Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore is1โครงงาน

is1โครงงาน

Published by janthappapha, 2022-08-08 02:31:25

Description: is1โครงงาน

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 บทนา 1. ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา เป็นการเกร่ินนาหรืออารัมภบทแสดงใหเ้ ห็นถึงความสาคญั และความจาเป็นที่จะตอ้ งทาศกึ ษา หรือเหตุผลที่สมควรตอ้ งมกี าร ศกึ ษาปัญหาพเิ ศษเร่ืองน้ี โดยพยายามกาหนดปัญหาใหช้ ดั เจนท้งั ในดา้ น การเกดิ ความรุนแรง การกระจายตวั ของปัญหา หรือดา้ นอน่ื ๆ ใหเ้ ขา้ ถงึ ขอ้ เทจ็ จริงของปัญหาอยา่ ง แทจ้ ริง ดว้ ยการทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง ตรวจสอบสถติ ิ สอบถามความเห็นจากบุคคลที่เก่ียวขอ้ ง และแสวงหาเหตุผลที่น่าเป็นไปได้ จากทฤษฎีและสาขาท่ีเกี่ยวขอ้ ง โดยเขียนโนม้ นา้ ว จูงใจใหผ้ อู้ า่ น คลอ้ ยตามเห็นดว้ ยวา่ ทาไมตอ้ งทาศึกษาเร่ืองน้ี เช่น ยงั ประสบปัญหาอยแู่ กไ้ ขไมไ่ ด้ โดยใชค้ วามคิด ตวั เองใหม้ ากท่ีสุด ● ย่อหน้าแรก จะตอ้ งอภิปรายถึงความเป็นมา ปัญหา ขอ้ ดี ขอ้ เสีย หรือขอ้ โตแ้ ยง้ ของการทดลอง ท่ีไดท้ าการก่อนหนา้ ● ย่อหน้าทสี่ อง จะตอ้ งอภิปรายถงึ ความสาคญั ขอ้ ดีของปัญหา รวมถงึ แนวทางแกไ้ ขปัญหาใน เร่ืองที่เราสนใจจะดาเนินการทา ควรมีเอกสารหรือที่มาของปัญหาที่อา้ งองิ เพอื่ สนบั สนุนหรือ โตแ้ ยง้ ส่ิงที่ เราจะทาการทดลองน้นั ● ย่อหน้าสุดท้าย ตอ้ งอภิปรายสรุปเป้าหมายหรือเหตุผลท่ีจะทา เพือ่ แกป้ ัญหาท่ีงานท่ีเราจะทา และตอ้ งท้ิงทา้ ยดว้ ยรูปแบบดงั น้ี คือ ดงั น้นั ผศู้ กึ ษาจึงมุง่ ศกึ ษา .............................………………………….............................………... .............................................................เพือ่ .........................................................................ต่อไป รูปแบบการเขยี น ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา

2 ปัญหาวจิ ยั เขียนจากกวา้ งไปแคบ(ลกึ ) กวา้ ง แคบ เขียนเรื่องทว่ั ๆ ไป เขียนเรื่องเฉพาะ สรุปช้ีให้เห็นปัญหา ท่ีศึกษาเพอ่ื แกป้ ัญหา กอบแกว้ ตะนะพนั ธุ.์ 2557(กนั ยายน, 26). “หลกั การเขียน ความเป็ นมา และความสาคญั ของ ปัญหา | Kobkaew ....” [ออนไลน์]. ท่ีมา : http://kobkaewtk.wordpress.com/ 2. วตั ถุประสงค์ หมายถงึ แนวทางหรือทิศทางในการคน้ หาคาตอบ เป็นเรื่องที่ตอ้ งการทา - เป็นการกาหนดว่าตอ้ งการศกึ ษาในประเด็นใดบา้ งในเร่ืองที่จะศึกษาคน้ ควา้ โดยบ่ง บอกสิ่งที่จะทา ท้งั ขอบเขต และคาตอบที่คาดวา่ จะไดร้ ับ - เป็นการนาเอาความคิดของประเดน็ ปัญหามาขยาย รายละเอยี ด โดยใชภ้ าษาท่ีชดั เจน เขา้ ใจง่าย เขียนเป็นขอ้ หรือเขียนรวมเป็นขอ้ เดียวกนั - อยา่ นาประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับมาเขียนเพราะประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับเป็นผลที่ คาดว่าจะเกิดข้ึนหลงั จากสิ้นสุดการศึกษาคน้ ควา้ แนวการเขียนวตั ถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1.วตั ถุประสงคเ์ ขียนในรูปเป้าหมายการศกึ ษาคน้ ควา้ ไมใ่ ช่วิธีการ 2.วตั ถปุ ระสงคส์ อดคลอ้ งกบั ชื่อเรื่อง

3 3.วตั ถปุ ระสงคช์ ดั เจน ไมก่ ากวม 4. ใหใ้ ชค้ าว่า “เพ่อื ” คาที่ใช้สาหรับการเขียนวตั ถุประสงค์ เช่น เพ่อื ศึกษา เพ่อื สารวจ เพอ่ื คน้ หา เพอื่ บรรยาย เพื่ออธิบาย เพื่อพฒั นา เพื่อเปรียบเทียบ ...กบั ... เพ่อื พสิ ูจน์ เพ่อื แสดงใหเ้ ห็น เพ่ือศึกษาความสมั พนั ธ์ เพือ่ ประเมิน เพ่ือสงั เคราะห์ เพ่ือ เปรียบเทียบ....กบั ........ เพื่อศึกษาอิทธิพลของ......ที่มตี ่อ.. เพ่ือศกึ ษาอิทธิพลของ...ที่มตี ่อ... เพอื่ วิเคราะหป์ ัจจยั ที่มี / ส่งผล/อิทธิพล/ผลกระทบ... 3. สมมุตฐิ าน (ถา้ มี) สมมุติฐานเป็นการคาดคะเนหรือการทายคาตอบอยา่ งมเี หตุผลที่คาดไวล้ ว่ งหนา้ การเขียน สมมุติฐานควรมีเหตุผลที่สาคญั คือ เป็นขอ้ ความท่ีมองเห็นแนวทางในการดาเนินการ 4. ขอบเขตของการศึกษา 4.1 ประชากรทีใ่ ช้ในการศกึ ษา ประชากร หมายถึง สมาชิกทกุ หน่วยของส่ิงท่ีสนใจศกึ ษา ซ่ึงไมไ่ ดห้ มายถึงคนเพยี ง อยา่ งเดียว ประชากรอาจจะเป็นสิ่งของ เวลา สถานท่ี ฯลฯ เช่น ถา้ สนใจความคิดเห็นของคน ไทยท่ีมตี ่อการเลอื กต้งั ประชากร คือ คนไทยทุกคน หรือถา้ สนใจอายกุ ารใชง้ านของเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ยห่ี อ้ หน่ึง ประชากรคือเคร่ืองคอมพิวเตอร์ยห่ี อ้ น้นั ทุกเครื่อง แต่การเก็บขอ้ มูลกบั

4 ประชากรทกุ หน่วยอาจทาใหเ้ สียเวลาและค่าใชจ้ ่ายท่ีสูงมากและบางคร้ังเป็นเรื่องท่ีตอ้ ง ตดั สินใจภายในเวลาจากดั การเลอื กศกึ ษาเฉพาะบางส่วนของประชากรจึงเป็นเรื่องท่ีมีความ จาเป็น เรียกวา่ “กล่มุ ตวั อยา่ ง” ประเภทของประชากร จาแนกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ประชากรท่ีมจี านวนจากดั เป็นประชากรที่สามารถนบั จานวนได้ เช่น จานวน นกั ศกึ ษา จานวนนกั เรียน ฯลฯ 2. ประชากรทมี่ จี านวนไม่จากดั เช่น จานวนเมด็ ทราย ดวงดาวบนทอ้ งฟ้า ฯลฯ รูปแบบการเขยี นประชากรทใี่ ช้ในการศกึ ษา ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนช้นั ..........................โรงเรียน ............................... จานวน ....................หอ้ งเรียน เป็นนกั เรียนท้งั ส้ิน .............คน 4.2 กลุ่มตวั อย่างทใี่ ช้ในการศกึ ษา กลุ่มตวั อยา่ ง หมายถงึ ส่วนหน่ึงของประชากรที่นามาศกึ ษาซ่ึงเป็นตวั แทนของ ประชากร การทีก่ ลุ่มตวั อยา่ งจะเป็นตวั แทนท่ีดีของประชากรเพ่ือการอา้ งองิ ไปยงั ประชากร อยา่ งน่าเช่ือถือไดน้ ้นั จะตอ้ งมีการเลือกตวั อยา่ งและขนาดตวั อยา่ งท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะตอ้ งอาศยั สถติ ิเขา้ มาช่วยในการสุ่มตวั อยา่ งและการกาหนดขนาดของกลุม่ ตวั อยา่ ง ประเภทของการสุ่มตวั อย่าง การสุ่มตวั อยา่ งมีหลายวิธี แต่ครูแนะนาการสุ่มตวั อยา่ งสาหรับนกั เรียน คือ 1. การสุ่มตวั อย่างแบบง่าย นิยมใชก้ นั 2 วธิ ีคือ 1.1 การจบั ฉลาก 1.2 การใชต้ ารางเลขสุ่ม 1.2.1 การจบั ฉลาก ใชก้ บั ประชากรขนาดเลก็ มขี ้นั ตอนคือ

5 (1) เขียนบญั ชีรายช่ือ โดยรวบรวมทุกๆหน่วยของประชากรและให้ หมายเลขกากบั เช่น รายช่ือเจา้ หนา้ ท่ีทุกคนในแผนก รายช่อื นกั เรียน ทุกคนในช้นั เรียน (2) ทาฉลากหมายเลขเท่ากบั ประชากรเป้าหมายที่อยใู่ นบญั ชีรายช่ือ (3) นาฉลากมาเคลา้ ปนกนั ใหท้ วั่ (4) จบั ฉลากข้ึนมาคร้ังละ 1 ใบใหค้ รบจานวนตวั อยา่ งทีต่ อ้ งการ 1.2.2 การใชต้ ารางเลขสุ่ม นิยมใชก้ บั ประชากรขนาดใหญ่ท่ีมีบญั ชีรายชื่อ ทุกหน่วยยอ่ ยของประชากรไวแ้ ลว้ โดยปกติตารางเลขสุ่มน้ีสร้างข้ึนจากการ สุ่มโดยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ มขี ้นั ตอนดงั น้ี (1) กาหนดขนาดตวั อยา่ งท่ีตอ้ งการสุ่ม (2) กาหนดจานวนหลกั ตวั เลขท่ีตอ้ งการสุ่ม (3) กาหนดทิศทางการอ่านใหแ้ น่ใจวา่ จะอา่ นจากขวาไปซา้ ย หรือบนมาล่าง (4) หาเลขเร่ิมตน้ โดยการสุ่มเช่นสุ่มตวั เลขโดยกาหนดในใจวา่ จะเลือกตวั เลขใด (5) เรียกเลขสุ่มจนครบตามจานวนตวั อยา่ งจึงหยดุ 2. การสุ่มตวั อย่างแบบเป็ นระบบ เป็นการสุ่มตวั อยา่ งจากหน่วยยอ่ ยของประชากรที่มี ลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั มีข้นั ตอนการสุ่มดงั น้ี 2.1 สุ่มหน่วยเริ่มตน้ 2.2 คานวณระยะห่างของหน่วยต่อไป ระยะห่างระหว่างหมายเลข ( ) จานวนประชากรทั้งหมด ( คน) จานวนกล่มุ ตวั อย่าง ( คน) 2.3 นบั ระยะห่างเท่าๆ กนั เช่น 10 , 20 , 30 ... 2.4 กาหนดหมายเลขตวั อยา่ งดงั น้ี

6 เลขเริ่มตน้ 10 ตวั อยา่ งเช่น มีประชากร 800 คน ตอ้ งการตวั อยา่ ง 80 คน 2.5 สุ่มเลขเร่ิมตน้ หรือจบั สลากกไ็ ดใ้ น 800 คน สมมตุ ิไดเ้ ลข 5 ดงั น้นั จึงสุ่มทกุ ๆ 10 คน สุ่มจนไดค้ รบจานวนกลุม่ ตวั อยา่ ง รูปแบบการเขยี นกล่มุ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการศึกษา กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการศกึ ษาคร้ังน้ีเป็นนกั เรียน(ที่...)ระดบั ช้นั ...................................... โรงเรียน....................................... ปี การศกึ ษา 25... จานวน.............คน (นคร เสรีรักษ์และภรณี ดรี าษฎร์วเิ ศษ , 2555 อ้างถงึ ใน กอบแก้ว ตะนะพนั ธ์ุ , 2557.) 4.3 เนื้อหาทใ่ี ช้ในการศึกษา เน้ือหาท่ีใชใ้ นการศึกษาเป็นเน้ือหาท่ีเลือกจากปัญหาที่พบในโรงเรียนหรือเร่ืองที่นกั เรียนสนใจ คือ .......................(ระบุเรื่องที่นกั เรียนสนใจ ต้งั ชื่อเร่ือง)......................... 4.4 ระยะเวลา ระยะเวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษาคร้ังน้ี ดาเนินการในปี การศึกษา 25... 5. ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ เป็นความสาคญั ของการศกึ ษาที่ผศู้ ึกษาพจิ ารณาว่าการศกึ ษาเร่ืองน้นั ทาใหท้ ราบผลการศึกษา เรื่องอะไร และผลการศึกษาน้นั มีประโยชนต์ ่อใคร อยา่ งไร เช่น การระบุประโยชน์ที่เกิดจากการนาผล

7 การศึกษาไปใช้ ไมว่ ่าจะเป็นการเพิม่ พูนความรู้ หรือนาไปเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิ หรือแกป้ ัญหา หรือพฒั นาคุณภาพ หลกั ในการเขียนมดี งั น้ี 1. ระบุประโยชน์ท่ีอาจเกดิ จากผลที่ไดจ้ ากการศกึ ษา 2. สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคแ์ ละอยใู่ นขอบเขตของการศึกษาที่ไดศ้ กึ ษา 3. ในกรณีที่ระบุประโยชนม์ ากกวา่ 1 ประการ ควรระบุเป็นขอ้ 4. เขียนดว้ ยขอ้ ความส้นั กะทดั รดั ชดั เจน 5. การระบุน้นั ผศู้ กึ ษาตอ้ งตระหนกั วา่ มคี วามเป็นไปได้ การศึกษาคน้ ควา้ ทุกเรื่อง ผศู้ กึ ษาวา่ ผลการศกึ ษาจะก่อใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งไร ประโยชนข์ อง การศกึ ษามไี ดห้ ลายลกั ษณะ เช่น การนาผลการศกึ ษาไปใชใ้ นการกาหนดนโยบาย ปรับปรุงการ ปฏิบตั ิงาน ใชเ้ ป็นแนวทางการตดั สินใจ การแกป้ ัญหา หรือศึกษาคน้ ควา้ ต่อไป คาทใ่ี ช้สาหรับการเขียนประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ เช่น 1. เพอ่ื เป็นแนวทางในการพฒั นา.......................................... 2. ไดท้ ราบถงึ สาเหตุ( ทศั นคติ ) ของนกั เรียน.............................ที่ม.ี ......... 3. เป็นแนวทางในการ...........................................( เช่น ศึกษาปัญหาต่างๆ ท่ีมี ในโรงเรียน) 4. นกั เรียนมคี วามพงึ พอใจต่อ...................... 5. ผลการศกึ ษาที่พบ ช่วยใหเ้ กิด(องคค์ วามรู้ใหม่ วิธีการใหม่ แนวทางใหม่ การจดั การเรียนรู้ ใหม่) ใน........ (นิภา ศรีไพโรจน์ , 2556 อ้างถงึ ใน กอบแก้ว ตะนะพนั ธ์ุ , 2557.)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook