Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 07แผนการจัดการเรียนรู้ม.1 หน่วยที่ 1 บรรยากาศ (แผน1-13)

07แผนการจัดการเรียนรู้ม.1 หน่วยที่ 1 บรรยากาศ (แผน1-13)

Published by เหมือนฝัน ทองดี, 2022-08-09 09:50:35

Description: 07แผนการจัดการเรียนรู้ม.1 หน่วยที่ 1 บรรยากาศ (แผน1-13)

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ รหสั ว21101 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ช่อื หน่วยการเรยี นรู้บรรยากาศ เร่อื ง ชนั้ บรรยากาศ 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด โลกมีบรรยากาศห่อหุ้ม นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิตามความสูงแบ่ ง บรรยากาศได้เปน็ ๕ ชัน้ ได้แก่ ช้ันโทรโพสเฟียร์ ชั้นสตราโตสเฟียร์ ชั้นมีโซสเฟียร์ ชั้นเทอร์โมสเฟยี ร์ และช้ัน เอกโซสเฟียร์ ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของพื้นที่หน่ึงที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ขึน้ อยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชน้ื เมฆ และหยาดน้ำฟ้า การเปลี่ยนแปลงน้ีข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพ้ืนผิวโลกส่งผลต่อ อุณหภูมิอากาศ พายุหมุนเขตร้อนเกิดเหนือมหาสมุทรหรือทะเล ทำให้อากาศท่ีมีอุณหภูมิและความชื้นสูง บริเวณนั้นเคลื่อนที่สูงขึ้นอย่างรวดเรว็ เป็นบริเวณกว้าง ทำให้เกิดคล่ืนพายุซัดฝ่ัง ฝนตกหนัก ซ่ึงอาจก่อให้เกิด อันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน จึงควรปฏิบัติตนให้ปลอดภัยโดยติดตามข่าวสาร การพยากรณ์อากาศ การ คาดการณ์ลมฟ้าอากาศ โดยมีการตรวจวัดองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ การส่ือสารแลกเปล่ียนข้อมูล องค์ประกอบลมฟ้าอากาศระหว่างพ้ืนท่ี การวิเคราะห์ข้อมูลและสร้างคำพยากรณ์อากาศ ซ่ึงสามารถนำมาใช้ ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ในชีวิตประจำวนั ได้ ภูมิอากาศโลกในปัจจบุ ันเกิดการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วเนื่องจาก กิจกรรมของมนุษย์ในการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกสู่บรรยากาศ แก๊สเรือนกระจกที่ถูกปลดปล่อยมากที่สุด ไดแ้ ก่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซดซ์ ่ึงหมุนเวียนอยู่ในวัฏจกั รคารบ์ อน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรง มนุษย์จึงควรเรียนรู้แนวทางการปฏิบัติ ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว ทั้งแนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและแนวทางการลดกิจกรรมที่ส่งผลต่อการ เปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก 2. ตวั ชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ว ๓.๒ ม.๑/๑ สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายการแบ่งชั้นบรรยากาศ และเปรียบเทยี บประโยชน์ของ บรรยากาศแตล่ ะช้ัน จดุ ประสงคก์ าเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการแบง่ ชน้ั บรรยากาศและประโยชน์ของช้นั บรรยากาศได้(K) 2. จำแนกช้ันบรรยากาศและสืบคน้ ข้อมูลประโยชน์ของช้ันบรรยากาศแต่ละช้นั ได้(P) 3. ออกแบบจำลองชน้ั บรรยากาศได้(P) 4. มคี วามคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ (A) 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

อากาศ คือ สสารท่ีเปน็ ส่ิงจำเป็นตอ่ การดำรงชีวิตของสิง่ มีชีวิตบนผวิ โลก เปน็ สง่ิ ท่ีมนี ำ้ หนักตอ้ งการท่ีอยู่ มีตัวตน และสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผสั ทง้ั หา้ แหลง่ ที่พบอากาศ คือ ทุกหนทกุ แหง่ บนพื้นผวิ โลกอยรู่ อบตัวเรา บนพื้นดิน พ้นื น้ำ บนภูเขาและมอี ยู่ ต้ังแต่บนพ้นื ดนิ ขนึ้ ไปถึงระดับสงู ๆ ในท้องฟ้า บรรยากาศ คือ อากาศทีอ่ ยรู่ อบตวั เราตง้ั แต่พื้นดินข้นึ ไปจนถึงระดับสงู ๆ บนทอ้ งฟา้ หรืออากาศท่ี หอ่ หุ้มโลกเรา สว่ นประกอบของอากาศ ได้แก่ แกส๊ ไนโตรเจน (N2) 78.08% แก๊สออกซเิ จน (O2) 20.95% แก๊ส อาร์กอน (Ar) 0.93% แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อนื่ ๆ 0.01% โลกมีบรรยากาศ ห่อหุ้ม นกั วิทยาศาสตรใ์ ช้สมบัตแิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเปน็ ชั้น ซึง่ แบง่ ได้หลายรูปแบบตามเกณฑท์ ี่แตกตา่ งกนั บรรยากาศแต่ละชนั้ มีประโยชน์ต่อส่ิงมีชีวิตแตกตา่ งกัน ประโยชนข์ องแก๊สโอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดูดกลนื รงั สีอัลตราไวโอเลตได้ ถ้าปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พ้ืนโลกไดร้ ับรังสอี ลั ตราไวโอเลตสูงพอที่จะเผาไหมผ้ วิ หนังของ สิง่ มีชีวิตได้ ส่งผลตอ่ การเกดิ มะเร็งทผี่ วิ หนงั นักวิทยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิตามความสูงแบง่ บรรยากาศได้เป็น 5 ช้นั ได้แก่ ชั้นโทรโพสเฟียร์ ชน้ั สตราโตสเฟยี ร์ ชน้ั มโี ซสเฟยี ร์ ช้ันเทอร์โมสเฟียร์ และช้ันเอกโซสเฟียร์ บรรยากาศแตล่ ะช้นั มปี ระโยชน์ต่อสง่ิ มีชีวติ แตกต่างกัน โดยชัน้ โทรโพสเฟยี ร์มีปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศท่ีสำคญั ตอ่ การดำรงชีวติ ของสง่ิ มชี ีวติ ชัน้ สตราโตสเฟยี รช์ ว่ ยดูดกลืนรังสีอลั ตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกที่ผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเล็ก ลดโอกาสทจ่ี ะทำความเสียหายแก่สิ่งมชี ีวติ บนโลก ช้นั เทอร์โมสเฟยี ร์สามารถสะท้อน คล่ืนวทิ ยุ และช้นั เอกโซสเฟียร์เหมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ - 3.3 การบรู ณาการ - รายวิชาศิลปะ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 4.1 มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 4.2 มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ 5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 5.1 มวี ินัย 5.2 มีจิตสาธารณะ 6 .ชิ้นงาน/ภาระงาน 6.1 แบบจำลองการแบง่ ชน้ั บรรยากาศ 6.2 การทดลอง

7. การวัดผลประเมนิ ผล วธิ กี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น นกั เรียนผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70 การประเมินก่อนเรยี น แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบประเมินชิน้ งาน ระดับคุณภาพ ดี ขนึ้ ไป เรือ่ ง บรรยากาศ ประเมนิ ชิ้นงานแบบจำลองช้ัน บรรยากาศ ประเมินการปฏิบตั ิการทำกจิ กรรม แบบประเมนิ ผลการทดลอง ระดับคุณภาพ ดี ขนึ้ ไป 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูดำเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อม และพ้นื ฐานของนกั เรียน ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครถู ามคำถามนกั เรียนเพ่อื กระตนุ้ ความสนใจ เช่น - วนั น้ีอากาศเป็นอยา่ งไรบา้ ง (แนวคำตอบขนึ้ อยู่กบั ผเู้ รียน) - เราสามารถพบอากาศไดท้ ่ีใด (อย่ทู กุ แหง่ บนพ้นื ผวิ โลก อยู่รอบตวั เรา) - นกั เรียนทราบหรือไมว่ า่ บรรยากาศคืออะไร (บรรยากาศ คือ อากาศท้ังหมดท่ีหอ่ หมุ้ โลก) 2. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ เรื่อง บรรยากาศ ขนั้ กิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมขี น้ั ตอนดังน้ี 1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ 1. ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอ เกี่ยวกับอากาศ บรรยากาศ และส่วนประกอบของอากาศ ร่วม ทบทวนความรู้เดิม และตอบคำถามเพ่อื กระต้นุ ความคิด ดงั น้ี - สว่ นประกอบของอากาศมีอะไรบ้าง (แกส๊ ไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน แก๊สอารก์ อน แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ไอน้ำ ฝุน่ ละออง และแกส๊ เฉ่ือยอ่ืน ๆ) - สว่ นประกอบใดของอากาศ มปี ริมาณมากทสี่ ุด (แกส๊ ไนโตรเจน) - สว่ นประกอบใดของอากาศ มีปรมิ าณมากเป็นอนั ดับ 2 (แกส๊ ออกซเิ จน) - ถ้าปรมิ าณของสว่ นประกอบเหล่านีเ้ ปลย่ี นแปลงไป เชน่ แกส๊ ไนโตรเจนเพ่ิมข้นึ แกส๊ ออกซิเจน ลดลง แกส๊ คาร์บอนไดออกไซดเ์ พ่ิมข้นึ นกั เรียนคดิ วา่ จะมีผลตอ่ สิ่งมีชีวติ บนโลกหรือไม่ อยา่ งไร (มีผลต่อ สิ่งมีชีวิตอย่างมาก เช่น N2 เปล่ียนแปลงก็อาจทำให้อากาศไม่เหมาะสมตอ่ การหายใจ O2 ลดลงทำใหส้ ่ิงมีชวี ิตมี แกส๊ เพื่อการหายใจไม่เพยี งพอ อาจป่วยหรือตายได้ หรือส่ิงมชี วี ติ แย่งอากาศ)

2) ข้นั สำรวจและค้นหา 1. นักเรยี นแบง่ กลุ่มกลุ่มละ 5-6 คน ศึกษาเอกสารความรู้ เรื่องชั้นบรรยากาศ และดูคลปิ วิดโี อ เรอ่ื งชัน้ บรรยากาศ ครชู ว่ ยอธิบายใหน้ กั เรียนลกั ษณะของบรรยากาศแตล่ ะชน้ั การใช้เกณฑ์แต่ละประเภทใน การแบง่ ชั้นบรรยากาศ 2. ครมู อบหมายให้นักเรียน สบื ค้นข้อมลู เกีย่ วกบั ลักษณะและประโยชน์ของชน้ั บรรยากาศ เกณฑ์การแบ่งชัน้ บรรยากาศ โดยใชเ้ กณฑ์การเปล่ียนแปลงอณุ หภูมติ ามความสงู จากแหลง่ การเรียนรู้ท่ี หลากหลาย แลว้ ออกแบบนำเสนอในแบบผงั กราฟิก 3. ครูคอยแนะนำช่วยเหลอื นักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครเู ดนิ ดรู อบๆ ห้องเรยี นและเปดิ โอกาสให้นกั เรียนทุกคนซกั ถามเมอ่ื มีปญั หา 3) ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป 1. นักเรยี นแต่ละกล่มุ นำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม 2. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายผลจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม เช่น - เม่อื ใช้เกณฑ์การเปลยี่ นแปลงของอณุ หภมู ิตามความสงู แล้วสามารถแบง่ ช้ันบรรยากาศ เปน็ อะไรบ้าง (การแบ่งช้ันบรรยากาศโดยใช้การเปล่ียนแปลงของอณุ หภูมติ ามความสูง สามารถแบ่งชั้น บรรยากาศได้ ดงั นี้ โทรโพสเฟยี ร์ สตราโตสเฟียร์ มีโซสเฟียร์ เทอร์โมสเฟียร์ และเอกโซสเฟยี ร์) - บรรยากาศช้ันใดมแี กส๊ โอโซนอย่หู นาแนน่ (บรรยากาศชน้ั สตราโตสเฟียร์ (stratosphere)) - บรรยากาศช้ันใดสามารถสะทอ้ นคลื่นวิทยุได้ (บรรยากาศชั้นเทอร์โมสเฟยี ร์ (thermosphere)) - บรรยากาศชัน้ ใดทมี่ ีไอน้ำจำนวนมาก (บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ (troposphere)) - บรรยากาศชน้ั ใดเปน็ ชั้นทห่ี ่อหุม้ โลก (บรรยากาศชนั้ เอกโซสเฟยี ร์ (exosphere)) - ลักษณะของบรรยากาศแต่ละชน้ั เหมอื นหรือแตกต่างกัน (แตกตา่ งกนั ) - แก๊สโอโซนในชั้นบรรยากาศมปี ระโยชน์อย่างไร (ตวั อยา่ งคำตอบ ดูดกลืนรังสี อลั ตราไวโอเลต) - การกระทำหรือเหตุการณ์ใดบา้ งที่เปน็ การลดแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ (ตัวอยา่ งคำตอบ การใชส้ ารในอตุ สาหกรรมเคร่ืองทำความเย็น ต้เู ย็นโฟม ผลิตสเปรย์ ออกไซด์ของไนโตรเจนจากท่อไอเสยี รถยนต์ เครื่องบนิ โดยสาร ซง่ึ จะไปทำลายแกส๊ โอโซน ทำให้มีจำนวนลดลง) 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่าใน ประเดน็ ดังนี้ - จำแนกช้นั บรรยากาศโดยใช้เกณฑ์การเปลยี่ นแปลงอุณหภูมิตามความสูง - ลักษณะบรรยากาศในแต่ละช้ันบรรยากาศ - ประโยชนข์ องบรรยากาศช้ันตา่ ง ๆ - ประโยชน์ของแกส๊ โอโซน 4) ขั้นขยายความรู้ 1. ครอู ธิบายข้อมลู เพมิ่ เติม และใหน้ กั เรยี นนำความร้ทู ่ีไดอ้ อกแบบจำลองชน้ั บรรยากาศ โดย ประดษิ ฐจ์ ากวัสดุเหลือใชใ้ นท้องถน่ิ จัดทำเปน็ ช้นิ งาน 2. นักเรยี นแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอช้นิ งาน 5) ข้ันประเมนิ

1. นักเรยี นรว่ มกนั ลงคะแนนชนิ้ งานทน่ี ่าสนใจ สวยงาม มีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ เพื่อหาผู้ชนะ ในการทำกิจกรรมในครงั้ นี้ 2. นกั เรยี นประเมนิ ตนเอง โดยเขียนแสดงความรูส้ ึกหลังเรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั นี้ - ส่ิงทนี่ กั เรียนได้เรียนรใู้ นวันน้คี ืออะไร - นกั เรยี นมีหนา้ ที่อะไรในกิจกรรมในกลมุ่ - นกั เรยี นยงั ไมเ่ ขา้ ใจในสิ่งใด และอยากรู้อะไรเพิ่มเตมิ - นกั เรยี นมีความพึงพอใจกับการเรียนในวนั น้ีหรอื ไม่ เพยี งใด - นักเรยี นจะนำความรู้ทไ่ี ดน้ ี้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั อย่างไร 9. ส่อื /แหล่งเรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1. คลปิ วดิ ีโอ เรื่อง อากาศ บรรยากาศ และส่วนประกอบของอากาศ 2. คลิปวิดโี อ เรอื่ ง ชน้ั บรรยากาศ 2. หนงั สือเรียน รายวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 3. power point ประกอบการสอนเรื่อง ชั้นบรรยากาศ

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหัส ว21101 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลาเรียน 2 ชว่ั โมง ช่อื หน่วยการเรียนรู้บรรยากาศ เรื่อง อณุ หภูมกิ ับความดนั อากาศ 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด อณุ หภูมิอากาศ คือ คา่ ท่ใี ช้บอกถึงระดับความร้อนหรอื เยน็ ของอากาศ โดยใช้เทอร์มอมเิ ตอร์ เป็น เคร่อื งมอื วดั อุณหภูมอิ ากาศเปลย่ี นแปลงตามผลของพลังงานแสงและพลงั งานความรอ้ น จากดวงอาทิตย์ท่ี ตกกระทบโลก ปรมิ าณเมฆท่ีปกคลมุ ท้องฟา้ และเปล่ียนแปลงตามระดบั ความสูงจากระดับน้ำทะเลที่เพ่มิ ขึน้ แรงดันอากาศ คือ แรงหรือน้ำหนักของอากาศท่กี ดลงบนพ้ืนที่ใด ๆ พ้ืนท่ีใหญ่มีแรงหรอื น้ำหนักกด มากกวา่ พ้นื ท่ีเล็ก ๆ สว่ นความดนั อากาศหรือความดนั บรรยากาศ คือ แรงดันของอากาศต่อหนึ่งหนว่ ยพื้นที่ท่ี รองรบั แรงดนั วิธีวดั ความดนั อากาศ ไดแ้ ก่ 1. วดั เปน็ ความสูงของนำ้ 2. วดั เปน็ ความสูงของปรอท เคร่อื งมอื ท่ี ใช้ในการวัดความดันอากาศ ไดแ้ ก่ บารอมิเตอร์ แอนริ อยด์บารอมเิ ตอร์ และอลั ตมิ ิเตอร์ ดงั น้ันความดนั อากาศข้ึนอยู่กับอุณหภมู ิ เมื่ออากาศไดร้ ับความร้อน อากาศจะขยายตวั จึงมีความดนั อากาศตำ่ 2. ตวั ชีว้ ดั /จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ตัวชี้วัด ว 2.2 ม.๑/๑ สร้างแบบจำลองท่ีอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างความดนั อากาศกบั ความสงู จากพืน้ โลก ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธบิ ายปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจากข้อมูลท่ี รวบรวมได้ จดุ ประสงคก์ าเรียนรู้ 1. อธิบายความสมั พนั ธ์ของอุณหภมู ิกบั ความดนั อากาศได้ (K) 2. บอกวิธีการวัดความดันและระบุเครอื่ งมอื วดั ความดนั อากาศชนดิ ตา่ งๆได้ (K) 3. สืบค้นขอ้ มลู เกย่ี วกบั แรงดัน ความดนั และการใช้เคร่ืองมือในการวดั ความดันชนดิ ต่างๆได้ (P) 4. มคี วามรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง อากาศ คือ สสารท่เี ปน็ สง่ิ จำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวิตของสิง่ มีชีวิตบนผวิ โลก เปน็ สง่ิ ท่ีมนี ้ำหนักตอ้ งการท่ีอยู่ มตี ัวตน และสามารถสัมผัสได้ดว้ ยประสาทสมั ผสั ทัง้ หา้ แหล่งที่พบอากาศ คือ ทกุ หนทกุ แหง่ บนพน้ื ผวิ โลกอยู่รอบตัวเรา บนพ้ืนดิน พน้ื น้ำ บนภูเขาและมอี ยู่ ตัง้ แต่บนพ้นื ดินขนึ้ ไปถึงระดบั สูง ๆ ในท้องฟา้ บรรยากาศ คือ อากาศท่ีอย่รู อบตวั เราตั้งแต่พืน้ ดนิ ขน้ึ ไปจนถงึ ระดับสงู ๆ บนท้องฟา้ หรืออากาศท่ี หอ่ หมุ้ โลกเรา

ส่วนประกอบของอากาศ ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน (N2) 78.08% แก๊สออกซิเจน (O2) 20.95% แก๊ส อาร์กอน (Ar) 0.93% แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแก๊สอนื่ ๆ 0.01% โลกมีบรรยากาศ ห่อหุม้ นกั วิทยาศาสตรใ์ ชส้ มบตั แิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเปน็ ชั้น ซง่ึ แบ่งไดห้ ลายรูปแบบตามเกณฑท์ ่ีแตกต่างกัน บรรยากาศแต่ละชั้นมีประโยชน์ต่อสงิ่ มชี วี ิตแตกต่างกนั ประโยชนข์ องแก๊สโอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดดู กลนื รงั สีอลั ตราไวโอเลตได้ ถ้าปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พ้ืนโลกไดร้ ับรังสอี ลั ตราไวโอเลตสูงพอทีจ่ ะเผาไหม้ผวิ หนังของ สิง่ มีชวี ิตได้ ส่งผลต่อการเกดิ มะเรง็ ที่ผิวหนงั นกั วิทยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปลย่ี นแปลงอุณหภูมติ ามความสงู แบง่ บรรยากาศไดเ้ ป็น 5 ช้นั ไดแ้ ก่ ช้ันโทรโพสเฟียร์ ชน้ั สตราโตสเฟียร์ ชน้ั มโี ซสเฟียร์ ช้นั เทอร์โมสเฟียร์ และช้ันเอกโซสเฟยี ร์ บรรยากาศแตล่ ะช้นั มปี ระโยชนต์ อ่ ส่ิงมชี ีวิตแตกตา่ งกนั โดยชั้นโทรโพสเฟยี รม์ ีปรากฏการณ์ ลมฟ้าอากาศทส่ี ำคญั ต่อการดำรงชีวิตของสง่ิ มีชวี ิต ชัน้ สตราโตสเฟยี ร์ชว่ ยดูดกลนื รงั สีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวตั ถขุ นาดเล็ก ลดโอกาสทจ่ี ะทำความเสียหายแก่สิ่งมีชีวิตบนโลก ชนั้ เทอร์โมสเฟยี ร์สามารถสะท้อน คลืน่ วทิ ยุ และช้นั เอกโซสเฟียรเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น - 3.3 การบรู ณาการ - รายวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน 4.1 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 5.1 มวี นิ ัย 5.2 มีจิตสาธารณะ 6 .ชน้ิ งาน/ภาระงาน 6.1 การทดลอง 7. การวดั ผลประเมินผล วธิ ีการ เคร่อื งมอื เกณฑ์ ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ารทำกจิ กรรม แบบประเมินผลการปฏิบตั ิการทำ ระดับคุณภาพ ดี ขึน้ ไป กิจกรรม 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเขา้ สู่บทเรยี น 1. ครถู ามคำถามนกั เรยี นเพ่ือกระต้นุ ความสนใจ เช่น - ลักษณะอากาศวันน้เี ปน็ อย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ อากาศดี ท้องฟ้าแจ่มใส)

- นักเรียนรสู้ กึ ว่า อากาศเป็นอย่างไร ในเวลาเช้า (ตวั อย่างคำตอบ อากาศเยน็ ) - นักเรียนรูส้ ึกว่า อากาศเป็นอย่างไร ในเวลากลางวัน (ตัวอยา่ งคำตอบ อากาศร้อน) 2. นกั เรยี นสังเกตอณุ หภูมิของอากาศในตอนเช้าและตอนกลางวัน แลว้ ร่วมกนั ตอบคำถามสำคัญ นำเข้าสู่กิจกรรมเก่ยี วกับอณุ หภมู ขิ องอากาศ ดังน้ี - อุณหภูมอิ ากาศมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร (อุณหภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลงตามพลงั งานแสง และ พลังงานความร้อนจากดวงอาทติ ยท์ ีต่ กกระทบโลก ปริมาณเมฆท่ปี กคลุมทอ้ งฟา้ และระดับความสูง จากระดบั น้ำทะเลที่เพิ่มขึ้น) ขน้ั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซงึ่ มีข้ันตอนดังนี้ 1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ 1. นักเรยี นร่วมกนั สนทนาทบทวนความร้เู ดมิ จากประสบการณข์ องนักเรียน โดยรว่ มกันตอบ คำถามสำคัญ ดงั นี้ 1.1 นำ้ หนักของอากาศมผี ลต่อส่งิ ต่าง ๆ หรอื ไม่ (ม)ี 1.2 เราเรียกนำ้ หนักอากาศที่กดลงบนพนื้ ท่แี ละสิง่ ตา่ ง ๆ วา่ อย่างไร (แรงดันอากาศ) 1.3 แรงดนั อากาศและความดันอากาศ เหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร (แตกต่างกนั แรงดนั อากาศ คือ แรงหรือนำ้ หนักของอากาศท่ีกดลงบนพื้นทใ่ี ด ๆ สว่ นความดนั อากาศ คือ แรงดนั ของอากาศต่อ หนง่ึ หนว่ ยพนื้ ที่ทรี่ องรบั แรงดัน) 2) ข้นั สำรวจและค้นหา 1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มกล่มุ ละ 5-6 คน ศึกษาเอกสารความรู้ และดคู ลิปวดิ ีโอเรื่องอณุ หภมู กิ ับ ความดันของอากาศการนำความร้มู าใช้ประโยชน์ เพ่ือเป็นการเสริมสร้างแรงดนั บาลใจในการเรยี น 2. ครมู อบหมายงานเพมิ่ เติมใหน้ กั เรียน สบื ค้นข้อมลู เกย่ี วกับความกดอากาศ แรงดนั อากาศ วธิ กี ารวดั ความดนั อากาศ และเครื่องมือวดั ความดนั อากาศ จากแหลง่ การเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย แล้วนำเสนอผล การสบื ค้นข้อมลู 3. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันศกึ ษาวิธีการทำกิจกรรม เรื่อง อุณหภูมกิ บั ความดันอากาศ และ บนั ทึกผลการทำกิจกรรมในใบงาน เรอื่ ง อุณหภมู ิกบั ความดนั อากาศ 4. นักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ ก่อนทำกจิ กรรม โดยสมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกนั ตอบคำถามกอ่ นทำกิจกรรม ดงั นี้ - ปญั หาของการทดลองนี้คืออะไร (อุณหภมู ิและความดนั อากาศมีความสัมพนั ธ์กันหรือไม่ อย่างไร) - นกั เรียนคดิ วา่ น้ำอุณหภมู ิใดมผี ลต่อการเปล่ียนแปลงของขวดนำ้ พลาสติกใส หลังจากเทน้ำ ออกแลว้ ปดิ ฝาขวด (น้ำอนุ่ อุณหภูมิ 60-70 oC) ๕. ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลอื นกั เรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครเู ดินดรู อบๆ หอ้ งเรียนและเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนทกุ คนซักถามเม่อื มปี ญั หา 3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป 1. นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดย ร่วมกนั ตอบคำถามหลงั ทำกิจกรรม ดงั นี้

- เม่อื เทนำ้ อณุ หภูมหิ ้องลงในขวดน้ำพลาสตกิ ใส หลังจากปิดฝาขวดและเปดิ ฝาขวดน้ำ พลาสตกิ ใสมีการเปล่ียนแปลงหรอื ไม่ อย่างไร (ขวดน้ำพลาสตกิ ใสไม่มีการเปลย่ี นแปลง ยังคงสภาพรูปร่าง ของขวดเหมือนเดิม) - เมื่อเทน้ำอุณหภมู ิ 60-70 oC ลงในขวดน้ำพลาสติกใส หลงั จากปดิ ฝาขวดและเปดิ ฝา ขวดน้ำพลาสติกใสมกี ารเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (มีการเปลย่ี นแปลง โดยหลงั จากปิดฝาขวด ขวดจะบุบ และเม่ือเปิดฝาขวด ขวดจะคืนสภาพเดมิ ) - สรปุ ผลการทดลองน้ีไดอ้ ยา่ งไร (อากาศมีความดันซ่ึงมคี วามสมั พนั ธก์ ับอณุ หภูมิ เมื่อรนิ น้ำอ่นุ ใส่ขวด นำ้ จะเข้าไปแทนท่อี ากาศในขวด และเมื่อเทน้ำออกจากขวดและปดิ ฝาโดยเร็ว ภายในขวด จะมอี ุณหภูมสิ งู ข้นึ เม่ือท้ิงไวส้ ักครู่ อุณหภูมิและความดนั ภายในขวดลดลง ความดนั อากาศภายนอกสงู กว่า จงึ ดนั ให้ขวดนำ้ บบุ และเม่ือเปิดฝาขวด อากาศภายนอกจะเขา้ ไปในขวด ทำให้ความดนั ภายในขวดเพ่ิมขึ้น จงึ สามารถดันขวดให้พองตัวข้ึนดังเดิม) 4) ขั้นขยายความรู้ 1. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามในประเดน็ ท่ีสงสัย และอธิบายเพิม่ เตมิ พร้อมสรปุ ผลจากการ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยครเู นน้ ให้นักเรยี นเข้าใจวา่ ในประเดน็ ดังน้ี - ความหมายของแรงดนั อากาศกับความดันอากาศ - วิธีวดั ความดนั อากาศและเครื่องมือวัดความดนั อากาศ - ความสัมพันธ์ของอุณหภูมกิ ับความดนั อากาศ 5) ข้นั ประเมิน 1. นกั เรยี นประเมนิ ตนเอง โดยเขียนแสดงความร้สู ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั นี้ - ส่ิงท่นี ักเรยี นได้เรียนรู้ในวันนค้ี อื อะไร - นกั เรียนมีหนา้ ที่อะไรในกิจกรรมในกลุ่ม - นักเรียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในสงิ่ ใด และอยากร้อู ะไรเพิ่มเติม - นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจกบั การเรียนในวันนหี้ รอื ไม่ เพียงใด - นกั เรยี นจะนำความรู้ที่ไดน้ ี้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเอง ครอบครวั อย่างไร 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. คลิปวดี โี อ เรือ่ ง อณุ หภมู กิ ับความดนั ของอากาศ 2. หนงั สือเรียน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 3. power point ประกอบการสอนเร่อื ง อณุ หภูมิและความดันอากาศ

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัส ว21101 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 เวลาเรยี น 2 ชัว่ โมง ช่ือหน่วยการเรยี นรู้บรรยากาศ เรื่อง ความดนั อากาศทร่ี ะดบั ความสูง 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ความดนั อากาศกบั ความสงู จากระดบั นำ้ ทะเล • ทรี่ ะดบั ความสูงเดยี วกัน ความดันของอากาศเทา่ กัน และท่ีระดับความสูงต่างกัน ความดันของอากาศ ต่างกัน หลักการขา้ งตน้ นนี้ ำไปทำอุปกรณต์ รวจสอบแนวระดบั ซึง่ ใชใ้ นการก่อสรา้ ง • ความดนั อากาศแปรผกผนั กับความสงู จากระดบั นำ้ ทะเล • ความดันอากาศจะมีค่าลดลง เมอ่ื ระดับความสูงจากระดบั น้ำทะเลเพิ่มขึน้ 2. ตวั ช้ีวัด/จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ตัวชี้วดั ว 2.2 ม.๑/๑ สรา้ งแบบจำลองท่ีอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความดันอากาศกบั ความสูงจากพนื้ โลก ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธบิ ายปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจากขอ้ มูลท่ี รวบรวมได้ จดุ ประสงคก์ าเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่างความดนั อากาศกับความสงู จากระดับน้ำทะเลได้ (K) 2. สบื คน้ ข้อมลู เก่ยี วกับความสมั พนั ธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากระดบั น้ำทะเลได้ (P) 3. มคี วามรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง อากาศ คือ สสารที่เปน็ สง่ิ จำเป็นตอ่ การดำรงชวี ิตของส่ิงมชี ีวิตบนผิวโลก เป็นส่ิงทมี่ ีนำ้ หนักต้องการที่อยู่ มีตวั ตน และสามารถสมั ผสั ได้ดว้ ยประสาทสมั ผสั ทงั้ ห้า แหล่งทพี่ บอากาศ คือ ทุกหนทกุ แหง่ บนพนื้ ผิวโลกอยรู่ อบตัวเรา บนพื้นดิน พื้นนำ้ บนภเู ขาและมอี ยู่ ตั้งแตบ่ นพ้นื ดนิ ขน้ึ ไปถงึ ระดบั สงู ๆ ในทอ้ งฟ้า บรรยากาศ คือ อากาศท่อี ยู่รอบตวั เราตั้งแต่พืน้ ดินขน้ึ ไปจนถึงระดับสงู ๆ บนท้องฟา้ หรืออากาศที่ หอ่ หมุ้ โลกเรา ส่วนประกอบของอากาศ ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน (N2) 78.08% แกส๊ ออกซเิ จน (O2) 20.95% แก๊ส อาร์กอน (Ar) 0.93% แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อนื่ ๆ 0.01% โลกมีบรรยากาศ หอ่ ห้มุ นกั วทิ ยาศาสตร์ใช้สมบตั ิและองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเป็นชนั้ ซ่งึ แบง่ ได้หลายรูปแบบตามเกณฑท์ แ่ี ตกต่างกนั บรรยากาศแตล่ ะชน้ั มีประโยชนต์ ่อส่งิ มชี วี ิตแตกต่างกัน ประโยชน์ของแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดดู กลนื รงั สีอัลตราไวโอเลตได้ ถา้ ปราศจากแกส๊ โอโซน จะทำให้พืน้ โลกไดร้ ับรังสอี ลั ตราไวโอเลตสงู พอที่จะเผาไหม้ผวิ หนังของ ส่ิงมีชวี ติ ได้ ส่งผลตอ่ การเกิด

มะเร็งทผ่ี ิวหนัง นักวทิ ยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิตามความสูงแบง่ บรรยากาศไดเ้ ป็น 5 ช้ัน ไดแ้ ก่ ช้ันโทรโพสเฟียร์ ช้ันสตราโตสเฟียร์ ชัน้ มโี ซสเฟยี ร์ ชั้นเทอร์โมสเฟยี ร์ และชัน้ เอกโซสเฟียร์ บรรยากาศแตล่ ะชนั้ มีประโยชนต์ ่อสงิ่ มีชีวติ แตกตา่ งกัน โดยชน้ั โทรโพสเฟยี ร์มีปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศที่สำคญั ต่อการดำรงชวี ติ ของสง่ิ มีชวี ิต ชน้ั สตราโตสเฟยี รช์ ่วยดดู กลืนรงั สีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวตั ถขุ นาดเล็ก ลดโอกาสที่จะทำความเสียหายแก่ส่งิ มีชีวิตบนโลก ช้ันเทอร์โมสเฟยี ร์สามารถสะท้อน คลนื่ วิทยุ และชัน้ เอกโซสเฟยี ร์เหมาะสำหรับการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถิน่ - 3.3 การบรู ณาการ - รายวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 4.1 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 5.1 มวี นิ ยั 5.2 มีจติ สาธารณะ 6 .ชน้ิ งาน/ภาระงาน 6.1 การทดลอง 7. การวัดผลประเมินผล วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์ ประเมินการปฏิบตั ิการทำกจิ กรรม แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตกิ ารทำ ระดบั คุณภาพ ดี ข้นึ ไป กจิ กรรม 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซึ่งมขี นั้ ตอนดงั น้ี 1) ข้ันสรา้ งความสนใจ 1. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาทบทวนความร้เู ดิมจากประสบการณ์ของนักเรียน โดยรว่ มกนั ตอบ คำถามสำคัญ ดังน้ี - ความดันอากาศและความสูงของระดับน้ำทะเล มีความสัมพนั ธก์ ันอยา่ งไร (ความดันอากาศ และความสงู จากระดับน้ำทะเลมคี วามสมั พันธ์กันโดย 1. ท่ีระดบั ความสงู เดียวกนั ความดันของอากาศเท่ากัน และท่ีระดับความสงู ต่างกนั ความดัน ของอากาศต่างกนั

2. ความดนั อากาศแปรผกผนั กบั ความสงู จากระดับน้ำทะเล 3. ความดนั อากาศมีค่าลดลง เมื่อระดบั ความสูงจากนำ้ ทะเลเพม่ิ ข้นึ ) 2) ขนั้ สำรวจและค้นหา 1. นกั เรยี นแบง่ กลุ่มกลุ่มละ 5-6 คน ศกึ ษาเอกสารความรู้ และดูคลิปวิดโี อเร่ือง ความดันอากาศ และความสูงของระดับนำ้ ทะเล และการนำความร้มู าใชป้ ระโยชน์ เพือ่ เปน็ การเสริมสรา้ งแรงดันบาลใจในการ เรยี น 2. ครใู ห้นักเรียน สบื ค้นข้อมูลเกย่ี วกบั ความดนั อากาศและความสูงของระดับน้ำทะเล จากแหลง่ การเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย แล้วนำเสนอผลการสบื คน้ ข้อมลู 3. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษาวิธกี ารทำกิจกรรม เรือ่ ง ความดนั อากาศท่ีระดับความสูง เทา่ กนั และบนั ทกึ ผลการทำกิจกรรมในใบงาน เรือ่ ง ความดันอากาศทีร่ ะดบั ความสงู เทา่ กัน 4. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นก่อนทำกิจกรรม โดยสมาชิกในกลุ่มรว่ มกัน ตอบคำถามก่อนทำกิจกรรม ดังน้ี - ปญั หาของการทดลองนี้คืออะไร (ทร่ี ะดับความสงู เท่ากนั ความดันอากาศเปน็ อย่างไร) - เมอ่ื ปลายสายยางพลาสตกิ ทงั้ 2 ขา้ งไม่ได้อยใู่ นระดบั เดียวกัน ระดบั นำ้ ในสายยางพลาสติก จะเทา่ กันหรอื ไม่ (เท่ากัน) - ขณะที่เป่าลมเข้าทางปลายสายยางพลาสตกิ ด้านซา้ ยมือ ผลทเ่ี กิดขึ้นเป็นอยา่ งไร (ระดับนำ้ ในปลายสายด้านขวาจะสงู กวา่ ดา้ นซ้ายหรือด้านท่ีเปา่ ๕. ครคู อยแนะนำชว่ ยเหลอื นกั เรียนขณะปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรยี นและเปิด โอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนซกั ถามเมอื่ มปี ญั หา 3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป 1. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดย รว่ มกันตอบคำถามหลังทำกจิ กรรม ดังน้ี - ผลการทดลองเปน็ อย่างไรบ้าง ตรงกับทค่ี าดคะเนไว้หรือไม่ (ไมว่ ่าจะจบั สายยางพลาสตกิ ให้ปลายทัง้ สองอย่ใู นระดบั เดียวกันหรือไม่ได้อย่ใู นระดบั เดียวกนั ก็ตาม ระดับน้ำทั้งสองปลายเทา่ กัน แต่เมื่อ เปา่ ลมเขา้ ทางปลายสายดา้ นซา้ ย จะทำให้ระดบั นำ้ ในปลายสายดา้ นขวาสูงกวา่ ดา้ นที่เป่า ซ่งึ ตรงกับท่ี คาดคะเนไวก้ ่อนการทดลอง) - เพราะเหตุใด เม่ือจับปลายสายยางพลาสติกทั้งสองไม่ให้อยู่ในระดับเดียวกัน ระดับน้ำใน สายยางทัง้ สองปลายจงึ เท่ากนั (แมว้ ่าปลายสายยางพลาสตกิ จะสงู ไมเ่ ท่ากันก็ตาม แต่น้ำในสายยางพลาสตกิ ยัง อยู่ในระดับสูงจากระดับน้ำทะเลเท่ากัน ที่เป็นเช่นน้ีเพราะระดับความสูงเดียวกัน ความดันอากาศดันให้ระดับ นำ้ สูงเทา่ กัน) - ขณะท่เี ป่าลมเขา้ ทางปลายสายยางพลาสตกิ ดา้ นซา้ ยมอื ผลทีเ่ กิดขึน้ เป็นอย่างไร เพราะเหตุ ใด (ระดบั นำ้ ปลายสายดา้ นขวาสูงกว่าด้านท่ีเปา่ เพราะอากาศในสายยางพลาสติกด้านที่เปา่ มแี รงดันเพิม่ ข้นึ ) - สรุปผลการทดลองน้ีได้อย่างไร (ท่รี ะดับความสงู เดยี วกัน ความดันอากาศจะเทา่ กัน) 4) ขัน้ ขยายความรู้ 1. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามในประเด็นที่สงสัย และอธบิ ายเพิม่ เติม ถ้าความดันอากาศท่ี ปลายทั้งสองไม่เท่ากนั ระดับนำ้ ทัง้ สองขา้ งจะเทา่ กันหรอื ไม่ อย่างไร เพราะเหตใุ ด (ไมเ่ ทา่ กัน โดยข้างทีม่ ีความ

ดนั อากาศสงู จะดนั น้ำใหส้ ูงกว่าปลายขา้ งท่ีมีความดันอากาศตำ่ เพราะความดันอากาศต่างกัน ย่อมดันให้ระดับ นำ้ สูงตา่ งกนั ) 5) ขนั้ ประเมนิ 1. นกั เรยี นประเมินตนเอง โดยเขยี นแสดงความรู้สึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั นี้ - สิ่งทีน่ ักเรยี นไดเ้ รียนรใู้ นวนั น้ีคอื อะไร - นักเรียนมีหน้าที่อะไรในกจิ กรรมในกลุม่ - นกั เรียนยงั ไม่เข้าใจในส่งิ ใด และอยากรู้อะไรเพ่ิมเตมิ - นกั เรยี นมคี วามพึงพอใจกับการเรยี นในวันน้ีหรอื ไม่ เพียงใด - นักเรียนจะนำความรู้ท่ีได้น้ีไปใช้ให้เกดิ ประโยชนแ์ กต่ นเอง ครอบครวั อยา่ งไร 9. สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ 9.1 สอื่ การเรียนรู้ 1. คลปิ วิดโี อ เร่ือง ความดันอากาศและความสูงของระดบั นำ้ ทะเล 2. หนงั สือเรยี น รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3. power point ประกอบการสอนเรอื่ ง ความดันอากาศ

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหสั ว21101 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง ชื่อหน่วยการเรียนรู้บรรยากาศ เร่ือง ความหนาแนน่ ของอากาศ 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ความหนาแน่นของอากาศจะมคี ่าลดลง เม่ือระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลเพมิ่ ข้ึน 2. ตัวชีว้ ดั /จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตวั ชี้วัด ว 2.2 ม.๑/๑ สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลก ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธิบายปจั จัยทีม่ ีผลต่อการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจากขอ้ มลู ท่ี รวบรวมได้ จดุ ประสงคก์ าเรียนรู้ 2. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งความหนาแนน่ ของอากาศกับความสงู จากระดับน้ำทะเลได้ (K) 2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกบั ความสัมพนั ธ์ระหว่างความหนาแน่นของอากาศกับความสูงจากระดับน้ำทะเล ได้ (P) 3. มคี วามรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง อากาศ คือ สสารท่ีเปน็ ส่ิงจำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวิตของส่งิ มชี ีวิตบนผิวโลก เป็นส่ิงทมี่ นี ้ำหนักตอ้ งการท่ีอยู่ มตี วั ตน และสามารถสัมผสั ได้ด้วยประสาทสัมผัสท้งั หา้ แหล่งท่พี บอากาศ คือ ทกุ หนทุกแห่งบนพื้นผิวโลกอย่รู อบตัวเรา บนพ้ืนดิน พ้นื นำ้ บนภูเขาและมีอยู่ ต้ังแต่บนพนื้ ดนิ ขนึ้ ไปถึงระดบั สงู ๆ ในท้องฟ้า บรรยากาศ คือ อากาศทีอ่ ยูร่ อบตัวเราตั้งแต่พ้ืนดนิ ขึ้นไปจนถงึ ระดับสงู ๆ บนทอ้ งฟา้ หรืออากาศที่ ห่อหุ้มโลกเรา สว่ นประกอบของอากาศ ได้แก่ แกส๊ ไนโตรเจน (N2) 78.08% แกส๊ ออกซิเจน (O2) 20.95% แกส๊ อารก์ อน (Ar) 0.93% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อ่ืน ๆ 0.01% โลกมีบรรยากาศ ห่อหมุ้ นักวทิ ยาศาสตรใ์ ชส้ มบตั แิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเปน็ ชั้น ซง่ึ แบง่ ได้หลายรปู แบบตามเกณฑ์ท่แี ตกต่างกัน บรรยากาศแต่ละช้นั มีประโยชน์ต่อสง่ิ มชี วี ติ แตกตา่ งกนั ประโยชนข์ องแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตได้ ถา้ ปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พ้นื โลกไดร้ บั รังสอี ัลตราไวโอเลตสงู พอทจ่ี ะเผาไหม้ผิวหนังของ สง่ิ มีชีวิตได้ ส่งผลตอ่ การเกดิ มะเรง็ ท่ผี ิวหนัง นกั วทิ ยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงแบ่งบรรยากาศไดเ้ ป็น 5 ชน้ั ไดแ้ ก่ ชั้นโทรโพสเฟียร์ ชน้ั สตราโตสเฟยี ร์ ช้ันมโี ซสเฟยี ร์ ชั้นเทอร์โมสเฟียร์ และชั้นเอกโซสเฟียร์ บรรยากาศแตล่ ะชน้ั มีประโยชนต์ ่อส่งิ มชี วี ติ แตกตา่ งกนั โดยช้นั โทรโพสเฟยี รม์ ีปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศทีส่ ำคญั ตอ่ การดำรงชีวิตของส่งิ มีชวี ิต ชนั้ สตราโตสเฟียรช์ ่วยดูดกลืนรงั สีอลั ตราไวโอเลต

จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวตั ถุขนาดเล็ก ลดโอกาสทจ่ี ะทำความเสียหายแก่สงิ่ มชี ีวิตบนโลก ชนั้ เทอร์โมสเฟียร์สามารถสะท้อน คลนื่ วทิ ยุ และชน้ั เอกโซสเฟียร์เหมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ - 3.3 การบรู ณาการ - รายวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4.1 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 5.1 มีวินยั 5.2 มีจิตสาธารณะ 6 .ช้ินงาน/ภาระงาน 6.1 การทดลอง 7. การวัดผลประเมินผล วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ ประเมินการปฏิบตั ิการทำกิจกรรม แบบประเมินผลการปฏิบตั กิ ารทำ ระดบั คุณภาพ ดี ข้นึ ไป กิจกรรม 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นกจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่งึ มีขนั้ ตอนดังนี้ 1) ข้ันสรา้ งความสนใจ 1. นกั เรียนร่วมกันสนทนาทบทวนความรเู้ ดิมจากประสบการณ์ของนักเรยี น โดยรว่ มกนั ตอบ คำถามสำคญั ดงั นี้ - ความหนาแนน่ ของอากาศและความสงู ของระดับนำ้ ทะเล มีความสมั พันธ์กนั อยา่ งไร (ความ หนาแน่นของอากาศจะมีคา่ ลดลง เมื่อระดับความสูงจากระดับนำ้ ทะเลเพม่ิ ขึ้น 2) ขั้นสำรวจและค้นหา 1. นักเรยี นแบ่งกลุ่มกล่มุ ละ 5-6 คน ศึกษาเอกสารความรู้ และดคู ลิปวดิ ีโอเร่ือง ความหนาแน่น ของอากาศ และการนำความรมู้ าใชป้ ระโยชน์ เพื่อเป็นการเสรมิ สร้างแรงดันบาลใจในการเรียน 2. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มทำกจิ กรรม โดยร่วมกนั วิเคราะห์ตาราง ค่าความหนาแน่นของอากาศท่ี ระดบั ความสูงต่างๆ และตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม

3. ครูคอยแนะนำช่วยเหลอื นกั เรียนขณะปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครเู ดินดูรอบๆ หอ้ งเรยี นและเปิด โอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนซกั ถามเมือ่ มปี ญั หา 3) ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป 1. นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดย รว่ มกันตอบคำถามหลงั ทำกิจกรรม ดังน้ี - ทรี่ ะดับนำ้ ทะเล 0 กโิ ลเมตร มอี ากาศอย่หู รือไม่ อย่างไร (มี เพราะมีความหนาแนน่ ของ อากาศมาก) - ทีร่ ะดับความสูง 8 กโิ ลเมตร และ 20 กิโลเมตร ความหนาแน่นของอากาศมีค่าเทา่ ไร โดยประมาณ (ทรี่ ะดับความสูง 8 กิโลเมตร ความหนาแน่นของอากาศเท่ากับ 0.525 กโิ ลกรมั /ลกู บาศกเ์ มตร ที่ระดบั ความสูง 20 กโิ ลเมตร ความหนาแน่นของอากาศเทา่ กบั 0.081 กิโลกรมั /ลกู บาศกเ์ มตร) - สรปุ ผลข้อมูลน้ไี ด้อย่างไร (ความหนาแนน่ ของอากาศแปรผกผนั กบั ความสูงจาก ระดับน้ำทะเล) 4) ขน้ั ขยายความรู้ 1. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามในประเดน็ ท่ีสงสัย และอธบิ ายเพิ่มเติม 5) ขน้ั ประเมิน 1. นกั เรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรูส้ ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั นี้ - ส่ิงที่นักเรยี นได้เรียนรู้ในวนั น้คี ืออะไร - นกั เรยี นมีหน้าที่อะไรในกิจกรรมในกล่มุ - นักเรยี นยงั ไม่เขา้ ใจในสิ่งใด และอยากรูอ้ ะไรเพิ่มเตมิ - นกั เรยี นมีความพงึ พอใจกบั การเรียนในวนั นห้ี รอื ไม่ เพยี งใด - นักเรียนจะนำความรู้ทีไ่ ดน้ ี้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครัวอย่างไร 9. สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. คลปิ วิดโี อ เร่ือง ความหนาแน่นของอากาศ 2. หนงั สอื เรียน รายวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 3. power point ประกอบการสอนเรื่อง ความหนาแน่นของอากาศ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหสั ว21101 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 เวลาเรียน 2 ชว่ั โมง ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้บรรยากาศ เร่ือง การตรวจสอบความชนื้ ของอากาศ 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด อณุ หภมู ิอากาศและปริมาณไอนำ้ ส่งผลตอ่ ความช้นื ดงั นน้ั การวดั ความชื้นอากาศจะต้องทำการ เปรียบเทยี บในบริเวณเดียวกัน บรเิ วณต่างกันอาจมคี วามช้ืนของอากาศที่แตกต่างกัน เพราะบรรยากาศ ในแตล่ ะบริเวณสามารถรบั ไอนำ้ ที่ระเหยจากผิวโลกได้ปรมิ าณจำกดั การตรวจสอบความชื้นของอากาศทำได้ โดยการใช้สารเคมี ได้แก่ โคบอลต์ (II) คลอไรด์ และการหาผลต่างของนำ้ หนักกระดาษกรอง 2. ตวั ชีว้ ดั /จุดประสงค์การเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธบิ ายปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจากข้อมลู ที่ รวบรวมได้ จุดประสงค์กาเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการตรวจสอบความชืน้ ของอากาศได้ (K) 2. จดั กระทำข้อมูล เปรียบเทียบผลการทำกิจกรรมโดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ได้ (P) 3. การใช้เครอื่ งมือในการตรวจสอบความชืน้ ของอากาศ (P) 4. มคี วามรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง อากาศ คือ สสารทีเ่ ปน็ สง่ิ จำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวิตของสง่ิ มีชีวติ บนผิวโลก เปน็ สิง่ ทม่ี นี ้ำหนกั ต้องการที่อยู่ มตี ัวตน และสามารถสมั ผัสได้ด้วยประสาทสมั ผัสทงั้ หา้ แหล่งที่พบอากาศ คือ ทกุ หนทกุ แห่งบนพ้นื ผิวโลกอยรู่ อบตัวเรา บนพ้ืนดนิ พื้นน้ำ บนภูเขาและมอี ยู่ ต้ังแต่บนพน้ื ดินขน้ึ ไปถึงระดับสงู ๆ ในท้องฟ้า บรรยากาศ คือ อากาศทอ่ี ยู่รอบตวั เราตั้งแต่พนื้ ดนิ ข้นึ ไปจนถงึ ระดบั สงู ๆ บนทอ้ งฟา้ หรืออากาศที่ หอ่ ห้มุ โลกเรา สว่ นประกอบของอากาศ ได้แก่ แกส๊ ไนโตรเจน (N2) 78.08% แก๊สออกซิเจน (O2) 20.95% แก๊ส อารก์ อน (Ar) 0.93% แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแก๊สอื่น ๆ 0.01% โลกมบี รรยากาศ หอ่ หุ้ม นกั วทิ ยาศาสตรใ์ ชส้ มบตั แิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเปน็ ชัน้ ซึ่ง แบ่งไดห้ ลายรปู แบบตามเกณฑท์ แ่ี ตกต่างกนั บรรยากาศแต่ละช้นั มปี ระโยชน์ตอ่ สิง่ มชี ีวิตแตกต่างกัน ประโยชน์ของแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดดู กลืนรงั สีอลั ตราไวโอเลตได้ ถา้ ปราศจากแกส๊ โอโซน จะทำให้พ้ืนโลกไดร้ ับรังสีอลั ตราไวโอเลตสูงพอทจ่ี ะเผาไหม้ผวิ หนงั ของ สงิ่ มชี ีวติ ได้ สง่ ผลต่อการเกิด มะเรง็ ท่ีผิวหนัง นกั วิทยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิตามความสงู แบง่ บรรยากาศได้เป็น 5 ชน้ั

ไดแ้ ก่ ชน้ั โทรโพสเฟยี ร์ ช้ันสตราโตสเฟยี ร์ ช้นั มีโซสเฟยี ร์ ช้นั เทอร์โมสเฟียร์ และชนั้ เอกโซสเฟยี ร์ บรรยากาศแตล่ ะชนั้ มีประโยชน์ต่อสงิ่ มีชีวติ แตกตา่ งกนั โดยช้ันโทรโพสเฟยี ร์มีปรากฏการณ์ ลมฟ้าอากาศท่ีสำคญั ตอ่ การดำรงชวี ิตของส่ิงมีชวี ติ ชั้นสตราโตสเฟยี ร์ช่วยดดู กลืนรังสีอลั ตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ชั้นมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกที่ผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวัตถขุ นาดเล็ก ลดโอกาสทจ่ี ะทำความเสียหายแก่ส่งิ มีชีวติ บนโลก ชน้ั เทอร์โมสเฟียร์สามารถสะท้อน คลื่นวทิ ยุ และช้ันเอกโซสเฟียรเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่น - 3.3 การบรู ณาการ - รายวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 4.1 มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ 5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 5.1 มีวนิ ยั 5.2 มจี ติ สาธารณะ 6 .ชิน้ งาน/ภาระงาน 6.1 การทดลอง 7. การวดั ผลประเมินผล วธิ กี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ประเมินการปฏบิ ตั กิ ารทำกจิ กรรม แบบประเมินผลการปฏิบัตกิ ารทำ ระดบั คุณภาพ ดี ข้ึนไป กจิ กรรม 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซ่ึงมขี ้นั ตอนดังนี้ 1) ขัน้ สร้างความสนใจ 1. นักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนความร้เู ดิมจากประสบการณ์ของนักเรียน โดยร่วมกนั ตอบ คำถามสำคญั ดงั นี้ - ฤดูใดทปี่ ระเทศไทยมีอากาศชนื้ กว่าฤดูอื่น ๆ เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนนั้ (ตวั อย่างคำตอบ ฤดู หนาว เพราะอากาศมีปริมาณไอน้ำอยมู่ าก) - ความชื้นของอากาศ หมายความวา่ อยา่ งไร (สภาวะท่ีอากาศมีไอนำ้ ผสมอยู่ โดยน้ำระเหยเป็น ไอไปปะปนในอากาศ)

- มีวิธีการตรวจสอบความชืน้ ของอากาศไดอ้ ยา่ งไร (ใชส้ ารเคมี การหาผลตา่ งของนำ้ หนักของ กระดาษกรอง) 2) ข้นั สำรวจและคน้ หา 1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มกลมุ่ ละ 5-6 คน ศกึ ษาเอกสารความรู้ และดคู ลปิ วิดีโอเร่ือง ความชื้นใน อากาศและวธิ ีการตรวจหาความชืน้ การนำความรมู้ าใชป้ ระโยชน์ เพื่อเปน็ การเสรมิ สรา้ งแรงดันบาลใจในการ เรยี น 2. ครใู ห้นกั เรียน สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับความชืน้ ในอากาศเกดิ ขึ้นได้อย่างไร อะไรเป็นปัจจัยสำคญั ทกี่ ่อให้เกิดความชน้ื ในอากาศน้ี ศึกษาจากแหลง่ การเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย แล้วนำเสนอผลการสืบค้นข้อมูล แลกเปล่ยี นเรียนรู้รว่ มกัน 3. นกั เรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกันศกึ ษาวิธกี ารทำกิจกรรม เรือ่ ง การตรวจสอบความชน้ื ของอากาศ และบนั ทึกผลการทำกิจกรรมในใบงาน เร่ือง การตรวจสอบความช้ืนของอากาศ 4. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันแสดงความคดิ เห็นก่อนทำกิจกรรม โดยสมาชกิ ในกลุ่มร่วมกนั ตอบคำถามกอ่ นทำกิจกรรม ดังน้ี - ปญั หาของการทดลองน้คี ืออะไร (ความชน้ื ของอากาศสามารถตรวจสอบได้อย่างไร) - นักเรยี นคิดวา่ สีของกระดาษกรองทช่ี ุบสารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ ขณะเปียกและแห้ง จะเหมือนกันหรอื ไม่ อยา่ งไร (ต่างกนั สขี องกระดาษกรองขณะเปียก จะใหส้ ชี มพู สีของกระดาษกรองขณะ แหง้ จะให้สีน้ำเงิน) ๕. ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นทกุ คนซักถามเมื่อมีปัญหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 1. นักเรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเก่ียวกับผลการทำกิจกรรม โดย ร่วมกันตอบคำถามหลังทำกจิ กรรม ดังน้ี - สารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ ทย่ี ังไมไ่ ด้ละลายนำ้ มีสีอะไร (สีน้ำเงิน) - สารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ ทล่ี ะลายน้ำมสี ีอะไร (สชี มพ)ู - เมื่อนำกระดาษกรองจมุ่ ลงในสารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ กระดาษกรองดังกล่าว จะมสี ีอะไร (สีชมพู) - เม่อื ใชไ้ ดร์เป่าผม เปา่ กระดาษกรองที่จุ่มสารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ จนแห้ง กระดาษกรองดงั กล่าวจะมีสีอะไร (สีนำ้ เงนิ ) - สารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์อยู่ในที่ที่มีความช้ืนของอากาศสูง จะมีการเปลี่ยนแปลง อย่างไร (สารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ จะมีสชี มพ)ู - สรุปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร (บริเวณต่าง ๆ ในโรงเรียนมีความช้ืน หรือมีไอน้ำในอากาศ แตกต่างกัน โดยบริเวณท่ีมีความชื้นมาก กระดาษกรองชุบสารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ เปลี่ยนจากสีน้ำเงิน เป็นสีชมพู ส่วนบริเวณท่ีอากาศมีความชื้นน้อย กระดาษกรองท่ีชุบสารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ จะมีสีน้ำ เงนิ เชน่ เดมิ ) 4) ข้ันขยายความรู้

1. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในประเด็นท่ีสงสัย และอธิบายเพ่ิมเติม ว่าความชื้นของ อากาศมีผลต่อสิ่งต่าง ๆ บนโลก มีผลท้ังเชิงบวกและลบ เช่น ความชื้นของอากาศท่ีพอเหมาะ ช่วยให้เมล็ดพืช งอกและเจริญเตบิ โต แตค่ วามชื้นกท็ ำใหเ้ หลก็ เกดิ สนมิ ได้ 5) ข้ันประเมิน 1. นักเรียนประเมนิ ตนเอง โดยเขียนแสดงความรูส้ ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั น้ี - ส่ิงท่ีนักเรยี นได้เรยี นร้ใู นวันนคี้ ืออะไร - นักเรียนมีหน้าทอี่ ะไรในกิจกรรมในกลุ่ม - นักเรยี นยงั ไม่เข้าใจในส่ิงใด และอยากรู้อะไรเพ่ิมเติม - นักเรียนมคี วามพงึ พอใจกบั การเรยี นในวนั น้ีหรือไม่ เพยี งใด - นักเรียนจะนำความรู้ท่ีได้น้ีไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัวอยา่ งไร 9. ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. คลิปวดิ โี อเรื่อง ความชืน้ ในอากาศและวิธกี ารตรวจหาความชนื้ 2. หนงั สือเรยี น รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 3. power point ประกอบการสอนเร่อื ง ความชื้นในอากาศและการตรวจสอบความช้นื

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหสั ว21101 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลาเรยี น 2 ช่ัวโมง ช่ือหน่วยการเรียนรู้บรรยากาศ เร่ือง การหาคา่ ความชื้นในอากาศ 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ความช้ืนของอากาศมผี ลต่อส่ิงต่าง ๆ บนโลกรวมทั้งการดำรงชวี ิตของมนุษย์ ถ้าอากาศชื้นมาก ทำให้ น้ำระเหยไดน้ ้อย ผ้าที่ตากไวแ้ ห้งช้า แตถ่ ้าอากาศแหง้ ทำให้น้ำระเหยได้มาก ผ้าท่ีตากไว้แหง้ เร็ว ความชื้นสมั บรู ณ์ เปน็ อัตราสว่ นระหวา่ งมวลของไอน้ำในอากาศกับปริมาตรของอากาศน้นั หน่วยของความชื้นสัมบูรณ์ คือ กรมั /ลกู บาศก์เมตร การคำนวณค่าความชน้ื สัมบรู ณ์ ความชื้นสมั บรู ณ์ = มวลของไอน้ำในอากาศ (กรัม) ปริมาตรของอากาศ ณ อุณหภูมเิ ดยี วกนั (ลูกบาศก์เมตร) ความชืน้ สัมพัทธ์ เป็นการเปรียบเทียบระหวา่ งมวลของไอน้ำท่ีมอี ยู่จริงในอากาศขณะน้ันกบั มวลของ ไอน้ำในอากาศอิ่มตวั ณ อุณหภูมแิ ละปรมิ าตรเดียวกนั การคำนวณค่าความชนื้ สัมพัทธ์ ความชืน้ สมั พทั ธ์ = มวลของไอนำ้ ที่มีอยู่จริงในอากาศ  100 หรือ มวลของไอน้ำในอากาศท่ีอ่ิมตัว ความชน้ื สมั พัทธ์ = ความช้ืนสัมบรู ณ์  100 ความช้ืนของอากาศท่ีอ่ิมตัว 2. ตวั ชีว้ ดั /จุดประสงค์การเรียนรู้ ตวั ช้ีวัด ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธบิ ายปจั จัยที่มีผลต่อการเปลย่ี นแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจากข้อมูลที่ รวบรวมได้ จุดประสงคก์ าเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายของความชนื้ สมั บรู ณแ์ ละความชื้นสมั พัทธข์ องอากาศได้ (K) 2. อธบิ ายผลของความช้ืนของอากาศทีส่ ง่ ผลต่อสงิ่ ต่างๆ บนโลกได้ (K) 3. สบื ค้นข้อมูลเก่ยี วกับผลของความชน้ื ของอากาศทส่ี ่งผลต่อส่ิงตา่ งๆ บนโลกได้ (P) 4. มคี วามรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง อากาศ คือ สสารทเี่ ปน็ ส่ิงจำเป็นต่อการดำรงชีวติ ของสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก เป็นสิ่งทีม่ นี ้ำหนักตอ้ งการที่อยู่ มตี ัวตน และสามารถสมั ผสั ได้ดว้ ยประสาทสัมผัสท้ังหา้ แหล่งท่ีพบอากาศ คือ ทกุ หนทุกแห่งบนพื้นผวิ โลกอยู่รอบตัวเรา บนพื้นดิน พื้นนำ้ บนภเู ขาและมอี ยู่ ต้ังแต่บนพื้นดนิ ขนึ้ ไปถงึ ระดับสูง ๆ ในทอ้ งฟา้ บรรยากาศ คือ อากาศทอี่ ยู่รอบตวั เราต้ังแต่พนื้ ดนิ ขึ้นไปจนถึงระดบั สูง ๆ บนท้องฟ้าหรืออากาศที่ หอ่ หมุ้ โลกเรา สว่ นประกอบของอากาศ ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน (N2) 78.08% แกส๊ ออกซเิ จน (O2) 20.95% แกส๊ อาร์กอน (Ar) 0.93% แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแก๊สอ่ืน ๆ 0.01% โลกมบี รรยากาศ หอ่ หมุ้ นกั วทิ ยาศาสตร์ใช้สมบตั แิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเปน็ ช้ัน ซง่ึ แบง่ ได้หลายรูปแบบตามเกณฑท์ ี่แตกตา่ งกนั บรรยากาศแตล่ ะชั้นมปี ระโยชนต์ อ่ สิง่ มีชวี ิตแตกตา่ งกัน ประโยชนข์ องแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดดู กลืนรงั สีอัลตราไวโอเลตได้ ถ้าปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พืน้ โลกได้รับรังสีอลั ตราไวโอเลตสูงพอท่ีจะเผาไหม้ผิวหนงั ของ ส่งิ มีชีวิตได้ สง่ ผลตอ่ การเกดิ มะเรง็ ท่ีผวิ หนงั นักวทิ ยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ติ ามความสูงแบง่ บรรยากาศได้เปน็ 5 ชน้ั ได้แก่ ชัน้ โทรโพสเฟียร์ ชั้นสตราโตสเฟยี ร์ ชนั้ มโี ซสเฟยี ร์ ชนั้ เทอรโ์ มสเฟียร์ และชน้ั เอกโซสเฟยี ร์ บรรยากาศแตล่ ะช้นั มปี ระโยชน์ต่อส่งิ มีชวี ติ แตกต่างกัน โดยชั้นโทรโพสเฟียรม์ ีปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศที่สำคญั ต่อการดำรงชวี ติ ของส่ิงมีชวี ิต ช้นั สตราโตสเฟยี ร์ช่วยดูดกลืนรังสีอลั ตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ชั้นมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกที่ผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวตั ถขุ นาดเล็ก ลดโอกาสทจ่ี ะทำความเสียหายแก่สิ่งมีชีวิตบนโลก ชนั้ เทอร์โมสเฟียร์สามารถสะท้อน คลื่นวิทยุ และชน้ั เอกโซสเฟยี ร์เหมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น - 3.3 การบรู ณาการ - รายวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 4.1 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 5.1 มีวนิ ัย 5.2 มจี ิตสาธารณะ 6 .ชน้ิ งาน/ภาระงาน 6.1 แผนผังมโนทศั นค์ วามชื้นในอากาศ 6.2 แบบฝกึ ทักษะการหาค่าความชืน้ ในอากาศ

7. การวดั ผลประเมินผล วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑ์ ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ารทำกิจกรรม แบบประเมินผลการปฏิบัติการทำ ระดับคุณภาพ ดี ขึน้ ไป กจิ กรรม นักเรียนผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ประเมนิ การคำนวณหาค่าความชืน้ แบบฝึกหัด 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซง่ึ มขี น้ั ตอนดังน้ี 1) ขั้นสร้างความสนใจ 1. นักเรียนร่วมกนั สนทนาทบทวนความร้เู ดิมจากประสบการณ์ของนักเรียน โดยร่วมกันตอบ คำถามสำคญั ดังนี้ - วนั นีฝ้ นตก ทำใหอ้ ากาศวนั นเ้ี ป็นอย่างไร (แนวคำตอบข้ึนอยูก่ บั นักเรียน เชน่ อากาศดี หนาว ร้สู กึ เหนอะหนะตวั เป็นตน้ ) - ถ้าหากวนั นี้นักเรยี นต้องการซักผ้า ตากผา้ นกั เรียนคดิ วา่ ผ้าของเราจะเป็นอยา่ งไร (แหง้ ช้า มี กลน่ิ อับ เปน็ ต้น) - ถา้ ให้นกั เรยี นเลอื กตากผ้า วันท่ฝี นตกกับวนั ที่แดดจัด นักเรียนจะเลือกตากผ้าในวันใด เพราะ เหตุใด (วนั แดดจดั เพราะผา้ แหง้ เร็ว) - นกั เรยี นคดิ วา่ วันทีฝ่ นตก กับวันท่ีแดดจดั มอี ะไรท่ีแตกต่างกนั (ความชื้นในอากาศ) 2) ขนั้ สำรวจและคน้ หา 1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มกล่มุ ละ 5-6 คน ศึกษาเอกสารความรู้ และดูคลิปวดิ ีโอเรื่อง ความชื้น สมั พันธ์ความชน้ื สัมบรู ณ์ และผลของความชื้นในอากาศ การนำความรู้มาใชป้ ระโยชน์ เพ่ือเป็นการเสริมสร้าง แรงดนั บาลใจในการเรียน 2. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สืบค้นขอ้ มลู เก่ยี วกบั ความช้ืนในอากาศส่งผลอยา่ งไรกับสิ่งมีชีวิต และสง่ิ อืน่ ๆท่อี ยรู่ อบตัวเราได้บ้าง ศกึ ษาจากแหลง่ การเรียนรู้ที่หลากหลาย แลว้ นำเสนอผลการสืบค้นข้อมลู แลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ่วมกนั และสรุปออกมาในรูปของแผนผังมโนทศั น์ 3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป 1. นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเก่ียวกับผลการทำกิจกรรม โดย ร่วมกนั ตอบคำถามหลงั ทำกจิ กรรม ดงั นี้ - ความช้นื ของอากาศมผี ลตอ่ ส่ิงต่าง ๆ บนโลกอย่างไร (ตวั อยา่ งคำตอบ มผี ลทั้งเชงิ บวกและ ลบ เช่น ความช้นื ของอากาศทีพ่ อเหมาะ ช่วยให้เมล็ดพืชงอกและเจรญิ เตบิ โต แต่ความชน้ื กท็ ำใหเ้ หล็กเกิด สนมิ ได)้ 3. ครใู หค้ วามรู้เร่ือง การหาค่าความช้ืนสัมบรู ณ์ และการหาคา่ ความชน้ื สัมพทั ธ์ และทำโจทย์ แบบฝกึ หดั 4) ขน้ั ขยายความรู้

1. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามในประเดน็ ท่ีสงสยั 2. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ สิง่ ทเี่ ขา้ ใจเป็นความร้รู ่วมกัน ดังนี้ ความช้ืนสัมบรู ณ์ เปน็ อตั ราสว่ นระหว่างมวลของไอนำ้ ในอากาศกับปรมิ าตรของอากาศน้ัน หนว่ ยของความชน้ื สมั บูรณ์ คือ กรัม/ลูกบาศก์เมตร การคำนวณค่าความชนื้ สัมบูรณ์ ความช้ืนสมั บูรณ์ = มวลของไอน้ำในอากาศ (กรมั ) ปริมาตรของอากาศ ณ อุณหภมู เิ ดยี วกัน (ลกู บาศกเ์ มตร) ความชนื้ สมั พัทธ์ เป็นการเปรียบเทยี บระหวา่ งมวลของไอน้ำที่มอี ยจู่ รงิ ในอากาศขณะน้ันกบั มวลของ ไอน้ำในอากาศอิม่ ตัว ณ อุณหภูมิและปรมิ าตรเดยี วกนั การคำนวณค่าความช้ืนสัมพทั ธ์ ความช้ืนสัมพัทธ์ = มวลของไอน้ำท่ีมีอยู่จรงิ ในอากาศ  100 หรือ มวลของไอน้ำในอากาศท่อี ่ิมตัว ความชืน้ สมั พทั ธ์ = ความช้นื สมั บรู ณ์  100 ความช้ืนของอากาศทอี่ ิ่มตัว 5) ขัน้ ประเมิน 1. นักเรยี นประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรสู้ ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั น้ี - สง่ิ ทนี่ กั เรยี นไดเ้ รียนรใู้ นวันนคี้ ืออะไร - นกั เรียนมีหนา้ ที่อะไรในกจิ กรรมในกลุม่ - นักเรียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในสง่ิ ใด และอยากรอู้ ะไรเพิ่มเตมิ - นกั เรยี นมีความพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพยี งใด - นักเรียนจะนำความรู้ท่ีได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครวั อย่างไร 9. สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ 9.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1. คลปิ วิดโี อ เรื่อง ความช้นื สัมพันธ์ ความชื้นสมั บรู ณ์ และผลของความช้ืนในอากาศ 2. หนงั สือเรยี น รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 3. power point ประกอบการสอนเร่ือง ความช้ืนสมั พนั ธ์ ความชนื้ สัมบรู ณ์

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหสั ว21101 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้บรรยากาศ เร่อื ง เครื่องมือทใ่ี ช้วดั ความช้ืนสัมพัทธ์ 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เครอื่ งมือที่ใชว้ ัดความชน้ื สมั พัทธข์ องอากาศ ได้แก่ ไฮโกรมิเตอร์ และไซโครมเิ ตอร์ การระเหย คือ การท่ีน้ำได้รับพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์และระเหยกลายเป็นไอลอยขึ้นสู่ อากาศเบอ้ื งบน การระเหยจะมากหรือนอ้ ยขน้ึ อยู่กบั อุณหภูมิของอากาศและปรมิ าณไอน้ำทมี่ ีอยูใ่ น อากาศขณะนั้น การหาค่าความชนื้ สมั พทั ธ์โดยใช้ไซโครมิเตอร์ จะใช้หลกั การระเหยน้ำจากกระเปาะเปียก ดงั น้ี • ถ้าน้ำจากผ้าท่ีหุ้มกระเปาะเปียกระเหยไปมาก อุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกจะลดลง มากกว่ากระเปาะแห้ง แสดงว่าบรรยากาศสามารถรบั ไอน้ำไดม้ าก เม่ือนำไปหาคา่ ความชน้ื สมั พทั ธ์ จะมคี ่าต่ำ • ถ้าน้ำจากผ้าที่หุ้มกระเปาะเปียกระเหยไปน้อย อุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียก จะไมต่ ่ำกว่ากระเปาะแหง้ มาก แสดงว่านำ้ ระเหยนอ้ ย เนือ่ งจากบรรยากาศสามารถรบั ไอน้ำไดน้ ้อย เมื่อนำไปหาค่าความชืน้ สัมพัทธจ์ ะมีคา่ สูง 2. ตวั ชี้วัด/จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตัวช้ีวดั ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธบิ ายปัจจยั ที่มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟา้ อากาศจากข้อมลู ท่ี รวบรวมได้ จดุ ประสงคก์ าเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการหาคา่ ความชืน้ สมั พัทธ์ของอากาศได้ (K) 2. อธิบายและระบุเครื่องมือท่ีใช้วัดความชื้นสมั พัทธ์ของอากาศได้ (K) 3. เลือกใช้อุปกรณ์ทใี่ ชว้ ดั ความช้ืนสัมพทั ธ์ของอากาศได้อยา่ งเหมาะสม (P) 4. มีความรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง อากาศ คือ สสารท่เี ปน็ สงิ่ จำเป็นต่อการดำรงชวี ติ ของสิ่งมชี ีวิตบนผวิ โลก เปน็ สง่ิ ท่มี ีนำ้ หนกั ต้องการท่ีอยู่ มีตวั ตน และสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสท้งั ห้า แหลง่ ที่พบอากาศ คือ ทุกหนทกุ แหง่ บนพืน้ ผิวโลกอยู่รอบตัวเรา บนพ้ืนดนิ พน้ื น้ำ บนภูเขาและมีอยู่ ตั้งแต่บนพ้ืนดนิ ข้นึ ไปถึงระดบั สูง ๆ ในท้องฟ้า

บรรยากาศ คือ อากาศทีอ่ ยู่รอบตัวเราต้งั แต่พนื้ ดนิ ข้ึนไปจนถงึ ระดบั สงู ๆ บนทอ้ งฟ้าหรืออากาศที่ หอ่ หุม้ โลกเรา สว่ นประกอบของอากาศ ได้แก่ แกส๊ ไนโตรเจน (N2) 78.08% แกส๊ ออกซิเจน (O2) 20.95% แก๊ส อาร์กอน (Ar) 0.93% แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อื่น ๆ 0.01% โลกมีบรรยากาศ ห่อหุม้ นกั วทิ ยาศาสตร์ใช้สมบัตแิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเป็นชั้น ซึ่ง แบ่งได้หลายรูปแบบตามเกณฑท์ ี่แตกตา่ งกนั บรรยากาศแตล่ ะชั้นมปี ระโยชน์ต่อส่ิงมชี ีวติ แตกต่างกัน ประโยชน์ของแก๊สโอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดูดกลืนรงั สีอลั ตราไวโอเลตได้ ถ้าปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พืน้ โลกไดร้ บั รังสีอลั ตราไวโอเลตสูงพอทจ่ี ะเผาไหม้ผวิ หนงั ของ สิ่งมชี ีวติ ได้ สง่ ผลตอ่ การเกดิ มะเร็งที่ผิวหนงั นกั วิทยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปล่ยี นแปลงอุณหภูมติ ามความสูงแบง่ บรรยากาศได้เปน็ 5 ชัน้ ไดแ้ ก่ ช้นั โทรโพสเฟยี ร์ ช้ันสตราโตสเฟยี ร์ ชัน้ มโี ซสเฟยี ร์ ชั้นเทอร์โมสเฟยี ร์ และชั้นเอกโซสเฟียร์ บรรยากาศแต่ละช้ันมีประโยชน์ตอ่ ส่ิงมชี ีวติ แตกตา่ งกัน โดยช้นั โทรโพสเฟยี ร์มีปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศทสี่ ำคัญตอ่ การดำรงชวี ติ ของส่ิงมชี วี ติ ช้ันสตราโตสเฟยี ร์ช่วยดูดกลนื รงั สีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวตั ถุขนาดเลก็ ลดโอกาสทจี่ ะทำความเสียหายแก่สิ่งมีชีวติ บนโลก ชน้ั เทอร์โมสเฟยี ร์สามารถสะท้อน คลื่นวิทยุ และชน้ั เอกโซสเฟียรเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน - 3.3 การบรู ณาการ - รายวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 4.1 มีความสามารถในการสื่อสาร 5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 5.1 มีวนิ ยั 5.2 มจี ิตสาธารณะ 6 .ช้นิ งาน/ภาระงาน 6.1 แผนผังมโนทัศน์ เรือ่ ง เครือ่ งมือวดั ความช้นื สมั พัทธ์ 7. การวดั ผลประเมินผล เกณฑ์ ระดบั คุณภาพ ดี ขนึ้ ไป วธิ ีการ เครอื่ งมอื ประเมนิ การปฏิบัตกิ ารทำกิจกรรม แบบประเมินผลการปฏบิ ัตกิ ารทำ กจิ กรรม 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ กิจกรรมการเรียนรู้

จดั กิจกรรมการเรียนร้โู ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมขี นั้ ตอนดังน้ี 1) ขั้นสร้างความสนใจ 1. นักเรยี นร่วมกันสนทนาทบทวนความรเู้ ดิมจากประสบการณข์ องนักเรียน โดยร่วมกันตอบ คำถามสำคญั ดังนี้ - เปิดภาพ ไฮโกรมิเตอร์ และไซโครมเิ ตอร์ เครอื่ งมือนี้มีไว้ใช้ทำอะไร (วดั ความชน้ื สมั พัทธ์ของ อากาศ) - ไฮโกรมเิ ตอร์ มีหลกั การทำงานอย่างไร (ไฮโกรมเิ ตอร์ เปน็ เคร่ืองมือวดั ความชืน้ แบบง่าย โดยใช้ เส้นผมของมนุษยห์ รือขนสตั วบ์ างชนดิ นำมาฟอก ลา้ งใหส้ ะอาด เสน้ ผมจะหดตัวตามการเปลย่ี นแปลงความชืน้ ของอากาศ คือ ถ้าความชื้นสงู เสน้ ผมจะยืดตวั ถ้าความชื้นตำ่ เสน้ ผมจะหดตัว ทำใหเ้ ข็มช้ีตำแหน่งต่างกนั สามารถอ่านค่าความชื้นได้จากตวั เลขบนหน้าปัด) - ไซโครมเิ ตอร์ มีหลักการทำงานอย่างไร (ไซโครมิเตอร์ ประกอบด้วยเทอร์มอมเิ ตอร์ 2 อนั ค่กู นั โดยเทอร์มอมิเตอร์อันหน่ึง เรยี กว่า กระเปาะแหง้ สว่ นเทอร์มอมิเตอร์อีกอันหุ้มดว้ ยผา้ ช้นื เรยี กวา่ กระเปาะเปียก ค่าความแตกต่างระหวา่ งอุณหภมู ิอากาศของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้งกบั เทอร์มอมเิ ตอร์กระเปาะเปียก จะนำไปคำนวณหาค่าความชื้นสมั พัทธ์) 2) ขนั้ สำรวจและค้นหา 1. นกั เรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5-6 คน ศึกษาเอกสารความรู้ และดูคลิปวิดีโอเรื่อง การวดั ความชื้น สมั พทั ธ์ของอากาศ การนำความร้มู าใชป้ ระโยชน์ เพ่ือเป็นการเสริมสรา้ งแรงดันบาลใจในการเรียน 2. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุม่ สืบค้นขอ้ มลู เกี่ยวกบั การเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมือในการวดั ความชน้ื สัมพัทธ์ของอากาศ ศึกษาจากแหล่งการเรยี นรู้ที่หลากหลาย แล้วนำเสนอผลการสืบค้นข้อมลู แลกเปล่ียน เรยี นรูร้ ว่ มกนั 3. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันศึกษาวิธกี ารทำกิจกรรม เร่ือง เรื่อง การวดั ความชื้นสมั พทั ธ์ของ อากาศ และบันทกึ ผลการทำกจิ กรรมในใบงาน เร่ือง เรือ่ ง การวดั ความชนื้ สัมพัทธ์ของอากาศ 4. นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นก่อนทำกจิ กรรม โดยสมาชกิ ในกลุ่มร่วมกนั ตอบคำถามก่อนทำกิจกรรม ดงั นี้ - ปญั หาของการทดลองนคี้ ืออะไร (ขณะทน่ี ำ้ ระเหยกลายเป็นไอน้ำในบรรยากาศจะทำให้ บริเวณใกล้เคยี งโดยรอบมีการเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู หิ รือไม)่ - ไอนำ้ ในอากาศมาจากที่ใด โดยวิธใี ด (ไอน้ำในอากาศมาจากแหลง่ น้ำตา่ ง ๆ เชน่ คลอง หนอง บึง แมน่ ้ำ ทะเล ด้วยการระเหยกลายเป็นไอเม่อื ได้รับความรอ้ น) - นกั เรียนคิดว่าอุณหภมู ิเร่ิมต้นของเทอรม์ อมเิ ตอร์แห้งและที่มสี ำลเี ปยี กหมุ้ อย่แู ตกตา่ งกัน หรือไม่ อย่างไร (เหมือนกนั มีคา่ อุณหภูมเิ ท่ากับอุณหภูมิห้องขณะนนั้ ) - นักเรียนคิดวา่ เมอ่ื เวลาผา่ นไป 10 นาที อณุ หภมู ิท่อี ่านได้จากเทอรม์ อมิเตอรแ์ หง้ และทมี่ สี ำลีเปียกหุ้มอยู่จะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (แตกตา่ งกนั อณุ หภมู ทิ ่ีอา่ นได้จากเทอร์มอมิเตอร์เปยี ก ท่ีมีสำลีเปียกหมุ้ อยู่มีอณุ หภูมิลดลง) ๕. ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลอื นกั เรยี นขณะปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรยี นและเปิด โอกาสใหน้ ักเรียนทกุ คนซกั ถามเมอื่ มีปัญหา 3) ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป 1. นักเรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรม

2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเก่ียวกับผลการทำกิจกรรม โดย ร่วมกันตอบคำถามหลงั ทำกจิ กรรม ดังน้ี - อุณหภูมิของเทอรม์ อมเิ ตอร์ท้ัง 2 กอ่ นทำการทดลองเทา่ กันหรือไม่ เพราะเหตใุ ด (เท่ากัน คือ วดั อณุ หภูมิไดท้ อ่ี ณุ หภูมิ 28.0 ๐C เพราะอยู่ในบริเวณเดยี วกนั อุณหภูมิที่วัดได้ย่อมเทา่ กัน) - อุณหภูมิเร่ิมต้นของเทอร์มอมิเตอร์แห้งและท่ีมีสำลีเปียกหุ้มแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร สอดคล้องกับท่ีคาดคะเนไว้หรือไม่ (ไม่แตกต่างกัน โดยอุณหภูมิเริ่มต้นของเทอร์มอมิเตอร์ท้ัง 2 อัน จะเท่ากัน คือ มคี า่ เทา่ กบั อุณหภูมิหอ้ ง สอดคล้องกับท่คี าดคะเนไว้) - เม่ือต้ังทิ้งไว้ 10 นาที อุณหภูมิท่ีอ่านได้จากเทอร์มอมิเตอร์ทั้ง 2 แตกต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร สอดคล้องกับท่คี าดคะเนไว้หรอื ไม่ (แตกต่างกนั คือ เทอร์มอมเิ ตอร์แห้งมีอณุ หภูมิคงเดิม ส่วนเทอร์มอมเิ ตอร์ท่ี หุ้มด้วยสำลเี ปียก มอี ณุ หภมู ลิ ดลง สอดคล้องกบั ทคี่ าดคะเนไว)้ - เพราะเหตุใด อุณหภูมิท่ีอ่านได้จากเทอร์มอมิเตอร์ท่ีหุ้มด้วยสำลีเปียกจึงลดต่ำลง (เพราะน้ำ ในสำลีระเหยกลายเป็นไอในอากาศ ในการระเหยได้ต้องใช้ความร้อนจากบริเวณใกล้เคียง คือ น้ำ สำลี และ เทอรม์ อมิเตอร์ จงึ ทำใหเ้ ทอรม์ อมเิ ตอรม์ ีอณุ หภมู ิลดลง) - สรุปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร (น้ำระเหยเป็นไอน้ำในอากาศ ต้องใช้ความร้อนบริเวณ ใกลเ้ คียง เปน็ ผลใหบ้ รเิ วณนน้ั มอี ณุ หภูมลิ ดลง) ถ้าวางเทอร์มอมิเตอร์ท้ัง 2 ทิ้งไว้จนถึงวันรุ่งข้ึน อุณหภูมิท่ีอ่านได้จะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด (สำลีจะแห้ง น้ำระเหยกลายเป็นไอน้ำหมด อุณหภูมิท่ีอ่านได้อาจใกล้เคียงหรือเท่ากับอุณหภูมิที่อ่านได้จาก เทอร์มอมิเตอร์แห้ง ที่เปน็ เชน่ นีเ้ พราะไมต่ ้องใช้ความร้อนเพ่ือการระเหยของน้ำในสำลีอีกแลว้ 4) ข้นั ขยายความรู้ 1. ครเู ปิดโอกาสใหน้ กั เรียนซักถามในประเดน็ ที่สงสยั และอธิบายเพมิ่ เตมิ การระเหย คือ การที่ นำ้ ได้รับพลงั งานความร้อนจากแสงอาทิตยแ์ ละระเหยกลายเป็นไอลอยขึน้ สู่อากาศเบ้อื งบน การระเหยจะมาก หรอื นอ้ ยข้นึ อยู่กบั อุณหภูมิของอากาศและปริมาณไอนำ้ ท่ีมีอยใู่ นอากาศขณะนน้ั การหาคา่ ความช้นื สัมพัทธ์โดยใช้ไซโครมิเตอร์ จะใชห้ ลกั การระเหยน้ำจากกระเปาะเปยี ก ดงั นี้ • ถ้านำ้ จากผ้าท่หี ุ้มกระเปาะเปียกระเหยไปมาก อณุ หภูมิของเทอรม์ อมิเตอร์กระเปาะเปียก จะลดลงมากกวา่ กระเปาะแห้ง แสดงว่าบรรยากาศสามารถรับไอนำ้ ได้มาก เมื่อนำไปหาค่าความชืน้ สัมพทั ธ์จะมี ค่าต่ำ • ถา้ นำ้ จากผา้ ที่หุ้มกระเปาะเปียกระเหยไปน้อย อณุ หภมู ิของเทอรม์ อมเิ ตอร์กระเปาะเปยี ก จะไม่ตำ่ กว่ากระเปาะแหง้ มาก แสดงวา่ น้ำระเหยน้อย เน่ืองจากบรรยากาศสามารถรบั ไอนำ้ ได้น้อย เม่ือนำไปหาค่าความชื้นสัมพทั ธ์จะมคี ่าสงู 5) ขั้นประเมิน 1. นกั เรยี นประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรสู้ ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั นี้ - สิง่ ทนี่ กั เรียนได้เรยี นรูใ้ นวนั นคี้ ืออะไร - นกั เรียนมีหน้าที่อะไรในกิจกรรมในกลมุ่ - นักเรียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจในส่ิงใด และอยากรู้อะไรเพ่ิมเติม - นกั เรียนมีความพงึ พอใจกบั การเรยี นในวนั น้ีหรอื ไม่ เพียงใด - นักเรียนจะนำความรู้ที่ไดน้ ้ีไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั อย่างไร

9. สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ 9.1 ส่อื การเรียนรู้ 1. คลปิ วิดีโอ เรอ่ื ง การวัดความชน้ื สมั พทั ธ์ของอากาศ 2. หนงั สอื เรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 3. power point ประกอบการสอนเรอื่ ง การวัดความชื้นสมั พัทธ์ของอากาศ

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหสั ว21101 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง ช่อื หน่วยการเรียนรู้บรรยากาศ เรื่อง การเกิดลม 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด ลม คอื มวลของอากาศทเี่ กดิ การเคลื่อนที่ กระบวนการเกดิ ลม เนือ่ งจากสาเหตตุ ่าง ๆ ดงั นี้ 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิสองแหง่ อากาศเม่ือไดร้ ับความร้อนจะขยายตัว อากาศร้อนจงึ ลอยตวั สูงขน้ึ อากาศที่มีอุณหภูมิตำ่ กวา่ จากบริเวณขา้ งเคยี งจึงเคลื่อนท่เี ข้ามาแทนท่ี การเคล่ือนท่ขี องอากาศ เน่ืองจากความแตกตา่ งของอุณหภมู ิสองแห่ง ทำใหเ้ กิดลม 2. ความแตกต่างของความกดอากาศ อากาศเมื่อได้รบั ความรอ้ นจะขยายตวั ทำให้มีความหนาแนน่ ลดลง และเป็นผลทำให้ความกดอากาศน้อยลงด้วย อากาศเยน็ บรเิ วณใกลเ้ คียงซ่ึงมีความหนาแน่นมากกว่า และ มคี วามกดอากาศสงู กว่า จะเกิดการเคลื่อนทเี่ ขา้ มาบรเิ วณที่มีความกดอากาศต่ำกวา่ การเคล่ือนที่ของอากาศ เนอ่ื งจากความแตกตา่ งของความกดอากาศสองแห่ง ทำให้เกดิ ลม ศรลม (wind vane) คือ เครื่องมือท่ีใช้ตรวจสอบทิศทางลม มีลักษณะเป็นลูกศรที่มีหางเป็นแผ่นใหญ่ กว่าหัวลกู ศรมาก เม่ือลมพดั มา หางลูกศรจะถูกผลักแรงกว่าหัวลูกศร หัวลูกศรจึงชี้ไปในทิศทางที่ลมพัดมา วิธี ตรวจสอบทศิ ทางลมด้วยศรลม ถ้ากระแสลมพัดจากทางทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก หัวลูกศรของศรลมจะ ช้ีไปทางทิศตะวนั ตก 2. ตัวชว้ี ัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วดั ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธบิ ายปจั จัยทมี่ ผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงองค์ประกอบของลมฟา้ อากาศจากข้อมูลท่ี รวบรวมได้ จดุ ประสงคก์ าเรียนรู้ 1. อธิบายกระบวนการเกิดลมได้ (K) 2. ระบวุ ิธีการของทศิ ทางลมได้ (K) 3. สามมารถการประดิษฐ์ศรลม เพื่อใช้บอกทิศทางลมได้ (P) 3. มีความรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง อากาศ คือ สสารท่ีเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของสงิ่ มีชวี ติ บนผิวโลก เป็นสงิ่ ท่ีมีน้ำหนักต้องการที่อยู่ มีตัวตน และสามารถสมั ผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสท้งั ห้า

แหล่งทพี่ บอากาศ คือ ทกุ หนทกุ แห่งบนพื้นผิวโลกอยูร่ อบตัวเรา บนพ้ืนดนิ พนื้ นำ้ บนภูเขาและมีอยู่ ต้งั แต่บนพืน้ ดินข้นึ ไปถงึ ระดับสูง ๆ ในทอ้ งฟา้ บรรยากาศ คือ อากาศท่อี ย่รู อบตวั เราตัง้ แต่พ้นื ดินข้ึนไปจนถงึ ระดับสงู ๆ บนท้องฟา้ หรืออากาศที่ ห่อหุ้มโลกเรา ส่วนประกอบของอากาศ ได้แก่ แกส๊ ไนโตรเจน (N2) 78.08% แก๊สออกซเิ จน (O2) 20.95% แก๊ส อาร์กอน (Ar) 0.93% แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อนื่ ๆ 0.01% โลกมีบรรยากาศ หอ่ หุ้ม นักวทิ ยาศาสตร์ใช้สมบตั ิและองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเปน็ ชนั้ ซึ่ง แบง่ ได้หลายรปู แบบตามเกณฑ์ที่แตกตา่ งกนั บรรยากาศแต่ละช้นั มีประโยชนต์ ่อสง่ิ มีชวี ติ แตกต่างกนั ประโยชนข์ องแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดดู กลืนรังสีอัลตราไวโอเลตได้ ถ้าปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พนื้ โลกไดร้ ับรังสอี ัลตราไวโอเลตสูงพอท่ีจะเผาไหม้ผิวหนงั ของ สง่ิ มชี วี ิตได้ ส่งผลตอ่ การเกดิ มะเร็งทผี่ ิวหนงั นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิตามความสงู แบง่ บรรยากาศไดเ้ ป็น 5 ช้นั ไดแ้ ก่ ชนั้ โทรโพสเฟียร์ ชั้นสตราโตสเฟียร์ ช้ันมีโซสเฟยี ร์ ชั้นเทอรโ์ มสเฟยี ร์ และช้นั เอกโซสเฟยี ร์ บรรยากาศแตล่ ะช้นั มีประโยชน์ต่อสงิ่ มชี วี ติ แตกต่างกนั โดยช้นั โทรโพสเฟยี ร์มีปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศทส่ี ำคัญต่อการดำรงชีวติ ของสง่ิ มชี วี ติ ชน้ั สตราโตสเฟียรช์ ว่ ยดูดกลืนรงั สีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเลก็ ลดโอกาสที่จะทำความเสียหายแก่สงิ่ มชี ีวติ บนโลก ชนั้ เทอร์โมสเฟียร์สามารถสะท้อน คลื่นวทิ ยุ และชัน้ เอกโซสเฟยี รเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถิ่น - 3.3 การบรู ณาการ - รายวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 4.1 มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ 5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 5.1 มีวนิ ัย 5.2 มีจติ สาธารณะ 6 .ชน้ิ งาน/ภาระงาน 6.1 การทดลอง 6.2 ประดษิ ฐศ์ รลม 7. การวัดผลประเมินผล วิธกี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์ ประเมินการปฏิบตั กิ ารทำกจิ กรรม แบบประเมินผลการปฏบิ ตั กิ ารทำกิจกรรม ระดบั คุณภาพ ดี ข้นึ ไป ประเมนิ ชน้ิ งานประดษิ ฐ์ศรลม แบบประเมินชนิ้ งาน ระดบั คุณภาพ ดี ขึ้นไป

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นกิจกรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซง่ึ มีข้ันตอนดงั นี้ 1) ขัน้ สร้างความสนใจ 1. นกั เรยี นรว่ มกนั สนทนาทบทวนความรู้เดมิ จากประสบการณ์ของนักเรยี น โดยร่วมกันตอบ คำถามสำคญั ดงั นี้ - การพดั ของลมในธรรมชาติเกิดขึน้ ที่ใดบ้าง (เกิดข้นึ ท่วั ไป) - เพราะเหตใุ ด ชายทะเลจึงมีลมพดั แรงตลอดเวลา (เปน็ ผลเน่อื งจากความแตกตา่ งของ อณุ หภูมิ 2 แห่ง หรอื ความแตกตา่ งของความกดอากาศ 2 แห่งในบรเิ วณกวา้ งระหว่างบนบกและทะเล) - ลมคอื อะไร เกิดขึน้ ได้อย่างไร (ลม คือ อากาศที่เคลื่อนที่ การเคล่อื นทีข่ องอากาศ เป็นผลเน่ืองจากความแตกต่างของอณุ หภมู ิ 2 แห่ง หรือความแตกต่างของความกดอากาศ 2 แห่ง) 2) ขนั้ สำรวจและคน้ หา 1. นกั เรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5-6 คน ศึกษาเอกสารความรู้ และดูคลปิ วิดีโอเรื่อง การเกดิ ลม การ นำความรู้มาใชป้ ระโยชน์ เพอ่ื เปน็ การเสริมสร้างแรงดนั บาลใจในการเรียน 2. ครใู ห้นักเรยี น สืบคน้ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั การเกิดลม ศึกษาจากแหล่งการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย แล้ว นำเสนอผลการสืบคน้ ข้อมลู แลกเปลย่ี นเรียนรู้รว่ มกนั 3. นักเรยี นแต่ละกล่มุ ร่วมกันศึกษาวธิ ีการทำกิจกรรม เรอ่ื ง การเกดิ ลม และบันทึกผลการทำ กิจกรรมในใบงาน เรื่อง การเกดิ ลม 4. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ก่อนทำกิจกรรม โดยสมาชิกในกลุ่มร่วมกัน ตอบคำถามก่อนทำกจิ กรรม ดังน้ี - ปญั หาของการทดลองน้คี ืออะไร (ลมเกิดขนึ้ ได้อยา่ งไร) - อุณหภูมทิ ี่ส่วนบนและสว่ นล่างของกระป๋องก่อนการทดลองแตกตา่ งกนั หรือไม่ (ไม่ต่างกัน) - ใบพัดก่อนการทดลองมีการเปลยี่ นแปลงหรือไม่ อยา่ งไร (ใบพดั ก่อนการทดลองไม่มี การเปลย่ี นแปลง โดยใบพดั ยังคงหยุดอยู่กบั ที่) ๕. ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยครเู ดินดรู อบๆ หอ้ งเรียนและเปิด โอกาสใหน้ กั เรยี นทุกคนซักถามเมอื่ มปี ญั หา 3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป 1. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดย รว่ มกนั ตอบคำถามหลังทำกิจกรรม ดังน้ี - อุณหภูมิส่วนบนและส่วนล่างของกระป๋องก่อนจุดตะเกียงแอลกอฮอล์แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร และใบพัดมีการเปลย่ี นแปลงหรือไม่ อย่างไร (ไม่แตกต่างกัน โดยอุณหภูมิทั้งส่วนบนและส่วนลา่ งของ กระปอ๋ งเท่ากนั ไม่มีการเปลย่ี นแปลง โดยใบพดั ไมห่ มนุ ) - เม่ือจุดตะเกียงแอลกอฮอล์ อุณหภูมิส่วนบนและส่วนล่างของกระป๋องและใบพัดมีการ เปล่ียนแปลงหรือไม่ อย่างไร (มีการเปล่ียนแปลง โดยอุณหภูมิส่วนบนสูงกว่าส่วนล่างของกระป๋อง ใบพัดหมุน เพราะอากาศในกระป๋องส่วนลา่ งเมื่อไดร้ ับความร้อนจะขยายตัว ความหนาแนน่ ลดลงจึงลอยตัวสูงข้ึน อากาศที่ มอี ุณหภูมิตำ่ กวา่ บริเวณใกล้เคยี งจึงเคล่อื นท่ีเข้าแทนทท่ี ำใหเ้ กิดลมไปพัดใบพัดให้หมุน)

- สรุปผลการทดลองน้ีได้อย่างไร (ลมเกิดจากการเคล่ือนท่ีของอากาศจากแห่งหน่ึงไปอีกแห่ง หนึ่ง เนื่องจากบรเิ วณสองแห่งมีอุณหภูมิไม่เท่ากัน และอากาศจะเคลื่อนท่ีจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าไปยัง บริเวณท่ีมีอณุ หภูมิสงู กว่า) 4) ข้นั ขยายความรู้ 1. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในประเด็นท่ีสงสัย และอธิบายเพ่ิมเติม ว่าการหาทิศทางลม สามารถทำได้โดยประดิษฐ์ศรลม เพ่ือตรวจสอบทิศทางลมว่าพัดมาจากทิศทางใดได้ โดยสรุปความสัมพันธ์ ระหวา่ งทศิ ทางของลม และทิศทางของหัวลกู ศรได้ว่า ลมพัดมาทางทิศใด หัวลูกศรของศรลมจะช้ีไปทางทิศนั้น หรือทศิ ท่ีลมพดั มาเสมอ 2. ครใู ห้นกั เรยี นประดิษฐ์ศรลม เพื่อใชใ้ นการตรวจสอบทิศทางของลม 3. นักเรยี นร่วมกนั สรุปสิ่งท่ีเขา้ ใจเป็นความร้รู ว่ มกันตามประเด็น ดงั น้ี ด้วยการใชก้ ารเรยี นรู้ แบบร่วมมอื (think-pair-share) - กระบวนการเกดิ ลม - วธิ ีการประดิษฐเ์ ครอื่ งมือตรวจสอบทศิ ทางลม - วิธกี ารใชเ้ คร่ืองมอื ตรวจสอบทศิ ทางลม - ความหมายของศรลม (wind vane) 5) ข้ันประเมิน 1. นักเรยี นประเมนิ ตนเอง โดยเขียนแสดงความรสู้ ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั น้ี - ส่งิ ทนี่ ักเรยี นได้เรียนรูใ้ นวันนี้คืออะไร - นกั เรียนมหี น้าทอี่ ะไรในกจิ กรรมในกลุ่ม - นกั เรยี นยังไมเ่ ขา้ ใจในส่งิ ใด และอยากร้อู ะไรเพ่ิมเตมิ - นกั เรยี นมคี วามพึงพอใจกับการเรยี นในวนั นหี้ รอื ไม่ เพยี งใด - นกั เรยี นจะนำความรู้ที่ได้น้ีไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครวั อย่างไร 9. สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 ส่อื การเรียนรู้ 1. คลปิ วิดโี อ เรื่อง การเกิดลม 2. หนงั สือเรยี น รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 3. power point ประกอบการสอนเร่อื ง การเกิดลม

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหัส ว21101 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ชือ่ หน่วยการเรียนรู้บรรยากาศ เรอื่ ง ลกั ษณะของเมฆบนทอ้ งฟ้า 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เมฆ คอื ละอองนำ้ ทเ่ี กดิ จากการกล่ันตวั ของไอน้ำ มองเหน็ ไดด้ ้วยตา เล็กละเอยี ดและเบา ล่องลอย อยู่ในอากาศระดับสูง ถ้าเมฆเกิดใกล้พื้นดินเรียก หมอก สิ่งที่ช่วยให้เกิดการกลั่นตัวของไอน้ำเป็นก้อนเมฆ คือ ฝุน่ ผงเล็ก ๆ หรือเกลอื ในบรรยากาศที่มีคุณสมบัติดูดน้ำในบรรยากาศได้ดี เรียกปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนี้ว่า อนุภาค กลั่นตัว ซง่ึ การกลั่นตัวของไอนำ้ ในบรรยากาศจะไมเ่ กิดข้ึนหากบรรยากาศปราศจากฝุ่นผง แมว้ ่าไอน้ำจะอ่ิมตัว แล้วก็ตาม ชนิดของเมฆ 1. เมฆสเตรทสั : ก่อตัวเป็นช้ันหรือแผน่ พาดบนทอ้ งฟ้า เมฆชนดิ น้ีพบอย่ใู นระดับต่ำ ซ่ึงต่ำกว่า 500 เมตร และมกั ก่อตวั ให้เกิดฝนตกปรอย ๆ และฝนละออง 2. เมฆคิวมูลัส : พบในระดับความสูงต่าง ๆ กัน เป็นเมฆก้อนกลม ๆ ที่มีฐานค่อนข้างราบ อยู่เป็นเอกเทศ มกั จะเห็นในวนั ทอี่ ากาศแหง้ และแดดจดั 3. เมฆคิวมูโลนิมบัส : มีขนาดใหญ่แผ่นหนา สีดำมืด ภายในเต็มไปด้วยหยดน้ำท่ีอัดตัวแน่น บางทีเรียกว่า เมฆฝน 4. เมฆเซอร์รัส : เมฆในระดับสูงเหนือระดับความสูง 6,000 เมตร ประกอบข้ึนด้วยผลึกน้ำแข็งลักษณะ เหมือนขนนกหรอื เกลยี วควัน 2. ตัวชวี้ ดั /จุดประสงค์การเรยี นรู้ ตัวชี้วดั ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธิบายปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจากข้อมูลที่ รวบรวมได้ จุดประสงค์กาเรยี นรู้ 1. อธบิ ายลักษณะรปู รา่ งของเมฆต่างๆ บนท้องฟา้ ได้ (K) 2. ระบคุ วามเหมือนและความแตกต่างลกั ษณะของเมฆบนท้องฟ้าได้ (K) 3. จำแนกประเภทของเมฆโดยใชเ้ กณฑร์ ะดับความสูงได้อยา่ งถูกต้อง (P) 3. มีความรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง อากาศ คือ สสารท่เี ปน็ สง่ิ จำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวติ ของสิ่งมชี ีวติ บนผวิ โลก เป็นสงิ่ ทมี่ นี ้ำหนักต้องการท่ีอยู่ มีตัวตน และสามารถสมั ผัสได้ด้วยประสาทสมั ผัสทัง้ ห้า แหล่งที่พบอากาศ คือ ทุกหนทกุ แห่งบนพ้ืนผวิ โลกอยรู่ อบตัวเรา บนพื้นดิน พน้ื น้ำ บนภูเขาและมีอยู่ ต้งั แต่บนพ้ืนดนิ ข้นึ ไปถึงระดับสงู ๆ ในท้องฟ้า

บรรยากาศ คือ อากาศทอี่ ยู่รอบตวั เราตง้ั แต่พื้นดนิ ขน้ึ ไปจนถึงระดบั สงู ๆ บนทอ้ งฟา้ หรืออากาศท่ี หอ่ หุ้มโลกเรา ส่วนประกอบของอากาศ ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน (N2) 78.08% แก๊สออกซเิ จน (O2) 20.95% แกส๊ อารก์ อน (Ar) 0.93% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อืน่ ๆ 0.01% โลกมีบรรยากาศ หอ่ หุ้ม นักวิทยาศาสตร์ใชส้ มบัตแิ ละองค์ประกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเป็นช้ัน ซง่ึ แบง่ ไดห้ ลายรูปแบบตามเกณฑ์ที่แตกตา่ งกนั บรรยากาศแตล่ ะชนั้ มีประโยชนต์ อ่ สง่ิ มีชีวติ แตกต่างกัน ประโยชน์ของแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดูดกลนื รังสีอัลตราไวโอเลตได้ ถ้าปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พ้ืนโลกได้รบั รังสีอัลตราไวโอเลตสงู พอทีจ่ ะเผาไหมผ้ ิวหนังของ ส่งิ มชี วี ติ ได้ สง่ ผลต่อการเกดิ มะเร็งทผ่ี วิ หนงั นกั วิทยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปลย่ี นแปลงอุณหภูมติ ามความสงู แบ่งบรรยากาศได้เป็น 5 ชั้น ไดแ้ ก่ ชนั้ โทรโพสเฟียร์ ช้นั สตราโตสเฟยี ร์ ช้ันมีโซสเฟยี ร์ ชนั้ เทอร์โมสเฟียร์ และชัน้ เอกโซสเฟียร์ บรรยากาศแตล่ ะช้นั มปี ระโยชนต์ ่อสงิ่ มีชวี ติ แตกต่างกนั โดยช้ันโทรโพสเฟียร์มีปรากฏการณ์ ลมฟ้าอากาศท่ีสำคัญต่อการดำรงชีวติ ของสงิ่ มีชวี ติ ชน้ั สตราโตสเฟยี ร์ชว่ ยดดู กลนื รงั สีอลั ตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเลก็ ลดโอกาสทจ่ี ะทำความเสียหายแก่ส่ิงมีชีวติ บนโลก ชั้นเทอร์โมสเฟียร์สามารถสะท้อน คล่ืนวทิ ยุ และช้ันเอกโซสเฟยี ร์เหมาะสำหรับการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ - 3.3 การบรู ณาการ - รายวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 4.1 มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ 5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 5.1 มวี ินยั 5.2 มีจติ สาธารณะ 6 .ช้นิ งาน/ภาระงาน 6.1 การทดลอง 6.2 ประดษิ ฐ์แผ่นสอ่ งชนิดเมฆ 7. การวัดผลประเมนิ ผล วธิ ีการ เคร่ืองมือ เกณฑ์ ประเมนิ การปฏิบัตกิ ารทำกิจกรรม แบบประเมินผลการปฏบิ ัติการทำกจิ กรรม ระดับคุณภาพ ดี ขน้ึ ไป ประเมินชนิ้ งานประดษิ ฐ์แผน่ สอ่ ง แบบประเมนิ ชน้ิ งาน ระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไป ชนดิ เมฆ

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นกจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีข้นั ตอนดงั นี้ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 1. นกั เรยี นร่วมกนั สนทนาทบทวนความร้เู ดิมจากประสบการณ์ของนักเรียน โดยรว่ มกันตอบ คำถามสำคัญ ดังน้ี - นักเรยี นรจู้ ักน้ำในบรรยากาศหรอื ไม่ (รู้จัก) - นำ้ ในบรรยากาศหมายความว่าอยา่ งไร (น้ำตามมหาสมทุ ร ทะเล แมน่ ้ำ เมื่อไดร้ ับความร้อน แล้วจะระเหยกลายเปน็ ไอปนในอากาศ) - น้ำในบรรยากาศไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง (เมฆ หมอก ฝน ลกู เหบ็ ) - เมฆคืออะไร (เมฆ คือ ละอองน้ำทีเ่ กิดจากการกลน่ั ตัวของไอนำ้ มองเห็นไดด้ ว้ ยตา เลก็ ละเอียดและเบา ล่องลอยอยู่ในอากาศระดบั สูง ถ้าเมฆเกิดใกล้พื้นดินเรียก หมอก) - เมฆทเี่ หน็ บนท้องฟา้ มีลักษณะรปู รา่ งเหมอื นกันหรือไม่ อยา่ งไร (อาจจะมลี ักษณะรปู ร่าง เหมือนหรือแตกต่างกนั ได้ ขึ้นอยู่กับบรเิ วณทสี่ ังเกต) 2) ขั้นสำรวจและคน้ หา 1. นักเรยี นแบ่งกลุ่มกลมุ่ ละ 5-6 คน ศกึ ษาเอกสารความรู้ และดคู ลปิ วดิ ีโอเรื่อง ลักษณะและ ชนิดของเมฆ การนำความร้มู าใช้ประโยชน์ เพือ่ เป็นการเสรมิ สรา้ งแรงดันบาลใจในการเรียน 2. ครใู หน้ ักเรยี น สบื ค้นข้อมูลเก่ียวกับประเภทของเมฆ และการสงั เกตลกั ษณะของเมฆสง่ ผล อย่างไรกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ ศึกษาจากแหลง่ การเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย แล้วนำเสนอผลการสบื ค้นข้อมลู แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั 3. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ศกึ ษาวธิ ีการทำกิจกรรม เรื่อง ลักษณะของเมฆบนท้องฟา้ และ บนั ทกึ ผลการทำกิจกรรมในใบงาน เรื่อง ลกั ษณะของเมฆบนท้องฟา้ 4. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั แสดงความคิดเห็นก่อนทำกจิ กรรม โดยสมาชิกในกลุ่มร่วมกัน ตอบคำถามกอ่ นทำกิจกรรม ดังน้ี - ปญั หาของการทำกจิ กรรมนี้คืออะไร (เมฆบนท้องฟ้ามีลกั ษณะเหมือนกนั หรอื ไม่) - นักเรยี นคดิ ว่าลักษณะของเมฆบนท้องฟา้ มีลักษณะเหมือนกนั หรือไม่ (อาจจะเหมอื นหรือไม่ เหมอื น ขนึ้ อยู่กับสภาพอากาศ) ๕. ครคู อยแนะนำชว่ ยเหลอื นกั เรียนขณะปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครเู ดินดรู อบๆ ห้องเรยี นและเปิด โอกาสใหน้ กั เรียนทกุ คนซักถามเมอ่ื มปี ัญหา 3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป 1. นักเรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดย ร่วมกันตอบคำถามหลงั ทำกจิ กรรม ดงั น้ี - ขณะสงั เกตลักษณะของเมฆบนทอ้ งฟา้ มีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร (ลกั ษณะของ เมฆบนท้องฟ้ามีท้ังเหมือนและต่างกัน ขน้ึ อยู่กบั สภาพอากาศ) - เมฆที่สงั เกตเห็นจัดเปน็ เมฆชนดิ ใด (ตวั อยา่ งคำตอบ เมฆช้นั ตำ่ (ควิ มูลัส)) - สรปุ ผลการทดลองน้ีได้อย่างไร (ชนิดและรปู รา่ งของเมฆบนทอ้ งฟา้ อาจมลี กั ษณะท้ังเหมอื น และตา่ งกนั ข้ึนอยู่กบั สภาพอากาศ)

4) ขนั้ ขยายความรู้ 1. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรียนซกั ถามในประเด็นที่สงสัย และอธบิ ายเพม่ิ เติม 2. ครใู ห้นกั เรยี นประดิษฐ์แผน่ ส่องชนิดเมฆ เพอื่ ใชใ้ นการตรวจสอบลักษณะของเมฆบนท้องฟ้า 3. นักเรียนรว่ มกันสรปุ ส่งิ ท่ีเข้าใจเป็นความรูร้ ว่ มกันตามประเด็น ดงั นี้ ดว้ ยการใช้การเรียนรู้ แบบร่วมมอื (think-pair-share) - กระบวนการเกิดเมฆ - วธิ กี ารประดิษฐ์แผ่นสังเกตชนดิ ของเมฆ - วิธีการใชเ้ ครอ่ื งมือสงั เกตชนดิ ของเมฆ - รปู รา่ งและชนดิ ของเมฆ 5) ข้ันประเมิน 1. นกั เรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรูส้ ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั นี้ - ส่งิ ทนี่ กั เรยี นไดเ้ รียนรูใ้ นวนั น้คี อื อะไร - นักเรยี นมีหน้าทอ่ี ะไรในกิจกรรมในกล่มุ - นักเรียนยังไมเ่ ขา้ ใจในสิ่งใด และอยากรอู้ ะไรเพิ่มเติม - นักเรยี นมคี วามพงึ พอใจกับการเรยี นในวันนี้หรือไม่ เพยี งใด - นักเรยี นจะนำความรู้ทีไ่ ดน้ ี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั อยา่ งไร 9. ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1. คลปิ วดิ โี อ เรอ่ื ง ลกั ษณะของเมฆ 2. หนงั สอื เรยี น รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 3. power point ประกอบการสอนเรอื่ ง การเกดิ เมฆ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัส ว21101 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง ช่ือหน่วยการเรยี นรู้บรรยากาศ เร่อื ง เครอ่ื งวัดปรมิ าณนำ้ ฝนอยา่ งง่าย 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ฝน เกิดจากไอน้ำท่ีกลนั่ ตัวเป็นสายของน้ำแล้วรวมตวั กันมีขนาดโตจนมนี ้ำหนักมากพอที่จะลงสูพ่ ื้นโลก มาตรวดั น้ำฝน เป็นอุปกรณท์ ี่ใช้วัดปริมาณนำ้ ฝนท่ตี กลงมา มาตรนี้ทำเป็นรูปหลอดแก้วทรงกระบอกยาว กรวยท่อี ย่สู ว่ นปลายของหลอดแก้วจะรองรับน้ำฝนให้ไหลลงสหู่ ลอดแก้ว จากนนั้ ก็สามารถวดั ปรมิ าณของฝนที่ ตกลงมา โดยอ่านค่าตวั เลขบนมาตรท่เี ปน็ เสน้ ขีดท่ตี รงกับระดับนำ้ ฝนในหลอดแก้วในบริเวณพื้นท่ที ่ีมีฝนตก สม่ำเสมอทวั่ บริเวณ ความสูงของน้ำที่ตกลงในภาชนะในชว่ งเวลาเดยี วกนั จะมีความสงู เกอื บเทา่ กนั ถึงแม้วา่ จะใช้ภาชนะทมี่ ีขนาดแตกตา่ งกัน แต่ปรมิ าณของน้ำทีร่ องรับได้จะแตกต่างกนั เน่ืองจากภาชนะที่มขี นาดใหญ่ พื้นทีห่ น้าตดั กว้างจะมีปริมาณน้ำฝนมากกว่า 2. ตวั ชวี้ ดั /จุดประสงค์การเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธิบายปจั จยั ที่มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงองค์ประกอบของลมฟา้ อากาศจากข้อมูลท่ี รวบรวมได้ จุดประสงคก์ าเรยี นรู้ 1. อธบิ ายวธิ ีการวัดปรมิ าณนำ้ ฝนได้ (K) 2. เลือกใช้เครื่องมือและปฏบิ ตั ิกิจกรรมการทดลองได้อยา่ งถูกตอ้ ง (P) 3. มคี วามรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง อากาศ คือ สสารที่เปน็ ส่ิงจำเป็นตอ่ การดำรงชีวิตของสง่ิ มชี วี ติ บนผิวโลก เป็นสิ่งที่มนี ้ำหนักตอ้ งการที่อยู่ มีตัวตน และสามารถสมั ผัสได้ดว้ ยประสาทสัมผสั ท้งั ห้า แหล่งทีพ่ บอากาศ คือ ทกุ หนทุกแหง่ บนพ้ืนผิวโลกอยู่รอบตัวเรา บนพ้ืนดิน พืน้ น้ำ บนภูเขาและมอี ยู่ ต้งั แตบ่ นพ้ืนดนิ ขนึ้ ไปถึงระดบั สูง ๆ ในทอ้ งฟา้ บรรยากาศ คือ อากาศท่ีอยรู่ อบตัวเราต้งั แต่พนื้ ดินขน้ึ ไปจนถงึ ระดบั สงู ๆ บนทอ้ งฟ้าหรืออากาศที่ ห่อหมุ้ โลกเรา ส่วนประกอบของอากาศ ได้แก่ แกส๊ ไนโตรเจน (N2) 78.08% แก๊สออกซเิ จน (O2) 20.95% แก๊ส อาร์กอน (Ar) 0.93% แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อืน่ ๆ 0.01% โลกมบี รรยากาศ

ห่อหุม้ นกั วิทยาศาสตร์ใช้สมบัตแิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเปน็ ชน้ั ซึง่ แบง่ ไดห้ ลายรูปแบบตามเกณฑ์ท่แี ตกต่างกนั บรรยากาศแตล่ ะช้ันมปี ระโยชนต์ อ่ ส่ิงมีชวี ิตแตกต่างกัน ประโยชน์ของแก๊สโอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดูดกลืนรงั สีอัลตราไวโอเลตได้ ถา้ ปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พ้นื โลกไดร้ บั รังสีอลั ตราไวโอเลตสูงพอทีจ่ ะเผาไหมผ้ วิ หนงั ของ ส่งิ มชี ีวติ ได้ ส่งผลต่อการเกดิ มะเร็งทผ่ี ิวหนัง นกั วิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ติ ามความสงู แบ่งบรรยากาศไดเ้ ปน็ 5 ชนั้ ได้แก่ ชนั้ โทรโพสเฟียร์ ช้นั สตราโตสเฟยี ร์ ชัน้ มีโซสเฟยี ร์ ชัน้ เทอร์โมสเฟียร์ และชนั้ เอกโซสเฟียร์ บรรยากาศแตล่ ะช้นั มีประโยชน์ตอ่ สง่ิ มีชวี ิตแตกตา่ งกนั โดยชั้นโทรโพสเฟียร์มีปรากฏการณ์ ลมฟ้าอากาศทสี่ ำคัญตอ่ การดำรงชีวติ ของสงิ่ มชี วี ิต ชน้ั สตราโตสเฟียร์ชว่ ยดูดกลืนรังสีอลั ตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ชั้นมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเลก็ ลดโอกาสท่ีจะทำความเสียหายแก่ส่ิงมีชีวิตบนโลก ชั้นเทอร์โมสเฟยี ร์สามารถสะท้อน คล่ืนวทิ ยุ และชัน้ เอกโซสเฟียรเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ - 3.3 การบรู ณาการ - รายวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 4.1 มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ 5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 5.1 มวี ินัย 5.2 มีจิตสาธารณะ 6 .ชนิ้ งาน/ภาระงาน 6.1 การทดลอง 7. การวัดผลประเมินผล วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ารทำกจิ กรรม แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิการทำกิจกรรม ระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไป 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซงึ่ มขี ัน้ ตอนดังน้ี 1) ขั้นสรา้ งความสนใจ 1. นักเรยี นร่วมกนั สนทนาทบทวนความร้เู ดิมจากประสบการณ์ของนักเรยี น โดยรว่ มกนั ตอบ คำถามสำคญั ดงั น้ี - หยาดนำ้ ฟา้ หรอื ฝน มลี ักษณะอยา่ งไร (เป็นเมด็ ของเหลว มเี ส้นผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ

0.5 เซนตเิ มตร) - ฝนเกดิ ข้นึ ได้อยา่ งไร (ฝนเกิดจากไอนำ้ ท่ีกล่ันตัวเป็นสายของนำ้ แลว้ รวมตัวกนั มีขนาดโตจนมี น้ำหนักมากพอท่ีจะลงสพู่ ้ืนโลก) - เมฆในลักษณะใดทีท่ ำให้เกิดฝน (เมฆทมี่ ลี ักษณะการก่อตัวขนาดใหญ)่ - นกั เรียนจะมวี ิธอี ะไรบ้างใช้บอกปริมาณนำ้ ฝนได้ (ตวั อยา่ งคำตอบ สร้างเคร่ืองมืออยา่ งง่ายใน การวัดปริมาณน้ำฝน) - การวัดปรมิ าณน้ำฝนมีองค์ประกอบสำคัญอะไร (เกณฑ์ของฝนทีต่ กในประเทศแถบโซนร้อน ในยา่ นมรสมุ ตามปริมาณน้ำฝนท่ีตกรวมระยะเวลา 24 ช่วั โมง) 2) ขัน้ สำรวจและค้นหา 1. นกั เรียนแบ่งกลุ่มกลมุ่ ละ 5-6 คน ศกึ ษาเอกสารความรู้ และดูคลิปวิดีโอเร่ือง การวัดปรมิ าณ น้ำฝน การนำความรมู้ าใช้ประโยชน์ เพ่อื เปน็ การเสรมิ สรา้ งแรงดนั บาลใจในการเรยี น 2. ครใู ห้นกั เรียน สืบคน้ ขอ้ มูลเกี่ยวกับการวัดปริมาณน้ำฝนจำเป็นอย่างไร และส่งผลอย่างไรกับ การดำรงชีวิตของมนุษย์ ศกึ ษาจากแหลง่ การเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย แลว้ นำเสนอผลการสบื ค้นข้อมูลแลกเปลีย่ น เรียนรูร้ ว่ มกนั 3. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศกึ ษาวธิ ีการทำกจิ กรรม เรื่อง การวัดปริมาณน้ำฝน และบันทกึ ผล การทำกจิ กรรมในใบงาน เร่ือง การวดั ปรมิ าณนำ้ ฝน 4. นกั เรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ ก่อนทำกจิ กรรม โดยสมาชิกในกลุ่มร่วมกนั ตอบคำถามก่อนทำกิจกรรม ดงั น้ี - ปัญหาของการทดลองนี้คอื อะไร (ปริมาณนำ้ ฝนสามารถวดั ได้อยา่ งไร) - นกั เรียนคดิ ว่าเราจะมวี ธิ ีวดั ปริมาณน้ำฝนอยา่ งไร (ใช้เคร่ืองวดั ปรมิ าณนำ้ ฝนทปี่ ระดษิ ฐ์ วดั ปริมาณนำ้ ฝนทต่ี กลงมา) ๕. ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยครูเดินดรู อบๆ ห้องเรียนและเปิด โอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนซักถามเม่อื มปี ญั หา 3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป 1. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดย รว่ มกันตอบคำถามหลังทำกจิ กรรม ดังนี้ - เครอื่ งวดั ปรมิ าณน้ำฝนทไี่ ด้ วัดปริมาณนำ้ ฝนได้หรือไม่ อย่างไร (ได้ โดยปรมิ าณน้ำฝน สามารถวดั ได้จากหลักการของเครอ่ื งวัดปริมาณน้ำฝน) - เหตใุ ดเมอ่ื วัดปริมาณน้ำฝนด้วยเครอ่ื งวัดขา้ งต้นแล้ว ควรเทน้ำฝนจากเคร่ืองวัดก่อนใช้ครั้ง ตอ่ ไป (เพราะจะไดว้ ดั ปรมิ าณนำ้ ฝนได้อยา่ งถูกต้องและไมค่ ลาดเคลือ่ น) - สรุปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร (ปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาสามารถวดั ได้โดยใช้มาตรวัดน้ำฝน) 4) ขัน้ ขยายความรู้ 1. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซกั ถามในประเดน็ ที่สงสัย และอธบิ ายเพมิ่ เตมิ - ถ้าใชข้ วดทม่ี เี ส้นผา่ นศูนย์กลางต่างกัน ปรมิ าณน้ำฝนที่วัดไดจ้ ะเทา่ กนั หรือไม่ อย่างไร (ใน บรเิ วณพื้นท่ที ี่มีฝนตกสม่ำเสมอทั่วบริเวณ ความสงู ของน้ำที่ตกลงในภาชนะในช่วงเวลาเดียวกัน จะมีความสูง เกอื บเท่ากัน ถึงแมว้ ่าจะใช้ภาชนะทมี่ ขี นาดแตกต่างกัน แต่ปริมาตรของนำ้ ท่ีรองรับได้จะแตกต่างกัน เนื่องจาก

ภาชนะที่มีขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางมากจะมีปรมิ าณนำ้ ฝนมากกว่าภาชนะทีม่ ีขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง นอ้ ย ดงั นั้น ในการวดั ปริมาณฝนท่ีตกลงมาในแต่ละคร้งั ณ บรเิ วณหนง่ึ ๆ จะวัดเป็นความสงู มีหนว่ ยเปน็ มิลลเิ มตร(mm)) - เคร่ืองวัดปริมาณนำ้ ฝนข้างต้นทไี่ ด้เป็นการใช้ทรัพยากรท่ีมอี ยู่ให้เกิดประโยชนห์ รือไม่ อยา่ งไร (เปน็ เพราะเป็นการนำวัสดุพลาสตกิ มารีไซเคลิ ใช้ประโยชนอ์ ยา่ งอน่ื ไดต้ ่อ) 3. นกั เรยี นร่วมกันสรุปสง่ิ ท่ีเข้าใจเปน็ ความรู้ร่วมกันตามประเด็น ดงั นี้ ด้วยการใช้การเรียนรู้ แบบร่วมมือ (think-pair-share) - กระบวนการเกดิ เมฆ - วิธกี ารประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งวดั ปรมิ าณน้ำฝน - วธิ ีการใช้เคร่อื งวดั ปริมาตรวัดน้ำฝน - ความหมายของมาตรวัดนำ้ ฝน 5) ขน้ั ประเมนิ 1. นักเรยี นคิดประเมนิ เพื่อเพิ่มคณุ คา่ เก่ยี วกบั การเหน็ ถึงความสำคญั และประโยชนข์ องฝน โดยร่วมกันตอบคำถาม ดังนี้ - ฝนมปี ระโยชน์ต่อเราอยา่ งไร (ใชใ้ นการอุปโภค บริโภคต่าง ๆ ลดอณุ หภูมขิ องอากาศ ทำให้ ร้สู กึ เยน็ สบาย) - ฝนมีประโยชน์ต่อการอตุ สาหกรรมอยา่ งไร (เป็นตัวชว่ ยลดความรอ้ นในกระบวนการผลิต แหล่งผลิตน้ำประปา) - ฝนมปี ระโยชนต์ ่อการเกษตรกรรมอย่างไร (มนี ำ้ ในเข่ือน/อ่างกกั เก็บนำ้ เพื่อใช้ประโยชน์ ทางเกษตรกรรมโดยใช้ในการเพาะปลูก) 2. นกั เรียนประเมนิ ตนเอง โดยเขียนแสดงความรูส้ ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั นี้ - สิง่ ทน่ี กั เรียนได้เรยี นรู้ในวันนคี้ ืออะไร - นักเรียนมีหน้าทอ่ี ะไรในกจิ กรรมในกล่มุ - นกั เรียนยังไมเ่ ขา้ ใจในสิง่ ใด และอยากรู้อะไรเพิ่มเติม - นักเรียนมคี วามพึงพอใจกับการเรยี นในวันน้หี รอื ไม่ เพยี งใด - นกั เรยี นจะนำความรู้ท่ีไดน้ ้ีไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครวั อย่างไร 9. สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1. คลปิ วดิ ีโอ เรื่อง การวัดปริมาณน้ำฝน 2. หนงั สือเรียน รายวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 3. power point ประกอบการสอนเร่อื ง การวัดปริมาณน้ำฝน

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหัส ว21101 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 เวลาเรียน 4 ช่ัวโมง ช่ือหน่วยการเรยี นรู้บรรยากาศ เรอ่ื ง พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมนุ เขตร้อน 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด หมอก เป็นกลุ่มของไอน้ำในอากาศทีร่ วมตัวกันหนาแนน่ อย่ใู นระดับต่ำใกลผ้ วิ โลก สามารถมองเห็นได้ ดว้ ย ตาเปล่า ลอยอย่ใู นอากาศใกล้พื้นดนิ ซ่ึงทำให้ทศั นวสิ ยั หรือการมองเหน็ เลวลง เปน็ อันตรายตอ่ การจราจรท้งั ทางบกและทางอากาศ นำ้ คา้ ง คือ ละอองไอน้ำทรี่ วมตวั เป็นหยดน้ำที่เกาะตามใบไม้ใบหญา้ ใกลพ้ นื้ ดนิ สว่ นมากจะเกิดตอน ใกล้สวา่ ง น้ำคา้ งแข็ง คือ ไอนำ้ ทกี่ ล่นั ตัวเปน็ น้ำคา้ งอยูบ่ นวัตถหุ รือพื้นผิวของใบไม้ใบหญ้า ที่อุณหภมู ิของน้ำค้าง ตำ่ กวา่ จดุ เยือกแข็ง ทำใหน้ ้ำค้างแขง็ ตัวเป็นหยดน้ำแขง็ ลกู เห็บ คือ ก้อนน้ำแข็งกลม มีขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลางประมาณ 5 มลิ ลิเมตร เกดิ จากละอองนำ้ ฝน ถูกพายหุ อบขนึ้ ไปจนถงึ บริเวณท่ีเย็นจดั จงึ จบั เป็นกอ้ นตกลงมา ส่วนมากจะเกดิ เมอื่ มีพายุฝนฟา้ คะนองอย่าง แรง พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจากการท่อี ากาศที่มอี ุณหภูมแิ ละความชนื้ สงู เคลื่อนท่ีข้ึนสรู่ ะดบั ความสงู ที่มี อุณหภูมิต่ำลง จนกระทั่งไอน้ำในอากาศเกิดการควบแนน่ เปน็ ละอองน้ำ และเกดิ ต่อเน่ืองเป็นเมฆขนาดใหญ่ พายฝุ นฟา้ คะนองทำให้เกิดฝนตกหนกั ลมกระโชกแรง ฟา้ แลบฟา้ ผา่ ซง่ึ อาจก่อใหเ้ กดิ อันตรายตอ่ ชีวิตและ ทรัพยส์ ิน พายหุ มุนเขตรอ้ นเกิดเหนอื มหาสมทุ ร หรอื ทะเล ทีน่ ้ำมีอุณหภมู ิสงู ตัง้ แต่ 26-27 องศาเซลเซียสข้ึน ไป ทำให้อากาศที่มีอุณหภมู แิ ละความชน้ื สงู บริเวณนั้นเคลื่อนทสี่ ูงขนึ้ อย่างรวดเร็วเปน็ บริเวณกวา้ ง อากาศจาก บรเิ วณอ่นื เคล่ือนเขา้ มาแทนทีแ่ ละพดั เวยี นเขา้ หาศนู ย์กลางของพายุ ยิ่งใกลศ้ นู ย์กลางอากาศจะเคลือ่ นที่พัด เวียนเกอื บเปน็ วงกลมและมีอัตราเร็วสงู ทสี่ ุด พายุหมุนเขตร้อนทำให้เกดิ คล่ืนพายุซดั ฝั่ง ฝนตกหนกั ซึง่ อาจ กอ่ ให้เกิดอนั ตรายต่อชวี ิตและทรพั ยส์ นิ จึงควรปฏิบัตติ นให้ปลอดภยั โดยตดิ ตามข่าวสารการพยากรณ์อากาศ และไมเ่ ข้าไปอยู่ในพื้นท่ีที่เสยี่ งภัย 2. ตัวชีว้ ัด/จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ตวั ชี้วดั ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธิบายปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบของลมฟา้ อากาศจากขอ้ มูลที่ รวบรวมได้ ว 3.2 ม.1/3 เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนอง และพายหุ มุนเขตร้อน และผลทม่ี ีต่อ สง่ิ มีชวี ติ และส่ิงแวดล้อม รวมทง้ั นำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและปลอดภัย จดุ ประสงคก์ าเรยี นรู้ 1. อธิบายลักษณะและการเกดิ ของหมอก นำ้ ค้าง นำ้ ค้างแข็งและลกู เห็บได้ (K) 2. อธบิ ายลักษณะและการเกดิ ของพายุฝนฟา้ คะนองและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวติ และสงิ่ แวดล้อมได้ (K)

3. อธิบายลักษณะและการเกดิ ของพายหุ มุนเขตร้อนและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ มได้ (K) 4. อธบิ ายความแตกต่างของประเภทพายไุ ด้ (K) 5. อธบิ ายและวิธกี ารปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัยจากพายุประเภทต่างๆได้ (K) 6. สบื ค้นขอ้ มูลเก่ยี วกบั การเกดิ ปรากฏการณ์พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนท่ีเกิดขนึ้ ใน ประเทศไทย (P) 7. จำแนกประเภท ชนิดของพายุและพายหุ มนุ เขตร้อนได้ (P) 7. มีความรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง อากาศ คือ สสารที่เป็นสง่ิ จำเปน็ ต่อการดำรงชวี ติ ของส่งิ มีชวี ติ บนผิวโลก เปน็ ส่ิงท่ีมนี ้ำหนักต้องการที่อยู่ มีตวั ตน และสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสมั ผสั ทัง้ ห้า แหลง่ ที่พบอากาศ คือ ทกุ หนทกุ แห่งบนพ้ืนผิวโลกอยู่รอบตัวเรา บนพ้ืนดนิ พื้นนำ้ บนภเู ขาและมอี ยู่ ตงั้ แต่บนพ้ืนดินขึน้ ไปถงึ ระดับสงู ๆ ในทอ้ งฟ้า บรรยากาศ คือ อากาศทีอ่ ยู่รอบตัวเราต้ังแต่พืน้ ดนิ ขน้ึ ไปจนถงึ ระดับสงู ๆ บนท้องฟ้าหรืออากาศท่ี หอ่ หมุ้ โลกเรา สว่ นประกอบของอากาศ ได้แก่ แกส๊ ไนโตรเจน (N2) 78.08% แกส๊ ออกซเิ จน (O2) 20.95% แก๊ส อาร์กอน (Ar) 0.93% แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อน่ื ๆ 0.01% โลกมีบรรยากาศ หอ่ หมุ้ นกั วิทยาศาสตร์ใช้สมบตั แิ ละองค์ประกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเปน็ ชั้น ซ่ึง แบง่ ไดห้ ลายรูปแบบตามเกณฑ์ท่แี ตกต่างกัน บรรยากาศแต่ละชนั้ มีประโยชน์ตอ่ สิ่งมีชวี ิตแตกต่างกัน ประโยชน์ของแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดดู กลนื รงั สีอลั ตราไวโอเลตได้ ถา้ ปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พืน้ โลกไดร้ บั รังสอี ลั ตราไวโอเลตสูงพอทีจ่ ะเผาไหม้ผวิ หนังของ สิ่งมชี ีวติ ได้ ส่งผลต่อการเกดิ มะเรง็ ทผ่ี ิวหนัง นกั วทิ ยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ติ ามความสงู แบ่งบรรยากาศได้เป็น 5 ชน้ั ไดแ้ ก่ ช้ันโทรโพสเฟียร์ ชนั้ สตราโตสเฟยี ร์ ชั้นมโี ซสเฟียร์ ช้นั เทอร์โมสเฟยี ร์ และชน้ั เอกโซสเฟียร์ บรรยากาศแตล่ ะชัน้ มีประโยชน์ต่อส่งิ มชี วี ติ แตกตา่ งกนั โดยช้ันโทรโพสเฟยี ร์มีปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศทสี่ ำคญั ต่อการดำรงชวี ติ ของสิ่งมีชีวิต ชนั้ สตราโตสเฟยี รช์ ่วยดดู กลืนรงั สีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกที่ผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเล็ก ลดโอกาสทจี่ ะทำความเสียหายแก่สิง่ มชี ีวิตบนโลก ชน้ั เทอร์โมสเฟียร์สามารถสะท้อน คลนื่ วทิ ยุ และชนั้ เอกโซสเฟยี รเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ - 3.3 การบูรณาการ - รายวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน 4.1 มีความสามารถในการแกป้ ัญหา 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 5.1 มีวินัย

5.2 มีจติ สาธารณะ 6 .ชิ้นงาน/ภาระงาน 6.1 การทดลอง 7. การวดั ผลประเมนิ ผล วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ประเมนิ การปฏบิ ัติการทำกจิ กรรม แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติการทำกิจกรรม ระดับคุณภาพ ดี ขน้ึ ไป 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั กิจกรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซึ่งมขี ้ันตอนดงั น้ี 1) ขน้ั สร้างความสนใจ 1. นักเรียนร่วมกนั สนทนาทบทวนความรู้เดิมจากประสบการณข์ องนักเรียน โดยร่วมกนั ตอบ คำถามสำคัญ ดังน้ี - พายุฝนฟา้ คะนองคืออะไร (ปรากฏการณ์ของอากาศซ่ึงมีกระแสลมแรง ฟ้าแลบ ฟา้ รอ้ ง) - พายุหมนุ เขตร้อนคืออะไร (พายหุ มนุ หรอื พายุไซโคลนท่เี กิดเหนอื มหาสมุทรเขตร้อนแถบ ละตจิ ดู ต่ำ แต่อยู่นอกเขตบรเิ วณเส้นศูนยส์ ตู ร เกิดในมหาสมุทร หรือทะเลที่มีอณุ หภูมติ ั้งแต่ 26-27 องศา เซลเซยี สขน้ึ ไป) 2) ขั้นสำรวจและค้นหา 1. นักเรียนแบง่ กลุ่มกลุ่มละ 5-6 คน ศกึ ษาเอกสารความรู้ และดูคลปิ วิดโี อเรื่อง การเกิดของ หมอก นำ้ ค้าง น้ำค้างแข็งและลกู เห็บ การเกิดพายุ และนำความรูม้ าใช้ประโยชน์ เพือ่ เป็นการเสริมสร้าง แรงดนั บาลใจในการเรียน 2. ครใู หน้ ักเรยี น สืบคน้ ข้อมูลเกย่ี วกับชนิดและประเภทของพายฝุ นฟ้าคะนอง และพายหุ มุนเขต ร้อน และผลกระทบต่อสง่ิ มชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม ศกึ ษาจากแหล่งการเรยี นรูท้ หี่ ลากหลาย แล้วนำเสนอผลการ สืบคน้ ขอ้ มูลแลกเปล่ียนเรียนรู้รว่ มกันในรปู แบบแผนผงั มโนทัศน์ 3. ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยครเู ดนิ ดูรอบๆ หอ้ งเรียนและเปดิ โอกาสให้นักเรยี นทกุ คนซกั ถามเม่อื มีปญั หา 3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป 1. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดย ร่วมกันตอบคำถามหลงั ทำกิจกรรม ดงั นี้ - พายุฝนฟา้ คะนอง เกิดจากการทีอ่ ากาศท่ีมอี ุณหภมู ิและความช้ืนสูงเคลื่อนท่ขี น้ึ ส่รู ะดบั ความสูงท่มี ีอุณหภมู ติ ่ำ ลง จนกระทั่งไอนำ้ ในอากาศเกิดการควบแน่นเปน็ ละอองน้ำ และเกิดต่อเน่ืองเป็นเมฆ ขนาดใหญ่ พายุฝนฟา้ คะนองทำใหเ้ กดิ ฝนตกหนกั ลมกระโชกแรง ฟา้ แลบฟา้ ผ่า ซ่ึงอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายต่อ ชวี ติ และทรัพย์สิน

- พายุหมนุ เขตร้อนเกิดเหนอื มหาสมุทร หรือทะเล ทนี่ ้ำมีอุณหภมู สิ ูงตัง้ แต่ 26-27 องศา เซลเซยี สขน้ึ ไป ทำให้อากาศท่ีมอี ณุ หภมู ิและความช้นื สูงบริเวณนัน้ เคล่อื นทส่ี งู ขึ้นอยา่ งรวดเร็วเป็นบรเิ วณกว้าง อากาศจากบริเวณอืน่ เคล่ือนเขา้ มาแทนทแ่ี ละพัดเวยี นเขา้ หาศูนยก์ ลางของพายุ ยงิ่ ใกล้ศนู ย์กลางอากาศจะ เคล่อื นท่ีพัดเวียนเกือบเป็นวงกลมและมอี ัตราเรว็ สงู ที่สุด พายุหมนุ เขตร้อนทำให้เกิดคลื่นพายุซัดฝั่ง ฝนตกหนัก ซึ่งอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายต่อชีวติ และทรัพยส์ นิ จงึ ควรปฏิบัตติ นให้ปลอดภยั โดยติดตามข่าวสารการพยากรณ์ อากาศ และไมเ่ ขา้ ไปอยู่ในพื้นที่ทเี่ สย่ี งภยั 4) ขั้นขยายความรู้ 1. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรียนซกั ถามในประเด็นที่สงสัย และอธบิ ายเพ่ิมเติม - พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนมีกระบวนการเกิดเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร (ไม่ เหมือนกัน พายุฝนฟ้าคะนองเกิดจากอากาศที่มีอุณหภูมิและความช้ืนสูงเคลื่อนที่ขึ้นสู่ระดับความสูงที่มี อณุ หภูมิต่ำลง ทำให้ไอน้ำควบแน่นเป็นละอองน้ำ เกิดฝนตกหนักพายหุ มุนเขตร้อนเกิดจากบริเวณสองแห่งท่ีมี ความกดอากาศแตกต่างกนั มาก ทำใหเ้ กิดลมพายุพัดวนรอบจดุ ศนู ยก์ ลางจุดหน่งึ ) - พายุฝนฟา้ คะนองและพายหุ มุนเขตร้อนสง่ ผลกระทบตอ่ ส่งิ มีชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งไร (ต้นไม้ถอนรากถอนโคน เรือกสวนไร่นาเสียหาย ฝนตกหนักทำให้น้ำท่วมฉับพลัน เกิดน้ำป่าไหลหลากและ แผน่ ดนิ ถล่ม) - นักเรียนมีแนวทางปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน อย่างไรบ้าง (ติดตามข่าวสารจากกรมอุตุนิยมวิทยา เตรียมอุปกรณ์ฉุกเฉิน เครื่องอุปโภคบริโภค เมื่อเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน ไม่ควรอยู่ในที่โล่งแจ้งและไม่ควรมีส่ือนำประจุไฟฟ้าอยู่ในตัว ควรหลบใน อาคารทปี่ ลอดภัยและมีความแขง็ แรง) 2. นกั เรยี นร่วมกันสรปุ สง่ิ ทีเ่ ข้าใจเปน็ ความรรู้ ว่ มกนั ตามประเด็น ดงั น้ี ด้วยการใชก้ ารเรียนรู้ แบบรว่ มมอื (think-pair-share) - กระบวนการเกิดพายุฝนฟา้ คะนอง และพายหุ มุนเขตรอ้ น - ผลกระทบที่มตี ่อสิง่ มชี วี ิตและสิง่ แวดล้อม เมื่อเกดิ พายฝุ นฟ้าคะนองกับพายหุ มุนเขตร้อน - แนวทางการปฏิบัตติ นให้เหมาะสมและปลอดภัย เมือ่ เกิดพายฝุ นฟา้ คะนองกับพายุหมุนรอ้ น 5) ขน้ั ประเมิน 1. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความร้สู ึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั น้ี - ส่งิ ที่นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ในวันน้คี ืออะไร - นักเรียนมีหน้าทอ่ี ะไรในกจิ กรรมในกลมุ่ - นกั เรียนยังไมเ่ ขา้ ใจในส่ิงใด และอยากรู้อะไรเพิ่มเติม - นักเรียนมีความพึงพอใจกบั การเรยี นในวนั น้หี รอื ไม่ เพยี งใด - นักเรียนจะนำความรู้ทไี่ ด้นี้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครัวอย่างไร 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 9.1 สอื่ การเรียนรู้ 1. คลปิ วดิ ีโอ เรอ่ื ง การเกดิ ของหมอก นำ้ ค้าง นำ้ คา้ งแขง็ และลูกเห็บ การเกดิ พายุ 2. หนงั สือเรยี น รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 3. power point ประกอบการสอนเรอ่ื ง การเกดิ ของหมอก นำ้ คา้ ง นำ้ ค้างแขง็ และลูกเหบ็ การเกิด พายุ

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 12 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหสั ว21101 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลาเรยี น 2 ชัว่ โมง ช่ือหน่วยการเรียนรู้บรรยากาศ เร่ือง การพยากรณ์อากาศ 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การพยากรณ์อากาศ เป็นการคาดการณ์ลมฟ้าอากาศที่จะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมีการตรวจวัด องค์ประกอบลมฟา้ อากาศ การสื่อสารแลกเปลยี่ นข้อมูลองค์ประกอบลมฟา้ อากาศระหว่างพ้ืนที่การวิเคราะห์ ขอ้ มลู และสร้างคำพยากรณ์อากาศ การพยากรณ์อากาศ สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การใช้ ชวี ติ ประจำวัน การคมนาคม การเกษตร การป้องกนั และเฝา้ ระวงั ภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ 2. ตัวชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/4 อธิบายการพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์อากาศอย่างง่ายจากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ ว 3.2 ม.1/5 ตระหนักถงึ คุณค่าของการพยากรณ์อากาศ โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัตติ นและ การใช้ประโยชนจ์ ากคำพยากรณ์อากาศ จุดประสงคก์ าเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของอตุ นุ ิยมวทิ ยา กรมอุตนุ ิยมวิทยา การพยากรณ์อากาศ และอ่านแผนท่ี อากาศกรมอุตุนิยมวิทยาได้ (K) 2. ระบสุ ญั ลักษณ์การรายงานพยากรณ์อากาศ และบอกแนวทางการปฏิบตั ิตนของข้อมูลจากการ พยากรณ์อากาศได้ (K) 3. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกบั การแปลความหมายข้อมลู เกี่ยวกับการพยากรณอ์ ากาศประจำวนั ได้ (P) 4. มีความรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง อากาศ คือ สสารท่ีเปน็ สิง่ จำเป็นต่อการดำรงชีวติ ของส่ิงมีชีวิตบนผิวโลก เป็นสิง่ ทม่ี นี ้ำหนกั ต้องการที่อยู่ มตี ัวตน และสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสมั ผสั ท้ังหา้ แหล่งท่ีพบอากาศ คือ ทุกหนทุกแหง่ บนพืน้ ผิวโลกอยู่รอบตัวเรา บนพน้ื ดนิ พนื้ นำ้ บนภูเขาและมอี ยู่ ต้ังแต่บนพื้นดนิ ข้นึ ไปถึงระดบั สูง ๆ ในท้องฟ้า บรรยากาศ คือ อากาศที่อยู่รอบตัวเราตัง้ แต่พืน้ ดินขนึ้ ไปจนถงึ ระดับสูง ๆ บนทอ้ งฟ้าหรืออากาศท่ี ห่อหมุ้ โลกเรา สว่ นประกอบของอากาศ ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน (N2) 78.08% แก๊สออกซเิ จน (O2) 20.95% แก๊ส อารก์ อน (Ar) 0.93% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03% และแกส๊ อื่น ๆ 0.01% โลกมบี รรยากาศ หอ่ ห้มุ นักวิทยาศาสตร์ใชส้ มบัตแิ ละองค์ประกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลกออกเป็นช้ัน ซ่งึ แบง่ ได้หลายรูปแบบตามเกณฑ์ทแ่ี ตกต่างกัน บรรยากาศแต่ละชนั้ มปี ระโยชนต์ ่อส่ิงมีชวี ิตแตกตา่ งกัน

ประโยชนข์ องแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ โอโซนสามารถดดู กลนื รงั สีอัลตราไวโอเลตได้ ถา้ ปราศจากแก๊ส โอโซน จะทำให้พ้นื โลกไดร้ บั รังสอี ัลตราไวโอเลตสูงพอท่จี ะเผาไหม้ผิวหนังของ สงิ่ มีชีวติ ได้ สง่ ผลตอ่ การเกิด มะเร็งที่ผิวหนงั นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิตามความสงู แบง่ บรรยากาศได้เป็น 5 ชนั้ ไดแ้ ก่ ช้ันโทรโพสเฟยี ร์ ช้ันสตราโตสเฟียร์ ช้ันมีโซสเฟยี ร์ ชนั้ เทอร์โมสเฟยี ร์ และชัน้ เอกโซสเฟียร์ บรรยากาศแตล่ ะช้นั มีประโยชน์ต่อส่ิงมชี วี ิตแตกตา่ งกนั โดยชนั้ โทรโพสเฟยี ร์มีปรากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศทส่ี ำคัญต่อการดำรงชวี ิตของสิง่ มชี ีวติ ช้ันสตราโตสเฟยี ร์ชว่ ยดูดกลนื รงั สีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการเผา ไหม้กลายเป็นวตั ถขุ นาดเลก็ ลดโอกาสทจี่ ะทำความเสียหายแก่ส่งิ มีชีวติ บนโลก ชั้นเทอร์โมสเฟียร์สามารถสะท้อน คลื่นวิทยุ และชนั้ เอกโซสเฟียรเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับตำ่ 3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ - 3.3 การบรู ณาการ - รายวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 4.1 มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.1 มีวินัย 5.2 มีจิตสาธารณะ 6 .ชน้ิ งาน/ภาระงาน 6.1 แผนผงั มโนทศั น์ 6.2 ช้ินงานวิเคราะห์สถานการณ์การพยากรณ์อากาศ 6.3 ผลการปฏบิ ัติกิจกรรม 7. การวัดผลประเมินผล วธิ กี าร เคร่ืองมอื เกณฑ์ ประเมนิ การปฏิบตั ิการทำกจิ กรรม แบบประเมินผลการปฏบิ ตั กิ ารทำกิจกรรม ระดับคุณภาพ ดี ขึน้ ไป ประเมินชิ้นงานการพยากรณ์ แบบประเมินชิ้นงาน ระดับคุณภาพ ดี ข้ึนไป อากาศ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซึ่งมขี ้นั ตอนดังน้ี 1) ข้ันสรา้ งความสนใจ 1. นักเรียนร่วมกนั สนทนาทบทวนความร้เู ดมิ จากประสบการณ์ของนักเรยี น โดยรว่ มกันตอบ คำถามสำคัญ ดังน้ี

- วันนีอ้ ุตนุ ยิ มวิทยาวา่ อยา่ งไรบา้ ง (ตวั อยา่ งคำตอบ วันน้มี ฝี นเกอื บทว่ั ไป ท้องฟ้ามเี มฆมาก) - พยากรณ์อากาศ รายงานวา่ อากาศในวนั น้มี ฝี นกระจายบางพ้ืนที่ ท้องฟา้ มีเมฆบางสว่ น หมายความวา่ อย่างไร (หมายความว่ามีฝนตกตง้ั แตร่ ้อยละ 20.1 – 40.0 ของพน้ื ที่ และท้องฟ้ามีเมฆเกนิ 3 ส่วน ถึง 5 สว่ นของทอ้ งฟ้า) - การพยากรณอ์ ากาศต้องใชเ้ กณฑ์มาวเิ คราะหข์ ้อมูลประกอบการรายงานหรอื ไม่ มเี กณฑ์ อะไรบ้างท่ีต้องใชใ้ นการรายงานการพยากรณ์อากาศ (การพยากรณ์อากาศต้องใชเ้ กณฑ์มาวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบการรายงาน ไดแ้ ก่ เกณฑ์อากาศร้อน เกณฑอ์ ากาศหนาว เกณฑ์กระจายของฝน เกณฑ์ปริมาณฝน และเกณฑจ์ ำนวนเมฆในท้องฟ้า ฟา้ หลัว ลมพดั สอบ บริเวณความกดอากาศสูง บรเิ วณความกดอากาศตำ่ และ ร่องความกดอากาศต่ำ) 2) ข้ันสำรวจและค้นหา 1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5-6 คน ดคู ลิปวิดโี อเรอื่ ง การพยากรณอ์ ากาศ และศกึ ษาเอกสาร ความรู้ สืบคน้ ข้อมูล โดยศึกษาจากแหล่งการเรียนรู้ท่หี ลากหลาย และนำความรู้มาใชป้ ระโยชน์ เพือ่ เป็น การเสริมสร้างแรงดนั บาลใจในการเรยี น ในประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี กล่มุ ท่ี 1 อตุ นุ ยิ มวทิ ยา และกรมอุตุนยิ มวทิ ยา การพยากรณอ์ ากาศ กลุ่มท่ี 2 แผนทอ่ี ากาศ และสญั ลกั ษณท์ ีใ่ ชใ้ นแผนทอ่ี ากาศ กลมุ่ ท่ี 3 เกณฑก์ ารรายงานการพยากรณ์อากาศ กล่มุ ท่ี 4 ประโยชนข์ องการพยากรณ์อากาศ 2. นำเสนอผลการสืบค้นข้อมูลแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกนั ในรปู แบบแผนผังมโนทศั น์ 3. นักเรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกันศึกษาวธิ ีการทำกิจกรรม เรื่อง การพยากรณ์อากาศ และบนั ทึกผล การทำกิจกรรมในใบงาน เรอ่ื ง การพยากรณ์อากาศ 4. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นก่อนทำกจิ กรรม โดยสมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกัน ตอบคำถามก่อนทำกจิ กรรม ดงั นี้ - ปญั หาของการทำกิจกรรมน้คี อื อะไร (การพยากรณอ์ ากาศกล่าวถึงเร่อื งใดบ้าง อยา่ งไร) - นักเรียนคดิ ว่าจะทำการสบื สอบข้อมูลพยากรณ์อากาศไดจ้ ากแหลง่ ข้อมลู ใดบ้าง (ตัวอยา่ ง คำตอบ โทรทัศน์ หนงั สือพมิ พ์ เวบ็ ไซต)์ 5. ครคู อยแนะนำช่วยเหลอื นักเรยี นขณะปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรียนและเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นทุกคนซกั ถามเมือ่ มีปัญหา 3) ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป 1. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม 2. ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดย ร่วมกนั ตอบคำถามหลงั ทำกจิ กรรม ดงั นี้ - เพราะเหตุใดจึงต้องมีการพยากรณ์อากาศ (เพราะทำให้เราได้ทราบถึงสภาวะอากาศและ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต และเพ่ือให้เราเตรียมตัวรับสถานการณ์ การเปล่ียนแปลงทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ ได้อย่างทันท่วงที) - แผนท่ีอากาศพบสัญลักษณ์อะไรบ้าง แต่ละสัญลักษณ์แปลความหมายได้อย่างไร (H แทน หย่อมความกดอากาศสูง หรือบริเวณท่ีมีความกดอากาศสูง L แทน หย่อมความกดอากาศต่ำ หรือบริเวณท่ีมี ความกดอากาศต่ำ)

- สรุปผลการทำกิจกรรมน้ีได้อย่างไร (การพยากรณ์อากาศทำให้เราทราบถึงสภาวะอากาศ และปรากฏการณท์ างธรรมชาติท่ีจะเกดิ ขึ้นในชว่ งเวลาใดเวลาหนงึ่ ในอนาคต โดยขอ้ มลู การพยากรณอ์ ากาศ ทราบไดจ้ ากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ เชน่ โทรทัศน์ หนงั สือพมิ พ์ เว็บไซต)์ 4) ขนั้ ขยายความรู้ 1. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถามในประเด็นที่สงสัย และอธิบายเพมิ่ เตมิ การพยากรณ์อากาศ เป็นการคาดการณ์ลมฟ้าอากาศที่จะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมกี ารตรวจวดั องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ การสื่อสาร แลกเปลย่ี นข้อมลู องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศระหว่างพนื้ ท่ี การวิเคราะห์ข้อมลู และสรา้ งคำพยากรณ์อากาศ การพยากรณ์อากาศ สามารถนำมาใช้ประโยชนด์ า้ นตา่ ง ๆ เช่น การใช้ชีวติ ประจำวนั การคมนาคม การเกษตร การปอ้ งกนั และเฝา้ ระวงั ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ 2. นักเรียนสืบค้นรายงานการพยากรณ์อากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา และจัดทำเป็นช้ินงานการ พยากรณ์อากาศ พร้อมวเิ คราะหส์ ถานการณแ์ นวทางในการปฏิบตั ิตนทเ่ี หมาะสม 5) ขน้ั ประเมิน 1. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขยี นแสดงความรู้สึกหลงั เรียน (Exit Ticket) ในประเด็นดงั น้ี - ส่งิ ทีน่ กั เรยี นไดเ้ รียนรูใ้ นวนั นค้ี อื อะไร - นักเรียนมีหน้าทอ่ี ะไรในกจิ กรรมในกลมุ่ - นกั เรียนยังไมเ่ ขา้ ใจในสงิ่ ใด และอยากรอู้ ะไรเพิ่มเตมิ - นกั เรียนมีความพึงพอใจกับการเรียนในวันน้ีหรือไม่ เพยี งใด - นักเรียนจะนำความรู้ทไี่ ด้น้ีไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครัวอยา่ งไร 9. ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 ส่อื การเรียนรู้ 1. คลปิ วดิ ีโอ เรอ่ื ง การพยากรณอ์ ากาศ 2. หนงั สอื เรียน รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 3. power point ประกอบการสอนเร่อื ง การพยากรณ์อากาศ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหสั ว21101 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 เวลาเรียน 4 ชั่วโมง ชื่อหน่วยการเรียนรู้บรรยากาศ เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ภูมิอากาศโลกเกดิ การเปลีย่ นแปลงอยา่ งต่อเน่ืองโดยปัจจัยทางธรรมชาติ แต่ปจั จบุ ันการเปลย่ี นแปลง ภมู อิ ากาศเกดิ ข้นึ อย่างรวดเร็ว เนื่องจากกจิ กรรมของมนษุ ย์ในการปลดปล่อยแกส๊ เรือนกระจกสู่ บรรยากาศ แก๊สเรอื นกระจกท่ีถูกปลดปล่อยมากที่สุด ได้แก่ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ซ่งึ หมุนเวียนอยใู่ นวัฏจักรคาร์บอน การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลกก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อสง่ิ มีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม เช่น การหลอมเหลว ของน้ำแขง็ ขัว้ โลก การเพิ่มข้ึนของระดบั ทะเล การเปลยี่ นแปลงวัฏจกั รน้ำ การเกิดโรคอบุ ัติใหม่และอบุ ตั ิซ้ำ และ การเกิดภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติทีร่ นุ แรงขนึ้ มนุษย์จงึ ควรเรยี นรู้แนวทางการปฏิบตั ิตนภายใต้สถานการณ์ ดงั กล่าว ท้ังแนวทางการปฏบิ ัตติ นใหเ้ หมาะสมและแนวทางการลดกิจกรรมท่ีส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลง ภมู อิ ากาศโลก 2. ตวั ช้ีวดั /จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ว 3.2 ม.1/6 อธิบายสถานการณแ์ ละผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศโลกจากข้อมูล ท่ี รวบรวมได้ ว 3.2 ม.1/7 ตระหนักถงึ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศโลก โดยนำเสนอแนวทางการ ปฏิบตั ติ นภายใต้การเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศโลก จดุ ประสงคก์ าเรียนรู้ 1. อธิบายการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศโลกสง่ ผลให้เกิดปรากฏการณต์ ่าง ๆ ได้ (K) 2. อธบิ ายผลกระทบต่อสงิ่ มีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม เนอ่ื งจากปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ที่เกิดจาก (K) 3. สืบค้นขอ้ มลู เก่ยี วกบั การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก (P) 4. มีความรอบคอบในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง อากาศ คือ สสารท่ีเปน็ สิง่ จำเปน็ ต่อการดำรงชวี ติ ของสิง่ มชี ีวิตบนผิวโลก เป็นสิ่งทีม่ ีน้ำหนกั ตอ้ งการท่ีอยู่ มตี วั ตน และสามารถสมั ผัสได้ด้วยประสาทสมั ผัสท้งั ห้า แหลง่ ท่ีพบอากาศ คือ ทุกหนทุกแห่งบนพ้นื ผิวโลกอยูร่ อบตัวเรา บนพ้ืนดนิ พนื้ นำ้ บนภูเขาและมีอยู่ ตงั้ แต่บนพนื้ ดนิ ขน้ึ ไปถึงระดบั สูง ๆ ในท้องฟ้า บรรยากาศ คือ อากาศทีอ่ ยรู่ อบตวั เราตั้งแต่พ้ืนดินขน้ึ ไปจนถงึ ระดบั สูง ๆ บนทอ้ งฟา้ หรืออากาศที่ ห่อหุม้ โลกเรา