Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรภาษาอังกฤษปรับใหม่ ปีการศึกษา2563

หลักสูตรภาษาอังกฤษปรับใหม่ ปีการศึกษา2563

Published by Teacher.Orawan Pudmon, 2021-01-10 06:18:17

Description: หลักสูตรภาษาอังกฤษปรับใหม่ ปีการศึกษา2563..

Search

Read the Text Version

92 คำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม รหสั วิชา อ 14201 ชอ่ื รายวิชา ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สาร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศ หลกั สูตรโรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 93 เวลา 40 ช่ัวโมง เข้าใจคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำเรื่องราว บทสนทนา นิทาน สามารถถ่ายโอนเป็นภาพหรือสัญลักษณ์ อ่านออกเสียงคำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อความ บทอ่านได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง และใช้ถ้อยคำ น้ำเสียงได้ เหมาะสม ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คำสั่ง คำขอร้อง และให้คำแนะนำแสดงความต้องการ แสดงความรูส้ กึ แสดงความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธ ในสถานการณ์งา่ ย ๆ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล เก่ยี วกับตนเอง เพื่อน ครอบครวั และเร่อื งใกล้ตัวซง่ึ อยู่ในท้องถ่นิ ของตน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เพ่ือการส่ือสาร ฝึกการใช้ภาษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้อย่างเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑. ปฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั คำขอรอ้ ง และคำแนะนำง่าย ๆ ตามท่ฟี ังและอา่ นไดถ้ กู ต้อง ๒. เขา้ ใจเรื่องราว บทสนทนา นิทาน สามารถถา่ ยโอนเปน็ ภาพหรือสญั ลกั ษณ์ได้ ๓. พูด/อ่านออกเสียงคำ วลี ประโยค ขอ้ ความสน้ั ๆ บทสนทนาไดถ้ กู ต้องตามหลักการออกเสยี ง ๔. ใชภ้ าษาอังกฤษในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใหค้ ำแนะนำ แสดงความร้สู กึ ตอบรบั และปฏิเสธในสถานการณ์ ง่าย ๆ ขอและใหข้ ้อมูลเกีย่ วกับตนเองและเร่อื งใกล้ตวั ๕. ใช้ภาษาองั กฤษได้ตามมารยาททางสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้ โครงสรา้ งรายวชิ า รหัสวิชา อ 14201 ช่ือรายวชิ า ภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 เวลา 40 ชว่ั โมง หลักสตู รโรงเรียนวดั พชื นมิ ิต (คำสวัสดริ์ าษฎร์บำรงุ ) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ลำดบั ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ เวลา 94 (ขอ้ ท่ี) (ช่วั โมง) นำ้ หนัก ๑ I can do it ข้อ ๑ ๖ ๑๐ ๒ My body ข้อ ๒ ข้อ ๓ ๖ ๑๐ ๓ Weather and seasons ข้อ ๔ ขอ้ ๕ ๖ ๑5 สอบกลางปี ข้อ ๑ ขอ้ ๒ ๒ 15 ๔ Clothes ขอ้ ๓ ๖ ๑๐ ขอ้ ๔ ๕ Daily activities ขอ้ ๕ ๖ ๑๐ ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ลำดับที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั (ขอ้ ท่)ี (ชั่วโมง) หลักสูตรโรงเรยี นวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรุง) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

๖ Visiting the farm ข้อ ๑ 95 ๖ ๑5 ข้อ ๒ ๒ 15 ข้อ ๓ ๗๐ 30 ขอ้ ๔ ๔๐ ๑๐๐ ข้อ ๕ สอบปลายปี รวมระหวา่ งเรยี น รวมคะแนนสอบ รวม หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ดร์ิ าษฎร์บำรงุ ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

96 คำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม รหสั วิชา อ 15201 ชอ่ื รายวิชา ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สาร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศ หลกั สูตรโรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 97 เวลา 40 ชวั่ โมง เข้าใจคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ เข้าใจความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยค รูปประโยคและโครงสร้าง ประโยค โดยสามารถตอบคำถามจากการฟงั หรอื อ่านข้อความ บทสนทนา เรื่องส้นั เร่ืองเล่า นิทาน บทกลอนสัน้ ๆ อ่านออกเสียงคำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อความ บทอ่านได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง และการใช้ถ้อยคำ น้ ำเสียง การพูดและเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คำสั่ง คำขอร้อง และให้คำแนะนำ แสดงความต้องการ แสดงความรู้สึก ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธ ในสถานการณ์ง่าย ๆ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัวซึ่งอยู่ในท้องถิ่นของตน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ เพื่อการสื่อสาร ฝึกการใช้ภาษาเพื่อให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะทางภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้ ภาษาองั กฤษ และนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบตั ิตามคำส่ัง คำขอร้อง และคำแนะนำงา่ ย ๆ ตามทฟ่ี งั และอา่ นไดถ้ ูกต้อง ๒. พูด/อา่ นออกเสียงคำ วลี ประโยค ข้อความสน้ั ๆ บทสนทนา บทอ่าน ได้ถกู ต้องตามหลกั การอ่านออกเสยี ง ๓. ใชป้ ระโยคภาษาอังกฤษในการส่อื สารระหว่างบคุ คล และแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ต่าง ๆ ไดถ้ กู ต้อง ๔. ตอบคำถามจากการฟังหรืออ่านข้อความ บทสนทนา เรือ่ งสนั้ เร่ืองเล่า นิทาน บทกลอนสนั้ ๆ ได้ถกู ตอ้ ง ๕. ใชภ้ าษาอังกฤษไดต้ ามมารยาททางสงั คมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู้ โครงสรา้ งรายวชิ า รหสั วชิ า อ 15201 ช่ือรายวชิ า ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรโรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คำสวสั ด์ิราษฎร์บำรุง) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 98 เวลา 40 ชั่วโมง หน่วยท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ เวลา นำ้ หนัก (ชวั่ โมง) (ข้อท่ี) 6 10 ๑ Our favorite dishes ข้อ ๑ 6 10 ข้อ ๒ 7 15 ข้อ ๓ 1 15 6๗ ข้อ ๔ 6๘ ข้อ ๕ 7๘ ๒ It’s more interesting ข้อ ๑ เวลา น้ำหนกั (ชว่ั โมง) ข้อ ๒ ขอ้ ๓ ขอ้ ๔ ขอ้ ๕ ๓ Safety first ขอ้ ๑ ขอ้ ๒ ขอ้ ๓ ขอ้ ๔ ขอ้ ๕ สอบกลางปี ๖ Having fun with activities ขอ้ ๑ ขอ้ ๒ ขอ้ ๓ ขอ้ ๔ ขอ้ ๕ ๘ How healthy are you? ขอ้ ๑ ขอ้ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ขอ้ ๕ ๙ Important days ขอ้ ๑ ขอ้ ๒ ข้อ ๓ หน่วยท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ขอ้ ที่) หลกั สตู รโรงเรียนวดั พืชนิมิต (คำสวสั ดริ์ าษฎรบ์ ำรุง) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ข้อ ๔ 99 ขอ้ ๕ 1 15 สอบปลายปี ๗๐ รวมระหวา่ งเรียน 30 รวมสอบปลายปี รวม ๔๐ ๑๐๐ หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ิต (คำสวสั ด์ิราษฎร์บำรงุ ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

100 คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ รหัสวชิ า อ16201 ชื่อรายวิชา ภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เวลา 40 ชั่วโมง หลักสูตรโรงเรียนวดั พืชนิมิต (คำสวสั ดิ์ราษฎร์บำรงุ ) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

101 เข้าใจคำส่ัง คำขอร้อง รปู ประโยคและโครงสร้างประโยค คำ กล่มุ คำ และประโยค วเิ คราะห์และสรปุ เร่ืองราว บทอ่าน บทสนทนา เรื่องสั้น เรื่องเล่า นิทาน บทกลอนสั้น ๆ สำนวนที่ใช้ในเทศกาล การพูดและการเขียนโต้ตอบ ในการสอื่ สารระหวา่ งบุคคล ใชค้ ำสงั่ คำขอร้อง และใหค้ ำแนะนำ แสดงความตอ้ งการ แสดงความร้สู กึ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัวซึ่งอยู่ใน ทอ้ งถิน่ ของตน โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้เพื่อการส่ือสาร ฝึกการใช้ภาษาเพื่อให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา มที ักษะทางภาษา เหน็ ประโยชน์ในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑. วเิ คราะห์เร่อื งและสรปุ ความเรอ่ื งทฟ่ี งั และอา่ นได้ ๒. ใชป้ ระโยคคำสั่ง คำขอร้อง การขออนญุ าต ประโยคบอกเล่า ประโยคคำถาม ประโยคปฏเิ สธ ตามโครงสรา้ ง ประโยคได้ ๓. ใช้ภาษาอังกฤษในการขอและให้ข้อมลู เก่ยี วกับตนเอง เพ่อื น ครอบครวั และเรื่องใกลต้ ัวซึ่งอยู่ในท้องถิ่น ของตนได้ ๔. ใชภ้ าษาองั กฤษในการพดู และเขยี นโต้ตอบและสื่อสารตามสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ๕. ใชภ้ าษาไดต้ ามมารยาททางสังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรียนรู้ โครงสรา้ งรายวิชา รหัสวิชา อ16201 ช่อื รายวิชา ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลา 40 ชวั่ โมง หลักสูตรโรงเรยี นวัดพืชนิมติ (คำสวสั ดริ์ าษฎร์บำรุง) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ เวลา 102 (ขอ้ ที)่ (ชั่วโมง) น้ำหนัก ๑ What do you want to be? ขอ้ ๑ ๔ ๗ ขอ้ ๒ ๒ What can you see? ขอ้ ๓ ๔๗ ข้อ ๔ ๓ It was great. ข้อ ๕ ๕๘ ข้อ ๑ ๔ What did you do on ข้อ ๒ ๕๘ your holidays? ข้อ ๓ ข้อ ๔ ๒ ๑๐ สอบกลางปี ขอ้ ๕ ๖ ๑๐ ๕ Out and About! ขอ้ ๑ ข้อ ๒ ๖ That’s entertainment ข้อ ๓ ๖ ๑๐ ข้อ ๔ นำ้ หนกั หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ข้อ ๕ เวลา ข้อ ๑ (ช่ัวโมง) ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ขอ้ ๕ ขอ้ ๑ ข้อ ๒ ผลการเรียนรู้ (ขอ้ ที่) ข้อ ๓ ข้อ ๔ หลกั สูตรโรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คำสวัสดริ์ าษฎรบ์ ำรุง) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ขอ้ ๕ 103 ๗ On Vacation. ขอ้ ๑ ๖ ๑๐ ข้อ ๒ ๗๐ ๓๐ ขอ้ ๓ ๔๐ ๑๐๐ ขอ้ ๔ ข้อ ๕ รวมระหวา่ งเรียน สอบปลายปี รวม การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑก์ ารจบการศึกษา หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพชื นิมติ (คำสวัสดิ์ราษฎรบ์ ำรงุ ) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

104 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผู้เรยี นต้องอยูบ่ นหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อ พัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุก ระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่ แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ สง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นเกิด การพฒั นาและเรยี นรอู้ ยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ เขตพน้ื ที่การศกึ ษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังน้ี ๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การ ซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การ ใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผปู้ กครองรว่ มประเมนิ ในกรณที ไี่ มผ่ ่านตัวชี้วัดให้มกี ารสอนซ่อมเสรมิ การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา ปรบั ปรุงและสง่ เสริมในด้านใด นอกจากนี้ยงั เป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรงุ การเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งน้ีโดย สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชีว้ ดั ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศกึ ษาดำเนินการเพ่ือตัดสินผล การเรียนของ ผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนใน สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือ การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลก ารจัด การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน ๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพ ผลสัมฤทธิ์ของผูเ้ รยี นด้วยข้อสอบมาตรฐานทจ่ี ัดทำและดำเนนิ การโดยเขตพนื้ ท่ีการศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับ หน่วยงานต้นสังกัด ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน ระดบั สถานศึกษาในเขตพนื้ ที่การศึกษา หลกั สตู รโรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวสั ด์ิราษฎรบ์ ำรุง) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

105 ๔. การประเมนิ ระดบั ชาติ เปน็ การประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียนในระดบั ชาตติ ามมาตรฐานการเรยี นร้ตู าม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สถานศึกษาตอ้ งจัดใหผ้ ู้เรยี นทุกคนท่เี รียน ในชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เขา้ รับการประเมนิ ผลจากการประเมนิ ใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคณุ ภาพการศึกษาใน ระดบั ต่าง ๆ เพอ่ื นำไปใช้ในการวางแผนยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปน็ ขอ้ มลู สนับสนุนการ ตัดสนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตาม สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นต่ำ กลุ่มผูเ้ รยี นทม่ี ปี ญั หาด้านวินยั และพฤติกรรม กล่มุ ผเู้ รยี นทป่ี ฏเิ สธโรงเรยี น กลุ่มผู้เรียน ที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็น หัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและ ประสบความสำเร็จในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน เพอ่ื ให้บุคลากรท่เี ก่ยี วข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติรว่ มกัน เกณฑ์การวดั และประเมินผลการเรยี น ๑. การตดั สนิ การใหร้ ะดบั และการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตัดสินผลการเรยี น ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถงึ การพัฒนาผู้เรยี นแต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บ ข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเตม็ ตามศกั ยภาพ ระดบั ประถมศึกษา (๑) ผู้เรยี นตอ้ งมีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด (๒) ผูเ้ รียนตอ้ งได้รบั การประเมินทกุ ตัวช้ีวดั และผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนด (๓) ผเู้ รยี นตอ้ งได้รบั การตัดสินผลการเรยี นทุกรายวชิ า (๔) ผ้เู รยี นตอ้ งได้รบั การประเมนิ และมผี ลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด ใน การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนช้ันได้ แต่หากผู้เรยี นไม่ ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจต้ัง คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทง้ั นี้ให้คำนงึ ถงึ วุฒภิ าวะและความร้คู วามสามารถของผ้เู รียนเป็นสำคญั หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพชื นิมติ (คำสวสั ด์ิราษฎรบ์ ำรงุ ) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

106 ๑.๒ การใหร้ ะดบั ผลการเรียน ระดับประถมศึกษา ในการตัดสนิ เพ่ือใหร้ ะดบั ผลการเรียนรายวชิ า สถานศึกษาสามารถให้ระดับผลการ เรียนหรอื ระดบั คณุ ภาพการปฏิบตั ขิ องผเู้ รยี น เปน็ ระบบตัวเลข ระบบตวั อกั ษร ระบบร้อยละ และระบบท่ีใช้คำ สำคญั สะท้อนมาตรฐาน (1) การใหร้ ะดับผลการเรยี น โรงเรียนกำหนดให้การตัดสนิ เพื่อใหร้ ะดับผลการเรียนรายวิชาของกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ ให้ใช้ตวั เลขแสดงระดบั ผลการเรยี นเปน็ ๘ ระดบั ดังนี้ ระดบั ผลการเรยี น ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ระบบทใ่ี ชค้ ำสำคญั สะทอ้ นมาตรฐาน 5 ระดับ 4 ระดับ 2 ระดบั ๔ ๘๐ - ๑๐๐ ดเี ยี่ยม ดีเย่ยี ม ๓.๕ ๗๕ - ๗๙ ดี ดี ๓ ๗๐ - ๗๔ ๒.๕ ๖๕ - ๖๙ พอใช้ ผ่าน ๒ ๖๐ - ๖๔ ๑.๕ ๕๕ - ๕๙ ผ่าน ผ่าน ๑ ๕๐ - ๕๔ ๐ ๐ - ๔๙ ไม่ผา่ น ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล การ ประเมินเปน็ ดีเย่ยี ม ดี และผา่ น (2) การสรปุ ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน เพือ่ การเลื่อนระดบั ชน้ั และจบการศึกษา กำหนดเกณฑ์การตัดสนิ เปน็ ๔ ระดับและความหมายของแต่ละระดับดงั นี้ ดีเยี่ยม หมายถงึ มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนท่มี ีคณุ ภาพดี ดี หมายถึง เลิศอยเู่ สมอ มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี นทีม่ ีคุณภาพ เปน็ ทีย่ อมรับ หลักสูตรโรงเรียนวดั พืชนิมิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรงุ ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

107 ผ่าน หมายถงึ มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียนท่ีมีคุณภาพ เปน็ ท่ียอมรับ แต่ยังมีข้อบกพรอ่ งบางประการ ไมม่ ีผลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน หรอื ถา้ มี ไม่ผ่าน หมายถงึ ผลงาน ผลงานน้นั ยังมีข้อบกพรอ่ งทีต่ ้องได้รับการปรบั ปรุงแกไ้ ขหลาย ประการ (3) การสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคร์ วมทุกคุณลักษณะ เพ่ือการเลื่อนระดับชัน้ และจบ การศกึ ษา กำหนดเกณฑ์การตดั สนิ เปน็ ๔ ระดับและความหมายของแตล่ ะระดับดังน้ี ดีเยี่ยม หมายถงึ นักเรยี นปฏบิ ัติตนตามคณุ ลกั ษณะจนเปน็ นสิ ัยและนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั เพ่อื ประโยชนส์ ุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยย่ี ม จำนวน ๕ - ๘ คณุ ลกั ษณะและไมม่ ีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดบั ดี ดี หมายถงึ นกั เรียนมีคุณลกั ษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพื่อใหเ้ ป็นการยอมรบั ของสงั คม โดยพจิ ารณาจาก (๑) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดเี ย่ียม จำนวน ๑-๔ คณุ ลักษณะและไม่มีคณุ ลักษณะใด ได้ผลการประเมนิ ตำ่ กวา่ ระดับดี หรอื (๒) ได้ผลการประเมินระดับดีเย่ยี ม จำนวน ๔ คุณลกั ษณะและไม่มีคุณลักษณะใด ไดผ้ ลการประเมนิ ต่ำกวา่ ระดับผา่ น หรอื (๓) ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี จำนวน ๕-๘ คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผา่ น ผ่าน หมายถงึ นักเรยี นรบั รแู้ ละปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขทีโ่ รงเรียนกำหนดโดยพิจารณาจาก (๑) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ผา่ น จำนวน ๕-๘ คณุ ลกั ษณะและไมม่ คี ุณลกั ษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกวา่ ระดับผา่ น หรอื (๒) ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี จำนวน ๔ คุณลักษณะและไม่มคี ณุ ลักษณะใดได้ผลการ ประเมนิ ตำ่ กว่าระดบั ผา่ น ไมผ่ า่ น หมายถึง นกั เรยี นรบั รูแ้ ละปฏบิ ตั ิได้ไมค่ รบตามกฎเกณฑแ์ ละเงื่อนไขทีโ่ รงเรียนกำหนด โดย พิจารณาจากมผี ลการประเมินระดับไมผ่ า่ น ตง้ั แต่ ๑ คุณลกั ษณะ (4) การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นจะตอ้ งพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ ๘๐ การปฏบิ ัติกิจกรรมและผลงานของนักเรียนตอ้ งผา่ นรอ้ ยละ ๗๐ และใหผ้ ลการประเมินเปน็ ผา่ นและไม่ผ่าน โดยใหใ้ ช้ตัวอักษรแสดงผลการประเมนิ ดังน้ี “ผ” หมายถงึ นกั เรียนมีเวลาการเข้าร่วมกจิ กรรม การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมและมผี ลงานผา่ นเกณฑ์ “มผ” หมายถงึ นักเรียนมเี วลาการเขา้ ร่วมกจิ กรรม การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและมีผลงานไมผ่ า่ น เกณฑ์ หลักสตู รโรงเรยี นวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ด์ริ าษฎร์บำรุง) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

108 ในกรณที ่ีนักเรยี นไดผ้ ลการเรียน “มผ” ใหค้ รผู ู้สอนจัดซ่อมเสรมิ ให้นักเรยี นทำกจิ กรรมในสว่ นที่นักเรียน ไม่ได้เขา้ ร่วม หรือไม่ได้ทำจนครบถ้วน แลว้ จงึ เปลย่ี นผลการเรียนจากไม่ผา่ นเปน็ ผ่าน ทั้งน้ีต้องดำเนนิ การให้ เสรจ็ ส้ินภายในปกี ารศกึ ษานั้น การสอนซอ่ มเสรมิ เปน็ สว่ นหน่งึ ของกระบวนการจดั การเรยี นรู้และเปน็ การให้โอกาสแก่นักเรียนได้มี เวลาเรยี นรูส้ ิง่ ตา่ งๆ เพิ่มขน้ึ จนสามารถบรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัดท่ีกำหนดไว้ การสอนซ่อมเสรมิ เปน็ เปน็ การสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีทน่ี กั เรียนมีความรู้ ทักษะกระบวนการ หรือเจตคติ/คณุ ลักษณะ ไม่ เปน็ ไปตามเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นกำหนด การดำเนินการสอนซ่อมเสรมิ น้นั ใหค้ รผู ูส้ อนจดั สอนซ่อมเสรมิ ใหแ้ กน่ กั เรียนเป็นกรณีพเิ ศษนอกเหนือไปจากการ สอนปกติ เพื่อพัฒนาให้นักเรียนสามารถบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด เป็นการใหโ้ อกาสแกน่ กั เรียนได้ เรียนรแู้ ละพฒั นา โดยจัดกจิ กรรมการเรียนร้ทู หี่ ลากหลายและตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ๑.๓ การรายงานผลการเรยี น การรายงานผลการเรยี นเปน็ การสอ่ื สารใหผ้ ู้ปกครองและผูเ้ รยี นทราบความกา้ วหน้าในการเรยี นรู้ของ ผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานใหผ้ ู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรืออย่าง นอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปน็ ระดับคุณภาพการปฏิบตั ขิ องผูเ้ รียนทส่ี ะท้อนมาตรฐาน การเรยี นร้กู ลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. เกณฑก์ ารจบการศึกษา 2.1 การเลือ่ นชนั้ เมื่อสิน้ ปีการศกึ ษา นกั เรียนจะไดร้ บั การเล่ือนชั้น ต้องมีคณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) นกั เรยี นมีเวลาเรียนตลอดปกี ารศึกษาไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมด (๒) นกั เรียนมผี ลการประเมินผ่านทุกรายวชิ าพืน้ ฐานและเพม่ิ เตมิ (๓) นกั เรยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน การประเมนิ คณุ ลักษณะอัน พงึ ประสงค์ การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน โดยตอ้ งมีผลการประเมนิ ในระดับผา่ น ทั้งนี้ ถ้านักเรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อยและพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อม เสริมได้ ควรผอ่ นผนั ให้เลอื่ นชั้นได้ สำหรับในกรณีที่พบวา่ มีนักเรียนกลุ่มพิเศษประเภทต่างๆ ทีม่ ีปญั หาในการเรียนรู้ ให้ครูผู้สอน/ ครูประจำชั้น แจ้งผู้อำนวยการโรงเรียนเพื่อดำเนินงานร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ จังหวดั /ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษเขตการศึกษา/หนว่ ยงานต้นสังกดั โรงเรยี นเฉพาะความพกิ าร หาแนวทางการแก้ไข และพฒั นา ๒.2 เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ๑. ผูเ้ รียนเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน จำนวน ๘๔๐ ชัว่ โมง และรายวชิ าเพิ่มเติมจำนวน ๔๐ ชั่วโมง และมผี ลการประเมนิ รายวชิ าพ้นื ฐานผา่ นทุกรายวชิ า หลกั สูตรโรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คำสวัสดิ์ราษฎรบ์ ำรุง) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

109 ๒. ผู้เรยี นต้องมีผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ระดบั “ผา่ น” ข้นึ ไป ๓. ผ้เู รยี นมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผา่ น” ขึน้ ไป ๔. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุก กิจกรรม 5. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ระดับ ๑ ขึ้นไปทุกรายวิชาพื้นฐาน จึงจะถือ วา่ ผา่ นรายวชิ าพ้ืนฐาน สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับผู้มี ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผู้ดอ้ ยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการ ของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ใน แนวปฏิบัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะ การเทยี บโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศกึ ษา การเปลี่ยน รูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้ อนื่ ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝกึ อบรมอาชพี การจดั การศึกษาโดยครอบครัว การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ท่ี สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องใน สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกำหนด รายวิชา/จำนวนหนว่ ยกิตท่จี ะรับเทยี บโอนตามความเหมาะสม การพจิ ารณาการเทยี บโอน สามารถดำเนินการได้ ดังนี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศกึ ษา และเอกสารอ่นื ๆ ทใ่ี ห้ขอ้ มูลแสดงความรู้ ความสามารถของผูเ้ รยี น ๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผเู้ รยี นโดยการทดสอบด้วยวิธีการตา่ งๆ ท้ังภาคความร้แู ละ ภาคปฏบิ ตั ิ ๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏบิ ตั ใิ นสภาพจรงิ การเทยี บโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏบิ ัติ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ พฒั นาการของผูเ้ รยี นในด้านตา่ ง ๆ แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดังน้ี ๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด หลกั สูตรโรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ดริ์ าษฎร์บำรุง) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

110 ๑.๑ ระเบยี นแสดงผลการเรยี น เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผู้เรียน ตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา และผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารน้ีให้ผู้เรียน เปน็ รายบคุ คล เมือ่ ผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖) ๑.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและ ข้อมูลของผ้จู บการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖) ๒. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่สี ถานศึกษากำหนด เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรียน แบบบันทกึ ผลการเรียนประจำรายวิชา ระเบียนสะสม ใบรบั รองผลการเรียน และ เอกสารอ่ืนๆ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการนำเอกสารไปใช้ การจดั การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบตั ิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็น เปา้ หมายสำหรบั พัฒนาเดก็ และเยาวชน ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝัง เสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะตา่ งๆ อันเป็นสมรรถนะสำคญั ใหผ้ เู้ รียนบรรลุตามเปา้ หมาย ๑. หลักการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจดั การเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรยี น สามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ คำนึงถึงความ แตกตา่ งระหว่างบคุ คลและพัฒนาการทางสมองเนน้ ให้ความสำคญั ท้ังความรู้ และคุณธรรม ๒. กระบวนการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็น เครื่องมอื ที่จะนำพาตนเองไปสเู่ ป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเปน็ สำหรบั ผู้เรียน อาทิ กระบวนการ เรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญ สถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง กระบวนการจดั การ กระบวนการวจิ ยั กระบวนการเรยี นรกู้ ารเรยี นรขู้ องตนเอง กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนสิ ัย หลักสูตรโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ดร์ิ าษฎร์บำรงุ ) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

111 กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไดด้ ี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนน้ั ผ้สู อน จงึ จำเป็นต้องศึกษาทำความ เขา้ ใจในกระบวนการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เพอื่ ใหส้ ามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนร้ไู ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๓. การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการ จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้ พัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเปา้ หมายที่กำหนด ๔. บทบาทของผูส้ อนและผเู้ รยี น การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาท ดงั น้ี . ๔.๑ บทบาทของผูส้ อน ๑) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ี ท้าทความสามารถของผเู้ รยี น ๒) กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็น ความคดิ รวบยอด หลกั การ และความสมั พนั ธ์ รวมทงั้ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ พัฒนาการทางสมอง เพ่อื นำผูเ้ รียนไปสเู่ ปา้ หมาย ๔) จดั บรรยากาศที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ และดแู ลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียนให้เกิดการเรยี นรู้ ๕) จดั เตรยี มและเลอื กใช้ส่ือให้เหมาะสมกับกจิ กรรม นำภูมิปัญญาท้องถิน่ เทคโนโลยที ่เี หมาะสม มาประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ๖) ประเมินความกา้ วหนา้ ของผู้เรียนดว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาตขิ องวชิ า และระดับพฒั นาการของผู้เรียน ๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการ เรียนการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบาทของผู้เรยี น ๑) กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผดิ ชอบการเรยี นรขู้ องตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคำถาม คิดหา คำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปญั หาดว้ ยวิธีการตา่ งๆ ๓) ลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ สรปุ สิ่งทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ดว้ ยตนเอง และนำความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณต์ ่างๆ ๔) มีปฏิสมั พันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมรว่ มกบั กลุ่มและครู ๕) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรขู้ องตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง หลกั สตู รโรงเรยี นวดั พชื นิมติ (คำสวสั ด์ริ าษฎร์บำรงุ ) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

112 สอ่ื การเรียนรู้ ส่อื การเรียนรเู้ ปน็ เครอ่ื งมอื ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ใหผ้ ้เู รียนเขา้ ถึงความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มีหลากหลาย ประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อ ควรเลอื กใหม้ คี วามเหมาะสมกบั ระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายของผเู้ รยี น การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมี คุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องและผมู้ หี นา้ ทจี่ ดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ควรดำเนินการดงั น้ี ๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การเรยี นรู้ที่มีประสิทธิภาพทง้ั ในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การเรียนรู้ ระหวา่ งสถานศึกษา ท้องถิน่ ชมุ ชน สังคมโลก ๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรบั การศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้งจัดหา สิ่งที่มีอยใู่ นทอ้ งถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ ส่อื การเรียนรู้ ๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการ เรยี นรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน ๔. ประเมินคณุ ภาพของสื่อการเรยี นรทู้ ี่เลอื กใช้อย่างเปน็ ระบบ ๕. ศกึ ษาค้นควา้ วิจยั เพอื่ พฒั นาสือ่ การเรยี นรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน ๖. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้สื่อ การเรียนร้เู ปน็ ระยะๆ และสม่ำเสมอ ในการจดั ทำ การเลอื กใช้ และการประเมนิ คุณภาพส่ือการเรียนรู้ท่ใี ช้ในสถานศกึ ษา ควรคำนึงถึงหลักการ สำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ การจัดประสบการณใ์ หผ้ ู้เรียน เนื้อหามีความถกู ต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมั่นคงของชาติ ไม่ขัดต่อ ศีลธรรม มีการใชภ้ าษาท่ถี กู ต้อง รปู แบบการนำเสนอท่ีเข้าใจงา่ ย และนา่ สนใจ การบรหิ ารจดั การหลักสตู ร ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น หนว่ ยงานต่างๆ ท่ีเกยี่ วข้องในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับท้องถ่นิ จนถงึ ระดับสถานศึกษา มีบทบาทหน้าท่ี และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม การใช้และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้การดำเนนิ การจัดทำหลักสตู รสถานศึกษาและการจดั การเรียนการสอนของสถานศกึ ษามีประสทิ ธภิ าพสูงสุด อนั จะส่งผลให้การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ทก่ี ำหนดไวใ้ นระดบั ชาติ ระดับท้องถิ่น ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอืน่ ๆ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทใน การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางที่จะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ี กำหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การจัดทำหลักสูตรของ หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คำสวสั ดิ์ราษฎร์บำรุง) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

113 สถานศกึ ษา ส่งเสริมการใช้และพฒั นาหลักสตู รในระดับสถานศกึ ษา ใหป้ ระสบความสำเร็จ โดยมีภารกิจสำคัญ คือ กำหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในระดับท้องถิ่นโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่งที่เป็น ความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถิ่น รวมทั้ง เพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามผล ประเมินผล วเิ คราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผเู้ รยี น สถานศกึ ษามหี นา้ ท่สี ำคัญในการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา การวางแผนและดำเนนิ การใชห้ ลกั สูตร การ เพม่ิ พนู คุณภาพการใชห้ ลักสตู รด้วยการวิจัยและพฒั นา การปรับปรงุ และพัฒนาหลักสูตรจดั ทำระเบียบการวัดและ ประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน และรายละเอยี ดที่เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา หรือหน่วยงาน สงั กดั อนื่ ๆ ในระดบั ท้องถ่นิ ไดจ้ ดั ทำเพม่ิ เตมิ รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในส่วนทเ่ี กยี่ วกับสภาพปัญหาในชุมชนและสงั คม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น และความต้องการ ของผ้เู รียน โดยทุกภาคส่วนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา อภิธานศพั ท์ การเดาความหมายจากบรบิ ท ( context clue) การเดาความหมายของคำศัพท์หรือข้อความที่ไม่ทราบความหมายโดยไม่ต้องเปิดพจนานุกรม เป็นการ เดาความหมายนั้นโดยอาศัยการชี้แนะจากคำศัพท์หรือข้อความที่แวดล้อมคำศัพท์หรือข้อความที่อ่านเพื่อช่วยใน การทำความเขา้ ใจหรือตคี วามหมายของคำศัพทห์ รอื ข้อความท่ีไม่เขา้ ใจความหมาย หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คำสวสั ด์ิราษฎร์บำรงุ ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

114 การถา่ ยโอนขอ้ มลู การแปลงข้อมูลที่ผู้ส่งสารต้องการจะสือ่ สารให้ผู้รับสารเข้าใจความหมายในรูปแบบทีต่ ้องการ เช่น การ ถ่ายโอนข้อมูลที่เป็นคำ ประโยค หรือข้อความไปเป็นข้อมูลที่เป็นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ หรือการถ่ายโอนข้อมูลที่เป็นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ไปเป็น ขอ้ มลู ทเ่ี ป็นคำ ประโยค หรือข้อความ ทกั ษะการสื่อสาร ทกั ษะการฟัง การพูด การอา่ น และการเขียน ซ่งึ เปน็ เครื่องมือในการรับสารและส่งสารดว้ ยภาษานั้นๆ ไดอ้ ย่างส่อื ความหมาย คลอ่ งแคล่ว ถูกตอ้ ง เข้าถงึ สารได้อย่างชัดเจน บทกลอน (nursery rhyme) บทร้อยกรองสำหรบั เด็กที่มคี ำคล้องจองและมคี วามไพเราะ เพอ่ื ช่วยใหจ้ ดจำไดง้ ่าย บทละครสน้ั (skit) งานเขยี นหรอื บทละครสัน้ ที่มีการแสดงออกดว้ ยท่าทางและคำพูด ทำให้เกดิ ความสนุกสนาน อาจเปน็ เรื่องท่มี าจากนทิ าน นยิ าย ชวี ติ ของคน สัตว์ สิ่งของ หรอื ตดั ตอนมาจากงานเขยี น ภาษาทา่ ทาง การสื่อสารโดยการแสดงท่าทางแทนคำพูดหรือการแสดงท่าทางประกอบคำพดู เพ่ือให้ความหมายมี ความชดั เจนยงิ่ ขึ้น การแสดงท่าทางตา่ งๆ อาจแสดงไดห้ ลายลักษณะ เช่น การแสดงออกทางสหี น้า การสบตา การเคล่อื นไหวศีรษะ มือ การยกมือ การพยักหนา้ การเลิกควิ้ เปน็ ตน้ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา วิถกี ารดำเนนิ ชีวิตของคนในสงั คมท่ีใช้ภาษานัน้ นบั ตง้ั แตว่ ิธีการกนิ อยู่ การแต่งกาย การทำงาน การ พักผ่อน การแสดงอารมณ์ การสื่อความ ค่านิยม ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาล งานฉลอง และมารยาท เป็นต้น ส่อื ทไ่ี มใ่ ชค่ วามเรียง (non – text information) สิ่งที่ใช้สื่อสารแทนคำ วลี ประโยค และข้อความ เช่น กราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ สิ่งของ แผนผัง แผนภมู ิ ตาราง เป็นตน้ หลกั สตู รโรงเรียนวดั พืชนมิ ิต (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

115 หลักสูตรโรงเรียนวัดพชื นมิ ิต (คำสวสั ดิ์ราษฎรบ์ ำรุง) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

116 หลักสูตรโรงเรียนวัดพชื นมิ ิต (คำสวสั ดิ์ราษฎรบ์ ำรุง) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook