Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวิจัยการใช้ Google Apps for Education ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการออกแบบและ เทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนราธิวาส

บทความวิจัยการใช้ Google Apps for Education ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการออกแบบและ เทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนราธิวาส

Published by nonak3110, 2022-03-11 15:53:31

Description: ซัยนับ ยูโซ๊ะ(Best Prac)

Search

Read the Text Version

การใช้ Google Apps for Education ในการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรายวิชาการออกแบบและ เทคโนโลยี ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนนราธวิ าส Using Google Apps for Education to develop academic achievement in design and technology courses Of Mathayom Suksa 4 Students, Narathiwat School ซยั นับ ยโู ซะ๊ 1 พิฌาณิกา ไทยจินดา2 และ อาฟีฟี ลาเต๊ะ3 1นกั ศกึ ษา ปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี 2ครชู านาญการพิเศษ โรงเรยี นนราธิวาส 3ผศ.ดร.ภาควชิ าประเมลิ ผลและวจิ ยั ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตรม์ หาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์วิทยาเขตปตั ตานี [email protected] บทคัดยอ่ การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนและหลังการใช้ Google Apps for Education (2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education การวิจัยใช้แบบ แผนการวิจัยเชิงทดลอง แบบกล่มุ เดยี วโดยวดั ผลกอ่ นใช้และหลังใช้ มีกลุ่มตวั อย่างคอื นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/7 โรงเรียน นราธิวาส จานวน 28 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการสอนเร่ืองขั้นตอนการออกแบบเชิงวิศวกรรม , Google app for education ประกอบด้วย(Google Doc , Google Sheets , Google Drive , Google Slides , Google Forms , Google Classroom , Gmail), แบบทดสอบออนไลน์เรื่องขั้นตอนการออกแบบเชิงวิศวกรรม และแบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อการใช้ Google app for education สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบแบบกลมุ่ ตัวอยา่ งไมเ่ ปน็ อสิ ระต่อกัน ผลการวจิ ัยพบวา่ (1) คะแนนทดสอบกอ่ นการจดั การเรียนร้โู ดยใช้ Google Apps for Education มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.21 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.45 คะแนนทดสอบหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 16.54 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.11 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียคะแนน ทดสอบกอ่ นและหลังการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ Google Apps for Education เราสรุปได้ว่าผลการทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรยี น ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/7 โรงเรียนนราธิวาส หลังใช้ Google Apps for Education สูงกว่ากอ่ นใช้ Google Apps for Education อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .05 (2) นักศึกษามคี วามพึงพอใจ ต่อการใช้ Google Apps for Education โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (M= 4.19) โดยประเด็นเรื่อง Google App for education ช่วยให้นักเรียนส่งงานง่าย โดยการแชร์ลิงค์ให้ครูผู้สอน และยังช่วยประหยัดกระดาษในการปร้ินรายงาน มี ค่าเฉล่ียสูงสุดเท่ากับ 4.46 รองลงมา ได้แก่ Google App for education ช่วยเปล่ียนวิธีการทดสอบและการตอบ แบบสอบถามโดยใชก้ ระดาษ เป็นการทดสอบแบบออนไลน์ ท่ีมีความแม่นยาในการตรวจคาตอบ และรู้ผลได้ทันที มีค่าเฉลี่ย เทา่ กบั 4.36 และ Google App for education ช่วยใหน้ ักเรยี นและครูผ้สู อนสามารถทางานร่วมกันได้สะดวกและรวดเร็ว มี คา่ เฉลยี่ ต่าสดุ เท่ากบั 3.43 คาสาคัญ : Google app for education

Abstract This research aims to (1) to compare learning achievement Between before and after using Google Apps for Education (2) to study the satisfaction of using Google Apps for Education. Research using experimental research plans Single group, measured before use and after use There are 28 samples of Mathayom Suksa 4/7 students in Narathiwat School. The research tools include a lesson plan on engineering design procedures, Google app for education (Google Doc, Google Sheets, Google Drive, Google Slides, Google forms, Google Classroom, Gmail), online quiz on engineering design steps And the satisfaction questionnaire for using Google app for education. The statistics used in data analysis are mean, standard deviation, and sample group testing. The results showed that (1) the test scores before learning management using Google Apps for Education had an average of 10.21 points and standard deviations equal to 2.455. The test scores after learning management using Google Apps for Education were average. Equal to 16.54 points and a standard deviation equal to 2.117. The comparison results of the average test scores before and after learning management using Google Apps for Education, we conclude that the results of the test results For learning design and technology courses of Mathayom Suksa 4/7 students, Narathiwat School after using Google Apps for Education higher than before using Google Apps for Education with statistical significance at the level of .05 (2) students were satisfied Satisfied with the use of Google Apps for Education as a whole at a high level (M = 4.19). Issues with Google App for education help students submit simple tasks. By sharing links to teachers And also saves paper in printing reports With the highest mean of 4.46, followed by Google app for education, changing the method of testing and answering questions using paper Is an online test With accuracy in checking answers And know the results immediately Has an average of 4.36 and Google app for education helps students and teachers to work together easily and quickly With the lowest mean of 3.43 Keyword : Google app or education

บทนา การศึกษาของไทยในยุคศตวรรษท่ี 21 ได้มุ่งเน้นที่จะนาเอาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษามาใช้ในการ พัฒนาการศึกษาของชาติ จึงได้นาเอาหมวดหนึ่งในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 มาตรา ๖๖กลา่ ววา่ ผเู้ รยี นมีสิทธิไดร้ บั การพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ในโอกาส แรกที่ทาได้ เพ่ือให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเองได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต จากสาระตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา ๖๖ ดงั กลา่ ว แสดงใหเ้ หน็ ว่าเทคโนโลยีจะชว่ ยสนบั สนนุ กระบวนการจัดการเรียนการสอน ช่วยทาให้เกิดนวัตกรรม ใหม่ จากระบบการเรียนการสอนแบบเดิมท่ีครูผู้สอนยืนหน้าชั้นเรียนและเขียนกระดานพร้อมการบรรยาย ปรับเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนในสภาพแวดล้อมที่เสมือนจริง ประกอบกบั การใช้กระบวนการสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความร่วมมอื ในการเรียนรู้แบบ Collaborative Learning โดยผ้เู รยี นสามารถมปี ฏิสัมพนั ธก์ ับครผู สู้ อนหรอื กลุม่ ผู้เรยี นด้วยกันเพือ่ แลกเปลี่ยนความคิดหรือทางานร่วมกัน ได้ผ่านระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ก่อให้เกิดการจดจาและแรงจูงใจในการเรียนรู้ของผู้เรียนมากข้ึนด้วยการใช้ นวตั กรรมทางการศกึ ษา (ไพรชั นพ วริ ิยวรกุล และดวงกมล โพธ์ินาค, 2557, หนา้ 104) จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ีมีอย่างต่อเนื่อง และรวดเร็ว ส่งผลให้เกิด การตื่นตัวและปรับตัว ไปส่กู ารศกึ ษาสมัยใหม่ เพือ่ จดั การกบั องค์ความรู้ที่มอี ยมู่ ากมาย จากเดิมทเี่ น้นให้ความสาคัญกับผู้สอน ได้ปรับ รูปแบบมาเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีการกระตุ้นความรู้สึกของผู้เรียนให้สนใจ โดยใช้ สื่อการสอนหลากหลายรูปแบบ ก่อให้เกิดพัฒนาการในหลายด้าน รวมถึงมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพ่ิมมากขึ้น อีกท้ังยังส่งเสริมให้เกิดความกระตือรือร้นและแสวงหาความรู้ รู้จักคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ ตัดสินใจ ตลอดจน การศึกษาสภาพจริงตามบริบทโลก (สุธาศินี สีนวนแก้ว และกานดา ศรอินทร์, 2552) จนนามาซึ่งการศึกษา รูปแบบใหม่ โดยครูผู้สอนจะจัดกิจกรรมผ่านส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศหลากหลายประเภท (สุรศักด์ิ ปาเฮ, 2556) ซ่ึงผู้เรียนสามารถนาเอามาเรียนได้ในทุกสถานท่ีและทุกเวลา ผ่านการใช้อุปกรณ์หรือเคร่ืองมือท่ี นักเรียนมอี ยู่ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเลต็ และสมาร์ทโฟน เปน็ ตน้ (จติ รา สขุ เจริญ, 2556) ซ่งึ รปู แบบการเรียน การสอนดังกล่าวจะต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเป็นตัวช่วย และสนับสนุนให้การเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพ่ือให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่เปลี่ยนแปลงไป (พสุ เดชะ รินทร์, 2556, หน้า 14) ซ่งึ เทคโนโลยีท่ีจะกล่าวถึงในที่น้ี คือ กูเกิลแอปเพื่อการเรียนการสอน (Google Apps for Education) กูเกิลแอปเพื่อการเรียนการสอน (Google Apps for Education : GAFE หรือ Google Apps) คือ ชุดโปรแกรมประยุกต์การส่ือสารและการทางานร่วมกัน โดยกูเกิล (Google) ในฐานะองค์กรผู้ให้บริการด้าน เครื่องมือค้นหา (Search Engine) ในอินเทอร์เน็ต ที่เป็นท่ีนิยมอันดับ 1 ของโลก จากการศึกษา พบว่า กูเกิล แอปเพอื่ การเรียนการสอน สามารถใชใ้ นการรองรับการใช้งานด้านการศกึ ษาไดเ้ ป็นอย่างดี ด้วยการทางานของ โปรแกรมยอ่ ย ประกอบด้วย อีเมล (Gmail) โปรแกรมสนทนา (Talk) กลุ่มผู้ใช้ (Groups) ปฏิทิน (Calendar) เอกสาร (Docs) ไดร์ฟ หรือพ้ีนท่ีในการจัดเก็บข้อมูล (Drive) เว็บไซต์ (Sites) และระบบการเรียนการสอน ออนไลน์ (Classroom) เปน็ ต้น (Pedraza, 2011)

การใช้กูเกิลแอปเพ่ือการเรียนการสอน (Google Apps for Education) ในการจัดการเรียนการสอน จะช่วยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลสาหรบั การจดั การระบบการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้แบบ ทางานร่วมกันได้ทุกท่ี ทุกเวลา และทุกรูปแบบของเทคโนโลยี ท่ีสามารถเช่ือมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้ ภายใต้การจัดเก็บ รวบรวม และบันทึกข้อมูลบนคลาวด์ ติดต่อส่ือสาร กาหนดเวลาเรียนและตารางนัด หมาย ทากิจกรรมร่วมกันได้ในเวลาเดียวกันบนแฟ้มเอกสารเดียวกัน อีกท้ังครูยังสามารถประยุกต์ใช้เพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพในการบริหารช้ันเรียนได้อีกด้วย (ไพรัชนพ วิริยวรกุล และดวงกมล โพธ์ินาค,2557, บทคัดย่อ) นับได้ว่าเป็นรูปแบบการสอนที่มีประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่ง ซ่ึงจะใช้เป็นแนวทางในการแก้พฤติกรรมการเรียนรู้ ของคนรุ่นใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไป ท่ีต้องการใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในการเรียนทุกคาบ ต้องการความสะดวกใน การทางานร่วมกัน และความสะดวกในการส่งงาน จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาการใช้กูเกิลแอปเพ่ือการเรียนการสอน (Google Apps for Education) ในการจดั การเรยี นการสอน ซ่งึ ไดน้ ามาใชก้ ับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 โรงเรียนนราธิวาส ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เพ่ือใช้ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเพ่ือ เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางกา ร เรียนในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยเี พมิ่ ข้นึ ด้วย วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนและหลังการใช้ Google Apps for Education 2. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education สมมติฐานการวจิ ัย 1. หลังการใช้ Google Apps for Education นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นดีขน้ึ 2. นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจต่อการใช้ Google Apps for Education อยใู่ นระดบั มาก กรอบแนวคิดในการวจิ ัย กรอบแนวคิดในการทาวิจยั ในคร้ังน้ีมีตวั แปรต้น คือ การใช้ Google Apps for Education ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและความพึงพอใจ ตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน การใช้ Google Apps for Education ความพงึ พอใจ - Google Doc - Google Sheets - Google Drive - Google Slides - Google Forms - Google Classroom - Gmail

ขอบเขตของการวจิ ยั การวิจัยคร้ังนี้มุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/7 โรงเรยี นนราธวิ าส ในภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 ที่ ผลการเรยี นค่อนขา้ งต่า เนือ่ งจากไม่สนใจการเรยี นเท่าท่ีควร ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวัดได้จากแบบทดสอบ ก่อนเรียน เร่ืองกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 2 ตอน จานวน 20 ข้อ มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ จานวน 4 ตัวเลือก (Multiple Choices) 14 ข้อและแบบเติมคาตอบ (Short Answer) 6 ขอ้ สาหรับกูเกิลแอปเพื่อการเรียนการสอน (Google Apps for Education : GAFE หรือ Google Apps) คือ ชุดโปรแกรมประยุกต์การสื่อสารและการทางานร่วมกัน โดยกูเกิล (Google) ประกอบด้วย (Google Doc , Google Sheets , Google Drive , Google Slides , Google Forms , Google Classroom , Gmail) ชว่ ยให้การทางานรว่ มกันสะดวกยิง่ ขน้ึ และสง่ งานไดท้ ุกที่ทุกเวลา สาหรับความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education เป็นคะแนนการประเมินความพึง พอใจต่อการเรียนการสอนโดยใช้ Google Apps for Education ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ซึ่งวัด จากแบบสอบถามความพึงพอใจ มีลักษณะเป็นแบบ Rating scale 5 ระดับ จานวน 10 โดยมีการใช้ ระยะเวลาดาเนินการตามแผนการสอนจานวน 12 ช่ัวโมง นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 1. Google Apps for Education หมายถึง ชุดโปรแกรมต่างๆของ Google ท่ีเปิดให้สถาบันการ ศึกษาใช้สาหรับใช้เป็นเคร่ืองมือเสริมประกอบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆท้ังสิ้น เพยี งแค่คณุ มบี ญั ชี Google บญั ชเี ดยี วก็สามารถใชง้ านบริการได้ ประกอบดว้ ย 1.1 Google Classroom หมายถึงโปรแกรมท่ีรวมเอาบริการของ Google ท่ีมีอยู่แล้ว เช่น Drive, Docs, Gmail หรือ Sheet เข้ามารวมไว้ด้วยกัน และสามารถนาเสนอออกมาเป็นระบบเดียวแบบครบ วงจร เพื่อใช้เป็น เครื่องมือให้อาจารย์ผู้สอนสามารถใช้ประโยชน์ในการส่ังงานและเก็บรวบรวมผลงานต่างๆ ของนกั ศึกษา อีกทั้งยงั จะช่วยให้นักเรยี นสามารถสง่ งานไดส้ ะดวกยิง่ ข้นึ 1.2 Google Drive หมายถึงโปรแกรมออนไลน์สาหรับเก็บไฟล์ได้ทุกประเภท เข้าถึงไฟล์ได้ทุกที่ ทกุ เวลาผา่ นทางคอมพิวเตอรห์ รอื โทรศัพท์ เมอ่ื แชรไ์ ฟล์ ผู้แชรส์ ามารถควบคมุ ระดับการเขา้ ถึงไฟลข์ องผรู้ บั ได้ 1.3 Google Slides หมายถงึ โปรแกรมออนไลน์สาหรบั สร้างสไลด์ นาเสนองาน (ใช้ทดแทนหรือ ร่วมกับPowerPoint ได)้ 1.4 Google Forms หมายถึงโปรแกรมออนไลนส์ าหรับสรา้ งแบบทดสอบออนไลน์ 1.5 Google Doc หมายถึงโปรแกรมออนไลน์สาหรับพิมพ์งานท่ัวไป แก้ไขเอกสาร (คล้ายกับ Microsoft Words) 1.6 Google Sheets หมายถึงโปรแกรมออนไลน์สาหรับแก้ไขเอกสารแบบตารางคานวณ หรือ ไฟล์พวก excel (คลา้ ยกบั Microsoft Excel) 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี หมายถึง คะแนนของผู้เรียน ท่ีได้ จากการทาแบบทดสอบออนไลนท์ ่ีผูว้ ิจยั ได้สรา้ งขนึ้

3. แบบทดสอบออนไลน์ หมายถึง เคร่อื งมือที่สรา้ งด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เม่ือผู้เรียนทาการทดสอบแล้ว ระบบสามารถตรวจคาตอบและแจ้งคะแนนให้กับ ผู้เรยี นได้ทันที โดยแบบทดสอบทีผ่ ู้วจิ ัยสร้างขึ้นมี 2 ตอน จานวน 20 ขอ้ มีลักษณะดงั นี้ แบบเลือกตอบจานวน 4 ตัวเลือก (Multiple Choices) และแบบเติมคาตอบ (Short Answer) 4. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education หมายถึง เป็นการวัด ความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education ในการจัดการเรียนการสอนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยแอปพลิเคชันดังกล่าวสามารถทาให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับครูผู้สอนหรือกลุ่มผู้เรียน ดว้ ยกนั เพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดหรอื ทางานร่วมกนั ได้ โดยข้อคาถามมลี กั ษณะเป็นแบบ Rating scale 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ วิธดี าเนินการวิจยั แบบแผนวิจยั ในการวจิ ัยครงั้ นี้ ผ้วู ิจัยไดใ้ ช้ระเบียบวิธีวจิ ยั เชิงทดลองแบบกลุ่มเดียว โดยผู้วิจัยใช้ Google Apps for Education ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ดังแผนการทดลอง เมื่อกาหนดให้ หมายถงึ ผลก่อนการใช้ Google Apps for Education หมายถึง การใช้ Google Apps for Education หมายถึง ผลหลงั การใช้ Google Apps for Education ประชากรและตวั อยา่ ง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนราธิวาส 11 ห้องเรียน จานวน 386 คน กลุม่ ตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ครง้ั น้ีเป็น นักเรยี น ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4/7 1 ห้องเรียน จานวน 28 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจยั ในการวิจัยเคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการวจิ ัยในครง้ั น้มี ี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการดาเนนิ การวิจยั ได้แก่ 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education 2. เคร่อื งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ 2.1 แบบทดสอบออนไลน์ รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี 2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ (1) ข้ันก่อน การทดลอง (2) ขน้ั การทดลอง (3) ขั้นหลังการทดลอง ดังน้ี 1. ข้ันก่อนการทดลอง ในการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลกับตัวอย่างกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/7โรงเรยี นนราธิวาส ซ่ึงมีรายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี 1.1 ผู้วิจัยได้ปรึกษาครูพ่ีเล้ียง เพ่ือใช้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/7 จานวน 28 คน เป็นกลุ่ม ตัวอยา่ งในการวิจยั ครั้งนี้ 1.2 ผู้วิจัยได้จัดเตรียมเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ซึ่งเป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แบบทดสอบออนไลน์ และแบบวัดความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 4/7 โรงเรียนนราธิวาส 2. ขน้ั การทดลอง 2.1 ทดสอบก่อนเรียน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบออนไลน์ ไปทดสอบกับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 4/7 ท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่าง แล้วบันทึกคะแนนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับจากการทดสอบครั้งนี้เป็น คะแนนทดสอบกอ่ นเรียน(Pretest) 2.2 ดาเนนิ การใช้ Google Apps for Education ในการเรียนการสอนและใชใ้ นการทาแบบฝกึ หดั 2.3 ทดสอบหลังเรียน ไปทดสอบกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/7 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง แล้วบันทึก คะแนนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับจากการทดสอบคร้ังน้ีเป็นคะแนนทดสอบหลังเรียน (Posttest) พร้อมทั้งให้ นกั เรยี นทาแบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้ Google Apps for Education 3. ขัน้ หลงั การทดลอง ผู้วิจัยตรวจให้คะแนนแบบทดสอบและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล ในกรณีท่ีข้อมูล ผลการทดสอบของนักศึกษาไม่ครบถ้วน ผู้วิจัยจะติดตามให้นักศึกษาทดสอบเพ่ิมเติม หลังจากนั้นได้จัดเตรียม บนั ทกึ ขอ้ มลู เพื่อจะวเิ คราะหข์ ้อมูลในข้ันต่อไป การวเิ คราะห์ข้อมลู งานวิจัยเรื่องการใช้ Google Apps for Education ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรียนนราธิวาส ปกี ารศกึ ษา2561 มีวัตถุประสงค์ เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนและหลังการใช้ Google Apps for Education และศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education คณะผู้วิจัยใช้ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลอง โดยออกแบบการทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังใช้ Google Apps for Education กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 โรงเรียนนราธิวาส จานวน 28 คน ผู้วิจยั ไดน้ าเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดังต่อไปน้ี

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระหว่างก่อนและหลังการใช้ Google Apps for Education ตารางท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติเชิงบรรยายคะแนนสอบ ก่อนและหลังการใช้ Google Apps for Education ของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/7 โรงเรียนนราธิวาส คะแนนสอบ n Min Max Range Mean S.D. กอ่ นใช้ 28 4 16 12 10.21 2.45 หลังใช้ 28 12 20 8 16.54 2.11 จากตารางที่ 1 พบวา่ คะแนนก่อนใช้ Google Apps for Education ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนนราธิวาส มีค่าน้อยที่สุดเท่ากับ 4 คะแนน ค่ามากที่สุดเท่ากับ 16 คะแนน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 10.21 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.45 ส่วนคะแนนสอบหลังใช้ Google Apps for Education มี ค่าน้อยท่ีสุดเท่ากับ 12 คะแนน ค่ามากท่ีสุดเท่ากับ 20 คะแนน ค่าเฉล่ียเท่ากับ 16.54 คะแนน และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 2.11 ภาพประกอบ 1 แผนภูมิแท่งแสดงคะแนนสอบก่อนและหลังการใช้ Google Apps for Education ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/7 โรงเรยี นนราธิวาส จากภาพประกอบที่ 1 แสดงคะแนนก่อนและหลังการใช้ Google Apps for Education ซ่ึงจะเห็นได้ ว่านักเรียนส่วนใหญ่มีคะแนนหลังใช้ Google Apps for Education ที่สูงกว่าก่อนใช้ Google Apps for Education แผนภูมเิ ปรยี บเทยี บคะแนนสอบระหวา่ งก่อนเรียนและหลงั เรียน pretest postest 18 19 20 19 17 18 19 19 18 19 18 12 17 16 16 16 17 16 16 16 17 16 16 1212 1414 14 12 12 12 15 15 15 13 12 12 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 88 88 8 6 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนและหลังการใช้ Google Apps for Education ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/7 โรงเรียนนราธิวาส คะแนนสอบ n M SD Paired Samples Test t df Sig. M Different SD กอ่ นใช้ 28 10.21 2.45 6.32 1.70 19.66 27 .000 หลังใช้ 28 16.54 2.11 จากตารางท่ี 2 พบวา่ คะแนนทดสอบก่อนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education มี ค่าเฉล่ียเทา่ กบั 10.21คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.45 คะแนนทดสอบหลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ Google Apps for Education มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.54 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.11 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education เราสรุปได้ว่าผลการทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนราธิวาส หลังใช้ Google Apps for Education สูงกว่าก่อนใช้ Google Apps for Education อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ความพึงพอใจตอ่ การใช้ Google Apps for Education ตารางท่ี 3 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 โรงเรียนนราธิวาส ประเดน็ ประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจ M S.D. แปลผล ความพงึ พอใจตอ่ การใช้ Google Apps for Education 4.21 .62 มาก 1. Google App for education มีความสะดวกต่อการใช้งาน สามารถใช้งาน 4.14 .65 มาก จากอปุ กรณ์ต่างๆทัง้ Notebook, โทรศัพท์ มือถือ หรอื Tablet 2. Google App for education ช่วยให้นักเรียนเรียกใช้งานจากเคร่ืองอ่ืนๆ 4.11 .68 มาก ได้ทันที กรณีที่เกิดความเสียหายกับเคร่ือง computer ท่ีใช้งานอยู่ ข้อมูล 3.43 .57 ปานกลาง ทั้งหมดของคุณจะยงั คงอยู่อยา่ งปลอดภัย 4.32 .54 มาก 3. Google App for education จะช่วยนักเรียนบันทึกข้อมูลทุอย่างลงใน ระบบคลาวดโ์ ดยอัตโนมตั ิ 4. Google App for education ชว่ ยใหน้ กั เรยี นและครูผู้สอนสามารถทางาน ร่วมกันได้สะดวกและรวดเรว็ 5. Google App for education สนับสนุนการศึกษาที่ชัดเจนเปิดให้ สถาบนั การศกึ ษาสมคั รใชโ้ ดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จ่าย

ประเด็นประเมิน ระดบั ความพึงพอใจ M S.D. แปลผล 6. Google App for education ช่วยให้นักเรียนส่งงานง่ายๆ โดยการแชร์ 4.46 .57 มาก ลิงค์ใหค้ รผู ู้สอน และยังช่วยประหยัดกระดาษในการปริ้นรายงาน 7. Google App for education ช่วยให้นักเรียนทากิจกรรมกลุ่มได้ในเวลา 4.29 .65 มาก เดยี วกนั บนแฟ้มเอกสารเดียวกนั 8. Google App for education ช่วยให้นักเรียนทางานได้ทันที ที่มีการ 4.25 .64 มาก เชอื่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ น็ต โดยไมต่ ้องเสียเวลาติดตั้งโปรแกรมลงในเครือ่ ง 9. Google App for education ชว่ ยใหน้ กั เรยี นเก็บไฟลไ์ ดท้ กุ ประเภท 4.29 .76 มาก 10. Google App for education ช่วยเปลี่ยนวิธีการทดสอบและการตอบ 4.36 .67 มาก แบบสอบถามโดยใช้กระดาษ เป็นการทดสอบแบบออนไลน์ ท่ีมีความแม่นยา ในการตรวจคาตอบ และรู้ผลได้ทนั ที 4.19 .48 มาก สรปุ ความพงึ พอใจโดยภาพรวม จากตารางท่ี 3 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก (M= 4.19)โดยประเด็นเร่ือง Google App for education ช่วยให้นักเรียนส่งงานง่ายๆ โดย การแชร์ลงิ คใ์ ห้ครูผสู้ อน และยังช่วยประหยดั กระดาษในการปร้ินรายงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.46 รองลงมา ได้แก่ Google App for education ช่วยเปล่ียนวิธีการทดสอบและการตอบแบบสอบถามโดยใช้กระดาษ เป็น การทดสอบแบบออนไลน์ ที่มีความแม่นยาในการตรวจคาตอบ และรู้ผลได้ทันที มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.36 และ Google App for education ช่วยให้นักเรียนและครูผู้สอนสามารถทางานร่วมกันได้สะดวกและรวดเร็ว มี คา่ เฉล่ียต่าสุดเทา่ กบั 3.43 สรปุ ผลการวิจยั ผลการวิจยั สรุปไดด้ ังนี้ 1. คะแนนทดสอบก่อนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.21 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.45 คะแนนทดสอบหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.54 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.11 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียคะแนนทดสอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education เราสรุปได้ว่าผลการทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ของ นักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 โรงเรียนนราธิวาส หลังใช้ Google Apps for Education สูงกว่าก่อนใช้ Google Apps for Education อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (M= 4.19) โดยประเด็นเรื่อง Google App for education ช่วยให้นักเรียนส่งงานง่ายๆ โดยการแชร์ลิงค์ให้ ครูผู้สอน และยังช่วยประหยัดกระดาษในการปร้ินรายงาน มีค่าเฉล่ียสูงสุดเท่ากับ 4.46 รองลงมา ได้แก่

Google App for education ช่วยเปลี่ยนวิธีการทดสอบและการตอบแบบสอบถามโดยใช้กระดาษ เป็นการ ทดสอบแบบออนไลน์ ที่มีความแม่นยาในการตรวจคาตอบ และรู้ผลได้ทันที มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.36 และ Google App for education ช่วยให้นักเรียนและครูผู้สอนสามารถทางานร่วมกันได้สะดวกและรวดเร็ว มี ค่าเฉลี่ยต่าสุดเทา่ กับ 3.43 อภิปรายผลการวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ก่อนและหลังการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education สามารถพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนได้สูงขึ้น เห็นได้จากคะแนนแบบทดสอบเรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมของนักเรียน หลังใช้ Google Apps for Education สูงกว่าก่อนใช้ Google Apps for Education และจากการจัดทาแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education ของนักเรียนพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้ Google Apps for Education ในระดับ มาก แสดงให้เห็นว่า การใช้ Google Apps for Education ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนทสี่ งู ขน้ึ ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดี กับครูและเพ่ือน มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ และสามารถนาความรู้ที่ได้ไป ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ จากผลการวิจัยท่ีผ่านมา จะเห็นว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education สามารถพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยีให้สูงขึ้น และนักเรียนมีความพึง พอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education อยู่ในระดับมาก โดยสอดคล้องกับงานวิจัย ของ เกียรติชัย เพ็ญวิจิตร (2559) ได้ทาการวิจัยเรื่องผลการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียน เร่ืองคลื่น โดยใช้ โปรแกรมกูเก้ิลไซต์ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ซึ่งพบว่านักเรียนท่ีได้รับ การจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียน เร่ืองคลื่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้โปรแกรมกูเก้ิลไซต์ มี ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 เช่นเดียวกับงานวิจัย ของ ฉัตรปกรณ์ นทิ ัศน์ (2557) ได้ทาการวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรมบนเว็บ โดย วธิ ีสาธติ และ แบบฝึกหัดทักษะปฏบิ ัติ เรื่อง การสรา้ งแบบสอบถามออนไลน์ พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ผู้ฝึกอบรมหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนด้านทักษะปฏิบัติอยู่ในระดับดีมากและความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมท่ีมีต่อบทเรียน คอมพวิ เตอร์ช่วยฝึกอบรมอยใู่ นระดบั มากที่สุด โดยสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ มัณฑนา นนท์ไชย (2559) ได้ทา การวิจยั เรอ่ื ง การพัฒนาส่ือการเรียนรู้แบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง เร่อื ง การร่างภาพจรงิ ให้เป็นลายเส้นและออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดยใช้ห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom สาหรบั นกั ศกึ ษาปรญิ ญาตรี ชั้นปีท่ี 1 สาขาเทคโนโลยีมีเดีย พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง การรา่ งภาพจรงิ ใหเ้ ปน้ ลายเส้นและออกแบบบบรจุภัณฑ์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .05 และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.06 , S.D.=0.66) เช่นเดียวกับงานวิจัยของ ลาภวัต วงศ์ประชา (2561) ได้ทาการวิจัยเร่ืองแนวทางส่งเสริมการใช้ Google

Classroom พัฒนาการเรียนการสอน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และแนวทางส่งเสริมการใช้ Google Classroom พัฒนาการเรียนการสอน นักศึกษาในระดับอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม พบว่า สภาพการใช้ Google Classroom พัฒนาการเรียนการสอน นักศึกษาในระดับอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัย นครพนม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และงานวิจัยของ พีรพงศ์ เพชรกันหา (2560) ได้ทาการวิจัยเรื่องการ ส่งเสริมพฤติกรรมทางานกลุ่มโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบกลุ่มสืบสวนร่วมกับ Google Classroom สาหรับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนหลังเรียนด้วยการเรียนรู้แบบกลุ่มสืบสวน ร่วมกบั Google Classroom พบวา่ ผเู้ รียนมคี วามพึงพอใจมคี ่าเฉลย่ี อยู่ในระดับมากท่สี ุด ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education มาใช้ในการ บริหารจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียนในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนท่ีสูงข้ึน ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ ภายใต้การจัดเก็บ รวบรวม และบันทึกข้อมูลบนคลาวด์ และผู้เรียนสามารถทากิจกรรมร่วมกันได้ในเวลา เดียวกนั บนแฟ้มเอกสารเดียวกนั ได้ ทาให้ผเู้ รียนมีความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรยี นร้ดู ังกลา่ ว จึงมีข้อเสนอแนะ ใหส้ นับสนนุ นาการจดั การเรียนร้โู ดย Google Apps for Education โดยผู้วจิ ัยมขี ้อเสนอแนะครูผูส้ อน ดงั นี้ 1. ควรจัดห้องปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอรใ์ ห้มจี านวนเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ี่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อ การใชง้ าน และประสิทธภิ าพในการเช่ือมตอ่ ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต 2. จากการวิจัยพบว่าการใช้ Google Apps for Education น้ันต้องใช้อีเมลในการเข้าใช้งาน ครูผู้สอนควรเตรียมความพร้อมในการสมัครอีเมลให้ผู้เรียน โดยสมัครอีเมลท่ีเป็นของโรงเรียน มีรหัสผ่านที่ เหมือนกันทุกคน เพ่ือป้องกันผู้เรียนลืมรหัสผ่าน ตัวอย่างอีเมลโรงเรียนนราธิวาส โรงเรียนที่ทาการวิจัย (รหัส นักเรียน@gs.nts.ac.th) ควรจัดห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้มีจานวนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพ เพยี งพอตอ่ การใชง้ าน และประสิทธภิ าพในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ต 3. ครูผู้สอนสามารถนาการวิจัยในครั้งน้ีไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ดังกล่าวข้างต้นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ และในรายวิชาอ่ืนๆ ตามความ เหมาะสมและพร้อมของห้องเรียน รวมท้ังความพร้อมของผู้สอนและผู้เรียนอีกด้วย ซ่ึงผู้เรียนจะต้องมีทักษะ พื้นฐานในการใช้คอมพิวเตอร์ 2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Google Apps for Education นอกเหนือจากที่ ผู้จัยได้ทาการวิจัย ซึ่งได้แก่ Meet , Calendar, Sites , Groups , Maps , news , Hangouts เพื่อส่งเสริม การเรยี นรู้แบบห้องเรียนออนไลน์ 2. ควรจัดทาคู่มือการใช้งาน Google Apps for Education ในการพัฒนาการเรียนการสอน สาหรับนักเรยี น 3. ควรศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนในเชิงคุณภาพในแง่ท่ีเป็นจุดเด่นและจุดด้อยของการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Apps for Education

รายการอ้างองิ กฤษตฌา พรหมรักษา. (2559). แนวทางส่งเสริมการยอมรับกูเกิลแอปส์เพ่ือการเรียนการสอน กรณีศึกษา : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยนครพนม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร ,สกลนคร. กิตติศักดิ์ สิงห์สูงเนิน และณมน จีรังสุวรรณ. (2558). Google for Education กับการปฏิรูปการศึกษาไทย. พัฒนาเทคนิคศึกษา, 28(96), 14-20. ค้นจากhttp://202.28.199.72/tdc/browse.php?option =show&browsetype=title&titleid=435877&query=google%20for%20education &s_ mo de=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2561-12-21&limit_lang=&limited_lang _code=&order=&order_by=& order_type= &result _id=1& maxid=1 เกยี รตชิ ยั เพ็ญวิจติ ร. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้ ด้วยบทเรียน เร่ือง คลื่น โดยใช้โปรแกรมกูเกิ้ลไซต์ ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5. (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์, นครสวรรค์. พรี พงศ์ เพชรกันหา. (2560). การส่งเสริมพฤติกรรมการทางานงานกลุ่มโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบ กลุ่มสืบสวนร่วมกับ Google Classroom สาหรับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญา ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม, มหาสารคาม. มัณฑนา นนท์ไชย. (2559). การพัฒนาส่ือการเรียนรู้แบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะการ เรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องการร่างภาพจริงให้เป็นลายเส้นและออกแบบบบรจุภัณฑ์ โดยใช้ห้องเรียน ออนไลน์ Google Classroom สาหรับนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย. (วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาครุศาสตรอตุ สาหกรรมมหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ,ธนบรุ ี. ลาภวัต วงศ์ประชา. (2561). แนวทางส่งเสริมการใช้ Google Classroom พัฒนาการเรียนการสอนนักศึกษา ในระดับอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหา วทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร, สกลนคร. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. (2557). 21st century skills ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21. ค้นจาก https://edu.pim.ac.th/video/2/21st-century-skills-%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8 %81%E0%B8%A9%E0%B8%B0 %E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88% E0%B8 %87%E0%B8%A8%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0 %B8%A9 %E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-21.html GotoKnow. (2555). ทฤษฎคี วามพงึ พอใจ. ค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/492000