รายงานการวจิ ยั เรื่อง การประยุกตใ์ ช้นวตั กรรมสื่อการสอน \"บนั ไดงสู ังคม\" เพื่อพัฒนาทักษะการ เรียนรู้ ของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓/๕ โรงเรยี นอรพนิ พทิ ยา จงั หวดั ลาพูน The application of innovative teaching materials. \"Snakes social ladder\" to develop learning skills. Students of grade 3/5 Orapinpitaya School Lamphun จดั ทำโดย พระนทั ธพงค์ ชินวโร (ปันนะสัก) นิสติ ฝึกประสบกำรณว์ ชิ ำชพี ครู งำนวิจยั นเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของกำรศกึ ษำรำยวิชำปฏบิ ัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำ ๒ ตำมปรญิ ญำพทุ ธศำสตร์บัณฑติ คณะครศุ ำสตร์ สำขำสังคมศกึ ษำ มหำวิทยำลยั มหำจุฬำลงกรณรำชวทิ ยำลยั วิทยำลัยสงฆ์ลำพนู ปกี ำรศึกษำ 256๒
รายงานการวจิ ยั เรือ่ ง การประยุกตใ์ ช้นวตั กรรมสื่อการสอน \"บนั ไดงสู ังคม\" เพื่อพัฒนาทักษะการ เรียนรู้ ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓/๕ โรงเรยี นอรพนิ พทิ ยา จงั หวดั ลาพนู The application of innovative teaching materials. \"Snakes social ladder\" to develop learning skills. Students of grade 3/5 Orapinpitaya School Lamphun จัดทำโดย พระนทั ธพงค์ ชินวโร (ปันนะสัก) นิสติ ฝึกประสบกำรณว์ ชิ ำชพี ครู งำนวิจยั นเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของกำรศึกษำรำยวิชำปฏบิ ัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำ ๒ ตำมปรญิ ญำพทุ ธศำสตร์บัณฑิต คณะครศุ ำสตร์ สำขำสังคมศกึ ษำ มหำวิทยำลยั มหำจุฬำลงกรณรำชวทิ ยำลยั วิทยำลัยสงฆ์ลำพูน ปกี ำรศกึ ษำ 256๒
ก ชอ่ื งานวิจัยในช้นั เรียน : กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะ กำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ ผวู้ ิจยั รายวิชา จังหวดั ลำพูน ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา The application of innovative teaching materials. \"Snakes social อาจารย์ประจาวิชา ปกี ารศึกษา ladder\" to develop learning skills. Students of grade 3 / 5 Orapinpitaya School Lamphun : พระนัทธพงค์ ชนิ วโร (ปันนะสกั ) : ๒๐๐ ๕๑๔ ปฏิบัติกำรสอนในสถำนศึกษำ ๒ : นำยสมจิตร เล็กสุทธ์ และ นำงรุ่งทิวำ แววแก้ว : นำยอำเดช อุปนันท์ : 256๒ บทคัดยอ่ กำรศึกษำวิจัยเรื่อง กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพ่ือพัฒนำทักษะ กำรเรยี นรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรยี นอรพนิ พิทยำ จังหวดั ลำพูน ผวู้ จิ ยั ได้กำหนด วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ดังนี้ ๑) เพ่ือศึกษำประสิทธิภำพกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๒) เพื่อหำแนวทำงกำรพัฒนำนวัตกรรมส่ือ กำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" เพ่อื พัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปี ที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จงั หวดั ลำพูน ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ กำรวิจัยคร้ังนี้เป็นกำรวิจัยเชิงปฏิบัติกำร กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงู สังคม\" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน โดยกำรเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีสังเกต และประเมินผล จำกกำรใช้แบทดสอบก่อน และหลังกำรใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บนั ไดงูสังคม\" และกำรใช้แบบประเมินประสิทธิภำพนวัตกรรม ส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" โดยสอบถำมเกี่ยวกับควำมคิดเห็น ควำมน่ำสนใจ ควำมรู้ท่ีได้รับ กำรใช้ งำนของสื่อนวัตกรรมในกำรเรียนกำรสอนว่ำมีควำมเหมำะสมหรือไม่ ผลการวจิ ัยพบว่า ส่ือกำรเรียนรู้เป็นปัจจัยสำคัญอย่ำงหน่ึงต่อกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ของผู้สอน เป็น เคร่ืองช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ได้ง่ำยขึ้น ประหยัดเวลำ ช่วยถ่ำยทอดควำมรู้สึก ควำมคิด ระหว่ำงครูผู้สอนกับผู้เรียน ช่วยสร้ำงควำมเข้ำใจได้อย่ำงรวดเร็ว อีกท้ังยังช่วยให้จดจำได้อย่ำงถำวร ดังน้ัน ในกำรจัดกำรเรียนรู้ครูผู้สอนจะต้องเปิดโอกำสให้ผู้เรียนทุกคนได้พัฒนำตนเองตำมธรรมชำติ และเต็มตำมศักยภำพ สื่อกำรเรียนรจู้ ึงต้องมีควำมหลำกหลำย อำจเปน็ ส่ือท่ีผลิตข้ึนเอง ส่ือธรรมชำติ ที่มีอยู่รอบตัว หนังสือเรียน สื่อเทคโนโลยี ส่ือบุคคล รวมถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ
ข ต่ำงๆ ท่ีมีให้เลือกใช้มำกมำย แต่ท่ีสำคัญจะต้องตระหนักเสมอว่ำส่ือที่ดีควรเป็นสิ่งท่ีช่วยกระตุ้นให้ ผู้เรยี นรูจ้ ักกำรแสวงหำควำมรู้ด้วยตนเองได้ ผู้วิจัยจึงเห็นว่ำกำรผลิตสื่อนวัตกรรมข้ึนมำสักชิ้นนั้นจึงมีควำมสำคัญ ท่ีจะต้องคำนึงถึง ประสิทธิภำพ จึงได้ดำเนินกำรวิจัยน้ีข้ึน เพ่ือศึกษำกำรใช้สื่อประกอบกำรเรียนกำรสอนบันไดงูสังคม ช้นิ นี้ โดยใช้ชื่องำนวิจัยว่ำ กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บนั ไดงสู ังคม\" เพือ่ พฒั นำทักษะกำร เรยี นรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ เพอื่ ศกึ ษำประสิทธิภำพของสื่อประกอบกำรเรียนกำรสอน “สือ่ กำรสอนบันไดงูสังคม” และพัฒนำส่ือ กำรเรยี นกำรสอนนใ้ี ห้มีประสิทธิภำพมำกย่ิงๆขึ้นไป จำกกำรวิจัยพบว่ำ ผลกำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนักเรียนในกำรทำ แบบทดสอบก่อน และหลังเรียน ท้ัง ๒ หน่วยท้ังในหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๘ เรื่อง ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวเรำ และหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๙ เร่ือง มนุษย์ กับสิ่งแวดล้อม โดยกำรกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน พบว่ำผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของกำรทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้ส่ือกำรสอน \"บนั ไดงูสังคม social snake ladder \" ในหนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๘ เร่ือง สิ่งต่ำงๆ รอบตัวเรำท่ีมีควำมแตกต่ำงกัน เท่ำกับ ๓.๒๗ คะแนน ก่อนเรียนค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 5.4๓ คะแนน และคำ่ เฉล่ียหลังเรียน เท่ำกับ 8.7 คะแนน และหลังจำกกำรนำข้อเสนอแนะในกำรประเมิน คุณภำพนวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" มำปรับปรุง และทำลองใช้สื่อ อีกครง้ั ในรูปแบบเดิม ซง่ึ ทำให้เห็นถึงผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของกำรทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน ในครั้งท่ี๒ โดยใช้ส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" ในหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี๙ เร่ือง มนุษย์ กับสิง่ แวดล้อม ท่มี คี วำมแตกต่ำงกัน ของกอ่ นเรียน และหลงั เรียน โดยมีคำ่ เฉล่ียควำมแตกต่ำง เทำ่ กับ ๔.๑ คะแนน กอ่ นเรียนคำ่ เฉลี่ยเท่ำกับ 4.9 คะแนน และคำ่ เฉลี่ยหลังเรียน เท่ำกับ 9 คะแนน จึงแสดงให้เห็นว่ำนวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" สำมำรถใช้ในกำร พัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จงั หวัดลำพูน ได้ จรงิ
ค กติ ติกรรมประกาศ กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของ นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ด้วย กำลังใจจำกบิดำมำรดำท่ีมีพระคุณต่อผู้วิจัย ควำมเมตตำของอำจำรย์ที่ปรึกษำ กำรทำวิจัยในคร้ังน้ี ประกอบด้วย นำยสมจิตร เล็กสุทธ์ และ นำงรุ่งทิวำ แววแก้ว ที่ได้กรุณำให้คำปรึกษำแนะนำด้วยดี ตลอดมำ ขออนุโมทนำขอบคุณ นำงสำวอรพิน ศรีบุญเรือง ผู้รับใบอนุญำต ดร.นำวิน วิยำภรณ์ ผู้อำนวยกำรโรงเรียนอรพินพิทยำ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญทุกท่ำน นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ และโรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ท่ีให้ควำมร่วมมือในกำรเก็บข้อมูล ขอขอบพระคุณ คณำจำรย์คณะครุศำสตร์ วิทยำลัยสงฆ์ลำพูน ทุกท่ำน ที่ได้ถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์ ในดำ้ นตำ่ ง ๆ แก่ผวู้ ิจัยตลอดมำ และขอมอบควำมรู้จำกกำรศึกษำอิสระนี้ ใหเ้ ป็นข้อมูล ในกำรศึกษำ และนำไปประยุกต์ใช้ต่อไป พระนัทธพงค์ ชินวโร (ปันนะสัก)
สารบัญ ง เร่ือง หน้า บทคัดย่อ ก ค กิตติกรรมประกำศ ง สำรบญั 1 บทท่ี 1 บทนา 2 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปัญหำ ๒ 1.2 ปัญหำท่ีต้องกำรทรำบ ๒ 1.3 วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ๓ ๑.๔ ขอบเขตกำรวิจัย ๘ 1.๕ นิยำมศัพท์เฉพำะท่ใี ช้ในกำรวิจัย 1.๖ ประโยชน์ท่คี ำดว่ำจะได้รับ ๙ ๒๐ บทท่ี 2 แนวคิดทฤษฎแี ละงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง 2๕ 2.1 ทฤษฎีและงำนวิจัยที่เก่ียวข้องกับควำมรับผิดชอบ 2.2 เอกสำรและงำนวจิ ัยที่เก่ียวข้องเกี่ยวกับหลักอิทธิบำท ๔ ๒๗ 2.3 งำนวิจัยที่เก่ียวข้อง ๒๗ ๒๘ บทที่ 3 ระเบียบการวิจัย ๒๘ 3.1 รูปแบบกำรวิจัย ๒๘ 3.2 ผใู้ ห้ข้อมูลสำคญั 3.3 เครอื่ งมือท่ีใช้กำรวิจัย ๒๙ 3.4 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ๓๐ 3.5 กำรวิเครำะห์ข้อมูล ๓๕ บทท่ี 4 ผลการวิจัย ๓๙ ๔.๑ สญั ลกั ษณ์ท่ีใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ๔๐ 4.2 กำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธ์ิ ๔๓ 4.3 กำรวิเครำะห์แบบประเมินคุณภำพของเครื่องมือวิจัย บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลกำรวิจัย 5.2 อภิปรำยผลกำรวิจัย 5.3 ข้อเสนอแนะ
เรอื่ ง จ บรรณานุกรม หนา้ ภาคผนวก ๔๔ ภำคผนวก ก หนงั สอื ขอทำวิจัย ๕๘ ภำคผนวก ข รำยช่ือนักเรียน ภำคผนวก ค ประมวลภำพเก็บข้อมลู ประวตั ผิ ูว้ ิจัย
๑ บทท่ี ๑ บทนา ๑.๑ ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา ส่ือกำรเรียนรู้เป็นปัจจัยสำคัญอย่ำงหน่ึงต่อกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ของผู้สอน เป็น เครื่องช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ได้ง่ำยขึ้น ประหยัดเวลำ ช่วยถ่ำยทอดควำมรู้สึก ควำมคิด ระหว่ำงครูผู้สอนกับผู้เรียน ช่วยสร้ำงควำมเข้ำใจได้อย่ำงรวดเร็ว อีกท้ังยังช่วยให้จดจำได้อย่ำงถำวร ดังนั้น ในกำรจัดกำรเรียนรู้ครูผู้สอนจะต้องเปิดโอกำสให้ผู้เรียนทุกคนได้พัฒนำตนเองตำมธรรมชำติ และเต็มตำมศักยภำพ ส่อื กำรเรียนรู้จึงต้องมีควำมหลำกหลำย อำจเปน็ สื่อที่ผลิตข้ึนเอง ส่อื ธรรมชำติ ที่มีอยู่รอบตัว หนังสือเรียน สื่อเทคโนโลยี สื่อบุคคล รวมถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ ต่ำงๆ ท่ีมีให้เลือกใช้มำกมำย แต่ท่ีสำคัญจะต้องตระหนักเสมอว่ำสื่อท่ีดีควรเป็นส่ิงที่ช่วยกระตุ้นให้ ผู้เรยี นร้จู ักกำรแสวงหำควำมรู้ด้วยตนเองได้1 ซ่ึงในกำรเรียนกำรสอนแต่ละคร้ัง ครูควรพิจำรณำเลือกใช้สื่อกำรเรียนกำรสอนให้เหมำะสม กับเร่ืองต่อไปน้ี จะช่วยให้ผู้เรียนสนใจ สนุกสนำน และบรรลุวัตถุประสงค์ ควำมถูกต้อง ส่ือช่วยให้ นกั เรียนได้ข้อสรุปถูกต้อง ควำมเข้ำใจ สอื่ ชว่ ยให้นักเรียนรู้จักคิดอย่ำงมีเหตุผล และให้ข้อมูลท่ีถูกต้อง ประสบกำรณ์ที่ได้รับ สื่อช่วยเพิ่มพูนประสบกำรณ์ให้แก่ผู้เรียน เหมำะสมกับวัย สื่อมีควำมยำกง่ำย เหมำะสมกับระดับควำมสำมำรถ ควำมสนใจและควำมต้องกำรของผู้เรียน เทยี่ งตรงในเนื้อหำ สื่อช่วย ให้ผู้เรียนเรียนรู้เน้ือหำท่ีถูกต้อง ใช้กำรได้ดี เพื่อใช้ส่ือให้เกิดประสิทธิภำพในกำรเรียนรู้ คุ้มกับรำคำ ผลที่ได้คุ้มกับเวลำ เงนิ และกำรเตรียม ตรงกับควำมต้องกำร ส่อื น้นั ช่วยให้นักเรียนร่วมกิจกรรมตำมที่ ครูตอ้ งกำร ช่วงเวลำ ควำมสนใจ สอ่ื ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนมคี วำมสนใจ ในชว่ งระหว่ำงเวลำกำรเรียน กำรสอนท่ีนำนพอสมควร2 ผู้วิจัยจึงเห็นว่ำกำรผลิตส่ือนวัตกรรมข้ึนมำสักช้ินน้ันจึงมีควำมสำคัญ ท่ีจะต้องคำนึงถึง ประสิทธิภำพ จึงได้ดำเนินกำรวิจัยน้ีขึ้น เพื่อศึกษำกำรใช้สื่อประกอบกำรเรียนกำรสอนบันไดงูสังคม ชิ้นนี้ โดยใช้ชื่องำนวิจัยว่ำ กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพอื่ พัฒนำทักษะกำร เรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวดั ลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ เพื่อศกึ ษำประสิทธิภำพของสื่อประกอบกำรเรียนกำรสอน “ส่อื กำรสอนบันไดงูสังคม” และพัฒนำสื่อ กำรเรียนกำรสอนนใ้ี ห้มีประสิทธิภำพมำกย่ิงๆข้ึนไป 1 ฟำฏินำ วงศ์เลขำ,จำกหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ ๗ ก.พ. ๕๒. สืบค้นเมื่อ ๒๕ พฤศจิกำยน ๒๕๖๒. 2http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=11275&Key=hot news. สบื คน้ เมอ่ื ๒๕ พฤศจกิ ำยน ๒๕๖๒.
๒ ๑.๒ ปญั หาทีต่ ้องการทราบ ๑.๒.๑ กำรศึกษำประสิทธิภำพกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสงั คม social snake ladder \" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพิน พิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๑.๒.๒ กำรหำแนวทำงกำรพฒั นำนวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๑.๓ วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั ๑.๓.๑ เพื่อศึกษำประสิทธิภำพกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสงั คม social snake ladder \" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพนิ พทิ ยำ จังหวัดลำพนู ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๑.๓.๒ เพ่ือหำแนวทำงกำรพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงสู ังคม social snake ladder \" เพ่ือพฒั นำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จงั หวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๑.๔ ขอบเขตการวิจยั กำรศึกษำประสิทธิภำพกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอนบันไดงูสังคม และแนวทำง พัฒนำประสิทธิภำพนวัตกรรมสื่อกำรสอนบันไดงูสงั คม กับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียน อรพินพิทยำ จังหวัดลำพนู ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ มขี อบเขตของกำรวจิ ัย ดงั น้ี ๑.๔.๑ ขอบเขตด้ำนประชำกร ประชำกรท่ีศึกษำ คือนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำจงั หวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ จำนวน ๔๐ คน ๑.๔.๒ ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ กำรศึกษำประสิทธิภำพกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน บันไดงูสังคม และแนวทำงพัฒนำประสิทธิภำพนวัตกรรมสื่อกำรสอนบันไดงูสงั คม กับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพนิ พิทยำ จังหวัดลำพนู ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๑.๔.๓ พื้นท่ีในกำรวิจัยครัง้ นี้ โรงเรียนอรพนิ พิทยำจังหวัดลำพูน ๑.๔.๔ ระยะเวลำในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล เดือน พฤศจิกำยน ๒๕๖๒ ถึง เดือน มกรำคม ๒๕๖๓
๓ ๑.๕ นยิ ามศัพท์เฉพาะที่ใชใ้ นการวิจัย ๑.๕.๑ กำรประยุกต์ กำรประยุกต์ หมำยถึง กำรนำบำงส่ิงมำใช้ประโยชน์ โดยปรับใช้อย่ำงเหมำะสมกับสภำวะที่ เฉพำะเจำะจง \"บำงสิ่ง\" ที่นำมำใช้ ประโยชน์นั้น อำจเป็นทฤษฎี หลักกำร แนวคิด ควำมรู้เกี่ยวกับ เรื่องใดเร่ืองหน่ึง และนำมำใช้ประโยชน์ในภำคปฏิบัติ โดยปรับให้เข้ำ กับบริบทแวดล้อม ที่เป็นอยู่ อยำ่ ง เหมำะสม นอกจำกนี้ \"บำงสิ่ง\" นั้นอำจเป็นวัตถุสิ่งของท่ีนำมำนอกเหนือ บทบำทหน้ำที่เดิม ให้ เหมำะสมกับบริบทใหม่ กำรประยุกต์เป็นกำรนำทฤษฎี หลักกำร กฎเกณฑ์แนวคิดเก่ียวกับ เรื่องใด เรื่องหน่ึง ไปปรับใช้ให้เกิด ประโยชน์ในภำคปฏิบัติ โดยเฉพำะในศำสตร์สำขำวิชำต่ำงๆ มักมีกำร ประยุกต์ภำคทฤษฎีสู่ภำคปฏิบัติ เพอื่ ประโยชน์ใน กำรนำไปใช้จริง ในกำรแก้ไขปัญหำ และกำรพัฒนำ ในรปู แบบต่ำงๆ เพรำะมคี วำมเป็นรูปธรรมมำกกว่ำ กำรประยุกต์เป็นกำรนำสิ่งหน่ึง หรือแนวคิดหนึ่ง มำปรับใช้ เพอ่ื ตอบสนองวัตถุประสงค์หรือเป้ำหมำยที่เฉพำะเจำะจง กำรประยุกต์จงึ แตกต่ำงจำกกำร ลอกเลียนแบบ กำรลอกเลียนเป็น กำรนำส่ิงที่อยู่ในบริบทหน่ึงมำใช้ในอีกบริบทหนึ่งทั้ง หลักกำร วิธีกำร และรูปแบบ โดยไม่คำนึงถึงควำมเหมำะสม ในบริบทท่ีแตกต่ำง กัน คนท่ีคิดเชิงประยุกต์ได้ดี จะสำมำรถนำ สิ่งหนึ่งมำใช้ แก้ปัญหำที่เกิดขึ้นได้อย่ำงลงตัว โดยคำนึงถึงสภำพควำมเป็นจริงใน ขณะนั้น ๑.๕.๒ นวตั กรรม “นวัตกรรม” หมำยถึงควำมคิด กำรปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่ียังไม่เคยมีใช้มำก่อน หรือเป็นกำรพัฒนำดัดแปลงมำจำกของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งข้ึน เม่ือนำ นวัตกรรมมำใช้จะช่วยให้กำรทำงำนนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภำพและประสิทธิผลสูงกว่ำเดิม ท้ังยังช่วย ประหยัดเวลำและแรงงำนได้ด้วย “นวัตกรรม” (Innovation) มีรำกศัพท์มำจำก innovare ในภำษำลำติน แปลว่ำ ทำส่ิงใหม่ ขนึ้ มำ ควำมหมำยของนวัตกรรมในเชงิ เศรษฐศำสตร์คือ กำรนำแนวควำมคิดใหม่หรือกำรใช้ประโยชน์ จำกสิ่งท่ีมีอยู่แล้วมำใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ทำงเศรษฐกิจ หรือกค็ ือ “กำรทำในส่ิงท่ี แตกต่ำงจำกคนอ่ืน โดยอำศัยกำรเปลี่ยนแปลงต่ำง ๆ (Change) ท่ีเกิดขึ้นรอบตัวเรำให้กลำยมำเป็น โอกำส (Opportunity) และถำ่ ยทอดไปสู่แนวควำมคิดใหม่ท่ีทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” ๑.๕.๓ สอื่ กำรเรียนกำรสอน ควำมหมำยของสื่อกำรเรียนกำรสอน (Instructional Media) สือ่ (Media) หมำยถึง ตัวกลำง ที่ใชถ่ ำ่ ยทอดหรือนำควำมรู้ ในลกั ษณะตำ่ ง ๆ จำกผ้สู ง่ ไปยังผู้รับให้เข้ำใจ ควำมหมำยได้ตรงกนั ในกำร เรียนกำรสอนสื่อท่ีใช้เป็นตัวกลำงนำควำมรู้ในกระบวนกำรส่ือควำมหมำยระหว่ำงผู้สอนกับผู้เรียน เรียกว่ำส่ือกำรสอน (Instruction Media)
๔ สอ่ื กำรเรียนกำรสอน หมำยถึง ส่ิงตำ่ งๆ ท่เี ป็นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิควิธีกำร ซึ่งเป็นตัวกลำงทำให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ตำมจุดประสงค์ของกำรเรียนกำรสอนที่กำหนดไว้ได้อย่ำง ง่ำยและรวดเร็วเป็นเคร่ืองมือและตัวกลำงซึ่งมีควำมสำคัญในกระบวนกำรเรียนกำรสอนมีหน้ำท่ีเป็น ตัวนำควำมต้องกำรของครูไปสู่ตัวนักเรียนอย่ำงถูกต้องและรวดเร็วเป็นผลให้นักเรียนเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตำมจุดมุ่งหมำยกำรเรียนกำรสอนได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม นักกำรศึกษำเรียกช่ือกำร สอนด้วยช่ือต่ำง ๆ เช่น อปุ กรณ์กำรสอน โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีกำรศึกษำ ส่ือกำรเรียนกำรสอน สอื่ กำรศกึ ษำ เป็นตน้ ๑.๕.๔ สื่อบันไดงสู ังคม เกมบันไดงู (อังกฤษ: Snakes and Ladders) เป็นเกมกระดำนเด็กเล่นชนิดหน่ึง เล่นโดยผู้ เล่นสองคนขึ้นไป บนตำรำงช่องสี่เหลี่ยมที่มีตัวเลขกำกับ ซึ่งขนำดของตำรำงนั้นแตกต่ำงกันออกไป ใน บำงชอ่ งจะมี \"บันได\" พำดเชอ่ื มกันระหว่ำงสองช่อง และมี \"งู\" เช่อื มระหว่ำงสองชอ่ งเช่นกัน โดยบันได และงูจำนวนหน่ึงจะพำดผ่ำนแทบทั่วทั้งกระดำนอย่ำงไม่มีกฎเกณฑ์ตำยตัว ซึ่งจะมีผลต่อกำรเดินไป ตำมช่องระหว่ำงเล่น นวัตกรรมส่ือกำรสอน เกมสบ์ ันไดงูสังคม (game Social snake ladder) ประเภทของนวัตกรรม นวัตกรรมกำรสอนนี้ เปน็ นวัตกรรม ประ เภทผลิตภัณฑ์หรือสิง่ ประดิษฐ์ เปน็ นวัตกรรมที่เน้น ทงั้ ผลผลิตและเทคนคิ กระบวนกำร อุปกรณส์ ่ือกำรเรียนรู้ ๑.อุปกรณ์สุ่มหมำยเลข ๒.ปำ้ ยกลุ่ม ๓.ปำ้ ยตัวแทนกลุ่ม ๔.แผงเกมส์บันไดงู ๕.ชุดคำถำม เกมส์บันไดงูสังคม (game Social snake ladder) เรือ่ งวัฒนธรรมท้องถ่ิน และเร่ือง ศำสนิก ชนท่ีดีเป็นกิจกรรที่นำมำประยุกต์ใช้ในกำรเรียนกำรสอน เพ่ือให้เกิดกิจกรรมแบบกลุ่ม ที่ช่วยให้กำร เรียนกำรสอนไม่เกิดควำมน่ำเบ่ือ และให้เน้ือหำมีควำมน่ำสนใจและจดจำได้ง่ำย นักเรียนได้เข้ำใจ สำระสำคัญของหน่วยกำรเรียนนั้น และเพื่อให้เกิดคุณลักษณะต่ำง ๆ ท่ีต้องกำรในยุคโลกำภิวัตน์ เนื่องจำกเป็นกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ที่ให้ควำม สำคัญกับผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วย ตนเอง เม่ือเกิดควำมสนุกกับบทเรียนและตั้งใจกับกิจกรรมนั้นๆของตนเอง ซ่ึงแนวคิดกำร จัด กำรศึกษำนี้เป็นแนวคิดที่มีรำกฐำนจำกปรัชญำกำรศึกษำและทฤษฎีกำรเรียนรู้ต่ำง ๆ ท่ีได้พัฒนำมำ อย่ำง ตอ่ เนอ่ื งยำวนำน
๕ คณุ ค่ำของนวัตกรรม เป็นส่ิงที่ช่วยให้กำรเรียนรู้มีประสิทธิภำพ เพรำะจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดควำมเข้ำใจเนื้อหำ บทเรียนท่ียุ่งยำก ซบั ซ้อน และน่ำเบื่อ ได้ง่ำยขึ้นในระยะเวลำอันส้ัน และสำมำรถช่วยให้เกิดควำมคิด รวบยอดในเรื่องน้ันได้อย่ำงถูกต้องและรวดเร็วกำรใช้ส่ือจะทำให้ผู้เรียนเกิดประสบกำรณ์ร่วมกันใน วิชำท่ีเรียนน้ัน และทำให้เกิดมนษุ ย์สัมพันธ์อันดีในระหวำ่ งผู้เรียนด้วยกันเอง และกบั ครูผู้สอนด้วย วิธกี ำรใช้ส่ือบันไดงสู ังคม ๑.แบ่งกลุ่มออกเป็น ๒-๓ กลุ่มตำมควำมเหมำะสมของจำนวนผู้เรียน ๒.ให้ตัวแทนออกมำเป็นผู้เล่นในกำรเดินบนแผงเกมส์บันไดงู ๓.เลือกทีมท่ีจะเลน่ ก่อนตำมลำดับ๑,๒,๓ ๔.ให้คนในกลุ่มผลัดกันออกมำจับหมำยเลขในกำรเดินตำละ ๑ คนๆละ ๑ ครงั้ ตำมลำดับ กลุ่ม ๕.เดินไปบนช่องตำมแต้มบนหน้ำลูกเต๋ำท่ีได้ ๖.หำกมำหยุดที่ช่องทำงบันไดจะมีคำถำมให้คนในกลุ่มช่วยกันตอบถ้ำหำกตอบถูกจะได้ข้ึนไป ชอ้ งดำ้ นบนของบนั ได ๗.หำกตกช่องที่มีงูจะมีคำถำมใหช้ ่วยกันตอบเชน่ กันแต่หำกตอบผิด ให้ลงมำจำกช่องปำกงูไป ยังหำงงูหำกตอบถูกให้อยู่ที่ช่องนั้นและเลน่ เกมส์ต่อได้ ๘.เล่นจนกวำ่ กลุ่มใดกลุ่มหน่ึงจะถงึ ช่องสุดท้ำย ถือว่ำเป็นผ้ชู นะและจบกิจกรรม ๑.๕.๕ กำรพฒั นำ กำรพฒั นำ เป็นแนวคิดท่ีมีรำกฐำนมำจำกควำมสนใจ ซึ่งเกิดข้ึนจำกกำรสังเกตปรำกฏกำรณ์ กำรเปล่ียนแปลงทำงด้ำนสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงอธิบำยไว้อย่ำงชัดเจนว่ำสังคมและวัฒนธรรมของ มนุษยชำติมีกำรเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลำด้วยสำเหตุต่ำง ๆ หลำยประกำรดงั ต่อไปนี้ คอื 1. กำรเปล่ียนแปลงสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพ (Physical Environment) 2. กำรเปลี่ยนแปลงทำงด้ำนประชำกร (Population Change) 3. กำรอยโู่ ดดเด่ียวและกำรติดต่อกัน (Isolation and Contact) 4. โครงสรำ้ งทำงสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Structure) 5. ระดับของควำมรู้และเทคโนโลยี (Knowledge and Technology)
๖ 6. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงอยำ่ งอืน่ เช่น กำรเลง็ เห็นควำมจำเป็นใน กำรเปลี่ยนแปลง หรือนโยบำยของผู้นำประเทศ จำกปรำกฏกำรณ์ทำงสังคมท่ีผ่ำนมำ เรำจะพบวำ่ กำรเปล่ียนแปลงทำงสงั คมและวัฒนธรรม เป็นเร่ืองตำมธรรมชำติท่ีเกิดขึ้นโดยไม่อำจหลีกเลี่ยงได้ กำรพิจำรณำเรื่องกำรเปลี่ยนแปลงจึงต้องทำ ควำมเข้ำใจทั้งในด้ำนทิศทำงของกำรเปล่ียนแปลง (Direction) ขนำดของกำรเปล่ียนแปลง (Magnitude) ระยะเวลำที่เกิดกำรเปลี่ยนแปลง (Time) สำเหตุที่ทำให้เกิดกำรเปล่ียนแปลงหรือ ตอ่ ต้ำนกำรเปล่ียนแปลง (Change & Resistance to Change) สิ่งท่ีจะต้องทำควำมเข้ำใจในเบ้ืองต้น คือ ควำมหมำยของกำรเปล่ียนแปลงทำงสังคมและ วฒั นธรรมนน้ั กินควำมครอบคลุมไปถึงกำรเปลี่ยนแปลงไปในทำงท่ีก้ำวหนำ้ หรือถดถอยก็ได้ แต่ท่ีเป็น พื้นฐำนแนวคิดท่ีสำคัญของกำรพัฒนำ ก็คือ ทิศทำงของกำรเปล่ียนแปลง (Direction for Change) ในลักษณะท่ีกำ้ วหน้ำหรือกำรเปลี่ยนแปลงไปในทำงที่ดีขึ้นเท่ำน้ัน ๑.๕.๖ ทักษะ ทักษะ พจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๕๒ อธิบำยว่ำ ทักษะ หมำยถึง ควำม ชำนำญ มำจำกคำภำษำอังกฤษว่ำ skill นอกจำกน้ี คณะกรรมกำรจัดทำพจนำนุกรมศัพท์ ศึกษำศำสตร์ร่วมสมัย ยังได้ขยำยควำมของคำว่ำ ทักษะ (skill) มำกข้ึนว่ำหมำยถึง ควำมชำนำญหรือ ควำมสำมำรถในกำรกระทำหรือกำรปฏิบัติอย่ำงใดอย่ำงหนง่ึ ซ่ึงอำจเป็นทักษะดำ้ นรำ่ งกำย สติปัญญำ หรอื สังคม ทเ่ี กิดขึ้นจำกกำรฝึกฝน หรือกำรกระทำบ่อย ๆ เชน่ ครูมีทักษะกำรใชค้ ำถำม กำรนำเข้ำสู่ บทเรียน กำรใช้ส่ือกำรสอน นักเรียนมีทักษะ กำรฟัง พูด อ่ำน เขียน กำรคิดคำนวณ หรือทักษะทำง สังคม ทักษะท่ีจะทำให้บุคคลประสบควำมสำเร็จในกำรดำเนินชีวิตและกำรทำงำน โดยรวมแล้ว ประกอบด้วย สมรรถนทักษะ (hard skill) และจรณทักษะ [จะระนะ-] (soft skill) บุคคลท่ีมีจรณ ทักษะจะเป็นผู้ปฏิบัติงำนได้ดี ส่วนบุคคลที่มสี มรรถนทักษะจะเป็นผู้ปฏิบัติงำนได้เก่ง สมรรถนทักษะ หมำยถึง ทักษะควำมสำมำรถในกำรทำงำนท่ีได้จำกกำรเรียนรู้หรือกำร ฝึกฝน วิชำกำร วิชำชีพ ท่ีเป็นหลักสูตร หรือหลักสูตรระยะส้ัน เพื่อใช้ในกำรเรียนต่อหรือใช้ในกำร ประกอบอำชีพ เช่น กำรอ่ำน กำรเขียน กำรพูด กำรฟัง กำรพิมพ์ดีด กำรใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กำรทำบัญชี กำรเรียนวิชำช่ำงอุตสำหกรรมต่ำง ๆ กำรใช้เครื่องมือ เครอื่ งจักรกล กำรขับรถยนต์ กำร ประกอบอำหำร กำรสอนวิชำกำรต่ำง ๆ กำรบริหำรจัดกำร กำรเพำะพันธ์ุไม้ กำรทำเกษตรกรรม กำร ประมง กำรวเิ ครำะห์วจิ ัย กำรออกแบบ กำรคำนวณกำรก่อสรำ้ ง กำรเลน่ กีฬำประเภทต่ำง ๆ กำรวำด ภำพ กำรแสดง กำรขับร้องเพลง กำรเล่นดนตรี ผลของสมรรถนทักษะมีลักษณะเป็นรูปธรรม มองเห็น ได้ สัมผสั ได้ และวัดและประเมินผลได้ โดยใช้เกณฑ์และวิธีกำรประเมินโดยทั่วไป3 3 พจนำนกุ รม ฉบับรำชบณั ฑติ ยสถำน พ.ศ. ๒๕๕๒ สืบคน้ เมือ่ ๒๕ พฤศจกิ ำยน ๒๕๖๒.
๗ ๑.๕.๗ กำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้ หมำยถึง กำรได้รับควำมรู้ พฤติกรรม ทักษะ คุณค่ำ หรือควำมพึงใจ ท่ีเป็นสงิ่ แปลกใหม่หรือปรับปรุงสิ่งท่ีมีอยู่ และอำจเกี่ยวข้องกับกำรสังเครำะห์สำรสนเทศชนิดต่ำง ๆ ผู้ ประมวลทักษะของกำรเรียนรู้เป็นได้ท้ังมนุษย์ สัตว์ และเคร่ืองจกั รบำงชนิด ควำมกำ้ วหนำ้ ในกำร เรียนรู้เม่ือเทียบกับเวลำมีแนวโน้มเป็นเส้นโค้งแห่งกำรเรียนรู้ (learning curve) กำรเรียนรู้ของมนุษย์อำจเกิดขึ้นจำกส่วนหนง่ึ ของกำรศึกษำ กำรพัฒนำส่วนบุคคล กำรเรียน กำรสอน หรือกำรฝกึ ฝน กำรเรียนรู้อำจมีกำรยึดเป้ำหมำยและอำจมคี วำมจงู ใจเป็นตัวช่วย กำรศึกษำ ว่ำกำรเรียนรู้เกิดข้ึนได้อย่ำงไรเป็นส่วนหนึ่งของสำขำวิชำประสำทจิตวิทยำ (neuropsychology) จิตวิทยำกำรศึกษำ (educational psychology) ทฤษฎีกำรเรียนรู้ (learning theory) และ ศกึ ษำศำสตร์ (pedagogy) กำรเรียนรู้อำจทำให้เกิดพฤติกรรมกำรเรียนรู้ (habituation) หรือกำรวำง เง่ือนไขแบบด้ังเดิม (classical conditioning) ซึง่ พบในสัตว์หลำยชนิด หรือทำให้เกิดกิจกรรมที่ ซับซ้อนมำกขึ้นอยำ่ งเช่นกำรเล่น ซ่ึงพบได้เฉพำะในสัตว์ที่มีเชำวน์ปัญญำ กำรเรียนรู้อำจก่อให้เกิด ควำมตระหนักอยำ่ งมสี ำนึกหรือไม่มีสำนึกก็ได้4 ๑.๕.๘ โรงเรียนอรพินพิทยำ โรงเรียนอรพินพิทยำ ตั้งอยู่เลขที่ 129 หมู่ที่ 1๐ ถนนสนำมกีฬำ ตำบลต้นธง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน รหัสไปรษณีย์ 51000 โทรศัพท์ 053-534835-6 โทรสำร 053-561264 email : [email protected] website : www.orapin.ac.th สังกัดสำนักงำนเขตพ้ืนท่ี กำรศึกษำประถมศึกษำลำพูน เขต 1 สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน กระทรวงศึกษำธิกำรได้รับอนุญำตจัดตั้งเม่ือปี พ.ศ. 2531 เปิดทำกำรสอนต้ังแต่ระดับเตรียมอนุบำล ถงึ ระดับประถมศึกษำปีที่ 6 ข้อมูลด้ำนอำคำรสถำนที่ อำคำรเรียนและอำคำรประกอบ จำนวน 12 หลัง ได้แก่ อำคำรเรียน จำนวน 4 หลัง อำคำรประกอบ จำนวน 5 หลัง อำคำรเอนกประสงค์ จำนวน 3 หลัง จำนวนห้องเรียนท้ังหมด 49 ห้อง แบ่งเป็น ห้องเนอสเซอรี่ จำนวน 1 ห้อง 4 วกิ ิพเี ดีย สำรำนุกรมเสรี สืบค้นเมอ่ื ๒๕ พฤศจิกำยน ๒๕๖๒.
๘ ห้องเรียนระดับช้ันเตรียมอนุบำล จำนวน 3 ห้อง ห้องเรียนระดับช้ันอนุบำล 1 – 3 จำนวน 15 ห้อง ห้องเรียนระดับชั้น ป.1 – ป.6 จำนวน 30 ห้อง หลักสูตรสถำนศึกษำ โรงเรียนอรพินพิทยำม่งุ พฒั นำผู้เรียนทุกคน ให้เป็นมนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์ และสมดุล ทำงด้ำน รำ่ งกำย จิตใจสติปัญญำ สังคม ควำมร้คู ู่คุณธรรม มีจิตสำนึกรักตนเอง ครอบครัว ชุมชนท้องถ่ินของ ตนเอง มคี วำมเป็นพลเมืองไทย และพลโลกยึดม่ันในกำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตย อันมพี ระ มหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีควำมรู้ และทักษะพน้ื ฐำน รวมทั้ง เจตคติท่ีจำเป็นต่อกำรศึกษำต่อกำร ประกอบอำชพี และกำรศึกษำตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพ้ืนฐำนควำมเช่ือว่ำ ทุกคน แตกต่ำงกัน แต่สำมำรถเรียนรู้ และพัฒนำตนเองได้ตำมควำมถนัด เต็มตำมศักยภำพ ๑.๕.๙ ประสิทธิภำพ ประสิทธิภำพ (องั กฤษ: efficiency) หมำยถึง กระบวนกำร วิธีกำร หรือกำรกระทำใด ๆ ท่ี นำไปสู่ผลสำเร็จ โดยใช้ทรัพยำกรต่ำง ๆ อันได้แก่ ทรพั ยำกรทำงธรรมชำติ แรงงำน เงินทุน และ วิธกี ำรดำเนินกำรหรือประกอบกำร ท่ีมีคุณภำพสงู สุดในกำรดำเนินกำรได้อย่ำงเต็มศักยภำพ อย่ำงไรก็ ตำมกำรดำเนินกำรใด ๆ นั้นก็ขนึ้ อยู่กับทรพั ยำกร ณ ขณะนน้ั ด้วยวำ่ มีคุณภำพและปริมำณเพียงใด หำกมีคุณภำพมำกกำรจะใช้อย่ำงเต็มศักยภำพได้นนั้ จะต้องใช้ในปริมำณน้อยจึงจะเรียกได้วำ่ มี ประสิทธิภำพ ตำ่ งกันกับทรพั ยำกรท่ีมีปริมำณมำกแต่คณุ ภำพต่ำท่ีจะต้องเลือกวิธีกำรดึงศักยภำพของ ทรพั ยำกรออกมำให้ได้มำกท่ีสุดจงึ จะเรียกว่ำมีประสิทธิภำพ5 ๑.๖ ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการวจิ ยั ๑.๖.๑ ได้ศึกษำประสิทธิภำพกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงสู ังคม social snake ladder \" เพ่ือพฒั นำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพนิ พิทยำ จังหวัดลำพนู ๑.๖.๒ ได้แนวทำงพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสงั คม social snake ladder \" เพื่อพัฒนำ ทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน 5 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A A%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9 E สืบคน้ เม่อื ๒๕ พฤศจกิ ำยน ๒๕๖๒.
๙ บทท่ี ๒ แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง กำรประยกุ ตใ์ ช้นวตั กรรมสอ่ื การสอน \"บนั ไดงสู งั คม\" เพือ่ พฒั นำทกั ษะกำรเรียนรู้ ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพนิ พิทยา จงั หวดั ลาพนู ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ผู้วจิ ัยไดศ้ ึกษำถึงแนวคิด ทฤษฎีและงำนวิจัยท่ีเก่ียวข้องหรือใกล้เคียงกับกำรปฏิบัติงำน และหลักอิทธิบำทธรรมมำเป็นกรอบใน กำรศึกษำเพื่อนำมำอภิปรำยผลดังน้ี ๒.๑ ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง ๒.๒ เอกสำรเกี่ยวข้อง ๒.๓ งำนวิจัยที่เก่ียวข้อง ๒.๑ ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วข้อง ๒.๑.๑ ทฤษฎีกำรเรียนรู้และกำรประยุกต์สู่กำรสอน ทฤษฎีกำรเรียนรู้สร้ำงขึ้นจำกพ้ืนฐำนควำมเชื่อเก่ียวกับธรรมชำติของกำรเรียนรู้ เช่น ทฤษฎี ในกลุม่ พฤติกรรมนิยมซ่ึงนิยำมกำรเรียนรู้ว่ำ เป็นกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ก็จะเน้นองค์ประกอบท่ี มีต่อกำรเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ส่วนทฤษฎีกลุ่มพุทธินิยมท่ีนิยำมกำรเรียนรู้ว่ำ เป็นกระบวนกำรคิด หรือกำรพัฒนำทำงสติปัญญำ ก็จะเน้นท่ีกระบวนกำรคิดอย่ำงมีคุณภำพ ดังน้ันในกำรนำเสนอทฤษฎี กำรเรียนรู้ต่ำง ๆ ท่ีคัดสรรว่ำมีบทบำทต่อกำรประยุกต์สู่กำรออกแบบกำรเรียนกำรสอนท่ีจะกล่ำวถึง ในที่นี้ก็จะกล่ำวถึงองค์ประกอบของกำรเรียนรู้ กฎหรือหลักกำรพ้ืนฐำนในกำรเรียนรู้ของทฤษฎีนั้น และกำรประยุกต์สู่กำรออกแบบกำรเรียนกำรสอน ธอร์นไดค์ (Thorndike) เป็นผู้ค้นพบกฎกำรเรียนรู้จำกกำรเชื่อมโยงระหว่ำงส่ิงเร้ำและกำร ตอบสนองโดยกำรกระทำอย่ำงมีเป้ำหมำย จำกผลงำนกำรทดลองจับแมวใส่กรงที่มีสลักประตูปิดไว้ให้ แมวหำทำงออกจำกกรงเพ่ือกินอำหำร โดยแมวจะต้องหำทำงถอดสลักประตูให้ได้จึงจะได้กินอำหำร ซ่ึงจำกกำรทดลองพบว่ำ ในระยะแรกแมวใช้วิธีลองถูกลองผิด (trial and error) และค้นพบวิธีถอด สลกั ประตโู ดยบังเอิญทำให้ประตูเปิดและออกมำกินอำหำรได้ กำรทดลองในคร้ังต่อ ๆ มำ แมวใช้เวลำ
๑๐ น้อยลงในกำรหำทำงออกมำกินอำหำรได้ กำรทดลองนี้ทำให้สำมำรถตั้งกฎกำรเรียนรู้ที่สำคัญดังน้ี (Gredler, 1997, p. 24) 1) กฎแห่งผล (law of effect) พฤติกรรมกำรตอบสนองต่อสงิ่ เร้ำใดท่ีได้รับผลท่ีทำให้ผู้เรียน พึงพอใจ ผเู้ รียนจะกระทำพฤติกรรมน้ันซ้ำ ๆ อกี หรือเรียนรู้ต่อไป แตถ่ ำ้ ไม่ได้รับผลท่พี ึงพอใจผู้เรียนก็ จะเลิกทำพฤติกรรมนั้น 2) กฎแห่งควำมพร้อม (law of readiness) กำรเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ดีถ้ำผู้เรียนอยู่ในภำวะที่ มคี วำมพรอ้ มทั้งรำ่ งกำยและจิตใจ กำรบงั คับหรือฝืนใจจะทำให้หงุดหงิดไม่เกิดกำรเรียนรู้ 3) กฎแห่งกำรฝึกหัด (law of exercise) กำรเรียนรู้จะคงทน หรือติดทนนำนถ้ำได้รับกำร ฝึกหัดหรือกระทำซ้ำบ่อย ๆ ทฤษฎีกำรเรียนรู้ของธอร์นไดค์เน้นควำมเช่ือมโยงของสิ่งเร้ำและกำรตอบสนอง หำกผลท่ี ตำมมำหลังปฎิบัติเป็นสิ่งที่น่ำพอใจควำมเช่ือมโยงของส่ิงเร้ำและกำรตอบสนองก็จะแน่นแฟ้นมำกย่ิง ขน้ึ กำรประยกุ ต์สู่กำรสอน ทฤษฎีกำรเรียนรู้ของธอร์นไดค์ประยุกต์ไปใช้ในกำรเรียนกำรสอนได้ดังน้ี 1) กำรกำหนดจุดประสงค์กำรเรียนรู้เป็นพฤติกรรมที่ชัดเจน เฉพำะเจำะจงซ่ึงทำให้สำมำรถ วัดผลประเมินผลได้ว่ำเกิดกำรเรียนรู้หรือไม่ โดยสังเกตจำกพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึน และแจ้งให้ผู้เรียน ทรำบพฤติกรรมท่ีคำดหวงั 2) ก่อนเรียนควรสำรวจว่ำผู้เรียนมีควำมพร้อมด้ำนร่ำงกำย จิตใจและมีควำมรู้พื้นฐำนเดิมท่ี พร้อมในกำรเรียนรู้หรือไม่ เพื่อหำแนวทำงในกำรเตรียมควำมพร้อมให้กับผู้เรียน 3) ควรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่ำนกำรลงมือปฏิบัติ กำรเผชิญสถำนกำรณ์ ปัญหำซึ่งเปิดโอกำสให้ผู้เรียนได้ลองถูกลองผิด เพอ่ื หำทำงแก้ปัญหำด้วยตนเอง ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิด ควำมภำคภูมิใจเมื่อค้นพบวิธีกำรแก้ปัญหำได้ 4) ควรศึกษำว่ำอะไรคือรำงวัลหรือผลท่ีผู้เรียนพึงพอใจ เพ่ือใช้เป็นส่ิงเร้ำให้ผู้เรียนอยำก เรยี นรู้หรือแสดงพฤติกรรมน้ันซ้ำอีก 5) ควรใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ ึกฝนสิง่ ที่เรียนรู้แล้วอย่ำงสม่ำเสมอเพ่ือให้เกิดทักษะในสิง่ น้ัน6 กำรประยุกต์สู่กำรสอน ทฤษฎีเกสตัลต์ประยุกต์ไปใชใ้ นกำรเรียนกำรสอนได้ ดังนี้ 1) ในกำรสอนควรเสนอภำพรวมให้ผู้เรียนเห็นก่อนเสนอภำพยอ่ ย 2) กำรจดั ระเบียบส่ิงเร้ำท่ีต้องกำรให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนร้ไู ด้ดี ควรจดั ส่ิงท่ีเหมือนกนั หรือ 6 ธอรน์ ไดค์ (Thorndike’s connectionism) https://sites.google.com/site/hnwykarReiy nru123/thvsdi-kar-reiyn-ru-laea-kar-prayukt-su-kar-sxn ,สืบค้นเมื่อ ๕ ธนั วำคม ๒๕๖๒.
๑๑ คล้ำยคลึงกันไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน 3) ในกำรสอน ครไู มจ่ ำเป็นต้องเสียเวลำเสนอเน้ือหำท้ังหมดท่ีสมบูรณ์ ครูสำมำรถเสนอ เนอื้ หำแต่เพียงบำงส่วนได้ 4) กำรเสนอบทเรียนหรือเนื้อหำควรจัดให้มีควำมต่อเน่ืองกันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดกำร เรยี นรูไ้ ด้ดีและเร็ว 5) ควรสง่ เสริมให้ผู้เรียนมีประสบกำรณ์ท่ีหลำกหลำย กวำ้ งขวำงเพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถนำ ประสบกำรณ์เหลำ่ นั้นไปใชใ้ นกำรแก้ปัญหำแบบหยั่งเห็นได้ 6) ในกำรแก้ปัญหำ ควรใหผ้ ู้เรียนได้ฝึกมองปัญหำทุกแง่มุม ใช้ควำมคดิ อย่ำงมีเหตุผลใน กำรแกป้ ัญหำ ไมม่ องปัญหำโดยมีอคติ7 ทฤษฎีพัฒนำกำรทำงสติปัญญำ (cognitive development theory) ผู้ที่ได้รับกำรกล่ำวถึงในฐำนะนักทฤษฎีพัฒนำกำรทำงสติปัญญำ ได้แก่ เพียเจต์ (Piaget) และไวก็อท สกี (Vygotsky) ทง้ั สองท่ำนอธิบำยพัฒนำกำรทำงสติปญั ญำของมนุษย์แตกต่ำงกัน ดงั นี้ 1. พฒั นำกำรทำงสติปัญญำของเพียเจต์ เพียเจต์ อธิบำยพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของบุคคล วำ่ คอื กำรพัฒนำกำรคิดเชิงตรรกะหรือกำรคิดเชิงเหตุผลตั้งแต่เด็กจนถึงผ้ใู หญ่ ช่วงกำรเปล่ียนแปลง ของกำรให้เหตผุ ลจำกรูปแบบหนึ่งไปสกู่ ำรให้เหตุผลในอีกรูปแบบหน่ึงของบุคคลนั้นจะเป็นไตำมลำดับ ข้ันตอนแน่นอนสำหรับทุกคน กำรเปลี่ยนแปลงน้ีก็คือพัฒนำกำรทำงสติปัญญำ ซึ่งจะเร็วหรือช้ำ แตกต่ำงกันในแต่ละบุคคล ขึ้นกับสิ่งแวดล้อมทำงกำยภำพ วุฒิภำวะ อิทธิพลทำงสังคม แล ะ กระบวนกำรคิดของแต่ละคน (Gredler, 1997, p. 217) เพียเจต์แบ่งพัฒนำกำรทำงสติปัญญำหรือ กำรเรียนรู้ของเด็กตำมช่วงวัย เปน็ 4 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ 1) ข้นั รับรู้ทำงประสำทสัมผสั (sensorimotor period) เริม่ ต้ังแต่แรกเกิด-2 ปี เป็น ชว่ งทีท่ ำรกเรียนรโู้ ลกผำ่ นกำรกระทำและรับรู้ข้อมูลจำกกำรสัมผัส ทำรกจะใช้ปฏิกิริยำแบบสะท้อน (reflexes) ซึง่ ตดิ ตัวมำแต่เกิดในกำรโต้ตอบทันทีต่อส่งิ เร้ำในระยะแรก และคอ่ ย ๆ พัฒนำเปน็ กำร เคล่ือนที่อย่ำงต้ังใจและมีกำรวำงแผน จนสำมำรถควบคุมกำรเคล่ือนไหวต่ำง ๆ เช่น กำรเดิน กำรวิ่ง ตำมท่ีต้องกำรได้ กำรกระทำเช่นน้ีมีจุดมุ่งหมำยเพื่อสำรวจและสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจต่อโลกรอบตัว เดก็ ในช่วงแรกของพฒั นำกำรเด็กเล็ก ๆ จะรับรู้และสนใจเฉพำะวัตถุท่ีจับต้องได้และสำมำรถมองเห็น 7 (ทศิ นำ แขมมณี, 2555, หน้ำ 62) https://sites.google.com/site/hnwykarReiynru123 /thvsdi-kar-reiyn-ru-laea-kar-prayukt-su-kar-sxn ,สบื คน้ เมื่อ ๕ ธันวำคม ๒๕๖๒.
๑๒ ในขณะน้ัน ยงั ไม่สำมำรถแยกตัวเองออกจำกสิ่งแวดล้อม แต่เมื่อถึงตอนปลำยของช่วงพัฒนำกำร เด็ก เริ่มรู้จักกำรแยกตนเองออกจำกสิ่งของและสิ่งแวดล้อม คือรู้ว่ำของยังคงอยู่ท่ีเดิมแม้ว่ำจะมองไม่เห็น ในช่วงนี้เด็กเร่ิมเข้ำใจเหตุผลในเร่ืองเวลำ สถำนที่ และมีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงตัวแทนของ ควำมคดิ 2) ขั้นก่อนปฏิบัติกำร (preoperational period) อำยุ 2-7 ปี เป็นขนั้ ที่เด็กเร่ิมก้ำว จำกกำรกระทำสู่กำรคิด หรือกำรกระทำจำกภำยใน ก่อนขั้นน้ีโครงสร้ำงควำมคิดของเด็ก (schema) ยังผูกอยู่ที่กำรกระทำ หมำยถึงเด็กยังไม่สำมำรถระลึกถึงอดีต กำรคิดล่วงหน้ำหรือกำรทำนำย เน่ืองจำกกำรจำได้หรือกำรคิดล่วงหนำ้ ได้นั้นเด็กต้องสำมำรถสร้ำงสญั ลักษณ์ข้ึนในโครงสร้ำงควำมคิด ควำมสำมำรถในกำรคิดโดยใชส้ ัญลักษณ์ยังเป็นงำนที่ยำกสำหรับเด็กในวัยนี้ อยำ่ งไรก็ดี เดก็ ในวัยน้ีจะ มีพัฒนำกำรทำงภำษำอย่ำงรวดเร็ว สำมำรถใช้ภำษำในกำรสื่อควำมหมำยและเร่ิมมีพัฒนำกำรทำง ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และควำมหมำยของสัญลักษณ์ หรือเรียนรู้ผ่ำนจินตนำกำรได้โดยเร่ิมมีกำรเล่น เลียนแบบ เป็นข้ันเร่ิมต้นของกำรใช้เหตุผล กล่ำวคือ กำรรับรู้และกำรคิดแก้ปัญหำมุ่งในสิ่งท่ีตนเอง เห็นเป็นส่วนใหญ่ มองอะไรเพียงด้ำนเดียวโดยยังขำดควำมเข้ำใจเรื่องควำมคงที่ของสำร และไม่ สำมำรถคิดย้อนกลับได้ มีกำรทดลองท่ียืนยันกำรคิดของเด็กในวัยนี้คือ เม่ือนำเอำภำชนะขนำด เดียวกัน 2 ใบ ใสน่ ้ำ ให้มรี ะดับเท่ำกันมำให้ดู นกั เรียนสำมำรถบอกได้ว่ำ นำ้ ในภำชนะทั้งสองเท่ำกัน แต่เมื่อนำน้ำในอีกภำชนะหน่ึงไปใส่ในภำชนะที่มีรูปทรงสูงกว่ำ นักเรียนจะตอบว่ำ น้ำในภำชนะทรง เดิมและภำชนะทรงสูงไม่เท่ำกัน จะเห็นว่ำคำตอบของเด็กมีจุดสนใจพุ่งไปยังระดับของน้ำ ที่เห็น มำกกวำ่ ควำมเข้ำใจในกำรเปลี่ยนแปลงของภำชนะที่ใส่น้ำท่ีมีควำมสัมพันธ์กับระดับของนำ้ กล่ำวโดย สรุป เด็กในวัยน้ียังไม่สำมำรถให้เหตุผลของกำรเปล่ียนแปลงหรือคิดวิเครำะห์จำแนกควำมแตกต่ำง ของสง่ิ ตำ่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยหลักเหตุผล 3) ข้นั ปฏิบัติกำรอย่ำงเป็นรูปธรรม (concrete operational period) อำยุ 7-11 ปี เด็กใน วัยน้ีสำมำรถคิดอย่ำงมีเหตุผล ลักษณะสำคัญของกำรคิดในข้ันนี้ก็คือ กำรรับรู้ควำมคงท่ีของโลก กำยภำพอย่ำงเป็นเหตุเป็นผล โดยมีควำมเข้ำใจว่ำวัตถุไม่ว่ำจะเปลี่ยนภำชนะบรรจุ เปล่ยี นรูปร่ำงหรือ เปลี่ยนท่ีวำงก็ตำม แตย่ งั คงมลี ักษณะพื้นฐำนเดิม และเขำ้ ใจวำ่ กำรเปล่ียนแปลงเหลำ่ นสี้ ำมำรถเปล่ียน กลับคืนได้ พัฒนำกำรที่สมบูรณ์ในขั้นนี้ คือ เป็นวัยที่เด็กพัฒนำควำมสำมำรถในกำรจัดประเภทของ สิ่งของโดยพิจำรณำจำกคุณลักษณะเดียวของวัตถุ เช่น ถ้ำให้นักเรียนจัดกลุ่มปำกกำที่มีสีและรูปร่ำง แตกต่ำงกัน นักเรียนสำมำรถจัดกลุ่มปำกกำที่มีรูปร่ำงต่ำงกันได้ ในวัยน้ีนักเรียนมีควำมเข้ำใจกำร จดั ลำดบั สรำ้ งลำดับได้อยำ่ งมีเหตุผล เช่น เรียงลำดับสิง่ ของจำกน้อยไปมำก หรือเรียงลำดับจำกสูงไป ต่ำ เป็นต้น สำมำรถคิดย้อนกลับและสร้ำงควำมสัมพันธ์เช่ือมโยงใหม่ได้ จึงเป็นข้ันท่ีนักเรียนสำมำรถ พัฒนำกำรคดิ อยำ่ งเป็นระบบและเป็นตรรกะ แต่ยังต้องกำรอุปกรณ์ท่ีเป็นรูปธรรมช่วยในกำรคิด 4) ขั้นกำรคิดอย่ำงเป็นเหตุผล (formal operational period) อำยุ 12 ปี ข้ึนไป จนถึงวัย ผู้ใหญ่ พัฒนำกำรทำงสติปัญญำของเด็กไม่ได้มำถึงในข้ันน้ีทุกคน กำรเรียนรู้ในขั้นก่อนหน้ำน้ียังคงมี อทิ ธพิ ลอยู่ เปน็ ข้ันพัฒนำจำกกำรคิดเชิงรูปธรรมสู่กำรคิดเชิงนำมธรรม เป็นข้ันที่ผู้เรียนสำมำรถสร้ำง
๑๓ ควำมคิดเชิงเหตุและผลเพื่ออธิบำยและแก้ปัญหำท่ีพบ สำมำรถสร้ำงสมมติฐำนและทฤษฎีแบบ นักวิทยำศำสตร์8 ๒.๑.๒ ทฤษฎีเก่ียวกับนวัตกรรม นวัตกรรม เป็นแนวควำมคิด กำรปฏิบัติหรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่ียังไม่เคยมีใช้มำก่อนหรือ เป็นกำรพฒั นำดัดแปลงจำกของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำนวัตกรรมมำใช้ จะช่วยให้กำรทำงำนนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภำพและประสิทธผิ ลสูงกว่ำเดิม ท้ังยังช่วยประหยัดเวลำและ แรงงำนได้ด้วย9 “นวัตกรรม” หมำยถึงควำมคิด กำรปฏิบัติ หรือส่ิงประดิษฐใ์ หม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มำก่อน หรือเป็นกำรพฒั นำดัดแปลงมำจำกของเดิมท่ีมีอยู่แล้ว ให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดีย่ิงขึน้ “นวัตกรรมกำรศึกษำ (Educational Innovation )” หมำยถึง นวัตกรรมท่ีจะช่วยให้ กำรศึกษำ และกำรเรียนกำรสอนมีประสิทธิภำพดียิ่งข้นึ ผู้เรียนสำมำรถเกิดกำรเรียนรู้อย่ำงรวดเร็วมี ประสิทธิผลสงู กวำ่ เดิม เกิดแรงจูงใจในกำรเรียนด้วยนวัตกรรมกำรศึกษำ และประหยัดเวลำในกำร เรียนได้อีกด้วย เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ (Educational Technology) ตำมรูปศัพท์ เทคโน (วิธีกำร) + โลยี (วิทยำ) หมำย ถึง ศำสตร์ท่ีว่ำด้วยวิธีกำรทำงกำรศึกษำ ครอบคลุมระบบกำรนำวธิ ีกำร มำปรับปรุง ประสิทธิภำพของกำรศึกษำให้สูงขึ้นเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำครอบคลุม องค์ประกอบ3 ประกำร คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีกำร (boonpan edt01.htm) แนวคิดรวบยอดของเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ ซ่ึงอำจจะพจิ ำรณำเป็น 2 ด้ำน คือ 1.ควำมคิดรวบยอดทำงวิทยำศำสตร์กำยภำพ ตำมควำมคิดรวบยอดน้ี เทคโนโลยีทำงกำร ศึกษำหมำยถึง กำรประยุกต์วิทยำศำสตร์กำยภำพ ในรูปของสิ่งประดษิ ฐ์ เช่น เครือ่ งฉำยภำพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มำใช้สำหรับกำรเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ กำรใช้เครื่องมือเหล่ำน้ี มักคำนงึ ถึง เฉพำะกำรควบคุมให้เคร่ืองทำงำน มักไม่คำนึงถึงจิตวิทยำกำรเรียนรู้ โดยเฉพำะเร่ืองควำมแตกต่ำง ระหว่ำงบุคคล และกำรเลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหำวิชำ 2. ควำมคิดรวบยอดทำงพฤติกรรมศำสตร์ เป็นกำรนำวิธีกำรทำงจิตวิทยำ มนุษยวิทยำ กระบวนกำรกลุ่ม ภำษำ กำรส่ือควำมหมำย กำรบริหำร เคร่ืองยนต์กลไก กำรรับรู้มำใช้ควบคู่กับผลิต กรรมทำงวิทยำศำสตร์และวิศวกรรม เพ่ือใหผ้ ู้เรียน เปล่ียนพฤติกรรมกำรเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 8 (Gredler, 1997, pp. 226- 228) https://sites.google.com/site/hnwykarReiynru123 /thvsdi-kar-reiyn-ru-laea-kar-prayukt-su-kar-sxn,สบื คน้ เมอ่ื ๕ ธนั วำคม ๒๕๖๒. 9 กิดำนันท์ มลทิ อง (2543 : 245) ,สืบคน้ เมอ่ื ๕ ธันวำคม ๒๕๖๒.
๑๔ ย่ิงข้นึ มิใช่เพียงกำรใช้ เครื่องมอื อุปกรณ์เท่ำน้ัน แต่รวมถึงวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์เข้ำไปด้วย มิใชว่ ัสดุ หรืออุปกรณ์ แต่เพียงอย่ำงเดียว10 ๒.๑.๓ สื่อกำรสอน ส่ือกำรสอนมีอยู่หลำกหลำยรูปแบบหลำกหลำยประเภท กำรเลือกสื่อกำรสอนมี ควำมสำคัญมำกต่อกระบวนกำรเรียนกำรสอน อยำ่ งไรก็ตำมในกำรเลือกสื่อกำรสอนพึงระลึกไว้เสมอ ว่ำ “ไม่มีสื่อกำรสอนอันใดที่ใช้ได้ดีท่ีสุดในทุกสถำนกำรณ์” ในกำรตัดสินใจเลือกใช้สื่อกำรสอนต้อง พจิ ำรณำถึงปัจจัยหลำยๆ อยำ่ งร่วมกัน ผใู้ ช้ส่ือไม่ควรยกเอำควำมสะดวก ควำมถนัด หรอื ควำมพอใจ ส่วนตัวเป็นปัจจัยสำคัญในกำรเลือกสื่อกำรสอนเพรำะอำจเกิดผลเสียต่อกระบวนกำรเรียนกำรสอน ได้ แนวคิดเกี่ยวกับกำรเลือกสื่อกำรสอนก็เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่มีผู้ให้ควำมสนใจและให้คำแนะนำไว้ หลำกหลำยมุมมอง ในทนี่ ี้จะนำเสนอเฉพำะแนวคิดของโรมิสซอว์สกี้ และแนวคิดของเคมพ์และสเมล ไล ซึง่ มีรำยละเอียดดังนี้ J. Romiszowski (1999) ได้เสนอแนวทำงอย่ำงง่ำยในกำรพิจำรณำเลือกใช้ส่ือกำรสอนไว้ ว่ำ ในกำรเลือกส่ือกำรสอนนั้นมีปัจจัยหลำยอย่ำงท่ีมีผลต่อกำรเลือกส่ือที่จำเป็นต้องนำมำพิจำรณำ ปจั จยั เหล่ำนนั้ ไดแ้ ก่ ๑.วิธีกำรสอน (Instructional Method) กำรเลือกวิธีกำรสอนเป็นปัจจัยแรกท่ีควบคุมกำร เลือกสื่อ หรืออย่ำงน้อยท่ีสุดก็เป็นสิ่งที่จำกัดทำงเลือกของกำรใช้ส่ือกำรสอนในกำรนำเสนอ เช่น ถ้ำ เลือกใช้วิธีกำรสอนแบบอภิปรำยกลุ่ม (Group Discussion) เพ่ือแบ่งปันประสบกำรณ์ซ่ึงกันและกนั ระหว่ำง ๒.งำนกำรเรียนรู้ (Learning Task) ส่ิงท่ีมีอิทธิพลต่อทำงเลือกในกำรเลือกส่ือกำรสอนอีก ประกำรหน่ึงคือ งำนกำรเรียนรู้สำหรับผู้เรียน เพรำะสิ่งน้ีจะเป็นส่ิงท่ีจำกัดหรือควบคุมกำรเลือก วิธกี ำรสอน ตัวอยำ่ งเช่น กำรฝึกอบรมผตู้ รวจกำร หรือทักษะกำรบริหำรงำน ๓.ลักษณะของผู้เรียน (Learner Characteristics) ลักษณะพิเศษเฉพำะของผู้เรียนก็เป็น ปจั จยั หน่ึงท่ีมอี ิทธพิ ลโดยตรงต่อกำรเลอื กส่ือกำรสอน ตัวอยำ่ งเช่น กำรสอนผู้เรียนที่เรียนรู้ได้ช้ำ โดย กำรใชห้ นงั สือหรือเอกสำรเปน็ ส่ือกำรสอน จะเป็นสิง่ ทยี่ ่ิงทำใหเ้ กิดปญั หำอน่ื ๆ ตำมมำในกระบวนกำร เรยี นกำรสอน ผู้เรียนกลมุ่ นคี้ วรเรยี นรจู้ ำกส่ืออน่ื ๆ ที่ทำกำรรับรู้และเรยี นร้ไู ด้งำ่ ยกว่ำน้นั ๔.ข้อจำกัดในทำงปฏิบัติ (Practical Constrain) ข้อจำกัดในทำงปฏิบัติในท่ีน้ีหมำยถึง ข้อจำกัดท้ังทำงด้ำนกำรจัดกำร และทำงด้ำนเศรษฐศำสตร์ ซึ่งเป็นปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อทำงเลือกใน กำรเลอื กใชว้ ธิ กี ำรสอนและสอ่ื กำรสอน เชน่ สถำนทีใ่ ช้ส่อื กำรสอน สิ่งอำนวยควำมสะดวก ขนำดพ้นื ท่ี งบประมำณ เป็นต้น 10 ผศ.ดร.เอกนฤน บำงท่ำไม้, https://sites.google.com/site/aunchaleeinnovation/theory, สืบคน้ เมอ่ื ๕ ธันวำคม ๒๕๖๒.
๑๕ ๕.ผู้สอนหรือครู (Teacher) สื่อกำรสอนแต่ละชนิดไม่ว่ำจะมีข้อดีอย่ำงไร แต่อำจไม่ถูก นำไปใช้เพียงเพรำะผู้สอนไม่มที ักษะในกำรใช้ส่ือน้ันๆ นอกจำกประเด็นในเร่ืองทักษะของผู้สอนแล้ว ประเดน็ ในเรอ่ื งทศั นคตขิ องผสู้ อนกเ็ ป็นสง่ิ ทมี่ ีอทิ ธิพลต่อกำรเลอื กสอ่ื กำรสอนเชน่ กนั 11 ๑.๑.๔ ทฤษฎีเก่ียวกับกำรพฒั นำ กำรพฒั นำ เป็นแนวคิดที่มีรำกฐำนมำจำกควำมสนใจ ซึง่ เกิดขึ้นจำกกำรสังเกตปรำกฏกำรณ์ กำรเปล่ียนแปลงทำงด้ำนสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงอธิบำยไว้อย่ำงชัดเจนว่ำสังคมและวัฒนธรรมของ มนษุ ยชำติมกี ำรเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำด้วยสำเหตุต่ำง ๆ หลำยประกำรดงั ต่อไปน้ี คอื กำรเปลี่ยนแปลงสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพ (Physical Environment) กำรเปล่ียนแปลงทำงด้ำนประชำกร (Population Change) กำรอยโู่ ดดเดี่ยวและกำรติดต่อกัน (Isolation and Contact) โครงสรำ้ งทำงสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Structure) ระดบั ของควำมรู้และเทคโนโลยี (Knowledge and Technology) ปจั จยั ท่ีก่อให้เกิดกำรเปล่ียนแปลงอย่ำงอ่ืน เชน่ กำรเล็งเห็นควำมจำเป็นในกำรเปล่ียนแปลง หรือนโยบำยของผู้นำประเทศจำกปรำกฏกำรณ์ทำงสังคมท่ีผำ่ นมำ เรำจะพบว่ำ กำรเปลี่ยนแปลงทำง สังคมและวัฒนธรรมเป็นเร่ืองตำมธรรมชำติที่เกิดข้ึนโดยไม่อำจหลีกเล่ียงได้ กำรพิจำรณำเรื่องกำร เปล่ียนแปลงจึงต้องทำควำมเข้ำใจทั้งในด้ำนทิศทำงของกำรเปล่ียนแปลง (Direction) ขนำดของกำร เปล่ียนแปลง (Magnitude) ระยะเวลำท่ีเกิดกำรเปลี่ยนแปลง (Time) สำเหตุที่ทำให้เกิดกำร เปล่ียนแปลงหรือต่อต้ำนกำรเปลี่ยนแปลง (Change & Resistance to Change) ส่ิงท่ีจะต้องทำควำมเข้ำใจในเบ้ืองต้น คือ ควำมหมำยของกำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคมและ วฒั นธรรมนนั้ กนิ ควำมครอบคลุมไปถึงกำรเปลี่ยนแปลงไปในทำงท่ีก้ำวหนำ้ หรือถดถอยก็ได้ แต่ท่ีเป็น พ้ืนฐำนแนวคิดท่ีสำคัญของกำรพัฒนำ ก็คือ ทิศทำงของกำรเปลี่ยนแปลง (Direction for Change) ในลกั ษณะท่ีกำ้ วหน้ำหรือกำรเปลี่ยนแปลงไปในทำงท่ีดีขึ้นเท่ำนั้น วิทยำกร เชียงกูล (2527) เขียนไว้ว่ำ กำรพัฒนำที่แท้จริงน้ัน หมำยถึง กำรทำให้ชีวิตควำม เป็นอยู่ของประชำชนมีควำมสุข ควำมสะดวกสบำย ควำมกินดีอยู่ดี ควำมเจริญทำงด้ำน ศิลปวัฒนธรรมและจิตใจอย่ำงสงบสันติ ซึ่งข้ึนอยู่กับกำรได้รับปัจจัยทำงวัตถุเพื่อสนองควำมต้องกำร ของร่ำงกำย ทั้งยังรวมควำมไปถึงกำรเปลี่ยนแปลงไปในทำงที่ดีขึ้นของคุณภำพชีวิต อันได้แก่ กำรศกึ ษำ สิ่งแวดล้อม กำรพกั ผอ่ นหย่อนใจ12 11 J. Romiszowski (1999), สืบคน้ เมื่อ ๕ ธนั วำคม ๒๕๖๒. 12 วทิ ยำกร เชียงกูล (2527), สบื คน้ เมื่อ ๕ ธันวำคม ๒๕๖๒.
๑๖ วริ ัช วริ ชั นภิ ำวรรณ (2532) สรปุ วำ่ กำรพฒั นำ หมำยถึง กำรเปลี่ยนแปลงที่มีกำรกระทำให้ เกิดขึ้นหรือมีกำรวำงแผนกำหนดทิศทำงไว้ล่วงหน้ำและกำรเปล่ียนแปลงน้ีจะมีสองส่วนที่เกี่ยวข้อง คือ กำรเปล่ียนแปลงทัง้ ในด้ำนปริมำณและคุณภำพ รวมทั้งจะต้องมีทิศทำงท่ีดีขึน้ เท่ำนั้น อย่ำงไรก็ตำม ได้มีกำรศึกษำเชิงประเมินผลกำรพัฒนำ พบว่ำ กำรเปลี่ยนแปลงท่ีไม่พึง ปรำรถนำหลำยประกำร นับต้งั แต่เร่ิมมีกำรดำเนินงำนตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจแห่งชำติฉบับท่ี 1 ใน ปีพุทธศักรำช 2504 เป็นต้นมำ ได้ส่งผลกระทบอย่ำงรุนแรงต่อระบบนิเวศวิทยำ (Social Ecology) ของสงั คมไทย ผลที่คำดหวังสำคัญหลำยประกำรไม่เป็นไปตำมเจตนำรมณ์ท่ีตั้งไว้ เหตุกำรณ์เหล่ำนี้ทำ ให้นกั คิดจำกหลำยสำนักควำมคิดพำกันหยิบยกประเด็นปญั หำต่ำง ๆ ขึ้นมำถกเถียงวิพำกษ์วิจำรณ์กัน อยำ่ งกวำ้ งขวำงถึงควำมล้มเหลวเหล่ำนั้น พร้อมท้ังมีกำรเสนอแนวทำงใหม่ในกำรพัฒนำประเทศ บำง แนวคิดได้รับกำรยอมรับจำกสำธำรณชนและกลุ่มผู้บริหำรจนนำไปสู่กำรกำหนดเป็นนโยบำยในกำร พัฒนำประเทศบนพ้ืนฐำนควำมเช่ือในเอกลักษณ์ รวมท้ังควำมเข้มแข็งของวัฒนธรรม บำงแนวคิดชู ประเด็นกำรเรียนรู้ตลอดจนกำรเสริมสร้ำงศักยภำพของคนพร้อมท้ังกำรให้เหตุผลอย่ำงเป็นระบบ น่ำเช่ือถือและปฏิบัติตำม ในขณะท่ีนักคิดบำงสำนักควำมคิดพยำยำมใช้ยุทธศำสตร์ทำงศำสนำ (Religious Strategy) มำชีน้ ำทำงออกให้แก่สังคมไทยบนพ้ืนฐำนแห่งนัยยะสำคัญตลอดจนควำมโดด เด่นทำงวิชำกำรที่ว่ำ ควำมดีต้องอยู่เหนือควำมช่ัวเสมอ โดยละทิ้งเงื่อนไขของกำรเปล่ียนแปลงทำง สังคมด้ำนมิติของเวลำ (Time) พลังทำงลบ (Negative Social Force) ที่ทำให้เกิดกำรต่อต้ำน เปลีย่ นแปลงอันไม่พงึ ปรำรถนำในสังคม ประกำยควำมคิดเหล่ำนี้ ส่งผลให้เกิดควำมพยำยำมที่จะถักทอและบูรณำกำรควำมโดดเด่น จำกแนวควำมคิดหลำกกระแสเข้ำด้วยกัน นอกเหนือไปจำกน้ัน ยังมีกำรเสนอแนวคิดที่น่ำสนใจ เกี่ยวกับกำรพัฒนำเชิงนิเวศ (Green Development) เศรษฐศำสตร์เชิงนิเวศ (Green Economics) เศรษฐศำสตร์กระแสกลำง (Mid-Stream Economy) หรือกำรพัฒนำท่ียั่งยืน (Sustainable Development) โดยมีควำมเชื่อพื้นฐำนของกำรให้ควำมสำคัญต่อกำรอนุรักษ์สภำพแวดล้อมตำม ธรรมชำติแก่ผู้คนรุ่นหลัง แล้วกำหนดเป็นยุทธศำสตร์กำรพัฒนำประเทศแนวใหม่ ด้วยกำรวิพำกษ์ อย่ำงแหลมคมต่อแนวคิดแบบปฏิฐำนนิยม (Positivism) อัตนิยม (Individualism) ที่ยึดเอำควำมพึง พอใจของมนุษย์ตำมหลักกำรของอรรถประโยชน์นิยมหน่วยสุดท้ำย (Marginal Utility) ว่ำเป็น จุดเริ่มต้นของควำมหำยนะและกำรทำลำยล้ำงทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงรุนแรงในปัจจุบัน จำกกำร วเิ ครำะห์เจตนำรมณ์ของแต่ละแนวคิด ต้ังแต่อดีตมำจนถึงปัจจุบัน จะเห็นได้อย่ำงชัดเจนว่ำ โดยแท้ท่ี จรงิ แล้ว นักคิดแต่ละยุคสมัย แต่ละสำนักคิด ตำ่ งมเี จตนำรมณ์บำงอยำ่ งรว่ มกัน คอื สนั ตสิ ขุ ตลอดจน กำรเปล่ียนแปลงไปในทำงท่ีพึงประสงค์ของสังคมที่ตนเองเป็นสมำชิก สิ่งที่แตกต่ำงกัน ก็คือ วิธีคิด สำนักคิด (School of Thought) ของเขตของกำรคิด (Boundary) ลักษณะกำรมองปัญหำ กำรให้ ควำมหมำยและวิธีกำรในกำรทำควำมเข้ำใจ รวมท้ังกำรวิเครำะห์หำแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำ (Approach) ของกล่มุ แนวคิดเหล่ำนั้น ดังน้ัน ผู้ท่ีศึกษำวิชำกำรทำงด้ำนกำรพัฒนำจึงมีควำมจำเป็นที่จะต้องมีพื้นฐำนทำงด้ำน วิชำกำรรอบด้ำนโดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง วิชำกำรทำงด้ำนสังคมศำสตร์และมนุษยศำสตร์ซึ่งประกอบไป
๑๗ ด้วยองค์ควำมรู้ทำงด้ำนสังคมวิทยำ มำนุษยวิทยำ รัฐศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ จิตวิทยำ ภำษำศำสตร์ ประวัติศำสตร์ รวมทั้งสถำนะของกำรดำรงอยู่ ควำมเป็นมำและกำรเปล่ียนแปลงขององค์ควำมรู้ เหล่ำน้ี13 ๑.๑.๕ ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับกำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้อย่ำงมี จะเกิดข้ึนเมื่อเน้ือหำหรือเรื่องรำวใหม่ท่ีเรียนสำมำรถเชื่อมโยงกับควำมรู้ เดิมท่ีมี อยู่ในโครงสร้ำงของควำมรู้ หรื อโครงสร้ำงทำงสติ ปั ญญำของผู้ เรี ยนได้ ควำมหมำยขอ ง กำ ร เรียนรู้อย่ำงมีควำมหมำยในทฤษฎีของออซูเบลเดิมน้ันได้ชี้ให้เห็นถึงข้อแตกต่ำงระหว่ำงกำรเรียนรู้ อย่ำงมีควำมในกับกำรเรียนรู้แบบท่องจำผู้เรียนจะเรียนรู้ได้อย่ำงมีควำมหมำยก็ต่อเมื่อสำมำรถหำ หนทำงเช่ือมโยงควำมรู้ใหม่ให้เข้ำกับควำมรู้เดิมของตนเองได้ในทำงตรงข้ำมถ้ำผู้เช่ือมพยำยำมจำ ควำมรูใ้ หมโ่ ดยไมไ่ ด้เช่ือมโยงกับควำมรู้เดิมเลยก็จะเป็นกำรเรียนรู้แบบท่องจำ ฮิลกำร์ด และ เบำเวอร์ (Hilgard & Bower) “กำรเรียนรู้ เป็นกระบวนกำรเปล่ียนแปลง พฤตกิ รรม อนั เปน็ ผลมำจำกประสบกำรณ์และกำรฝึก ทงั้ นี้ไม่รวมถึงกำรเปล่ียนแปลงของพฤติกรรมท่ี เกิดจำกกำรตอบสนองตำมสัญชำตญำณ ฤทธิ์ของยำ หรอื สำรเคมี หรือปฏิกิริยำสะท้อนตำมธรรมชำติ ของมนษุ ย์”14 คอนบำค ( Cronbach )15 “กำรเรียนรู้ เป็นกำรแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่ มีกำร เปลย่ี นแปลง อันเปน็ ผลเนื่องมำจำกประสบกำรณ์ท่ีแต่ละบุคคลประสบมำ “ พจนำนุกรมของเวบสเตอร์ (Webster ‘s Third New International Dictionary) “กำร เรยี นรู้ คือ กระบวนกำรเพ่ิมพูนและปรุงแต่งระบบควำมรู้ ทักษะ นสิ ัย หรอื กำรแสดงออกต่ำงๆ อันมี ผลมำจำกสิ่งกระตุ้นอนิ ทรียโ์ ดยผ่ำนประสบกำรณ์ กำรปฏบิ ัติ หรือกำรฝึกฝน”16 กำนเยอธิบำยเกี่ยวกับปรำกฏกำรณ์กำรเรียนรู้ว่ำมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ส่วนได้แก่ 1) ผล กำรเรียนรู้หรือควำมสำมำรถด้ำนต่ำงๆของมนษุ ย์ 2) กระบวนกำรเรียนรู้และจดจำอันเป็นผลจำกกำร จัดกระทำกับข้อมูลในสมองและ 3) ผลจำกเหตุกำรณ์ภำยนอกท่ีมีต่อกระบวนกำรเรียนรู้ภำยในตัว มนุษย์ 13 วริ ัช วริ ชั นิภำวรรณ (2532), สบื ค้นเมื่อ ๕ ธันวำคม ๒๕๖๒. 14 ฮลิ กำรด์ และ เบำเวอร์ (Hilgard&Bower),http://oknation.nationtv.tv/blog/Apinya0936 /2013/12/24/entry-2,สืบค้นเมอ่ื ๕ ธันวำคำม ๒๕๖๒. 15 คอนบำค (Cronbach), http://oknation.nationtv.tv/blog/Apinya0936/2013/12/24/entry- 2,สืบค้นเมื่อ ๕ ธนั วำคม ๒๕๖๒. 16 พจนำนุกรมของเวบสเตอร์ (Webster ‘s Third New International Dictionary) ,สืบค้นเม่ือ ๕ ธนั วำคม ๒๕๖๒.
๑๘ เด็กจะสร้ำงแนวคิดหลัก และเกิดกำรเรียนรู้อยู่ตลอดเวลำ โดยไม่จำเป็นต้องมีกำรเรียนกำร สอนภำยในห้องเรียนเท่ำน้ัน แตก่ ำรเรียนรู้จะได้จำกสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ นอกจำกนี้กำรเรียนรู้ตำม แนวคิดของคอนสตรคั ติวิสท์ จะเกิดขนึ้ ได้ตำมเงื่อนไข ดงั ต่อไปน้ี 1) กำรเรียนรู้เป็น active process ที่เกิดข้ึนเฉพำะตัวบุคคล กำรสอนโดยวิธีบอกเล่ำ ซ่ึง จัดเป็นpassive process จะไม่ช่วยให้เกิดกำรพัฒนำแนวควำมคิดหลักมำกนัก แต่กำรบอกเล่ำก็ จดั เป็นวธิ ีให้ข้อมูลทำงหนึ่งได้ 2) ควำมรู้ต่ำงๆ จะถูกสร้ำงขี้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้ข้อมูลท่ีได้รับมำใหม่ ร่วมกับ ข้อมูลหรือควำมรู้เดิม ที่มีอยู่แล้วจำกแหล่ำงต่ำงๆ เช่น สังคม สิ่งแวดล้อม รวมท้ังประสบกำรณ์เดิม มำเปน็ เกณฑ์ช่วยกำรตัดสินใจ 3) ควำมรู้และควำมเช่ือของแต่ละคนจะแตกต่ำงกัน ท้งั น้ีขึ้นกับส่ิงแวดล้อม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และสิ่งท่ีผู้เรียนได้พบเห็น ซึ่งจะถูกใช้เป็นพ้ืนฐำนในกำรตัดสินใจ และใช้เป็นข้อมูลในกำร สรำ้ งแนวคิดใหม่ 4) ควำมเข้ำใจจะแตกตำ่ งจำกควำมเชื่อโดยสิ้นเชิง และควำมเชื่อจะมีผลโดยตรงต่อกำรสร้ำง แนวคิดหรือกำรเรียนรู้ เนื่องจำก คอนสตรัคติวิสท์ ไม่มีแนวปฏิบัติหรือวิธีกำรสอนอย่ำงเฉพำะจงจง ดังนั้น นัก กำรศึกษำโดยเฉพำะนักวิทยำศำสตร์ศึกษำ ซึ่งเป็นกลุ่มแรกท่ีนำควำมคิดของ คอนสตรคั ติวิสท์ นม้ี ำใช้ จึงได้ประยุกต์ใช้วิธีกำรสอนต่ำงๆ ที่มีผู้เสนอไว้แล้ว และพบว่ำมีวิธีกำรสอน 2 วิธีท่ีใช้ ประกอบกัน แล้วช่วยให้แนวคิดของ คอนสตรัคติวิสท์ ประสบควำมสำเร็จในกำรเรียนกำรสอนเป็นอย่ำงดี ซ่ึงตำม แนวคิดของ คอนสตรัคติวิสท์ ไดเ้ น้นว่ำกำรเรียนรู้ของนักเรียนเกิดข้ึนด้วยตัวนักเรียนเอง วธิ กี ำรเรียน กำรสอนท่ีเหมำะสมก็คือ กำรเรียนรู้ด้วยกำรสืบสอบ (inquiry) ประกอบกับกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ (co-operative learning) แนวคิดของปรัชญำกำรสร้ำงควำมรู้ อธิบำยว่ำ กำรเรียนรู้เป็นกระบวนกำรท่ีเกิดภำยในตัว บคุ คลบุคคลเป็นผู้สร้ำงสรรค์ควำมรู้เอง จำกกำรสัมพันธ์สิ่งที่พบเห็นกับควำมรู้ควำมเข้ำใจ ท่ีมีอยู่เดิม เกดิ เปน็ โครงสร้ำงทำงปัญญำ (cognitive structure)17 หลกั สูตรสถำนศึกษำโรงเรียนอรพินพิทยำ พุทธศักรำช 2559 ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้น พ้ืนฐำนพุทธศักรำช 2551 ได้กำหนดโครงสร้ำงของหลักสูตรสถำนศึกษำ และผู้ท่ีเก่ียวข้องในกำร จดั กำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรของสถำนศึกษำมีแนวปฏิบัติ ดงั นี้ 17 คอนสตรัคตวิ ิสท์,สืบคน้ เมอื่ ๕ ธนั วำคม ๒๕๖๒.
๑๙ 1. ระดับกำรศึกษำ กำหนดหลักสูตรเป็น 2 ระดับ ตำมโครงสร้ำงของหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนพุทธศักรำช 2551 และตำมภำรกิจหลักของกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในระดับ ประถมศึกษำของสถำนศึกษำ ดงั นี้ 1.1 ระดับประถมศึกษำ ( ชั้นประถมศึกษำปีที่ 1 – 6 ) กำรศึกษำระดับน้ีเป็นช่วงแรกของ กำรศึกษำภำคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพ้ืนฐำนด้ำนกำรอ่ำน กำรเขียน กำรคิดคำนวณ ทักษะกำรคิด พื้นฐำน กำรติดต่อส่ือสำร กระบวนกำรเรียนรู้ทำงสังคม และพ้ืนฐำนควำมเป็นมนุษย์ กำรพัฒนำ คณุ ภำพชีวติ อย่ำงสมบูรณ์และสมดุลท้ังในด้ำนรำ่ งกำย สติปัญญำ อำรมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดย เน้นจดั กำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร 2. สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ในหลักสูตรสถำนศึกษำโรงเรียนอรพินพิทยำ พทุ ธศกั รำช 2559 ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน พทุ ธศักรำช 2551 ได้กำหนดไว้ใน หลักสูตร ประกอบด้วยองค์ควำมรู้ ทักษะหรือกระบวนกำรเรียนรู้ และคุณลักษณะหรือค่ำนิยม คณุ ธรรม จริยธรรมของผู้เรียน 8 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ คอื 2.1 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย 2.2 กลุม่ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ 2.3 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ 2.4 กล่มุ สำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม เเละวิชำประวัติศำสตร์ 2.5 กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ุขศึกษำและพลศึกษำ 2.6 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ศิลปะ 2.7 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี 2.8 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ 3. กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมพัฒนำผู้เรียนมุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนำตนเองตำมศักยภำพ พัฒนำอย่ำงรอบด้ำน เพ่ือควำมเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ทั้งร่ำงกำย สติปัญญำ อำรมณ์ และสังคม เสริมสร้ำงให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้ำงจิตสำนึกของกำรทำ ประโยชน์เพื่อสังคม สำมำรถจัดกำรตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่ำงมีควำมสุข แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ ดังน้ี 3.1 กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนำผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ สง่ิ แวดล้อม สำมำรถคิดตัดสินใจ คดิ แก้ปัญหำ กำหนดเป้ำหมำย วำงแผนชวี ิตทง้ั ด้ำนกำรเรียนและ อำชพี สำมำรถปรับตนเองได้อย่ำงเหมำะสม นอกจำกนี้ยงั ช่วยให้ครูรู้จักและเข้ำใจผู้เรียน ทั้งยังเป็น กจิ กรรมทีช่ ่วยเหลือและใหค้ ำปรกึ ษำแกผ่ ู้ปกครองในกำรมสี ่วนรว่ มพัฒนำผู้เรียน
๒๐ 3.2 กจิ กรรมนักเรียน เปน็ กิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนำควำมมีระเบียบวินัย ควำมเป็นผู้นำและผู้ตำมท่ี ดี มีควำมรับผิดชอบ กำรทำงำนร่วมกัน กำรรู้จักแก้ปัญหำ กำรตัดสินใจที่เหมำะสม ควำมมี เหตุผล กำรช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออำทรและสมำนฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับควำมสำมำรถ ควำมถนัด และควำมสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ กำรศึกษำ วิเครำะห์วำงแผน ปฏิบตั ิตำมแผน ประเมินและปรับปรุงกำรทำงำน เนน้ กำรทำงำนร่วมกันเป็นกลุ่ม ตำมควำมเหมำะสมและสอดคล้องกับวุฒิภำวะของผู้เรียน บริบทของสถำนศึกษำและท้องถ่ิน กิจกรรมนักเรียนในหลักสูตรสถำนศึกษำโรงเรียนอรพินพิทยำ พุทธศักรำช 2559 ตำมหลักสูตร แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 ประกอบด้วย - กิจกรรมลูกเสือ - ยวุ กำชำด - กิจกรรมชุมนุม/ชมรม 3.3 กิจกรรมเพื่อสังคมและสำธำรณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้ เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถ่ินตำมควำมสนใจในลักษณะอำสำสมัคร เพ่ือแสดงถึงควำม รับผิดชอบ ควำมดีงำม ควำมเสียสละต่อสังคม มีจิตสำธำรณะ 4. เวลำเรียน หลักสูตรสถำนศึกษำโรงเรียนอรพินพิทยำ พุทธศักรำช 2559 ตำมหลักสูตร แกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พทุ ธศักรำช 2551 ไดก้ ำหนดกรอบโครงสร้ำงเวลำเรียนขั้นต่ำ ๒.๒ เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง ๒.๒.๑ บทควำมกำรประยุกต์ใช้สื่อให้เหมำะสมกับบริบทโรงเรียน กำรประยุกต์ใชส้ ่ือให้เหมำะสมกับบริบทโรงเรียนทุกวันนี้ ถึงแมว้ ่ำแต่ละโรงเรียนจะได้รับกำร สนับสนุนสื่อกำรเรียนรู้ต่ำง ๆ มำกมำย ไม่ว่ำจะเป็น หนังสือ ส่ือวัสดุ อุปกรณ์ช่วยสอน ส่ือวีดีทัศน์ คอมพิวเตอร์หรือแท็บเล็ต ตำมสัดส่วนกำรเติบโตของแต่ละโรงเรียน แต่ปัญหำในเร่ืองของกำรใช้ส่ือก็ ยงั คงมีให้พบเห็นอย่โู ดยทั่วไป ซึง่ ปญั หำและอุปสรรคในกำรใช้สื่อนั้น สำมำรถจำแนกออกมำเป็นด้ำน ๆ ไดด้ งั น้ี 1. ปัญหำด้ำนบุคลำกร คือ บุคลำกรขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรผลิตส่ือ ขำด ประสบกำรณ์และควำมรู้ควำมชำนำญในกำรใช้ส่ือนวัตกรรมทำงกำรศึกษำ รวมถึงกำรไม่ส่งเสริมให้ เกิดกำรใช้งำนอย่ำงต่อเนื่อง 2. ปัญหำด้ำนวัสดุ อปุ กรณ์และงบประมำณ คอื ขำดกำรสนับสนุนด้ำนงบประมำณ ในกำร จดั หำวสั ดุและอุปกรณ์ในกำรผลิตส่ือหรือนำส่ือมำประยุกต์ใช้กับกำรสอนต่ำง ๆ
๒๑ 3. ปญั หำด้ำนสภำพแวดล้อม คอื กำรท่ีส่ิงแวดล้อมเป็นอุปสรรคหรือไม่เหมำะต่อกำรใช้ส่ือ บำงประเภท หรือส่ือนวัตกรรมบำงชนิด ไม่เหมำะกับกำรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนในห้องเรียนท่ีมีจำนวน มำก 4. ปญั หำด้ำนกำรเรียนกำรสอน คือ ควำมแตกต่ำงของผู้เรียนส่งผลทำให้กำรใช้สื่อมีผลลัพธ์ ท่ีหลำกหลำย มีท้ังสนใจและไม่สนใจ และส่ือหรือนวัตกรรมบำงชนิดใช้เวลำในกำรใช้มำกเกินไป ไม่ เหมำะสมกับกำรจัดเวลำเรียน 5. ปัญหำด้ำนกำรวัดและประเมิน คือ กำรขำดกำรวัดและประเมินผลกำรใช้ส่ือ ทำให้ไม่ สำมำรถหำได้ว่ำส่ือหรือนวัตกรรมใด มีผลตอ่ ผู้เรียนอย่ำงไร จำกปัญหำที่พบจำกกำรใช้สื่อโดยท่ัวไปในแต่ละโรงเรียน จะเห็นได้ว่ำปัญหำในกำรใช้ส่ือนั้น เกิดท้ังจำกตัวผู้สอนและตัวผู้เรียน รวมไปถึงสภำพโดยทั่วไปของแต่ละโรงเรียนด้วย สิ่งเหล่ำนี้ทำให้ผม มองวำ่ เรำควรท่ีจะประยุกตฺใช้สื่อให้เหมำะสมกับบริบทของแต่ละโรงเรียนให้มำกขึ้น เพื่อให้กำรใช้ส่ือ และนวัตกรรมเพ่ือพัฒนำกำรเรียนกำรสอนเป็นไปได้อย่ำงเหมำะสม ซง่ึ หลกั ในกำรประยุกต์ใช้สื่อตำม บริบทของโรงเรียนในทัศนะของผมน้ัน ผมมองวำ่ ควรจะต้องพจิ ำรณำถงึ เร่ือง ดังตอ่ ไปนี้ 1. ส่ือหรือนวัตกรรมที่จะนำมำใช้น้ัน จะต้องมีจุดเด่นท่ีเห็นได้ชัดในกำรเป็นสื่อที่ช่วยเหลือ ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน มำกกว่ำรูปแบบกำรสอนแบบเดิมๆ เช่น กำรใช้ส่ือวีดีทัศน์นำเสนอเร่ือง ของกำรเติบโตของสัตว์ ซึ่งเป็นสื่อท่ีดีกว่ำกำรสอนตำมหนังสือแบบเดิม เปน็ ต้น 2. ส่ือหรือนวัตกรรมน้ัน ต้องมีควำมสอดคล้องกับสภำพแวดล้อมของโรงเรียนและสภำพ ควำมเป็นอยู่ของผู้เรียน ยกตวั อยำ่ งเช่น กำรยกตัวอย่ำงกำรแลน่ ของรถไฟในกำรคำนวณควำมเรว็ แต่ ใช้กบั ผูเ้ รียนในพนื้ ที่ที่ไม่มรี ถไฟวิ่งผำ่ น ซ่ึงลักษณะน้ี นับว่ำเปน็ กำรเลือกใช้สื่อที่ไม่เหมำะสม 3. ควรเลือกใช้ส่ือหรือนวัตกรรมที่มีงำนวิจัยหรือกรณีศึกษำรองรับ ในเรอ่ื งของกำรนำมำใช้ ได้ในสภำวกำรณ์ที่คล้ำยคลึงกัน คือ เมื่อใช้ในโรงเรียนหนึ่งแล้ว ไปใช้กับอีกโรงเรียนหนึ่ง ก็ส่งผลให้ ผูเ้ รยี นท้ังโรงเรียนแรกและโรงเรียนที่สอง มีควำมเข้ำใจในเนื้อหำใกล้เคียงกัน 4. สือ่ และนวัตกรรมน้ัน ควรมีควำมเกี่ยวข้องกับควำมต้องกำรของผู้เรียน เชน่ กำรหยิบยก ขำ่ วหนงั สือที่กำลังเป็นท่ีสนใจของผู้เรียนเพื่ออธิบำยถึงสถำนกำรณ์ทำงสังคมต่ำงๆ เปน็ ตน้ 5. ควรคำนึงถึงงบประมำณของแต่ละโรงเรียนในกำรเลือกซื้อหรือผลิตสื่อและนวัตกรรม พยำยำมเลือกสรรสื่อโดยคำนึงถึงควำมคุ้มค่ำเป็นหลัก ไมค่ วรให้สิ้นเปลืองมำกจนเกินไป ควรเลือกส่ือ ทส่ี ำมำรถนำมำใช้ได้หลำกหลำย มำกกวำ่ สื่อที่ใช้ได้เพียงครั้งเดียว 6. ในกำรใช้ส่ือและนวัตกรรมต่ำงๆ ผใู้ ชจ้ ำเป็นต้องศึกษำคู่มือกำรใช้หรือออกแบบวิธีกำรใช้ ใหเ้ หมำะสมก่อนนำมำใช้ เพื่อให้สำมำรถใช้สื่อได้มีประสิทธิภำพและไม่ให้เกิดควำมเสียหำยกับตัวส่ือ
๒๒ 7. ปัจจุบันควรเน้นกำรใช้สื่อเทคโนโลยีให้มำกข้ึน โดยสำมำรถใช้ส่ือเทคโนโลยีมำทดแทน ส่ือสิ้นเปลืองต่ำงๆ เชน่ ใชก้ ำรฉำยภำพจำกอินเตอร์เน็ต แทนกำรปร้ินรูปภำพลงบนกระดำษ หรือกำร ใหผ้ ู้เรยี นส่งงำนทำงอีเมลล์แทนกำรส่งรูปเล่มรำยงำน เปน็ ต้น (นายนรรัชต์ ฝันเชียร)18 ๒.๒.๒ บทควำมนวัตกรรมทำงกำรศึกษำ สบื เน่อื งจำกวันครูท่ีผำ่ นไปเลยอยำกจะพูดถึงกำรเป็นครูสอนคอมพิวเตอร์หรือผสู้ อนด้ำนไอที ซึ่งโดยทั่วไปก็หมำยถึงครูท่ีสอนหัวข้อต่ำง ๆ เช่น กำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กรำฟิก จริยธรรม กำรใช้คอมพิวเตอร์ กำรพัฒนำเว็บไซต์ หรอื แม้แต่คุณครูแนะแนวทำงด้ำนสำยอำชีพในไอที ซง่ึ พูดถึง ครูคอมพิวเตอร์ดีเด่นนั้นเท่ำที่สำรวจจำกครูท่ีได้รับรำงวัลจำกสมำคมวิชำชีพทำงคอมพิวเตอร์ของ IEEE ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2542 นั้นพบว่ำเริ่มแรกคณุ ครูท่ีได้รับรำงวัลจะมีผลงำนโดดเด่นด้ำนกำรผลิต “สื่อ กำรเรียนกำรสอน” หรอื “ตำรำ” คอมพวิ เตอร์ท่ีใช้กนั แพร่หลำย จนยุคต่อมำมักจะเป็นคุณครูท่ีมี “กำรวิจัย” ประยุกต์ใช้ในกำรเรียนกำรสอนด้ำน คอมพิวเตอร์ กำรปรับ “หลกั สูตร” สนบั สนุน “กิจกรรม” ทส่ี ง่ เสริมกำรศึกษำด้ำนคอมพิวเตอร์ เช่น จดั กำรแข่งขัน กำร “สรำ้ งแรงบันดำลใจ” ใหค้ นเรียนด้ำนคอมพิวเตอร์มำกขึ้น และคณุ ครูท่ำนล่ำสุด ท่ไี ดร้ บั รำงวลั เม่ือ 3 ปีทีแ่ ลว้ คือ ดร.จูดี้ โรเบริ ์ตสัน (Judy Robertson)จำกมหำวิทยำลัยเฮริออต-วัตต์ ประเทศสกอตแลนด์ ผู้ใช้ “นวัตกรรม” ใหม่ในกำรสอนเขียนโปรแกรมผ่ำนกำรสร้ำงเกมสำมมิติ รวมถึงใช้เกมในกำรเรียนรู้ ลองดูผลงำนวิจัยตลอด 8 ปขี องคุณครูท่ำนน้ีได้ท่ีhttp://judyrobertson. typepad.com/ ในส่วนของประเทศไทยเรำเมื่อต้นปีก็เพิ่งมีคุณครูคอมพิวเตอร์ที่เพิ่งได้รับรำงวัลเกี่ยวกับกำร เรียนกำรสอน ท้ังระดับคณะ มหำวิทยำลัย ประเทศไทยและนำนำชำติมำซึ่งท่ำนก็มีผลงำนต่อเน่ือง เกย่ี วกับกำรเรียนกำรสอนด้ำนคอมพิวเตอร์มำตลอดโดยทำมำเกือบทุกดำ้ นไม่ว่ำจะเป็น “สอ่ื กำรเรียน กำรสอน” “ตำรำ” “กำรวิจัย” “หลักสูตร” “กิจกรรม” และ “นวัตกรรม” ซึ่งเป็นที่น่ำภูมิใจของ วงกำรคอมพวิ เตอร์บ้ำนเรำได้เลยทีเดียว ส่วนอีกด้ำนก็คือกำรใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู ซึ่งมีประวัติยำวนำนต้ังแต่ช่วงประมำณปี พ.ศ. 2500 บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนำระบบคอมพิวเตอร์สำหรับสอนท่ีมหำวิทยำลัยอัลเบอตำ ประเทศ แคนำดำ ม่งุ เน้นในกำรสอนควำมรู้ด้ำนคอมพิวเตอร์ให้กับผใู้ ชง้ ำนท่ีไมค่ ุ้นเคยกับคอมพิวเตอร์และเป็น ตน้ แบบให้กับกำรเรียนกำรสอนทำงไกล ซง่ึ ทัว่ ไปเน้ือหำเกี่ยวกับกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์หรือไอทีก็จะ มีเน้ือหำ 5 ด้ำนหลัก คือ กำรให้ควำมเข้ำใจด้ำนกำรประยุกต์ “ใช้งำนเบื้องต้น” เช่น กำรใช้อุปกรณ์ ตำ่ ง ๆ ต่อมำคือกำรรู้ตระหนักถึงประเด็นสำคัญเกี่ยวกับ “จรยิ ธรรม” ในกำรใช้งำนเครือข่ำย สำมคือ 18 https://www.trueplookpanya.com/education/content/70888/-teaartedu-teaart- teaarttea-, สืบคน้ เมื่อ ๕ ธนั วำคม ๒๕๖๒.
๒๓ กำรใช้งำน “เคร่ืองมือสร้ำงงำน” ประเภทต่ำง ๆ เช่น ตกแต่งภำพ พิมพ์งำน ส่ีคือใช้งำน “เคร่ืองมือ ส่ือสำร” เช่น เมล หรือเว็บไซต์ที่ใช้ติดต่อส่ือสำรได้ และ สุดท้ำย “เครื่องมือที่ใช้ค้นคว้ำข้อมูล” เช่น เวบ็ คน้ หำ และฐำนข้อมลู ที่สำคัญ ยุคต่อมำกำรสอนโดยครูท่ีเป็นคอมพิวเตอร์นั้นได้พัฒนำควำมสำมำรถในกำรแสดงผลข้อมูล ต่ำง ๆ ที่จำเป็นในกำรเรียนรู้ เช่น ภำพ ตำรำง กรำฟ รวมถึงอุปกรณ์ต่ำง ๆ นอกเหนือจำกกำรพิมพ์ ด้วยแป้นพิมพ์ เช่น กำรใช้เมำส์ หรือจอสัมผัสในกำรเลือก กำรใช้เสียงในกำรโต้ตอบ เป็นต้น จน ปัจจุบันมีให้เห็นทั้งด้ำนอุปกรณ์เสริมใหม่ ๆ หรือครูคอมพิวเตอร์สำยพันธุ์ใหม่ท่ีมำในรูปแบบอื่น กลำยเป็นอุปกรณ์ที่มีหน้ำท่ีใช้งำนหลักเฉพำะทำงไป อยำ่ งเครื่องอ่ำนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กระดำน ชนวนอิเล็กทรอนิกส์ โทรศพั ท์มือถือที่เป็นคอมพิวเตอร์ โต๊ะทำงำนท่ีเปน็ คอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้ สำหรับบทเรียนท่ีคอมพิวเตอร์ครูเหล่ำน้ีสอนได้ ก็ถูกพัฒนำข้ึนมำกมำยจำกเดิมท่ีมีแค่ระดับ กำรเรียนกำรสอนสำหรับเด็กสู่ระดับท่ีสูงขึ้น เชน่ ใช้งำนในธุรกิจ อย่ำงระบบจำลองกำรแก้ปัญหำทำง วิศวกรรม หรือบทเรียนให้ควำมรู้เชิงธุรกิจท่ีจำเป็นต่อองค์กร ซึ่งข้อดีของบทเรียนท่ีสอนโดย คอมพิวเตอร์ครูจะเหมือนกันตรงท่ีนักเรียนจะเรียนได้อย่ำงที่เรียกกันว่ำ “ผู้เรียนเป็นหลัก” คือเรียน ไดต้ ำมควำมเร็วในกำรเรียนรู้ของตนเอง เม่ือสำรวจในประเทศไทยก็จะพบว่ำปัจจุบันมีบริกำรให้ควำมรู้ทำงคอมพิวเตอร์ หรือมี คอมพิวเตอร์ที่เป็นครูเพ่ิมขึ้นอย่ำงต่อเนื่องไม่ว่ำจะเป็นเว็บไซต์ ชุดสื่อกำรสอนอิเล็กทรอนิกส์ใน โครงกำรมหำวิทยำลัยไซเบอร์ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ แผ่นซีดีสอนเร่ืองจิปำถะท่ี วำงขำยในซูเปอร์มำร์เกต หรือระบบช่วยสอนเฉพำะทำง อย่ำงเช่น ล่ำสุดทำงโรงพยำบำลรำชวิถี ก็ กำลังพัฒนำระบบสำหรับแพทย์เพื่อฝึกกำรตรวจอัลตรำซำวด์ได้โดยไม่ต้องมีคนไข้จริง ซ่ึงก็น่ำจะนับ ได้วำ่ เป็นกำรใชค้ อมพิวเตอร์เป็นครูสอนเร่ืองเฉพำะทำงได้เหมือนกัน ครูทเ่ี ป็นคอมพิวเตอร์เหล่ำนี้สำมำรถทำงำนหนักโดยไม่ต้องบ่นเหน่ือย แตอ่ ย่ำงไรก็ตำมคงไม่ เท่ำครูท่ีเป็นคนไม่ว่ำจะสอนคอมพิวเตอร์หรือสอนอะไรก็ตำม ทั้งคู่ต่ำงก็มีพระคุณต่อผู้เรียน แต่ ต่ำงกันตรงครูท่ีเป็นคนคงต้องมีจิตวิญญำณควำมเป็นครูใส่เข้ำไป ซงึ่ ตอนน้ียังหำโปรแกรมจิตวิญญำณ ท่วี ่ำนี้ไม่พบในส่วนของคอมพิวเตอร์ ซงึ่ สง่ิ น้ีจะช่วยปรับทัศนคติในกำรเรียนรู้ กำรปรับตัวเข้ำกับผู้อ่ืน ทั้งในโลกคอมพิวเตอร์และโลกจริง.(พิษณุ คะนองชัยยศ อำจำรย์ประจำภำควิชำวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์ คณะวศิ วกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย)19 19 https://sunnyduanghathai.wordpress.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8% 84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8 %95%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B 8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2๔E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6/, สืบค้นเมื่อ ๕ ธันวำคม ๒๕๖๒.
๒๔ ๒.๒.๓ แนวควำมคิดกำรจัดกำรเรียนรู้ : กำรพัฒนำทักษะกำรคิดวิเครำะห์เพื่อกำรเรียนรู้ด้วย ตนเอง กำรจัดกำรเรียนรู้เป็นเทคนิคหน่ึงสำหรับกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่งหมำยเพ่ือให้ผู้เรียน พัฒนำทักษะกำรคิดวิเครำะห์ นำไปสู่กำรสร้ำงปัญญำ ปัจจุบันเป็นยุคสำรสนเทศซ่ึงผู้เรียนสำมำรถ เข้ำถึงข้อมูลและเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้เรียนสำมำรถพัฒนำ ตนเองด้ำนกำรคิดวิเครำะห์โดยกระบวนกำรดีแคส (D=CAS Model) ซ่ึงมีองค์ประกอบคือ 1) กำรศึกษำค้นคว้ำ (Discovery) เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นจริง และเหมำะสม 2) กำรจับประเด็น (Capture) เพ่ือให้ได้สำระที่เป็นประโยชน์จำกกำรคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์สรุปผลเป็นประเด็นสำคัญ 3) กำรนำควำมรู้ไปใช้ (Application) เพื่อให้เกิดกำรปฏิบัติสร้ำงสรรค์ผลงำนที่ได้จำกกำรค้นคว้ำ กำรจับประเด็นสำคัญ ส่งผลต่อกำรเรียนรู้ และกำรจัดประสบกำรณ์ของผู้เรียน 4) กำรเรียนรู้ด้วย ตนเอง (Self – directed Learning) เพือ่ กำรพฒั นำตนเองให้เป็นคนใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี นเรียนรู้อย่ำงต่อเน่ือง มีควำมกระตือรือร้น แสวงหำควำมรู้อยู่เสมอ ดังนน้ั กำรจัดกำรเรียนรู้ตำมกระบวนกำรดังกลำ่ วจะเป็น ประโยชน์ต่อกำรคิดวิเครำะห์ซึ่งเป็นเครื่องมือทำงกำรศึกษำต่อไป(ชุมศักด์ิ อินทร์รักษ์ หลักสูตรกำร บรหิ ำรกำรศึกษำ คณะศกึ ษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร)20 ๒.๒.๔คู่มอื นวัตกรรมสื่อกำรสอนบนั ไดงสู ังคม รูปแบบกำรใช้นวัตกรรม เกมส์บันไดงูสังคม (game Social snake ladder) เรื่องวัฒนธรรม ท้องถิ่น และเรื่อง ศำสนิกชนที่ดีเป็นกิจกรรท่ีนำมำประยุกต์ใช้ในกำรเรียนกำรสอน เพ่ือให้เกิด กิจกรรมแบบกลุ่ม ท่ีช่วยให้กำรเรียนกำรสอนไม่เกิดควำมน่ำเบื่อ และให้เน้ือหำมีควำมน่ำสนใจและ จดจำได้ง่ำย นักเรียนได้เข้ำใจสำระสำคัญของหน่วยกำรเรียนนั้น และเพ่ือให้เกิดคุณลักษณะต่ำง ๆ ท่ี ต้องกำรในยุคโลกำภิวัตน์เนื่องจำกเป็นกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ท่ีให้ควำม สำคัญกับผู้เรียน ส่งเสริม ให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเอง เมื่อเกิดควำมสนุกกับบทเรียนและต้ังใจกับกิจกรรมนั้นๆของตนเอง ซ่ึงแนวคิดกำร จัดกำรศึกษำน้ีเป็นแนวคิดที่มีรำกฐำนจำกปรัชญำกำรศึกษำและทฤษฎีกำรเรียนรู้ต่ำง ๆ ทไี่ ดพ้ ฒั นำมำอยำ่ ง ต่อเนอื่ งยำวนำน คุณค่ำของนวัตกรรม เป็นสิ่งที่ช่วยให้กำรเรียนรู้มีประสิทธิภำพ เพรำะจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด ควำมเข้ำใจเน้ือหำบทเรียนท่ียุ่งยำก ซับซ้อน และน่ำเบ่ือ ได้ง่ำยข้ึนในระยะเวลำอันสั้น และสำมำรถ ช่วยให้เกิดควำมคิดรวบยอดในเรื่องนั้นได้อย่ำงถูกต้องและรวดเร็วกำรใช้ส่ือจะทำให้ผู้เรียนเกิด ประสบกำรณ์ร่วมกันในวิชำท่ีเรียนน้ัน และทำให้เกิดมนุษย์สัมพันธ์อันดีในระหว่ำงผู้เรียนด้วยกันเอง และกับครูผู้สอนด้วย วิธกี ำรใชส้ ่ือ 20 https://www.tci-thaijo.org/index.php/suedujournal/article/view/92254, สืบค้นเม่อื ๕ ธันวำคม ๒๕๖๒.
๒๕ ๑.แบ่งกลุ่มออกเป็น ๒-๓ กลมุ่ ตำมควำมเหมำะสมของจำนวนผู้เรียน ๒.ให้ตวั แทนออกมำเป็นผู้เล่นในกำรเดินบนแผงเกมส์บันไดงู ๓.เลอื กทีมที่จะเล่นก่อนตำมลำดับ๑,๒,๓ ๔.ให้คนในกลุ่มผลัดกันออกมำจับหมำยเลขในกำรเดินตำละ ๑ คนๆละ ๑ ครั้ง ตำมลำดับ กล่มุ ๕.เดนิ ไปบนช่องตำมแต้มบนหนำ้ ลูกเต๋ำทไ่ี ด้ ๖.หำกมำหยุดที่ช่องทำงบันไดจะมีคำถำมใหค้ นในกลุ่มชว่ ยกันตอบถ้ำหำกตอบถูกจะได้ข้ึนไป ช้องด้ำนบนของบันได ๗.หำกตกช่องท่ีมีงูจะมีคำถำมให้ช่วยกันตอบเช่นกันแต่หำกตอบผิด ให้ลงมำจำกช่องปำกงูไป ยังหำงงหู ำกตอบถูกให้อยู่ท่ีช่องน้ันและเลน่ เกมส์ต่อได้ ๘.เล่นจนกว่ำกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงจะถึงช่องสุดท้ำย ถือวำ่ เปน็ ผู้ชนะและจบกจิ กรรม ๒.๓ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รองศำสตรำจำรย์ พรทิพย์ ไชยโส ได้ทำกำรวิจัยเรื่องกำรพัฒนำนวัตกรรมกำรจัดกำรเรียน กำรสอนเพื่ อส่ งเสริ มสมรรถนะด้ำนกำรประเมิ นกำรเรี ยนรู้ ของนิสิ ตครู เพ่ื อกำรเรี ยนรู้ ของผู้ เรี ย น Development of Innovation in Teaching and Learning for Supporting Student Teachers‘ Assessment Competency for Learners’ Developmentผลกำรวิจัยพบว่ำนวัตกรรมกำรจัดกำร เรียนกำรสอนที่พัฒนำขึ้นเป็นรูปแบบกำรเรียนกำรสอนท่ีเน้นกระบวนกำรคิด มีข้ันตอนในกำรจัด กิจกรรม 5 ข้ันคือขั้นกระตุ้นควำมสนใจ ขั้นกำรสืบเสำะหำคำตอบ ขั้นกำรสรุปผล ข้ันกำรขยำย ควำมรู้ และข้ันกำรประเมินผล เรียกว่ำ ชื่อว่ำ 3S2E Model นำเสนอนวัตกรรมในลักษณะของ เอกสำรคู่มือสำหรับอำจำรย์และเอกสำรกำรเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษำครู โดยจัดลำดับโครงสร้ำง จัดเป็นหน่วยกำรเรียน 9 หน่วย ใช้เวลำในกำรสอนและทำกิจกรรมแต่ละหน่วยประมำณ 3 ชั่วโมง ผลกำรนำนวัตกรรมไปใช้พบว่ำนิสิตนักศึกษำมำกกว่ำร้อยละ 50 มีสมรรถนะด้ำนกำรประเมินอยู่ใน ระดบั ดีมำก และมีจำนวนนิสิตนักศึกษำมำกกว่ำร้อยละ 90 ทีผ่ ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60 ทง้ั นี้มสี มรรถนะ ด้ำนกำรประเมินที่นิสิตนักศึกษำครูได้รับกำรพัฒนำ 9 สมรรถนะ ประกอบด้วย 1) สมรรถนะในกำร กำหนดวัตถุประสงค์ในกำรประเมินและสิ่งที่ประเมิน 2)สมรรถนะในกำรให้ผลย้อนกลับกับผู้เรียน 3) สมรรถนะในกำรสร้ำงและใช้เคร่ืองมือในกำรประเมินกำรเรียนรู้ของผู้เรียน 4) สมรรถนะในกำรให้ คะแนนและแปลควำมหมำยคะแนน 5) สมรรถนะในกำรออกแบบกำรประเมินสภำพจริง 6) สมรรถนะในกำรตรวจสอบและวิเครำะห์คุณภำพเคร่ืองมือประเมิน 7) สมรรถนะในกำรให้ระดับ คะแนนและกำรำยงำนผลกำรเรียนรู้ของผู้เรียน 8) สมรรถนะในกำรใช้ผลกำรประเมินเพ่ือปรับปรุง กำรเรียนรู้ของผู้เรียนและกำรสอนของครู 9) สมรรถนะในกำรจัดทำโครงกำรในกำรออกแบบกำร ประเมินกำรเรียนรู้ อำจำรย์ท่ีใช้นวัตกรรมที่พัฒนำข้ึนส่วนใหญ่มีควำมเห็นว่ำคู่มือและกิจกรรมมีควำม
๒๖ เหมำะสมอยู่ในระดับมำก นิสิตนักศึกษำที่เรียนรำยงำนว่ำได้เรียนรู้ตำมบทเรียนที่เรียนและตระหนัก ว่ำสมรรถนะด้ำนกำรประเมินเป็นสงิ่ ท่ีสำคญั สำหรับครูท่ีจะนำไปใชใ้ นกำรสอนเพ่ือพัฒนำผู้เรียนต่อไป อ.ผะอบ พวงน้อย, อ.ป่ินรัตน์ นวชำตธำรง, อ.สมชำติ เลิกบำงพลัด, อ.ปิยธิดำ คนเก่งได้ทำ กำรวิจัยเร่ืองกำรพัฒนำนวัตกรรมกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษด้วยระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ เพือ่ พัฒนำ ทักษะและสมรรถนะกำรใช้ภำษำอังกฤษในระดับอุดมศึกษำ กำรวจิ ยั ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือวิจัยและ พัฒนำนวัตกรรมกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษด้วยระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อพัฒนำทักษะและ สมรรถนะกำรใช้ภำษำอังกฤษในระดับอุดมศึกษำ และเพ่ือถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ใหม่ให้แก่กำลังคนของ ประเทศที่สนใจจำนวน 60 คน ด้วยกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนเชิงปฏิบัติกำรเพ่ือปลูกฝังกระบวน กำรศึกษำเรียนรู้ กำรนำนวัตกรรมเทคโนโลยีสำรสนเทศ กำรจัดกำรควำมรู้และกำรจัดประสบกำรณ์ ในกำรเสริมสร้ำงนิสัยกำรเรียนรู้เพื่อกำรพัฒนำทักษะและสมรรถนะในกำรใช้ภำษำอังกฤษมำใช้ ร่วมกันอย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยมีหัวข้อสำคัญ 2 ส่วนคือ ส่วนกำรฟัง ซ่ึงมีเนื้อหำย่อย 4 ส่วน คือ รูปภำพ ถำม – ตอบ บทสนทนำ บทพูดคุยสั้นๆ และส่วนกำรอ่ำน ซ่ึงมีเนื้อหำย่อย 3 ส่วน คือ เติม ประโยคให้สมบูรณ์ เติมขอ้ ควำมในเนื้อเร่ืองใหส้ มบูรณ์ และกำรอ่ำนเพื่อจับใจควำม คณะผวู้ ิจัยได้นำหลักสูตรและชุดกำรศึกษำเรียนรู้ไปทดลองใช้เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่ม ตัวอย่ำงจำนวน 2 กลุ่ม ๆ ละ 31 คนและ 29 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน กลมุ่ ตัวอย่ำงในกำรวิจัยครั้งน้ี เลือกแบบเจำะจง (Purposive Sampling) ตำมคุณสมบัติผู้เข้ำรับกำรศึกษำเรียนรู้ที่กำหนดไว้ใน หลักสูตร คระผู้วิจัยใช้แผนกำรทดลองแบบ One – Group Pretest – Posttest Design ก่อนเร่ิม กำรศกึ ษำเรียนรู้ คณะผูว้ จิ ยั ให้ผู้เข้ำรับกำรศึกษำเรียนรู้ทำกำรทดสอบก่อนกำรศึกษำเรียนรู้ (Pretest) หลังจำกน้ันจึงนำข้อมูลท่ีได้มำคำนวณหำประสิทธิภำพของหลักสูตรและชุดกำรศึกษำเรียนรู้ท่ี คณะผู้วิจัยพัฒนำขึ้น เพ่ือใช้ในกำรศึกษำเรียนรู้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพเท่ำกับ 85.70 / 80.05 ซึ่ง สูงกว่ำเกณฑ์ 80 / 80 ตำมสมมติฐำนที่ตั้งไว้ และผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ก่อนและหลังกำรศึกษำ เรยี นรมู้ ีควำมแตกต่ำงกันที่ระดับควำมมนี ัยสำคัญ ๐.01
๒๗ บทท่ี ๓ ระเบยี บวธิ วี จิ ยั เร่ืองกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ เป็นกำรศึกษำโดยกำรใช้ ระเบยี บวิธวี ิจัย ผู้วิจยั ไดก้ ำหนดวธิ ีกำรดำเนนิ กำรวิจัยตำมลำดับ ๕ ข้นั ตอน ดังน้ี ๓.๑ รูปแบบกำรวิจัย ๓.๒ ผู้ให้ข้อมูลสำคญั ๓.๓ เครื่องมือกำรวจิ ัย ๓.๔ กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ๓.๕ กำรวิเครำะห์ข้อมูล ๓.๑ รูปแบบงานวิจยั กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จงั หวัดลำพูน ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ ผวู้ ิจัยได้ใช้ กำรวิจัยเชิงปฏิบัติกำร (action research) โดยกำรเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีกำรใช้บททดสอบก่อน- หลงั กำรใช้สื่อกำรสอน และแบบประเมินประสิทธิภำพสื่อกำรสอน ๓.๒ ผใู้ ห้ขอ้ มูลสาคญั กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ผู้วิจัย กำหนดเลือกประชำกรในกำรศึกษำนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัด ลำพนู ในปกี ำรศึกษำ๒๕๖๒ จำนวน ๔๐ คน
๒๘ ๓.๓ เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการวิจยั เครื่องมือที่ใชใ้ นกำรวจิ ัย มีดังนี้ ๓.๓.๑. แบบทดก่อนและหลังกำรใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน “บันไดงสู ังคม” เพื่อหำประสิทธิภำพของนวัตกรรมส่ือกำรสอนจึงจำเป็นที่จะต้องเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ๓.๓.๒ แบบประเมินประสิทธิภำพนวัตกรรมส่ือกำรเรียนกำรสอน สว่ นที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไปของผู้ทำกำรประเมิน สว่ นที่ ๒ ประเมินประสิทธิภำพนวัตกรรมสื่อกำรเรียนกำรสอน “บันไดงูสังคม” สว่ นท่ี ๓ ข้อเสนอแนะเพ่ือกำรพัฒนำ ๓.๔ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยมีกำรใช้บททดสอบก่อน และหลัง กำรใช้นวัตกรรมสื่อกำรเรียนกำรสอน “บันไดงู สังคม” เพ่ือนำผลสัมฤทธ์ิ มำศกึ ษำเปรียบเทียบให้เห็นถึงประสิทธิภำพของนวัตกรรมส่ือกำรเรียนกำร สอน “บันไดงูสังคม” และใช้กำรแบบประเมินประสิทธิภำพนวัตกรรมสื่อกำรเรียนกำรสอน นำผลที่ ไดร้ บั ไปใช้ในกำรพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรเรียนกำรสอนให้ดีย่ิงขึ้นต่อไป ๓.๕ การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผ้ศู ึกษำดำเนินกำรเก็บข้อมลู ตำมขน้ั ตอน ดังนี้ ๑. กำรรวบรวมข้อมูลจำกกำรทำแบบทดก่อนและหลังกำรใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน “บันไดงู สงั คม” เพื่อหำประสิทธิภำพของนวัตกรรมสื่อกำรสอนจงึ จำเป็นที่จะต้องเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ๒. ทำกำรวิเครำะห์ข้อมูลจำกกำรรวบรวมข้อมูลจำกแบบประเมินประสิทธิภำพนวัตกรรมส่ือ กำรเรยี นกำรสอน เพอ่ื นำผลที่ได้รับไปใช้ในกำรพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรเรียนกำรสอนให้ดีย่ิงขึ้นต่อไป
๒๙ บทที่ ๔ ผลการวจิ ัย กำรนำเสนอผลกำรวจิ ัยเรื่อง กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงสู ังคม\" เพอื่ พัฒนำ ทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒ ผ้วู ิจัยไดน้ ำเสนอผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู และกำรวิเครำะห์ข้อมลู ตำมลำดับ ดังน้ี 4.1 สัญลกั ษณ์ที่ใชใ้ นกำรวิเครำะห์ข้อมูล 4.2 กำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้ เน้ือหำ ๒ เร่ือง คือ ๑. เร่ือง สิ่งตำ่ งๆ รอบตัวเรำ ๒. เร่ือง มนุษย์ กับสิ่งแวดล้อม 4.3 กำรวิเครำะห์แบบประเมินคุณภำพของเคร่ืองมือวิจัย โดยเก็บข้อมูลจำกกลุ่มตัวอยำ่ ง นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ จำนวน ๔๐ คน 4.1 สัญลักษณ์ท่ีใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ������̅ แทน คำ่ คะแนนเฉลี่ย N แทน จำนวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่ำง T แทน กำรทดสอบที (t-test) Sum (x) แทน คะแนนรวมควำมคิดเห็นของผู้เชยี่ วชำญ x แทน คะแนนจำนวนผู้เช่ียวชำญ ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนน
๓๐ 4.2 กำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน กำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน เรื่อง ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวเรำ และเรื่อง มนุษย์ กับ สิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/5 โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน โดยแสดง ค่ำเฉล่ียคะแนนท่ีได้จำกกำรทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน เรื่อง ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวเรำ และ เรื่อง มนุษย์ กับส่ิงแวดล้อม ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/5 โรงเรียนอรพนิ พิทยำ จังหวดั ลำพูน ทั้งก่อน และหลังเรียน และแสดงค่ำผลกำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน ของนักเรียนในกำร ทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ตำมลำดับรำยละเอียดดังตำรำงต่อไปนี้ ตารางท่ี ๑ แสดงค่ำเฉลี่ยคะแนนที่ได้จำกกำรทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน เร่ือง ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวเรำ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/5 โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ท้ังก่อน และ หลงั เรียน คนท่ี กอ่ นเรียน (๑๐ คะแนน) หลงั เรยี น (๑๐ คะแนน) ๑5 8 ๒7 10 ๓6 9 ๔7 10 ๕5 7 ๖2 7 ๗7 10 ๘2 7 ๙7 10 ๑๐ 7 10 ๑๑ 2 7 ๑๒ 7 10 ๑๓ 6 9 ๑๔ 6 9 ๑๕ 5 7 ๑๖ 6 9
๓๑ ๑๗ 7 10 ๑๘ 6 8 ๑๙ 7 10 ๒๐ 7 10 ๒๑ 6 9 ๒๒ 7 10 ๒๓ 7 10 ๒๔ 7 10 ๒๕ 4 8 ๒๖ 7 10 ๒๗ 2 7 ๒๘ 6 7 ๒๙ 6 9 ๓๐ 5 9 ๓๑ 7 9 ๓๒ 1 7 ๓๓ 1 7 ๓๔ 5 8 ๓๕ 5 8 ๓๖ 5 8 ๓๗ 6 9 ๓๘ 3 7 ๓๙ 7 10 ๔๐ 6 9 348 ∑ ������ 217 8.7 ���̅��� 5.4๓
๓๒ จากตารางท่ี ๑ แสดงว่ำค่ำเฉลี่ยคะแนนท่ีได้จำกกำรทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทำงกำร เรียนเร่ือง ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวเรำ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/5 โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัด ลำพนู พบวำ่ ค่ำเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ำกับ 5.4๓ คะแนน และคำ่ เฉลี่ยหลังเรียน เท่ำกับ 8.7 คะแนน ตารางที่ ๒ แสดงผลกำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนักเรียนในกำรทำแบบทดสอบก่อนและ หลงั เรียน การทดสอบ คะแนนเตม็ ���̅��� T กอ่ นเรียน ๑๐ 5.4๓ ๓.๒๗ หลังเรียน ๑๐ 8.7 จากตารางท่ี ๒ แสดงกำรเปรียบเทียบสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนเรื่อง สิ่งต่ำงๆ รอบตัวเรำ ของ นักเรยี นช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/5 โรงเรยี นอรพินพิทยำ จังหวดั ลำพนู ท้งั ก่อน และหลังเรียนโดยกำร ประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน “บันไดงูสังคม”พบวำ่ ควำมแตกตำ่ งกันของก่อนเรียนและหลังเรียน โดยมีค่ำเฉลี่ยควำมแตกต่ำงเท่ำกับ ๓.๒๗ คะแนน ก่อนเรียนค่ำเฉล่ียเท่ำกับ 5.4๓ คะแนน และ ค่ำเฉลีย่ หลังเรียน เทำ่ กบั 8.7 คะแนน ตารางท่ี ๓ กำรทดสอบกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรเรียนกำรสอน “บันไดงูสังคม”เรื่องท่ี ๒ แสดง ค่ำเฉลีย่ คะแนนที่ไดจ้ ำกกำรทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน เรื่อง เร่ือง มนษุ ย์ กับสง่ิ แวดล้อม ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/5 โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ทัง้ ก่อน และหลงั เรียน คนท่ี ก่อนเรียน (๑๐ คะแนน) หลงั เรยี น (๑๐ คะแนน) ๑3 9 ๒8 10 ๓6 9 ๔6 10 ๕5 8 ๖2 8 ๗6 10 ๘2 9 ๙6 9
๓๓ ๑๐ 6 10 ๑๑ 2 8 ๑๒ 6 9 ๑๓ 5 8 ๑๔ 5 9 ๑๕ 4 8 ๑๖ 5 9 ๑๗ 6 10 ๑๘ 5 8 ๑๙ 5 10 ๒๐ 7 10 ๒๑ 5 9 ๒๒ 6 9 ๒๓ 6 10 ๒๔ 6 10 ๒๕ 5 9 ๒๖ 6 10 ๒๗ 3 9 ๒๘ 5 8 ๒๙ 5 8 ๓๐ 6 10 ๓๑ 6 10 ๓๒ 3 8 ๓๓ 3 8 ๓๔ 4 8 ๓๕ 4 8 ๓๖ 4 8
๓๔ ๓๗ 5 10 ๓๘ 3 8 ๓๙ 6 10 ๔๐ 5 9 ∑ ������ 196 360 ���̅��� 4.9 9 จากตารางท่ี ๓ แสดงว่ำค่ำเฉลี่ยคะแนนท่ีได้จำกกำรทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำร เรียนเรื่อง เรื่อง มนุษย์ กับส่ิงแวดล้อม ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/5 โรงเรียนอรพินพิทยำ จงั หวัดลำพนู พบวำ่ คำ่ เฉลี่ยก่อนเรียนเทำ่ กับ 4.9 คะแนน และค่ำเฉลี่ยหลังเรียน เทำ่ กับ 9 คะแนน ตารางท่ี ๔ แสดงผลกำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนักเรียนในกำรทำแบบทดสอบก่อนและ หลังเรียน การทดสอบ คะแนนเตม็ ���̅��� T ก่อนเรียน ๑๐ 4.9 ๔.๑ หลังเรียน ๑๐ 9 จากตารางท่ี ๔ แสดงกำรเปรียบเทียบสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนเร่ือง มนุษย์ กับสิง่ แวดล้อม ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/5 โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพนู ทงั้ กอ่ น และหลังเรียนโดยกำร ประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน “บันไดงูสังคม”พบว่ำ ควำมแตกต่ำงกัน ของก่อนเรียนและหลัง เรียน โดยมีค่ำเฉล่ียควำมแตกต่ำงเท่ำกับ ๔.๑ คะแนน ก่อนเรียนค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.9 คะแนน และ คำ่ เฉล่ียหลังเรียน เทำ่ กบั 9 คะแนน
๓๕ 4.3 กำรวิเครำะห์แบบประเมินคณุ ภำพของเคร่ืองมือวิจัย โดยเก็บข้อมูลจำกกลุ่มตัวอยำ่ ง นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ จำนวน ๔๐ คน ตารางท่ี๕ ข้อมูลพื้นฐำนของผใู้ ห้ข้อมูล กลุ่มตัวอย่ำงนักเรียนชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๓/๕โรงเรียนอรพิน พิทยำ จังหวัดลำพูน จำนวน ๔๐ คน ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มูลพื้นฐานของผู้ให้ข้อมูล ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3/5 เลขที่ คานาหนา้ ช่ือ นามสกุล ๑ เด็กชำย วชิรวิทย์ สว่ำงอำรมณ์ ๒ เด็กหญิง บุญญำพร พมิ พอ์ ูป ๓ เด็กหญิง รญิ ญำภัทร์ ทวีจรัลรัตน์ ๔ เด็กชำย อชิรภัสญ์ กันทะอัศวะ ๕ เด็กชำย ณฐวัฒน์ เรือนทวี ๖ เด็กหญิง จิรัชญำ กำฬภักดี ๗ เด็กชำย อนุภัทร ทำมแก้ว ๘ เด็กชำย ภูวิวัฒน์ ณ ลำพนู ๙ เด็กหญิง สุภัทรำ แก้วล่ำมสัก ๑๐ เด็กชำย วัชรศักดิ์ กัณหะยูวะ ๑๑ เด็กหญิง วริษฐำ ไชยอุปละ ๑๒ เด็กชำย ภัทรพล สรุ ิยะวงค์ ๑๓ เด็กหญิง รัตตนำภรณ์ เดชเขตขัน ๑๔ เด็กหญิง เพ็ญพชิ ชำ แสงผึง้ ๑๕ เด็กชำย ณัฐชำนนท์ พยคั ฆส์ ัก ๑๖ เด็กหญิง เหมวดี นนั ตำกำศ ๑๗ เด็กหญิง ไอรดำ มำผำบ ๑๘ เด็กหญิง ผกำมำศ เตปิน ๑๙ เด็กชำย พชิ ญะ สอนแก้ว ๒๐ เด็กหญิง สิริญำดำ วงค์คม
๓๖ ๒๑ เด็กหญิง อรจิรำ เชื้อพงษ์พันธ์ ๒๒ เด็กหญิง จริยำพร ชยั วงผำบ ๒๓ เด็กชำย พชร มณีรัตน์ ๒๔ เด็กหญิง ฉัตรวลัย ยำสมุทร์ ๒๕ เด็กชำย วรำกร เวียงกระโทก ๒๖ เด็กชำย ณฐั ชนน ณ เชียงใหม่ ๒๗ เด็กชำย ธณวิน กำปัญญำ ๒๘ เด็กหญิง กุลปริยำ คำรินทำ ๒๙ เด็กหญิง ชญำนี หลอมทอง ๓๐ เด็กหญิง ฐิติภัทร์ ยะสุรินทร์ ๓๑ เด็กชำย ณวัฒน์ ตำวงค์ ๓๒ เด็กชำย ศภุ ฤกษ์ ศรีวิชัย ๓๓ เด็กหญิง พิมพพ์ ิศำ เรือทะมิน ๓๔ เด็กชำย พชร ปันเจริญ ๓๕ เด็กชำย อริยทรัพย์ ณัฐภัทรวรำนนท์ ๓๖ เด็กชำย อลังกำร เสนำธรรม ๓๗ เด็กชำย กุลภัสสร์ กล่ำเจริญ ๓๘ เด็กชำย ๓๙ เด็กหญิง ธนภัทร กำญจนพรหม ๔๐ เด็กหญิง สจุ รรย์จุฑำ ถำวรวัฒน์ ญำณิสำ แสงมณี ส่วนที่ ๒ แบบประเมินคุณภาพวิจัยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมสือ่ การสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนา ทกั ษะการเรยี นรู้ ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓/๕ โรงเรยี นอรพนิ พทิ ยา จงั หวัดลาพูน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ วเิ ครำะห์ข้อมูล จำกแบบสอบถำม เพ่ือหำคำ่ คะแนนรวม หรอื กำรหำค่ำเฉลี่ย คณุ ภำพวิจยั กำรประยุกตใ์ ช้ นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรยี นรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๓/๕ โรงเรยี น อรพนิ พทิ ยำ จงั หวัดลำพนู ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ นำแบบสอบถำมท่ีลงรหสั แล้วให้คะแนนแต่ละข้อ จำแนกรำยข้อใน แบบสอบถำมระดับ ดังน้ี ระดับมำกทส่ี ุด ใหม้ ีคำ่ คะแนนเปน็ 5 ระดับมำก ให้มีคำ่ คะแนนเป็น 4 ระดบั ปำนกลำง ให้มีค่ำคะแนนเปน็ 3
๓๗ ระดบั น้อย ใหม้ คี ำ่ คะแนนเปน็ 2 ระดบั นอ้ ยที่สุด ใหม้ คี ่ำคะแนนเป็น 1 นำแบบสอบถำมทีล่ งคะแนนเรียบร้อยแล้วไปประมวลข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเรจ็ รูป พร้อม กำหนดเกณฑก์ ำรใหค้ ่ำเฉลีย่ ดังนี้ คะแนนเฉล่ยี 4.51 – 5.00 หมำยถึง ระดับคุณภำพในระดบั มำกทส่ี ุด คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมำยถงึ ระดับคุณภำพในระดบั มำก คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมำยถงึ ระดบั คุณภำพในระดับปำนกลำง คะแนนเฉล่ีย 1.51 – 2.50 หมำยถึง ระดบั คณุ ภำพในระดบั นอ้ ย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมำยถงึ ระดับคุณภำพในระดับน้อยทีส่ ดุ 21 ตารางที่ ๖ คำ่ เฉลี่ย(������̅) และค่ำเบ่ียงเบนมำตรฐำน(SD.) ของผลกำรประเมินคุณภำพวจิ ัยกำรประยุกต์ใช้ นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรยี นอรพินพิทยำ จงั หวดั ลำพูน ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ข้อ เร่อื ง ���̅��� SD. ระดบั คณุ ภาพ ๑ รูปแบบของส่ือกำรเรียนรู้ “บันไดงูสังคม 4.7 0.46 ดีมำก social snake ladder” ๒ ควำมรู้ท่ีได้รับจำกสื่อกำรเรียนรู้ “บนั ไดงู 4.8 0.41 ดีมำก สังคม social snake ladder” ๓ กำรเช่ือมโยง ในบทเรียนทำไดง้ ่ำยตรงตำม 4.4 0.5 ดี ควำมต้องกำร เน้ือหำมีควำมกะทัดรัด ชัดเจน ง่ำยต่อกำรทำ ๔ ควำมเขำ้ ใจ เช่ือมโยงควำมรู้เดิมกับควำมรู้ 5 0 ดีมำก ใหม่ มีควำมหนำ้ สนใจ ๕ เนื้อหำ และแบบทดสอบกระตุ้นให้เรียนรู้ด้วย 5 0 ดีมำก ตนเอง รวม 4.78 0.25 ดีมาก จากตารางที่ ๖ แสดงให้เห็นว่ำผลกำรประเมินคุณภำพวิจัยกำรประยุกต์ใช้ นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จงั หวัดลำพูน ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ อย่ใู นระดับคุณภำพที่ ดมี ำก(������̅=๔.๗๘, SD.=๐.๒๕) เมื่อวิเครำะห์เป็นรำยข้อ โดยเรียงลำดับค่ำเฉล่ียจำกมำกท่ีสุด และรองลงมำ ผลกำร ประเมินคุณภำพวจิ ัยกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บนั ไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ คือ เนื้อหำมีควำมกะทัดรัด ชัดเจน ง่ำยต่อกำรทำควำมเข้ำใจ เช่อื มโยงควำมรู้เดิมกับควำมรู้ใหม่ มีควำม 21 บุญชม ศรีสะอำด 2545:121 พมิ พ์ครัง้ ท่ี 8,สืบค้นเม่อื วนั ที่ ๒๐ มกรำคม ๒๕๖๓.
๓๘ หน้ำสนใจ, เน้ือหำ และแบบทดสอบกระตุ้นให้เรียนรู้ด้วยตนเอง รองลงมำคือ ควำมรู้ที่ได้รับจำกส่ือ กำรเรียนรู้ “บันไดงูสังคม social snake ladder”, รูปแบบของสื่อกำรเรียนรู้ “บันไดงูสังคม social snake ladder” และกำรเช่ือมโยง ในบทเรียนทำได้ง่ำยตรงตำมควำมต้องกำ ส่วนท่ี ๓ ข้อเสนอแนะเพ่ือนาไปพัฒนาส่ือการเรียนรู้ “บันไดงูสังคม social snake ladder” เน่ืองจำกเป็นกำรทำกิจกรรมนอกห้องเรียนจึงมีเสียงรบกวนจำกสิ่งแวดล้อมรอบข้ำง กำร พูดคุยและระเบียบในกำรทำกิจกรรมท่ีควรจะจัดให้เปน็ ระบบ สรุป ผลกำรประเมินคุณภำพวิจัยกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อ พฒั นำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จงั หวัดลำพูน ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๒ อยู่ในระดับคุณภำพที่ ดีมำก(������̅=๔.๗๘,SD.=๐.๒๕) มีข้อเสนอแนะท่ีต้องนำไป พัฒนำในกำรประยุกต์ใช้ส่ือกำรเรียนรู้ “บันไดงูสังคม social snake ladder”คือ เน่ืองจำกเป็นกำร ทำกิจกรรมนอกห้องเรียนจึงมีเสียงรบกวนจำกสิ่งแวดล้อมรอบข้ำง กำรพูดคุยและระเบียบในกำรทำ กจิ กรรมท่ีควรจะจัดให้เป็นระบบ ท่สี ำมำรถปรับปรงุ ได้จงึ อยู่ในระดับคุณภำพท่ีนำ่ พงึ พอใจ ลงช่ือ ผ้วู ิเครำะหผ์ ลกำรประเมิน พระ นัทธพงค์ ปันนะสัก
๓๙ บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ กำรวจิ ัยครั้งน้ีเป็นกำรวิจัยเชิงปฏิบัติกำร โดยกำรศึกษำกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพิน พิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำประสิทธิภำพกำรประยุกต์ใช้ นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน และเพื่อหำแนวทำงกำรพัฒนำนวัตกรรม สอื่ กำรสอน \"บนั ไดงูสงั คม social snake ladder \" เพ่ือพัฒนำทกั ษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำ ปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ โดยกำรเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธี กำรศกึ ษำผลสำฤทธ์ิเพื่อเปรียบเทียบผลก่อน และหลังของกำรใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน\"บันไดงูสังคม\" และกำรประเมินคุณภำพของกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะ กำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ โดยมกี ำรสรุปผลกำรวิจัยออกมำได้ดังน้ี 5.1 สรปุ ผลกำรวิจัย 5.2 กำรอภิปลำยผลกำรวจิ ัย 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการวิจัย 5.1.1. ตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี ๑ เพ่อื ศึกษาประสทิ ธิภาพการประยกุ ต์ใชน้ วัตกรรมส่ือการ สอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพนิ พทิ ยา จงั หวดั ลาพูน จำกกำรวิจัยพบว่ำ ผลกำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักเรียนในกำร ทำแบบทดสอบก่อน และหลังเรียน ทั้ง ๒ หน่วยทั้งในหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๘ เรอื่ ง สิง่ ตำ่ งๆ รอบตัวเรำ และหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๙ เรื่อง มนุษย์ กับส่ิงแวดล้อม โดยกำรกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน พบว่ำผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของกำรทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้สื่อกำรสอน \"บนั ไดงูสังคม social snake ladder \" ในหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๘ เรื่อง ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวเรำที่มีควำมแตกต่ำงกัน เท่ำกับ ๓.๒๗ คะแนน ก่อนเรียนค่ำเฉล่ียเท่ำกับ 5.4๓ คะแนน และคำ่ เฉลี่ยหลังเรียน เทำ่ กับ 8.7 คะแนน และหลังจำกกำรนำข้อเสนอแนะในกำรประเมิน คุณภำพนวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" มำปรับปรุง และทำลองใช้สื่อ
๔๐ อกี ครัง้ ในรูปแบบเดิม ซึ่งทำให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของกำรทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน ในคร้ังท่ี๒ โดยใช้สื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" ในหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี๙ เรื่อง มนุษย์ กับสิง่ แวดล้อม ที่มคี วำมแตกต่ำงกัน ของก่อนเรียน และหลังเรียน โดยมีค่ำเฉลี่ยควำมแตกต่ำง เท่ำกับ ๔.๑ คะแนน ก่อนเรียนค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.9 คะแนน และคำ่ เฉลี่ยหลังเรียน เท่ำกับ 9 คะแนน จึงแสดงให้เห็นว่ำนวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" สำมำรถใช้ในกำร พัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จงั หวัดลำพูน ได้ จริง 5.1.2 ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ เพื่อหาแนวทางการพัฒนานวัตกรรมสื่อการสอน \"บันได งสู ังคม social snake ladder” เพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓/ ๕ โรงเรยี นอรพินพทิ ยา จงั หวดั ลาพนู ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ คุณภำพของกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะกำร เรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรยี นอรพินพิทยำ จังหวดั ลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ได้ทำกำรประเมินคุณภำพของส่ือนวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder” กำร สำรวจควำมพึงพอใจ และข้อเสนอแนะจำกนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ โดยกำรใช้แบบประเมินคุณภำพของส่ือนวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บนั ไดงูสังคม social snake ladder”พบว่ำผลกำรประเมินคุณภำพวิจัยกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อ กำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพอื่ พัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียน อรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ อยู่ในระดับคุณภำพที่ ดีมำก(������̅=๔.๗๘,SD.=๐.๒๕) เม่ือวิเครำะห์เป็นรำยข้อ โดยเรียงลำดับค่ำเฉล่ียจำกมำกท่ีสุด และรองลงมำ ผลกำรประเมินคุณภำพ วจิ ยั กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บนั ไดงูสังคม\" เพือ่ พัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนกั เรียนชั้น ประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ คือ เน้ือหำมีควำม กะทัดรัด ชัดเจน ง่ำยต่อกำรทำควำมเข้ำใจ เชื่อมโยงควำมรู้เดิมกับควำมรู้ใหม่ มีควำมหน้ำสนใจ, เนื้อหำ และแบบทดสอบกระตุ้นให้เรียนรู้ด้วยตนเอง รองลงมำคือ ควำมรู้ท่ีได้รับจำกสื่อกำรเรียนรู้ “บันไดงูสังคม social snake ladder”, รูปแบบของสื่อกำรเรียนรู้ “บันไดงูสังคม social snake ladder” และกำรเช่ือมโยง ในบทเรียนทำได้ง่ำยตรงตำมควำมต้องกำรโดยมีข้อเสนอแนะที่จะต้อง นำไปพัฒนำคือ เน่ืองจำกเป็นกำรทำกิจกรรมนอกห้องเรียนจึงมีเสียงรบกวนจำกสิ่งแวดล้อมรอบข้ำง กำรพูดคุย และระเบียบในกำรทำกิจกรรมที่ควรจะจัดให้เป็นระบบ จึงมีกำรแก้ไข และดำเนินกำร อย่ำงเป็นระบบมำกขึ้น 5.2 อภปิ รายผลการวจิ ยั กำรวิจัยเร่ือง กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพ่ือพัฒนำทักษะกำร เรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรยี นอรพินพิทยำ จงั หวดั ลำพูน ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ อภปิ รำยผลได้ ดงั น้ี 1) จำกผลกำรวิจัย กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บนั ไดงูสังคม\" เพือ่ พัฒนำ ทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปี
๔๑ กำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ผลกำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักเรียนในกำรทำแบบทดสอบก่อน และหลังเรียน ทั้ง ๒ หน่วยท้ังในหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๘ เรื่อง ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวเรำและหน่วยกำรเรียนรู้ ท่ี ๙ เรื่อง มนุษย์ กบั สิง่ แวดล้อม โดยกำรกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บนั ไดงูสังคม social snake ladder \" เพ่ือพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพิน พิทยำ จังหวัดลำพูน ในหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๘ เร่ือง สิ่งต่ำงๆ รอบตัวเรำท่ีมีควำมแตกต่ำงกัน เท่ำกับ ๓.๒๗ คะแนน และในหนว่ ยกำรเรียนรู้ที่๙ เรอ่ื ง มนษุ ย์ กบั สิ่งแวดล้อม ทม่ี ีควำมแตกต่ำงกัน ของก่อน เรยี น และหลังเรียน โดยมีค่ำเฉลี่ยควำมแตกต่ำงเท่ำกับ ๔.๑ คะแนน จงึ แสดงให้เห็นว่ำนวัตกรรมส่ือ กำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder \" สำมำรถใช้ในกำรพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของ นกั เรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรยี นอรพินพิทยำ จังหวัดลำพนู ไดจ้ ริง 2) จำกผลกำรวิจัย กำรประยุกต์ใช้นวัตกรรมสื่อกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะ กำรเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพินพิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ จำกกำรประเมินคุณภำพของส่ือนวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder” กำรสำรวจควำมพึงพอใจ และข้อเสนอแนะจำกนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓/๕ โรงเรียนอรพิน พิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ โดยกำรใช้แบบประเมินคุณภำพของสื่อนวัตกรรมส่ือกำร สอน \"บันไดงูสังคม social snake ladder”พบว่ำผลกำรประเมินคุณภำพวิจัยกำรประยุกต์ใช้ นวัตกรรมส่ือกำรสอน \"บันไดงูสังคม\" เพื่อพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓/๕ โรงเรียนอรพนิ พิทยำ จังหวัดลำพูน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ อยู่ในระดับคุณภำพท่ี ดมี ำก(������̅=๔.๗๘, SD.=๐.๒๕)โดยมีข้อเสนอแนะท่ีจะต้องนำไปพัฒนำคือ เน่อื งจำกเป็นกำรทำกจิ กรรมนอกห้องเรียนจึง มีเสียงรบกวนจำกสิ่งแวดล้อมรอบข้ำง กำรพูดคุย และระเบียบในกำรทำกิจกรรมท่ีควรจะจัดให้เป็น ระบบ จงึ มีกำรแก้ไข และดำเนินกำรอย่ำงเป็นระบบมำกขึ้น ดังงำนวิจัยท่ีเก่ียวข้องดังนี้ รองศำสตรำจำรย์ พรทิพย์ ไชยโส ได้ทำกำรวิจัยเร่ืองกำรพัฒนำ นวัตกรรมกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้ำนกำรประเมินกำรเรียนรู้ของนิสิตครูเพ่ือ กำรเรยี นรู้ของผู้เรียนDevelopment of Innovation in Teaching and Learning for Supporting Student Teachers‘ Assessment Competency for Learners’ Developmentผลกำรวจิ ยั พบว่ำ นวัตกรรมกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีพัฒนำข้ึนเป็นรูปแบบกำรเรียนกำรสอนที่เน้นกระบวนกำรคิด มี ขั้นตอนในกำรจัดกิจกรรม 5 ข้ันคือข้ันกระตุ้นควำมสนใจ ข้ันกำรสืบเสำะหำคำตอบ ขั้นกำรสรุปผล ขั้นกำรขยำยควำมรู้ และข้ันกำรประเมินผล เรียกว่ำ ชื่อว่ำ 3S2E Model นำเสนอนวัตกรรมใน ลักษณะของเอกสำรคู่มือสำหรับอำจำรย์และเอกสำรกำรเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษำครู โดยจัดลำดับ โครงสร้ำงจัดเป็นหน่วยกำรเรียน 9 หน่วย ใช้เวลำในกำรสอนและทำกิจกรรมแต่ละหน่วยประมำณ 3 ชัว่ โมง ผลกำรนำนวัตกรรมไปใชพ้ บว่ำนิสิตนักศึกษำมำกกว่ำร้อยละ 50 มีสมรรถนะด้ำนกำรประเมิน อยู่ในระดับดีมำก และมีจำนวนนิสิตนักศึกษำมำกกว่ำร้อยละ 90 ที่ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60 ท้ังน้ีมี สมรรถนะด้ำนกำรประเมินที่นิสิตนักศึกษำครูได้รับกำรพัฒนำ 9 สมรรถนะ ประกอบด้วย 1) สมรรถนะในกำรกำหนดวัตถุประสงค์ในกำรประเมินและส่ิงที่ประเมิน 2)สมรรถนะในกำรให้ผล ยอ้ นกลับกับผู้เรียน 3) สมรรถนะในกำรสรำ้ งและใช้เครื่องมือในกำรประเมินกำรเรียนรู้ของผู้เรียน 4) สมรรถนะในกำรให้คะแนนและแปลควำมหมำยคะแนน 5) สมรรถนะในกำรออกแบบกำรประเมิน
๔๒ สภำพจริง 6) สมรรถนะในกำรตรวจสอบและวิเครำะห์คุณภำพเคร่ืองมือประเมิน 7) สมรรถนะในกำร ให้ระดับคะแนนและกำรำยงำนผลกำรเรียนรู้ของผู้เรียน 8) สมรรถนะในกำรใช้ผลกำรประเมินเพื่อ ปรับปรุงกำรเรียนรู้ของผู้เรียนและกำรสอนของครู 9) สมรรถนะในกำรจัดทำโครงกำรในกำรออกแบบ กำรประเมินกำรเรียนรู้ อำจำรย์ที่ใช้นวัตกรรมที่พัฒนำข้ึนส่วนใหญ่มีควำมเห็นว่ำคู่มือและกิจกรรมมี ควำมเหมำะสมอยู่ในระดับมำก นิสิตนักศึกษำท่ีเรียนรำยงำนว่ำได้เรียนรู้ตำมบทเรียนที่เรียนและ ตระหนักว่ำสมรรถนะด้ำนกำรประเมินเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับครูท่ีจะนำไปใช้ในกำรสอนเพื่อพัฒนำ ผู้เรยี นต่อไป22 และยังสอดคล้องกับ อ.ผะอบ พวงนอ้ ย, อ.ป่ินรัตน์ นวชำตธำรง, อ.สมชำติ เลิกบำงพลัด, อ. ปิยธิดำ คนเก่งได้ทำกำรวิจัยเร่ืองกำรพัฒนำนวัตกรรมกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษด้วยระบบเทคโนโลยี สำรสนเทศ เพื่อพัฒนำทักษะและสมรรถนะกำรใช้ภำษำอังกฤษในระดับอุดมศึกษำ กำรวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพ่ือวิจัยและพัฒนำนวัตกรรมกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษด้วยระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ เพ่ือพัฒนำทักษะและสมรรถนะกำรใช้ภำษำอังกฤษในระดับอุดมศึกษำ และเพื่อถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ ใหม่ให้แก่กำลังคนของประเทศท่ีสนใจจำนวน 60 คน ด้วยกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนเชิงปฏิบัติกำร เพื่อปลูกฝังกระบวนกำรศึกษำเรียนรู้ กำรนำนวัตกรรมเทคโนโลยีสำรสนเทศ กำรจัดกำรควำมรู้และ กำรจัดประสบกำรณ์ในกำรเสริมสร้ำงนิสัยกำรเรียนรู้เพ่ือกำรพัฒนำทักษะและสมรรถนะในกำรใช้ ภำษำอังกฤษมำใช้ร่วมกันอย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยมีหัวข้อสำคัญ 2 สว่ นคอื สว่ นกำรฟัง ซงึ่ มีเนื้อหำ ย่อย 4 ส่วน คอื รูปภำพ ถำม – ตอบ บทสนทนำ บทพูดคยุ สั้นๆ และส่วนกำรอ่ำน ซ่งึ มเี นือ้ หำย่อย 3 สว่ น คอื เติมประโยคให้สมบูรณ์ เติมข้อควำมในเน้ือเร่ืองใหส้ มบูรณ์ และกำรอ่ำนเพื่อจับใจควำม คณะผูว้ จิ ัยได้นำหลักสูตรและชุดกำรศึกษำเรียนรู้ไปทดลองใช้เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่ม ตวั อยำ่ งจำนวน 2 กลมุ่ ๆ ละ 31 คนและ 29 คน รวมทั้งส้ิน 60 คน กลมุ่ ตัวอย่ำงในกำรวิจัยครั้งนี้ เลือกแบบเจำะจง (Purposive Sampling) ตำมคุณสมบัติผู้เข้ำรับกำรศึกษำเรียนรู้ท่ีกำหนดไว้ใน หลักสูตร คระผู้วิจัยใช้แผนกำรทดลองแบบ One – Group Pretest – Posttest Design ก่อนเร่ิม กำรศกึ ษำเรียนรู้ คณะผวู้ จิ ัยให้ผู้เข้ำรับกำรศึกษำเรียนรู้ทำกำรทดสอบก่อนกำรศึกษำเรียนรู้ (Pretest) หลังจำกนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มำคำนวณหำประสิทธิภำพของหลักสูตรและชุดกำรศึกษำเรียนรู้ที่ คณะผู้วิจัยพัฒนำข้ึน เพื่อใช้ในกำรศึกษำเรียนรู้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพเท่ำกับ 85.70 / 80.05 ซ่ึง สูงกว่ำเกณฑ์ 80 / 80 ตำมสมมติฐำนท่ีตั้งไว้ และผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ก่อนและหลังกำรศึกษำ เรียนร้มู ีควำมแตกต่ำงกันท่ีระดับควำมมนี ัยสำคัญ ๐.0123 22 กำรวิจยั เรื่องกำรพฒั นำนวตั กรรมกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่อื ส่งเสริมสมรรถนะดำ้ นกำรประเมิน กำรเรียนรู้ของนิสิตครูเพ่ือกำรเรียนรู้ของผู้เรียน, รองศำสตรำจำรย์ พรทิพย์ ไชยโส, สืบค้นเมื่อวันท่ี๒๐ มกรำคม ๒๕๖๓ 23 กำรวิจัยเร่ืองกำรพัฒนำนวัตกรรมกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษด้วยระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ เพ่ือ พัฒนำทักษะและสมรรถนะกำรใช้ภำษำอังกฤษในระดับอุดมศึกษำ, อ.ผะอบ พวงน้อย, อ.ปิ่นรัตน์ นวชำตธำรง, อ. สมชำติ เลิกบำงพลัด, อ.ปยิ ธิดำ คนเกง่ , สืบค้นเมอ่ื วันท่ี๒๐ มกรำคม ๒๕๖๓
๔๓ 5.3 ข้อเสนอแนะ จำกผลกำรวิจัยครงั้ นี้ ซง่ึ มขี อ้ เสนอแนะท่ีควรปรับปรงุ จำกผลกำรวจิ ัย 5.3.1 ควรนำไปพัฒนำให้เขำ้ ไปสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ 5.3.2 ควรมีกำรวำงแผนอย่ำงเป็นระบบ มีควำมคิดที่หลำกหลำยในกำรออกแบบ และ ทันสมยั เหมำะกับนักเรียน เพอ่ื ให้นกั เรียนเกิดควำมสนใจ และอยำกเรียนมำกขึ้น 5.3.3 ควรมีกำรนำผลกำรวิจัย เรื่อง กำรใช้หลักอิทธิบำท ๔ พัฒนำควำมรับผิดชอบของ นิสิตมหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำลัยสงฆ์ลำพูน คณะครุศำสตร์ ชั้นปีที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๑ มำประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดเป็นรูปธรรมมำกยิ่งข้นึ
Search