Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PA ผู้บริหารสถานศึกษา 65

PA ผู้บริหารสถานศึกษา 65

Published by acksri9999, 2022-06-16 14:23:28

Description: PA ผู้บริหารสถานศึกษา 65

Search

Read the Text Version

ห น้ า | 1 ข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรบั ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | ก บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านแสลงพันกระเจา สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบรุ รี มั ย์ เขต 2 ที่ 36 /2564 วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2564 เร่อื ง ข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรบั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผบู้ ริหาร สถานศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565 เรยี น ผ้อู านวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรรี ัมย์ เขต 2 ตามท่สี านักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาบรุ รี ัมย์ เขต 2 ได้กาหนดใหส้ ถานศึกษาจดั ทาข้อตกลง ในการพัฒนางาน (PA) สาหรบั ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผ้บู ริหารสถานศึกษา ประจาปี งบประมาณ 2565 ระหวา่ งวันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ท่ี 30 กันยายน พ.ศ.2565 น้นั บดั นี้ โรงเรียนบ้านแสลงพนั กระเจา สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาบรุ ีรัมย์ เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ไดด้ าเนินการเรยี บรอ้ ยแลว้ จงึ แนบเอกสาร ท่ีเก่ียวข้องมาพรอ้ มหนงั สอื นี้ จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและดาเนนิ การลงนาม (นางสุพรรณี ยวนจติ ปิยะ) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านแสลงพนั กระเจา ความเห็นของผบู้ ังคับบัญชา ....................................................................................................................................... ..................................... ................................................................................................. ............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. (นายณัฐนนท์ วิทยาประโคน) ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาบรุ รี ัมย์ เขต 2 ............./..................................../.................. ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรบั ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | ข คำนำ สานกั งาน ก.ค.ศ. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดหลักเกณฑ์ และวธิ ีการ ประเมินและวทิ ยฐานะขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตาแหน่งผบู้ ริหารการศึกษา ใหข้ า้ ราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา จดั ทาข้อตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement : PA) ตามแบบ ที่ ก.ค.ศ. กาหนด (แบบ PA 1/บส.) ทุกปีงบประมาณเสนอตอ่ ผูบ้ ังคบั บัญชา เพื่อพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ โดย หลักเกณฑ์และวธิ ีการดังกลา่ วใหม้ ผี ลบังคับใชต้ ั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2564 นั้น ข้าพเจา้ นางสุพรรณี ยวนจติ ปยิ ะ ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นแสลงพันกระเจา ไดจ้ ดั ทาบันทกึ การพฒั นางานตามองคป์ ระกอบของข้อตกลงในการพัฒนางาน ประกอบไปด้วย 2 สว่ น ดงั นี้ สว่ นที่ 1. ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหน่ง ไดแ้ ก่ 1) การปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตาแหนง่ ผ้บู รหิ ารการศกึ ษา และมีภาระงานตาม ก.ค.ศ. กาหนด 2) ผลการปฏบิ ัตงิ าน ด้านการบริหารและความเปน็ ผ้นู า การพัฒนาการศึกษา ด้านการบรหิ ารจัดการและพฒั นาองค์กร ด้านการบริหารการเปลย่ี นแปลงเชงิ กลยุทธ์และ นวัตกรรมและดา้ นการบรหิ ารงานชมุ ชนและเครือขา่ ย ส่วนที่ 2. ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานทเ่ี ป็นประเดน็ ทา้ ทาย ในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ครู และสถานศึกษา ระดับการปฏบิ ัติท่ีคาดหวงั ของวิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ คือ การริเร่มิ พฒั นา ในหวั ข้อประเด็นท้าทายเร่ือง “การส่งเสริมทักษะอาชพี เกษตรย่ังยนื สาหรบั นกั เรียน ผ่าน กระบวนการเรียนรู้ Active Learning โรงเรยี นบ้านแสลงพันกระเจา” ประกอบไปดว้ ย 1) สภาพปญั หาการ บริหารจัดการสถานศึกษาและคณุ ภาพการศึกษา ของสถานศึกษา 2) วิธีการดาเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล และ 3) ผลลัพธ์ในการพฒั นาทค่ี าดหวงั แยกเป็นเชิงปรมิ าณ และเชงิ คุณภาพ ขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง และให้ความรว่ มมือในการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนา งาน (Performance Agreement : PA) ข้าพเจา้ หวังเปน็ อย่างยงิ่ วา่ รายงานน้ีจะเปน็ ประโยชน์อยา่ งยงิ่ ต่อ คณะกรรมการการประเมินและผ้ทู เี่ กย่ี วข้องต่อไป สุพรรณี ยวนจิตปิยะ ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

สำรบญั ห น้ า | ค เรือ่ ง หน้ำ ก บนั ทกึ ข้อความ ข คานา ค สารบญั 1 ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหน่ง 1 3 1) ภาระงาน 8 2) งานทจ่ี ะปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา 8 ส่วนท่ี 2 ข้อตกลงในการพฒั นางานทีเ่ ป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น 8 ครู และสถานศกึ ษา 10 12 ประเดน็ ทา้ ทาย เรื่อง “การส่งเสรมิ ทกั ษะอาชพี เกษตรยงั่ ยนื สาหรบั นักเรยี น 12 ผ่านกระบวนการเรียนรู้ Active Learning โรงเรียนบา้ นแสลงพันกระเจา” 12 1. สภาพปญั หาการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 2. วธิ ีการดาเนินการให้บรรลุผล 3. ผลลพั ธ์ในการพัฒนาที่คาดหวัง 3.1 เชิงปรมิ าณ 3.2 เชงิ คุณภาพ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรบั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 1 PA 1/บส ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรับข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ (ทุกสังกดั ) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหวา่ งวันท่ี 1 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วันท่ี 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2565 ผ้จู ดั ทาข้อตกลง ชื่อ นำงสุพรรณี นามสกลุ ยวนจิตปยิ ะ ตาแหน่ง ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา วิทยฐานะ ผ้อู านวยการชานาญการพเิ ศษ สถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นแสลงพนั กระเจา สังกัด สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาบรุ รี มั ย์ เขต 2 รบั เงนิ เดือนในอันดับ คศ. 3 อัตราเงินเดือน 40,690 บาท ประเภทของสถานศกึ ษา  สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน  ระดบั ปฐมวัย  ระดับประถมศึกษา  ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น  ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย  การจัดการศกึ ษาพิเศษ (ไมม่ รี ะดบั ชัน้ )  สถานศึกษาที่จดั การศึกษาอาชีวศึกษา  ประกาศนยั บตั รวิชาชีพ  ประกาศนยั บตั รวิชาชีพช้นั สงู  การฝกึ อบรมวิชาชีพตามหลักสตู รวิชาชพี ระยะสัน้  สถานศกึ ษาทีจ่ ดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั  การจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน  การจดั การศึกษานอกระบบตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ  การจัดการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ขา้ พเจ้าขอแสดงเจตจานงในการจดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตาแหน่ง ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา วิทยฐานะ ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ ซ่งึ เป็นตาแหนง่ ท่ีดารงอยู่ในปัจจุบนั กับผบู้ ังคับบัญชา ไวด้ งั ตอ่ ไปนี้ ส่วนท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหนง่ 1. ภาระงาน จะมีภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นาทางวิชาการ ด้านการ บริหารจัดการสถานศึกษา ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชงิ กลยทุ ธ์นวัตกรรม ด้านการบริหารงานชุมชนและ เครอื ขา่ ย และดา้ นการพฒั นาตนเองและวิชาชพี เปน็ ไปตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด  เต็มเวลา  ไมเ่ ตม็ เวลา เน่ืองจาก ..................................................................................................... ข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรบั ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 2 โดยภาระงานด้านการบริหารวชิ าการและความเป็นผู้นาทางวิชาการ จะมีการปฏบิ ตั กิ ารสอน ไมต่ ่ากว่า 5 ชว่ั โมง/สัปดาห์ (ตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศึกษา ไมต่ า่ กวา่ 5 ชวั่ โมง/สัปดาห์ และ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ไมต่ ่ากว่า 10 ชว่ั โมง/สปั ดาห)์ โดยมีการปฏิบตั ิการสอน/การจัดกจิ กรรมการเรยี น การสอนในสถานศกึ ษา อย่างใดอย่างหน่งึ หรือหลายอย่าง ดังนี้  ปฏบิ ัติการสอนประจาวชิ า จานวน ................ชั่วโมง/สปั ดาห์  ปฏิบัตกิ ารสอนรว่ มกบั ครปู ระจาช้ัน/ประจาวชิ า จานวน ................ ชัว่ โมง/สัปดาห์  สังเกตการสอน และสะท้อนผลการสอนรว่ มกับครใู นกิจกรรมเปิดชน้ั เรยี น จานวน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์  เปน็ ผูน้ ากจิ กรรมแลกเปล่ียนเรยี นรใู้ นชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ของโรงเรยี น จานวน 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์  นเิ ทศการสอนเพื่อเป็นพีเ่ ล้ียงการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้กบั ครู จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์  จดั กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ และอบรมบ่มนสิ ยั ผูเ้ รียน จานวน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 3 2. งานทจ่ี ะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งผบู้ ริหารสถานศึกษา (ให้ระบุรายละเอียดของงาน ท่ีจะปฏบิ ัติในแตล่ ะด้านวา่ จะดาเนนิ การอย่างไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาทใี่ ช้ในการดาเนินการดว้ ยก็ได้) ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ดั (Indicators) ตามมาตรฐานตาแหน่ง ทจี่ ะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดข้ึนกับผเู้ รียน ครู ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังให้เกดิ ข้ึน 1. ด้านการบริหารวชิ าการและความ กับผู้เรยี น ครู และ และสถานศึกษา เปน็ ผ้นู าทางวิชาการ การประเมนิ ท่ีแสดงให้เหน็ ถึงการ (โปรดระบุ) สถานศกึ ษา เปล่ยี นแปลงไปในทาง ลักษณะงานท่ีเสนอให้ครอบคลุมถึง (โปรดระบุ) ท่ดี ขี นึ้ หรอื มีการพัฒนา การวางแผนพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ โรงเรียนบา้ นแสลงพัน มากข้ึนหรือผลสัมฤทธ์ิ ของผู้เรยี น การจัดทา และพัฒนา กระเจา โรงเรยี นบา้ นแสลงพนั สูงข้ึน (โปรดระบ)ุ หลกั สตู รสถานศกึ ษา การพัฒนา  จัดทาแผนพัฒนา กระเจา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี น คุณภาพการศึกษาของ  มแี ผนพัฒนาคุณภาพ ผลทเ่ี กดิ กบั ผเู้ รยี น เปน็ สาคญั และการปฏิบตั ิการสอน สถานศึกษา การศึกษา ทส่ี ามารถ  รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ รยี น การสง่ เสรมิ สนับสนนุ การพัฒนา หรือ พฒั นาสถานศึกษาได้ มีสมรรถนะ และ การนาสือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยี  จดั ทาแผนปฏิบตั ิการ อยา่ งมีประสิทธิภาพ คณุ ลักษณะอันพงึ ทางการศกึ ษา มาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ ประจาปกี ารศึกษา และพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง ประสงค์ การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมินผล ผลทเ่ี กดิ กับบุคลากร การจัดการเรยี นรู้ของครใู นสถานศึกษา  ปรับปรุง พัฒนา  มแี ผนปฏิบตั ิการ  ร้อยละ 80 ของครู และมกี ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษา หลกั สูตรสถานศึกษา ทคี่ รอบคลมุ การพัฒนา และบคุ ลากร มีความ ภายในสถานศึกษา การศกึ ษา วเิ คราะห์ กระบวนการจดั การ ตระหนกั และปฏิบตั ิ หรอื วจิ ัย เพ่ือแกป้ ญั หา และพฒั นาการ เรยี นรู้ ส่งเสรมิ หน้าท่ี เพอ่ื การพฒั นา จดั การเรียนรเู้ พื่อยกระดับคุณภาพ สนับสนนุ การใชส้ ่ือ คณุ ภาพผเู้ รียนอย่าง การศึกษาของสถานศกึ ษา นวัตกรรม การนเิ ทศ ต่อเนือ่ ง ภายใน การประกัน ผลทเ่ี กดิ กบั สถานศกึ ษา คุณภาพ วิจัยในชน้ั เรียน  ร้อยละ 80 ของ / PLC เพื่อยกระดับ สถานศกึ ษา มี คุณภาพสถานศกึ ษา บรรยากาศแห่งการ เรยี นรู้ และมีการฝึก  มหี ลักสูตรสถานศกึ ษา ทกั ษะอาชีพท่เี หมาะสม ทีส่ ามารถพัฒนาผูเ้ รียน กับผเู้ รียน ตามความต้องการของ ท้องถนิ่ และมาตรฐาน การศกึ ษาทุกระดับ ท่ีต้นสงั กัดกาหนด ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 4 ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชีว้ ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตาแหน่ง ท่ีจะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจี่ ะเกิดขึ้นกบั ผูเ้ รยี น ครู ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ท่คี าดหวงั ใหเ้ กดิ ข้นึ 2. ด้านการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา กบั ผู้เรยี น ครู และ และสถานศึกษา การบริหารจัดการสถานศึกษาให้ การประเมนิ ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ (โปรดระบ)ุ สถานศกึ ษา เปลี่ยนแปลงไปในทาง เปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ (โปรดระบุ) ท่ดี ขี นึ้ หรือมกี ารพฒั นา นโยบาย และตามหลกั บริหารกจิ การ โรงเรยี นบ้านแสลงพนั มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธิ์ บา้ นเมอื งที่ดี การบริหารกจิ การผูเ้ รยี น กระเจา โรงเรยี นบา้ นแสลงพนั สูงขนึ้ (โปรดระบุ) และการส่งเสรมิ พฒั นาผู้เรยี น การ  แผนพัฒนาคุณภาพ กระเจา จดั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียน การศกึ ษาของ  คณุ ภาพผเู้ รยี น ทั้งใน ผลทเ่ี กดิ กับผ้เู รยี น สถานศกึ ษา / แผน ดา้ นผลสัมฤทธ์ิทาง  ร้อยละ 80 ของผูเ้ รียน ปฏิบัตกิ าร ประจาปี วิชาการของผเู้ รยี น และ พึงพอใจต่อการบรหิ าร การศกึ ษา ในดา้ นคุณลักษณะ จดั การของสถานศึกษา ทพ่ี งึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น ผลทเี่ กดิ กับบุคลากร อยู่ในระดบั ดี ข้นึ ไป  ร้อยละ 80 ของครู  ครูผ้สู อน ไดร้ บั การ และบุคลากร พึงพอใจ พัฒนาวชิ าชีพในการ ตอ่ การบริหารจดั การ จดั การเรียนการสอนที่ ของสถานศึกษา เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ผลทเ่ี กดิ กบั ถานศึกษา หรือไดร้ บั รางวลั จาก  ร้อยละ 80 ของผมู้ ี หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง ส่วนเกย่ี วขอ้ งในการ กับการพัฒนาวิชาชพี บริหารจดั การของ อยา่ งต่อเน่ือง สถานศกึ ษา พึงพอใจต่อ  คณุ ภาพการบริหาร การบริหารจัดการของ จดั การ อยใู่ นระดับ ดี สถานศึกษา ขนึ้ ไป ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 5 ลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชีว้ ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตาแหนง่ ที่จะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดขึ้นกับผู้เรยี น ครู ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ท่คี าดหวังให้เกดิ ขึน้ 3. ด้านการบรหิ ารการเปลี่ยนแปลง กับผู้เรียน ครู และ และสถานศึกษา เชิงกลยุทธ์ และนวัตกรรม การประเมิน ทีแ่ สดงให้เหน็ ถึงการ (โปรดระบ)ุ สถานศึกษา เปลย่ี นแปลงไปในทาง การกาหนดนโยบาย กลยทุ ธ์ การใช้ (โปรดระบุ) ที่ดขี ึน้ หรอื มกี ารพัฒนา เครื่องมอื หรือนวัตกรรมทางการบรหิ าร โรงเรียนบา้ นแสลงพนั มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธิ์ และการนาไปปฏบิ ตั ิ การบรหิ ารการ กระเจา โรงเรียนบา้ นแสลงพัน สูงขึ้น (โปรดระบ)ุ เปลยี่ นแปลง และนวตั กรรมใน  แผนพฒั นาคณุ ภาพ กระเจา สถานศกึ ษา เพื่อพฒั นาสถานศกึ ษา การศึกษาของ  มแี ผนพฒั นาคุณภาพ ผลทเ่ี กิดกบั ผู้เรียน สถานศึกษา / แผน การศึกษา โดยสอดคล้อง - รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียน ปฏบิ ตั กิ าร ประจาปี กับนโยบาย / กลยุทธ์ พึงพอใจต่อการบรหิ าร การศกึ ษา ของหน่วยงานต้นสงั กัด จัดการของสถานศึกษา เพอ่ื ขบั เคล่ือนไปสู่การ ผลทเ่ี กิดกับบุคลากร ปฏิบตั ิทส่ี ามารถพัฒนา - รอ้ ยละ 80 ของครู สถานศึกษาได้อย่างมี และบุคลากร พึงพอใจ ประสิทธิภาพ และ ตอ่ การบรหิ ารจัดการ ตอ่ เนื่อง ของสถานศึกษา ผลทเ่ี กดิ กบั ถานศึกษา - รอ้ ยละ 80 ของผู้มีสว่ น เกยี่ วข้องในการบริหาร จดั การของสถานศกึ ษา พึงพอใจต่อการบริหาร จดั การของสถานศึกษา ข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรับขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 6 ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้วี ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทจี่ ะดาเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดขึน้ กบั ผ้เู รียน ครู ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ท่ีคาดหวงั ใหเ้ กิดข้นึ 4. ด้านการบรหิ ารงานชมุ ชน และ กับผู้เรียน ครู และ และสถานศึกษา เครอื ขา่ ย การประเมิน ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ (โปรดระบุ) สถานศึกษา เปลีย่ นแปลงไปในทาง การสร้าง และพัฒนาเครือข่าย (โปรดระบ)ุ ท่ีดีข้ึนหรอื มีการพฒั นา เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ การจดั ระบบ มากขน้ึ หรือผลสัมฤทธิ์ การให้บรกิ ารในสถานศึกษา สูงข้นึ (โปรดระบ)ุ โรงเรยี นบา้ นแสลงพนั โรงเรยี นบ้านแสลงพนั ผลทเ่ี กดิ กบั ผเู้ รยี น กระเจา กระเจา  ผเู้ รยี นทกุ คน ได้รบั โอกาส  ระดมทรัพยากรทาง  มีการปรบั ปรุง ทางการศึกษาอย่าง การศกึ ษา โดยชุมชนใน ซ่อมแซมพฒั นาแหล่ง เทา่ เทยี ม เขตพื้นท่ีบรกิ ารของ เรียนรู้ สภาพแวดลอ้ มให้ ผลทเี่ กดิ กบั บุคลากร โรงเรียน และหน่วยงาน น่าอยู่ น่าดู นา่ เรียน จาก  ครู และบุคลากรทุกคน ทเ่ี กย่ี วข้อง การระดมทรพั ยากรทาง มีสว่ นร่วมในการพัฒนา การศึกษา อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง คณุ ภาพการศึกษา และ ปฏิบตั ิหน้าทีอ่ ย่างเต็ม ศักยภาพ ผลทเี่ กดิ กับสถานศกึ ษา  รอ้ ยละ 80 ของผมู้ ีสว่ น เกี่ยวข้องกบั สถานศึกษา มีส่วนรว่ มในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรับขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 7 ลักษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชว้ี ดั (Indicators) ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทจี่ ะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดขน้ึ กับผูเ้ รยี น ครู ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทคี่ าดหวังให้เกิดขึน้ 5. ดา้ นการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ กบั ผู้เรยี น ครู และ และสถานศึกษา การพฒั นาตนเอง และวิชาชีพ การประเมิน ทีแ่ สดงให้เห็นถึงการ (โปรดระบุ) สถานศึกษา เปลยี่ นแปลงไปในทาง การนาความรู้ ทักษะ ทไี่ ดจ้ าก (โปรดระบ)ุ ทีด่ ีข้นึ หรือมกี ารพฒั นา การพัฒนาตนเอง และวชิ าชพี มาใช้ โรงเรียนบ้านแสลงพนั มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธิ์ ในการพัฒนา การบริหารจัดการ กระเจา โรงเรยี นบา้ นแสลงพนั สงู ข้นึ (โปรดระบุ) สถานศกึ ษา ท่สี ง่ ผลต่อคุณภาพผเู้ รยี น  การพฒั นาบคุ ลากร กระเจา ครู และสถานศึกษา  ขา้ ราชการครู และ ผลทเ่ี กิดกบั ผู้เรียน บคุ ลากรทางการศึกษา  รอ้ ยละ 80 ของผู้เรยี น ในโรงเรยี นทกุ คน ไดร้ ับ มสี มรรถนะ และ การพัฒนาวชิ าชพี ตาม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หนา้ ท่ีที่ได้รับมอบหมาย ผลทเ่ี กดิ กับบคุ ลากร นาไปสูก่ ารพฒั นาตนเอง  ครู และบคุ ลากรทกุ คน พัฒนาผเู้ รยี น และ ได้รบั การพฒั นาทางวิชา พฒั นาสถานศึกษา ชีพ เพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพ อย่างต่อเนอ่ื ง ผเู้ รยี นอย่างต่อเนอื่ ง ผลทเี่ กดิ กบั สถานศกึ ษา  สถานศกึ ษา มชี ุมชนแห่ง การเรียนร้ทู างวิชาชพี เพ่ือ การพฒั นาสถานศึกษา หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน.ตามแบบ PA 1 ใหเ้ ปน็ ไปตามบริบทและสภาพ การจัดการเรยี นรู้ของแตล่ ะสถานศึกษา โดยความเหน็ ชอบร่วมกนั ระหว่างผู้บังคบั บญั ชาและผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ผจู้ ัดทาข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ทีเ่ สนอเปน็ ข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเปน็ งานในหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบ หลกั ท่ีสง่ ผลโดยตรงตอ่ ผลลัพธข์ องงานตามข้อตกลงทค่ี าดหวังให้เกิดข้ึนกบั ผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดย จะต้องสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงการปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานตาแหนง่ และคณะกรรมการประเมินผลการพฒั นางานตาม ข้อตกลงสามารถประเมินไดต้ ามแบบการประเมนิ PA 2 3. การพฒั นางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสาคญั กบั ผลลพั ธ์ของงานตามข้อตกลง ทีค่ าดหวังให้เกดิ ข้ึนกบั ผเู้ รียน ครู และสถานศึกษา (Outcomes) และตวั ชี้วดั (Indicators) ท่เี ปน็ รูปธรรมและ การประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพฒั นางานตามขอ้ ตกลง ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการประเมินตาม แบบ PA 2 จากการปฏบิ ัติงานจรงิ สภาพการบริหารจดั การสถานศกึ ษาในบริบทของ แต่ละสถานศกึ ษา และผลลพั ธ์ในการพัฒนาการบริหารสถานศกึ ษาทเ่ี กิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเปน็ สาคัญ โดยไม่เนน้ การประเมนิ จากเอกสาร ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรับข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 8 สว่ นท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานท่เี ปน็ ประเดน็ ท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ครู และสถานศกึ ษา ประเด็นทที่ ้าทายในการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น ครู และสถานศกึ ษาของผูจ้ ดั ทาข้อตกลง ซ่งึ ปัจจุบนั ดารงตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ ต้องแสดงใหเ้ หน็ ถึงระดบั การปฏบิ ตั ิ ท่คี าดหวงั ของวิทยฐานะชานาญการพิเศษ คือ การริเร่ิมพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงไปในทางที่ดขี ึน้ หรือมีการพฒั นามากข้นึ (ท้ังน้ี ประเด็นทา้ ทายอาจจะแสดง ให้เหน็ ถึงระดับการปฏบิ ตั ทิ ่ีคาดหวงั ในวิทยฐานะทส่ี งู กว่าได้) ประเดน็ ทา้ ทาย เรอื่ ง “การส่งเสริมทักษะอาชพี เกษตรยง่ั ยืนสาหรับนกั เรยี น ผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ Active Learning โรงเรยี นบา้ นแสลงพันกระเจา” 1. สภาพปัญหาการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาและคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ในศตวรรษที่ 21 เปน็ ยุคของขอ้ มูลขา่ วสารและการเปลี่ยนแปลง ดว้ ยความก้าวหนา้ ของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาใหก้ ารสื่อสารไรพ้ รมแดน การเขา้ ถงึ แหลง่ ข้อมูลสามารถทาไดท้ ุกทท่ี ุกเวลา ผลกระทบ จากยุคโลกาภิวฒั น์นี้สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นจาเป็นจะตอ้ งมคี วามสามารถเรียนรไู้ ดด้ ว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนื่องและเปน็ ผูแ้ สวงหาความรู้อย่ตู ลอดเวลา ประกอบกบั ปจั จบุ นั มีองคค์ วามร้ใู หม่เกดิ ขึน้ มากมายทุกวินาที ทาให้เนื้อหาวิชา มมี ากเกนิ กว่าท่จี ะเรยี นรู้จากในห้องเรยี นไดห้ มด ซ่งึ การสอนแบบเดมิ ดว้ ยการ “พดู บอก เลา่ ” ไมส่ ามารถ จะพัฒนาให้ผูเ้ รียนให้นาความรูท้ ่ีได้จากการเรียนในช้นั เรยี นไปปฏิบัติไดด้ ี ดังนั้น อาจารย์จงึ จาเปน็ ต้องปรบั เปลย่ี นวิธีการจดั การเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คม เทคโนโลยี และการเรียนรู้ ของนักเรียนจากผู้สอนคือผู้ถ่ายทอด ปรบั เปลยี่ นบทบาทเป็นผูช้ แี้ นะวิธีการค้นคว้าหาความร้เู พอื่ พัฒนาผ้เู รียน ใหส้ ามารถแสวงหาความรแู้ ละประยุกต์ใช้ทักษะต่างๆ สรา้ งความเขา้ ใจด้วยตนเอง จนเกิดเปน็ การเรยี นรู้ อย่างมีความหมาย (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2545,สมหวัง พธิ ิยานุวฒั น์ และทศั นยี ์ บุญเติม,2545,ทศิ นา แขมมณี, 2548,บณั ฑติ ทิพากร,2550) Active Learning เป็นการจดั การเรียนการสอนแบบเนน้ พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ส่งเสริม ให้ผู้เรยี นประยกุ ต์ใช้ทักษะและเช่ือมโยงองค์ความรนู้ าไปปฏิบัติเพอื่ แกไ้ ขปญั หาหรือประกอบอาชีพในอนาคต หลักการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning เปน็ การนาเอาวิธกี ารสอน เทคนคิ การสอนที่หลากหลายมา ใชอ้ อกแบบแผนการสอนและกจิ กรรมกระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นร่วมในชัน้ เรยี น สง่ เสรมิ ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างผ้เู รียน กับผเู้ รียน และผเู้ รยี นกับผ้สู อน Active Learning จงึ ถอื เป็นการจัดการเรยี นการสอนประเภทหนงึ่ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยคุ ปจั จุบนั รายละเอียดของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning มดี งั นี้ 1) การจัดการเรยี นรแู้ บบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) เป็นการสอนที่ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี น เกดิ การเรยี นร้จู ากประสบการณท์ ี่เปน็ รูปธรรม เพื่อนาไปสู่ความรูค้ วามเข้าใจเชิงนามธรรม เหมาะกบั รายวิชา ทเ่ี น้นปฏบิ ตั ิ หรือเน้นการฝึกทักษะ สามารถใชจ้ ดั การเรยี นการสอนไดท้ งั้ เปน็ กล่มุ และเป็นรายบคุ คล หลกั การ สอนคอื ผสู้ อนวางแผนจัดสถานการณใ์ ห้ผเู้ รยี นมีประสบการณจ์ าเปน็ ต่อการเรียนรกู้ ระต้นุ ให้ผู้เรยี นสะท้อน ความคิด อภิปราย สง่ิ ที่ไดร้ ับจากสถานการณ์ ตวั อย่างเทคนิคการสอนที่ใชใ้ นการจดั การเรียนรแู้ บบเน้น ประสบการณ์ ไดแ้ ก่ เทคนิคการสาธิต และเทคนิคเน้นการฝกึ ปฏิบัติ ขั้นตอนดังนี้ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรบั ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 9 1.1) เทคนคิ การสอนแบบการสาธติ ผู้สอนวางแผนการสอนและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยแบ่งสดั สว่ นเวลาสาหรบั การบรรยายเนื้อและการสาธติ พร้อมกับคัดเลอื กวธิ กี ารท่จี ะลงมือปฏิบัติให้ผูเ้ รยี น ไดเ้ รยี นรู้ โดยถา้ เป็นกิจกรรมกล่มุ จะต้องมีการวางโครงสร้างการท างานกลุ่ม การแบ่งหน้าท่ีและมีการสลบั หมุนเวียนกันทกุ คร้ัง จากนน้ั ดาเนนิ การบรรยายเนื้อหาและสาธิต โดยขณะสาธติ จะเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนซกั ถาม ผู้สอบแนะนาเทคนิคปลกี ยอ่ ย จากน้นั ใหผ้ ู้เรยี นลงมอื ปฏิบตั ิและผสู้ อนประเมนิ ผู้เรียนโดยการสังเกตพรอ้ มกบั ให้ คาแนะนา ในจดุ ทบ่ี กพร่องเป็นรายบคุ คลหรอื เป็นรายกลุ่ม เมอื่ เสรจ็ สนิ้ การปฏิบตั ิกจิ รรม ผสู้ อนและผูเ้ รยี น รว่ มกันอภิปรายสรปุ ผลสิง่ ทไี่ ด้เรียนรูจ้ ากการลงมือปฏิบตั ิ 1.2) เทคนิคการสอนแบบเน้นฝกึ ปฏิบัตผิ ูส้ อนวางแผนและออกแบบกิจกรรมทเ่ี น้นการฝกึ ทักษะ เชน่ การฝกึ ทักษะทางภาษา โดยจัดกิจกรรมทก่ี ระตุ้นให้ผเู้ รียนไดฝ้ ึกทักษะซ้าๆ อาจเป็นในลกั ษณะใช้โปรแกรม ชว่ ยสอน สาหรับการฝึก โดยผู้สอนมบี ทบาทใหค้ าแนะนา อานวยความสะดวก กระต้นุ ให้ผ้เู รียนมสี ่วนร่วม ในชน้ั เรียน 2) การสอนแบบโครงงาน (Project Based Learning) โดยการสอนแบบโครงงานสามารถจัดเป็น กจิ กรรมกลมุ่ หรือกิจกรรมเดยี่ วก็ได้ ให้พจิ ารณาจากความยาก – ง่าย และความเหมาะสมของโจทย์งาน และ คณุ ลักษณะท่ตี ้องการพัฒนา วางแผน และกาหนดเกณฑ์อย่างกวา้ งๆ แลว้ ให้นักเรียนวางแผนดาเนินการ ศึกษา ค้นควา้ ข้อมูลดว้ ยตนเองโดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้ใหค้ าปรึกษา จากนั้นใหน้ ักเรยี นนาเสนอแนวคิด การออกแบบ ชิ้นงาน พร้อมใหเ้ หตุผลประกอบจาการค้นคว้า ให้ผสู้ อนพิจารณารว่ มกับการอภปิ รายในชน้ั เรียน จากน้ันผู้เรียน ลงมือปฏบิ ตั ิทาชนื้ งาน และส่งความคืบหนา้ ตามกาหนด การประเมนิ ผลจะประเมินตามสภาพจริง โดยมีเกณฑ์ การประเมินกาหนดไวล้ ่วงหน้าและแจ้งให้ผเู้ รียนทราบก่อนลงมอื ทาโครงการและมีการเชิญผทู้ รงคณุ วฒุ ิรว่ ม ประเมินผล 3) การสอนแบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning) เปน็ การสอนทสี่ ่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ จากเรียนรตู้ ามวัตถปุ ระสงค์ที่กาหนด ด้วยการศึกษาปัญหาท่สี มมตุ ขิ ึ้นจากความจริง แลว้ ผูส้ อนกับผู้เรียนรว่ มกัน วิเคราะหป์ ญั หาเสนอวธิ ีแกป้ ัญหา หลกั ของการสอนแบบใช้ปัญหาเปน็ ฐานคอื การเลอื กปัญหาทีส่ อดคล้องกับ เนือ้ หาการสอนและกระตุ้นให้ผ้เู รยี นเกิดคาถาม วเิ คราะห์ วางแผนกาหนดวธิ ีแกป้ ัญหาด้วยตนเอง โดยผสู้ อนมี บทบาทให้คาแนะนาแก่ผเู้ รยี นขณะลงมอื แก้ปัญหา สุดทา้ ยเม่อื เสรจ็ สน้ิ กระบวนการแก้ปญั หาผู้สอนและผู้เรียน ร่วมกันสรุปผลการแกป้ ญั หา และแลกเปล่ียนเรยี นรู้ถงึ ส่งิ ที่ได้จากการลงมือแก้ปัญหา 4) การสอนทเ่ี น้นทักษะกระบวนการคดิ (Thinking Based Learning) เป็นกระบวนการสอนท่ีผ้สู อนใช้ เทคนคิ วิธกี ารกระตุน้ ให้ผูเ้ รยี น คดิ เป็นลาดบั ขั้นแล้วขยายความคดิ ต่อเน่ืองจากความคิดเดิม พิจารณาแยกแยะ อยา่ งรอบด้าน ด้วยใหเ้ หตุผลและเช่ือมโยงกับความรู้เดิมที่มี จนสามารถสร้างสง่ิ ใหม่หรือตดั สินประเมินหา ขอ้ สรุปแล้วนาไปแก้ปญั หาอย่างมหี ลักการ โดยการสอนทีเ่ นน้ กระบวนการคิด แบ่งออกเป็นการสอนท่ีเนน้ ทกั ษะ กระบวนการคดิ คานวณและการสอนที่เน้นกระบวนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ มีข้นั ตอนดงั นี้ 4.1) การสอนทเ่ี นน้ กระบวนการคิดคานวณ เริ่มจากผสู้ อนทบทวนเน้อื หาเดมิ โดยแสดงวิธีการคิด คานวณเป็นลาดบั ขน้ั จากน้ันกาหนดโจทยใ์ ห้ผูเ้ รยี นฝึกคดิ วิเคราะห์ เป็นลาดับขน้ั เน้นการฝึกคานวณซ้ากับ โจทยใ์ หม่ และสุดทา้ ยผสู้ อนและผเู้ รยี นร่วมกันสรุปข้นั ตอนการคดิ การประเมนิ ผลการเรียนรูป้ ระเมินจาก ขน้ั ตอนกระบวนการคดิ เปน็ ลาดบั ขัน้ ทน่ี ักศึกษาแสดงไวใ้ นการแก้โจทย์คานวณ ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 10 4.2) การสอนทเ่ี น้นกระบวนการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ จากอภิปรายและแสดงความคิดเห็น เปน็ หวั ใจสาคญั ของการสอนที่เนน้ กระบวนการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ โดยเร่ิมจากผสู้ อนกระตุ้นผู้เรียน เกดิ คาถามหรือตงั้ คาถาม จากน้นั ผูส้ อนโนม้ น้าว สร้างสถานการณ์ให้ผ้เู รยี นขยายความคิดและเช่ือมโยง องค์ความรู้ จากนั้นเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็น อภิปรายในช้ันเรียน โดยผสู้ อนมีบทบาท ชว่ ยช้ีแนะและสรปุ ความตามหลกั การ สดุ ท้ายให้ผู้เรยี นพัฒนาชน้ิ งาน หรือทาแบบฝึกหัด เพ่อื ประเมนิ ผล การเรียนรู้ (ปภาวรา ประเสริฐ, แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning, https://www.sesao30.go.th/module/view.php?acafile=5dc3e29c7ee16_แนวทางการจดั การเรียนการ สอนแบบ_Active_Learning1.pdf) การเกษตรยงั่ ยืนสู่การพัฒนาสถานศกึ ษา ไดน้ ้อมนาหลักการทรงงานของในหลวงรชั กาลที่ 9 คือ “ศาสตร์พระราชา” โดยนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับโครงการเกษตรยั่งยนื อย่างเป็นรปู ธรรม เนน้ การพัฒนา ผู้เรียน ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจ ทาตามลาดบั ขั้นตอนอยา่ งเป็นระบบ และจดั ทาระบบใหง้ ่าย เพ่ือใหเ้ กิดทักษะกระบวนการเรยี นรู้ สกู่ ารปฏบิ ตั ิจริง Active Learning และพร้อม ขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรู้ดา้ นการเกษตร เกยี่ วกับดิน พชื ปศุสตั ว์ ปยุ๋ และสิง่ แวดลอ้ ม บางกิจกรรมสามารถ นามาทาเปน็ อาหารกลางวัน ให้แก่ผู้เรียนไดร้ ับประทานอยา่ งเพียงพอ ถูกสขุ ลกั ษณะ และถกู ต้องตามหลัก โภชนาการ โดยครูผสู้ อน เป็นผ้สู นับสนนุ เป็นแหล่งความรู้ และอานวยความสะดวกแก่ผเู้ รียน เพ่อื ให้เหมาะ กบั การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ให้ผเู้ รยี นได้มโี อกาสเรียนรู้ดว้ ยตนเองมากทีส่ ุด โดยผา่ นการศึกษา คน้ ควา้ ทดลอง ลงมือปฏิบตั ิ คดิ แกป้ ัญหา ริเร่มิ สร้างสรรค์ ท่างานเปน็ กลุ่ม สรปุ เป็นความรแู้ ละสามารถนาเสนอ ได้อยา่ งเหมาะสม ผเู้ รยี นมบี ทบาทรบั ผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง มีส่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นการสอน โรงเรียนบา้ นแสลงพนั กระเจา ไดด้ าเนนิ โครงการเกษตรย่ังยืน ประกอบดว้ ยกิจกรรม การทาปยุ๋ จากเศษวัสดธุ รรมชาติในโรงเรียน เช่น ใบไม้ มูลสตั ว์ เปน็ ตน้ อกี ท้ังการปลูกผักในตะกรา้ การปลกู มะนาวในท่อ การปลกู ผลไม้ในเขง่ การปลกู ไม้ดอก ไม้ประดับ การเลยี้ งไก่ไข่ การเล้ียงสกุ ร การเพาะเหด็ นางรม การทาอาหาร ขนม นา้ หวาน จากผลิตผลในโรงเรยี น โดยซอ้ื ขายในรปู ของสหกรณร์ ้านค้า หากมีผลผลิตเหลอื มากเกนิ ความ จาเปน็ เพ่อื หารายไดม้ าเป็นทุนหมนุ เวยี นในการจัดทากจิ กรรมการเกษตรได้อีกทางดว้ ย จากการมสี ว่ นร่วม ของทกุ ฝา่ ย และการแบ่งงานกันทา ทาให้ผู้เรยี นทางานอย่างมคี วามสขุ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ซ่ึงจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงาน (Project Based Learning) ในกิจกรรมการเกษตรของโรงเรียน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชวี ิต นาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ให้เกิดคณุ ลักษณะ “ดี เก่ง มี ความสุข” กับผู้เรยี น 2. วิธีการดาเนินการให้บรรลุผล รปู แบบการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน ( Project-Based Learning ) การเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ( Project-Based Learning ) หมายถึง การเรยี นรู้ที่จัดประสบการณ์ ในการปฏิบตั งิ านให้แกผ่ ้เู รียนเหมือนกบั การท างานในชีวติ จริงอยา่ งมรี ะบบ เพื่อเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้มี ประสบการณ์ตรง ได้เรยี นรูว้ ธิ ีการแกป้ ัญหา วธิ กี ารหาความรู้ความจรงิ อย่างมเี หตผุ ล ได้ทาการทดลอง ได้พสิ จู น์ สิง่ ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง รู้จักการวางแผนการทางาน ฝึกการเป็นผูน้ า ผตู้ าม ตลอดจนได้พฒั นากระบวนการคิด โดยเฉพาะการคิดข้ันสงู และการประเมนิ ตนเอง โดยมคี รูเป็นผูก้ ระต้นุ เพื่อนาความสนใจท่ีเกดิ จากตวั ผเู้ รียนมาใช้ ในการท ากิจกรรมคน้ คว้าหาความร้ดู ้วยตวั เอง น าไปสู่การเพิม่ ความรู้ทไี่ ด้จากการลงมือปฏิบตั ิ การฟัง และ การสังเกตจากผูร้ ู้ โดยผเู้ รียนมกี ารเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการท างานเป็นกลุม่ ท่ีจะนามาส่กู ารสรปุ ความรู้ใหม่ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรบั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 11 มีการเขยี นกระบวนการจัดทาโครงงานและไดผ้ ลการจดั กิจกรรมเปน็ ผลงานแบบรปู ธรรมนอกจากนก้ี ารจดั การ เรียนรู้โดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน ยังเน้นการเรยี นรูท้ ีใ่ ห้ผู้เรียนไดร้ บั ประสบการณ์ชีวิตขณะที่เรยี น ไดพ้ ฒั นาทักษะ ตา่ งๆ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั หลกั พัฒนาการตามลาดับข้นั ความรู้ความคดิ ของบลูมทั้ง 6 ขนั้ คือ ความรู้ความจา ความ เข้าใจ การประยกุ ต์ใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่าและการคิดสรา้ งสรรค์ การจัดการเรียนรู้ โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ถือได้วา่ เปน็ การจัดการเรยี นรทู้ ่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั เน่ืองจากผู้เรียนได้ลงมอื ปฏิบตั ิ เพ่อื ฝึกทกั ษะต่างๆ ดว้ ยตนเองทกุ ขั้นตอน โดยมคี รเู ปน็ ผใู้ ห้การสง่ เสริม สนับสนุน ลักษณะสาคัญของจัดการเรียนร้โู ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน 1. ยดึ หลกั การจัดการเรียนร้ทู ี่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ท่ีเปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้ทางานตาม ระดบั ทักษะที่ตนเองมีอยู่ 2. เป็นรปู แบบหน่ึงของการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ เ่ี น้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning) 3. เปน็ เร่อื งท่ผี ู้เรยี นสนใจและรสู้ กึ สบายใจท่ีจะทา 4. ผ้เู รียนไดร้ บั สทิ ธิในการเลือกว่าจะตง้ั คาถามอะไร และต้องการผลผลติ อะไรจากการทา โครงงาน 5. ครทู าหน้าท่ีเป็นผู้สนบั สนุนอปุ กรณ์และจัดประสบการณ์ใหแ้ ก่ผเู้ รียน สนบั สนุนการแก้ไข ปัญหาและสร้างแรงจูงใจให้แกผ่ เู้ รยี น 6. ผเู้ รยี นกาหนดการเรยี นร้ขู องตนเอง 7. เชือ่ มโยงกบั ชีวิตจรงิ สิง่ แวดลอ้ มจริง 8. มฐี านจากการวจิ ยั ศึกษา ค้นควา้ หรอื องค์ความรู้ทเ่ี คยมี 9. ใชแ้ หลง่ ข้อมูล หลายแหลง่ 10. ฝงั ตรึงดว้ ยความรแู้ ละทักษะต่างๆ 11. สามารถใช้เวลามากพอเพียงในการสรา้ งผลงาน 12. มผี ลผลติ การดาเนนิ งานตามกระบวนการบรหิ าร PDCA ดังนี้ 1. การวางแผน คือ การประชุมผ้เู กี่ยวขอ้ งเพ่ือเสนอโครงการ การแต่งตั้ง/แบง่ หน้าท่ี ผู้รบั ผิดชอบ และจัดทาโครงการ 2. การดาเนนิ งานตามแผน คอื การจดั เตรยี มพ้นื ที่ การจัดหาวสั ดุอุปกรณ์ การดาเนนิ กิจกรรมตามโครงการเกษตรยั่งยนื การบารงุ ดูแล การเก็บเก่ียวผลผลิต และนาไปสูโ่ ครงการอาหารกลางวัน หรือ สหกรณ์ร้านคา้ โรงเรยี น 3. การตดิ ตาม และประเมินผล คือ การตดิ ตามผลการดาเนนิ กจิ กรรมฯ เพือ่ นาไปสู่ การตดิ ตามภาวะโภชนาการ ผู้เรียนที่รบั ประทานอาหารกลางวนั การคานวณราคาผลผลติ การสรปุ /ประเมนิ ผล และรายงานโครงการ 4. การปรับปรงุ พัฒนา คือ การนาผลการสรปุ /ประเมินผล และรายงานโครงการ มาปรบั ปรงุ พฒั นา โครงการเกษตรยั่งยืนของโรงเรยี นต่อไป ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรบั ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 12 3. ผลลัพธ์การพัฒนาท่คี าดหวงั 3.1 เชิงปรมิ าณ ดา้ นผู้เรยี น - ร้อยละ 80 ของผ้เู รียนมีสมรรถนะ มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และมีความ พรอ้ มในการดารงชีวิตท้ังในปัจจบุ ัน และอนาคต - รอ้ ยละ 80 ของผู้เรยี นพึงพอใจต่อการบริหารจดั การของสถานศึกษา ด้านผสู้ อน/บุคลากร - ร้อยละ 80 ของคร/ู บุคลากร มคี วามตระหนัก และปฏิบัตหิ นา้ ที่ เพื่อการพฒั นา คุณภาพผู้เรียนอยา่ งต่อเนอื่ ง - รอ้ ยละ 80 ของครู และบุคลากร พึงพอใจต่อการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา - ครู และบคุ ลากรทุกคน มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้ และไดร้ ับการพัฒนาวชิ าชพี อยา่ งต่อเนอ่ื ง ด้านสถานศกึ ษา - รอ้ ยละ 80 ของผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา มสี ว่ นร่วมในการพฒั นา คณุ ภาพการศึกษา - รอ้ ยละ 80 ของผ้มู ีส่วนเกีย่ วข้องในการบริหารจดั การของสถานศึกษา พึงพอใจ ต่อการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา - รอ้ ยละ 80 ของสถานศึกษา มีบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ 3.2 เชงิ คณุ ภาพ ด้านผู้เรยี น - ผู้เรียนมีสมรรถนะ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีความพร้อมในการ ดารงชวี ติ ท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต - ผู้เรียนพงึ พอใจต่อการบริหารจดั การของสถานศึกษา ตอ่ เนอื่ ง ดา้ นผสู้ อน/บุคลากร - ครู/บุคลากรตระหนัก และปฏิบัติหน้าที่ เพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง - ครู และบุคลากร พงึ พอใจตอ่ การบริหารจัดการของสถานศกึ ษา - ครู และบุคลากรแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และไดร้ บั การพฒั นาวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เนื่อง จดั การของสถานศึกษา ด้านสถานศกึ ษา - ผู้มสี ่วนเก่ียวข้องกับสถานศกึ ษา มีสว่ นรว่ มในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา - ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารจัดการของสถานศึกษา พึงพอใจต่อการบริหาร - สถานศกึ ษา มีบรรยากาศแหง่ การเรียนรู้ ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 13 ลงชื่อ (นางสพุ รรณี ยวนจิตปยิ ะ) ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นแสลงพนั กระเจา ผจู้ ดั ทาข้อตกลงในการพฒั นางาน 1 / ตุลาคม / 2564 ความเห็นของผู้บังคบั บัญชา ( ) เห็นชอบใหเ้ ปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพ่ือนาไปแก้ไข และเสนอ เพ่ือพิจารณาอกี ครง้ั ดงั น้ี ........................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื (นายณฐั นนท์ วิทยาประโคน) ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบรุ ีรัมย์ เขต 2 1 / ตุลาคม / 2564 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรบั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห น้ า | 14 ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook