพนั เอก เฮนรี สตีล โอลคอต เม่ือวนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๒๓ น้ัน นับวา่ ศาสนาพทุ ธในศรีลังกาเปล่ียนแปลงไปในทางทด่ี ีข้นึ เปน็ อย่างมาก พันเอก เฮนรี สตีล โอลคอต (สิงหล: කර්නල් හහන්රි ස්ීල් ඔල්කට්; อังกฤษ: Henry Steel Olcott; ๒ สิงหาคม ค.ศ. ๑๘๓๒ – ๑๗ กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๐๗) เป็นข้าราชการทหาร นักหนังสือพิมพ์ และนักนิติศาสตร์ชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและเป็นประธานคนแรกแห่งสมาคมเทวป รัชญา โอลคอตเป็นผู้มีชื่อเสียงชาวอเมริกาเชื้อสายยุโรปคนแรกที่เข้ารีตเป็นพุทธศาสนิกชน การต่างๆ ที่เข า ปฏิบัตใิ นภายหลังในฐานะประธานสมาคมเทวปรชั ญานนั้ มีส่วนช่วยฟน้ื ฟกู ารศึกษาพุทธศาสนา โอลคอตยังชื่อ ว่าเปน็ นกั นวนยิ มทางพุทธทล่ี งทุนลงแรงไปในการตคี วามพทุ ธศาสนาผ่านมุมมองแบบตะวนั ตก นอกจากน้ี เขา ยังเป็นหัวเรือในการฟื้นฟูศาสนาพุทธในประเทศศรีลังกา จึงได้รับการยกย่องในประเทศศรีลังกา โดยชาวศรี ลังกากล่าวขานกันว่า เขา \"เป็นวีรบุรุษคนหนึ่งซึ่งฝ่าฝันเพื่อเอกราชของเรา และเป็นนักบุกเบิกการรื้อฟื้นทาง ศาสนา ชาตินิยม และวัฒนธรรมในยุคปัจจุบัน \" ทั้งนี้ ชาวต่างประเทศเชื่อว่า เขาเป็นชาวต่างชาติคนเดียวที่ รัฐบาลศรลี ังกา มมี ตใิ หส้ รา้ งอนุสาวรีย์ไวเ้ ปน็ อนุสรณ์ โอลคอตน้ันเกิดในครอบครัวครสิ ต์ นกิ ายเพรสไบทีเรียน (Presbyterian) ทเี่ ครง่ ครัด ในเมืองออเรนจ์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ เขาเดินทางและเริ่มงานของเขาเพราะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเมืองปานะดุระ ประเทศศรีลังกา และเพียงเพราะหนังสือพิมพ์ Times Of Ceylon จากดร.เจมส์ มาร์ติน พีเบิลส์ ที่นำไปให้ เพื่อหน้าที่ของเขา และคนสำคัญจากส่วนตา่ งๆ ของโลก ภารกจิ ของพันเอกเฮนรี สตลี โอลคอต ในศรลี งั กา มดี ังนี้ คณะสงฆเ์ ถรวาทและพนั เอก เฮนรี สตลี โอลคอต ในเมอื งโคลัมโบ ประเทศศรีลงั กา เมื่อ ค.ศ. ๑๘๘๓

• ศกึ ษาพระพุทธศาสนาจากพระศรีสุมังคลเถระ (พระอาจารย์ของทา่ นอานาคาริกธรรมปาละ ) • เข้าพิธปี ฏญิ านตนเปน็ พุทธมามกะกับพระธัมมารามเถระ ณ วดั วชิ ยานนั ทวิหาร • ก่อตัง้ โรงเรียนพระพุทธศาสนา (ธรรมราชวิทยาลยั ) เพ่ือฟนื้ ฟูศาสนาพทุ ธในศรีลงั กาทก่ี ำลงั เส่อื มโทรม อยา่ งหนัก • เป็นผ้เู รียกรอ้ งใหล้ ม้ เลิกคำสั่งห้ามการเฉลมิ ฉลองวันวสิ าขบชู า ในประเทศศรลี ังกา • เป็นผปู้ ระดิษฐธ์ งศาสนาขนึ้ ใช้ในสากล โดยนำแถบสสี ญั ลักษณ์แห่งฉพั พรรณรงั สีมาประกอบ หลังจากการปกครองของอังกฤษประมาณ ๕๐ ปี ศาสนาพุทธถูกกีดกันและต่อต้านจากศาสนาคริสต์ รัฐ ถกู บบี จากศาสนาครสิ ตใ์ หย้ กเลิกสัญญาท่คี ุ้มครองศาสนาพุทธ บาทหลวงของครสิ ต์ไดเ้ ผยแผ่คริสต์ศาสนาของ ตน และโจมตีศาสนาพุทธอย่างรุนแรง โดยได้รับการสนับสนุนจากต่างชาติ นับตั้งแตอ่ ังกฤษเขา้ ปกครองลังกา มาเป็นเวลากว่า ๓๐๐ ปี จนได้รับอิสรภาพเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๑ จากการที่ศาสนาพุทธถูกรุกรานเป็นเวลาช้านาน จากศาสนาคริสต์ ทำให้ชาวลังกามีความมุ่งมานะที่จะฟื้นฟูศาสนาพุทธในลังกาอย่างจริงจัง ในที่สุดก็ได้เป็น ประเทศท่ีมศี าสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาตจิ วบจนปจั จุบนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook