Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปแบบการวัดและประเมินผล

รูปแบบการวัดและประเมินผล

Published by วัชรพงษ์ พิริแก้ว, 2022-08-04 08:52:50

Description: รูปแบบการวัดและประเมินผล

Search

Read the Text Version

1

1 บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเปน็ มาและความสำคัญ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการประเมินคุณภาพนักเรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มคี วามมุ่งเน้นใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรมู้ ีคณุ ธรรมกระบวนการ เรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับการศึกษา โดยยึดหลักความมีเอกภาพด้าน นโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบตั ิ กำหนดจดุ หมายที่เป็นมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด ซ่ึงถือเป็นมาตรฐานท่ี จำเป็นสำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดำรงชีวิตและการ ประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง ตลอดชีวิต โดยถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุดสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ เป็น หลกั สูตรที่เปิดโอกาสให้สถานศึกษาจดั หลกั สตู รได้ยืดหยุน่ ทง้ั ด้านเนือ้ หาสาระ เวลา และการจดั การเรียนรู้ โดยมีหลักการวัดผลประเมินผลที่สอดคล้องกับมาตรา 26 ของพระราชบัญญัติการศกึ ษาพุทธศักราช 2542 กล่าวคือ การวัดผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเน้นการปฏิบัติประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียน ดว้ ยวิธีการทห่ี ลากหลายตอ่ เน่อื งควบคู่ไปกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพือ่ ตรวจสอบการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละ ชว่ งชน้ั กำหนดให้มกี ารประเมินคณุ ภาพนักเรียนปลายภาคเรียนและปลายปีทกุ ระดับชั้นอยา่ งตอ่ เนอื่ งเป็น ประจำทุกปโี ดยให้อย่ใู นความรับผดิ ชอบของโรงเรียน การประเมินคุณภาพนักเรียนจึงเป็นมาตรการหน่ึงที่ทำให้สามารถทราบถึงสถานภาพขอ งผลผลิตซึ่ง ได้แก่ นักเรียนทำใหท้ ราบถงึ จุดเด่น จุดด้อย ในการจัดการศึกษาอันจะนำไปสู่การวางแผนพัฒนาคุณภาพ ในปีต่อ ๆ ไป ท้ังยังเปน็ การสนองนโยบายการประกนั คุณภาพของกระทรวงศึกษาธิการอีกด้วย โรงเรียน ชุมชนบ้านพบพระได้ตระหนักถึความสำคัญดังกล่าว จึงดำเนินการประเมินคุณภาพนักเรียนตามกำหนด เป็นประจำทกุ ปี เพ่ือนำผลการประเมินเป็นขอ้ มูลในการวางแผนปรบั ปรุงคุณภาพนักเรยี นต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพือ่ พัฒนาเคร่ืองมือการประเมินให้มคี ณุ ภาพทุกกลมุ่ สาระการเรียนร้แู ละทกุ ระดับชั้นเรียน 2.2 เพอื่ ประเมนิ คุณภาพนักเรยี นทุกคนและทุกระดับชั้นเรียน 2.3 เพ่อื รวบรวมข้อมลู ในการปรบั ปรงุ คณุ ภาพและจดั ทำรายงานสง่ หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง 3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สร้าง พัฒนา ปรับปรงุ เครือ่ งมอื การประเมินคุณภาพนักเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3.1.2 นักเรียนรอ้ ยละ 100 ไดร้ ับการประเมินคุณภาพทุกคนทกุ ระดับชั้นเรียน

2 3.2 เชงิ คณุ ภาพ - การวดั ผลประเมินผลการเรียนปลายภาคและปลายปีมีมาตรฐานมากขน้ึ ประสทิ ธภิ าพ 4. งบประมาณและทรพั ยากร งบประถมศกึ ษา 100,000 บาท งบมัธยมศกึ ษา 35,000 บาท รวม 135,000 บาท

3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง หลักการวัดผลและประเมนิ ผลทางการศึกษา การวัดผล (Measurement) หมายถึง กระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของส่ิงต่าง ๆ โดยใช้ เคร่ืองมืออย่างใดอย่างหน่ึง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์เช่น นายแดงสูง 180 ซม. เคร่ืองมือ คือ ท่ีวัดส่วนสูง)วัตถุชิ้นน้ีหนัก 2 กก. (เครื่องมือ คือ เครื่องช่ัง)การทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหน่ึงท่ีกระทำอย่างมีระบบเพ่ือใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ ขอ้ สอบหรอื คำถามไปกระตุน้ ใหส้ มองแสดงพฤตกิ รรมอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ออกมา การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดผล เช่นผลจากการวัดความสูงของนายแดงได้ 180 ซม. ก็อาจประเมินว่าเป็นคนที่สูงมากผลจากการช่ังน้ำหนักของวัตถุช้ินหนึ่งได้ 2 ก.ก ก็อาจจะประเมินว่า หนกั - เบา หรือ เอา- ไมเ่ อา บลูม (Bloom) และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมท่ีจะวัดออกเป็น 3 ลักษณะวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ได้แก่ การวัดเก่ียวกับ ความรู้ ความคิด (วัดด้านสมอง)วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้สึกนึกคิด (วัดด้านจิตใจ)วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย ได้แก่ การวัดเก่ียวกับการใช้กล้ามเน้ือ และ ประสาทสัมผัสสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย (วดั ด้านการปฏิบตั )ิ 1. ความสำคัญของการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ เพื่อท่ีจะทราบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ เพียงใด จำเป็นต้องมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ในอดีตการวัดและประเมินผลส่วนใหญ่ให้ ความสำคัญกบั การใช้ข้อสอบ ซ่งึ ไม่สามารถสนองเจตนารมณ์การเรยี นการสอนท่ีเน้นให้ผ้เู รียนคดิ ลงมือปฏิบัติ ด้วยกระบวนการหลากหลาย เพื่อสร้างองค์ความรู้ ดังนั้นผู้สอนต้องตระหนักว่า การเรียนการสอนและการ วดั ผลประเมนิ ผลเป็นกระบวนการเดียวกนั และจะต้องวางแผนไป พรอ้ ม ๆ กนั 2. แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนร้จู ะบรรลุตามเปา้ หมายของการเรียนการสอนท่วี างไวไ้ ด้ ควรมีแนวทางดังต่อไปนี้ 1. ตอ้ งวดั และประเมนิ ผลทั้งความรู้ ความคดิ ความสามารถ ทกั ษะ และกระบวนการ เจต คติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม รวมทั้งโอกาสในการเรียนรขู้ องผู้เรยี น 2. วธิ ีการวัดและประเมินผลตอ้ งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ทก่ี ำหนดไว้ 3. ต้องเก็บข้อมูลทไ่ี ด้จากการวดั และประเมินผลตามความเป็นจริง และต้องประเมินผล ภายใต้ขอ้ มูลท่ีมีอยู่

4 4. ผลการวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องผเู้ รยี นตอ้ งนำไปสกู่ ารแปลผลและข้อสรุปท่ี สมเหตสุ มผล 5. การวัดและประเมนิ ผลต้องมีความเทย่ี งตรงและเป็นธรรม ทัง้ ในด้านของวธิ ีการวัด โอกาส ของการประเมิน 3. วัตถุประสงคข์ องการวัดและประเมนิ ผล 1. เพอ่ื วินจิ ฉัยความรู้ความสามารถ ทกั ษะและกระบวนการ เจตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มของผู้เรยี น และเพ่อื สง่ เสริมผเู้ รียนให้พัฒนาความร้คู วามสามารถและทกั ษะไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ 2. เพือ่ ใชเ้ ป็นข้อมลู ป้อนกลบั ใหแ้ กต่ วั ผ้เู รียนเองวา่ บรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้เพยี งใด 3. เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการสรุปผลการเรยี นรู้และเปรียบเทียบถงึ ระดับพัฒนาการของการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผลจึงมีความสำคัญเป็นอย่างย่ิงต่อกระบวนการเรียนการสอน วิธีการวัด และประเมินผลท่ีสามารถสะท้อนผลการเรียนรู้อย่างแท้จริงของผู้เรียนและครอบคลุมกระบวนการเรียนรแู้ ละ ผลการเรยี นรูท้ ้ัง 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ด้านทักษะและกระบวนการ และด้าน เจตคติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม จึงต้องวัดและประเมนิ ผลจากสภาพจริง (Authentic Assessment) 4. จดุ ม่งุ หมายของการวดั ผลการศึกษา 1. วัดผลเพอื่ และพฒั นาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพอ่ื ดูวา่ นักเรียน บกพร่องหรือไม่เข้าใจในเร่ืองใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสง่ั สอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความ เจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรยี น 2. วดั ผลเพอ่ื วินจิ ฉยั หมายถงึ การวดั ผลเพ่อื ค้นหาจุดบกพร่องของนักเรยี นทมี่ ีปญั หาวา่ ยงั ไมเ่ กิดการเรียนรตู้ รงจดุ ใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ 3. วัดผลเพอื่ จัดอันดับหรือจดั ตำแหนง่ หมายถึง การวดั ผลเพ่ือจัดอันดบั ความสามารถของ นกั เรียนในกล่มุ เดยี วกนั ว่าใครเกง่ กวา่ ใครควรได้อันท่ี 1 2 3 4. วดั ผลเพื่อเปรียบเทียบหรือเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อ เปรียบเทียบความสามารถของนกั เรียนเอง เช่น การทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนแล้วนำผลมาเปรียบเทียบกัน 5. วัดผลเพ่ือพยากรณ์ หมายถึง การวดั เพ่ือนำผลที่ได้ไปคาดคะเนหรือทำนายเหตุการณ์ใน อนาคต 6. วดั ผลเพื่อประเมินผล หมายถึง การวัดเพ่ือนำผลท่ีได้มาตดั สนิ หรือสรปุ คุณภาพของการ จัดการศึกษาวา่ มปี ระสิทธิภาพสูงหรือตำ่ ควรปรับปรงุ แก้ไขอยา่ งไร

5 5. หลักการวดั ผลการศกึ ษา 1. ต้องวดั ใหต้ รงกบั จุดมงุ่ หมายของการเรียนการสอน คือ การวดั ผลจะเปน็ ส่ิงตรวจสอบผล จากการสอนของครูว่า นักเรียนเกดิ พฤติกรรมตามที่ระบุไวใ้ นจดุ มุ่งหมายการสอนมากน้อยเพียงใด 2. เลือกใชเ้ คร่ืองมือวดั ท่ดี ีและเหมาะสม การวดั ผลครตู ้องพยายามเลือกใชเ้ คร่ืองมอื วดั ทีม่ ี คุณภาพ ใช้เคร่ืองมือวดั หลาย ๆ อย่าง เพ่ือช่วยให้การวัดถูกต้องสมบรู ณ์ 3. ระวงั ความคลาดเคล่ือนหรือความผิดพลาดของการวดั เมอื่ จะใช้เคร่ืองมือชนดิ ใด ต้อง ระวงั ความบกพร่องของเครอื่ งมือหรือวธิ กี ารวัดของครู 4. ประเมินผลการวัดใหถ้ ูกต้อง เช่น คะแนนทีเ่ กิดจาการสอนครตู อ้ งแปลผลใหถ้ ูกต้อง สมเหตสุ มผลและมคี วามยุตธิ รรม 5. ใช้ผลการวดั ใหค้ มุ้ คา่ จุดประสงค์สำคัญของการวดั กค็ ือ เพ่อื ค้นและพฒั นาสมรรถภาพ ของนักเรียน ตอ้ งพยายามค้นหาผ้เู รยี นแตล่ ะคนวา่ เดน่ -ดอ้ ยในเรอ่ื งใด และหาแนวทางปรับปรงุ แกไ้ ขแตล่ ะคน ใหด้ ีขึ้น 6. เครือ่ งมือท่ีใช้ในการวัดผล 1. การสังเกต (Observation) การสังเกต คือ การพิจารณาปรากฎการณ์ตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ เพือ่ คน้ หา ความจรงิ บางประการ โดยอาศัยประสาท สัมผัสของผสู้ งั เกตโดยตรง รูปแบบของการสงั เกต 1.1. การสงั เกตโดยผูส้ ังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณห์ รือกิจกรรม หมายถึง การสงั เกตทผี่ ูส้ ังเกตเขา้ ไปมี ส่วนร่วม หรอื คลุกคลใี นหม่ผู ู้ถกู สังเกต และอาจร่มทำกจิ กรรมด้วยกัน 1.2. การสังเกตโดยผู้สงั เกตไม่ไดเ้ ขา้ ไปร่วมในเหตุการณ์ หมายถึง การสังเกตท่ีผูถ้ ูกสงั เกตอยภู่ ายนอก วงของผู้ถูกสงั เกต คอื สงั เกตในฐานะเป็นบุคคลภายนอก การสังเกตแบบ นแ้ี บ่งออกเป็น 2 ชนิด 1.2.1 การสังเกตแบบไม่มโี ครงสรา้ ง หมายถึงการสังเกตทผ่ี ู้สังเกตไมไ่ ด้กำหนดหัวเรอ่ื งเฉพาะเอาไว้ 1.2.2 การสังเกตแบบมีโครงสรา้ ง หมายถงึ การสังเกตทีผ่ สู้ ังเกตกำหนดเรื่องท่จี ะสังเกตเฉพาะเอาไว้ 2. การสัมภาษณ์ (Interview) การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรอื การพดู โต้ตอบกันอยา่ งมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ ความจรงิ ตาม วัตถุประสงค์ทก่ี ำหนดไว้ล่วงหน้า รูปแบบของการสมั ภาษณ์ 2.1. การสมั ภาษณ์แบบไมม่ โี ครงสรา้ ง หมายถึง การสมั ภาษณท์ ่ีไมใ่ ช่แบบสัมภาษณ์ คือ ไม่จำเปน็ ต้อง ใช้ คำถามท่ีเหมือนกันหมดกับผูถ้ ูกสัมภาษณ์ทกุ คน 2.2. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง หมายถึง การสัมภาษณ์ท่ผี ้สู มั ภาษณจ์ ะใช้แบบสัมภาษณท์ ีส่ รา้ ง ข้ึนไวแ้ ล้ว

6 3. แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสอบถามเปน็ เคร่ืองมือชนิดหน่ึงท่ีนยิ มใช้กนั มาก โดยเฉพาะการเก็บข้อมลู ทางสังคมศาสตร์ ทั้งน้ี เพราะเป็นวิธกี ารทส่ี ะดวก และสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง รปู แบบของแบบสอบถาม 3.1. แบบสอบถามชนิดปลายเปิด (Open-ended Form) แบบสอบถามชนิดนี้ไม่ได้กำหนดคำตอบไว้ เพ่ือเปดิ โอกาสให้ผ้ตู อบเขยี นตอบอย่างอสิ ระด้วยความคิดของ ตนเอง แบบสอบถามชนดิ น้ีตอบยากและเสยี เวลาในการตอบมาก เพราะผตู้ อบจะต้องคิดวิเคราะห์อยา่ ง กวา้ งขวาง 3.2. แบบสอบถามปลายปิด (Closed - ended Form)แบบสอบถามชนดิ นป้ี ระกอบ ด้วย ข้อคำถาม และตวั เลอื ก (คำตอบ) ซ่งึ ตัวเลือกนีส้ ร้างขน้ึ โดยคาดว่าผตู้ อบ สามารถเลือกตอบ ได้ตามความต้องการ แบบสอบถามชนดิ ปลายปดิ แบ่งเป็น 4 แบบ 3.2.1 แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เป็นการสรา้ งรายการของข้อคำถามทเี่ กี่ยวหรือ สัมพนั ธ์กับคุณลักษณะของพฤติกรรม แตล่ ะรายการจะถูกประเมนิ หรอื ชีใ้ หต้ อบในแง่ใดแง่หนึ่ง เชน่ มี - ไม่มี จรงิ – ไม่จริง 3.2.2 มาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) เปน็ เคร่ืองมือที่ใช้ในประเมนิ การปฏบิ ัติ กจิ กรรม ทักษะต่าง ๆ มรี ะดับความเขม้ ใหพ้ ิจารณาตงั้ แต่ 3 ระดับข้ึนไป เช่น เหน็ ดว้ ยอยา่ งยง่ิ เห็นดว้ ย ไม่ แนใ่ จ ไม่เห็นดว้ ย ไม่เห็นด้วยอยา่ งยิง่ 3.2.3 แบบจดั อันดบั (Rank Order) มักจะใหผ้ ูต้ อบจัดอันดบั ความสำคัญหรือคุณภาพ โดย ให้ผ้ตู อบเรียงลำกับตามความเขม้ จากมากไปหาน้อย ตัวอยา่ ง - ทา่ นเลอื กเรยี นครูเพราะเหตุใด โปรดเรียงอันดับตามความสำคัญของเหตุผลจากมากไปหาน้อย เหตผุ ล อันดับความสำคัญเรยี งจากมากที่สดุ 3.2.4 แบบเตมิ คำส้นั ๆ ในช่องว่าง แบบสอบถามลกั ษณะนี้จะตอ้ งกำหนดขอบเขตจำเพาะ เจาะจงลงไป เชน่ ปัจจบุ นั ท่านอายุ………………ปี ………….เดอื น 7. การจดั อนั ดับ (Rank Order) เป็นเครอ่ื งมือมอื วดั ผลใหน้ ักเรียน หรอื ผู้ได้รบั แบบสอบถามเปน็ ผูต้ อบ โดยการจดั อันดับความสำคญั หรอื จดั อันดับคุณภาพ และใช้จดั อนั ดับของข้อมูลหรือผลงานต่าง ๆ ของนักเรียนแลว้ จึงใหค้ ะแนน ภายหลงั เพอื่ การประเมนิ 8. การประเมนิ ผลจากสภาพจริง (Authentic Assessment) หมายถงึ กระบวนการสังเกต การบนั ทกึ และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการท่นี ักเรยี นทำ การ ประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ จะเนน้ ใหน้ กั เรียนสามารถแกป้ ญั หา เป็นผคู้ น้ พบและผู้ผลติ ความรู้ นกั เรยี นได้ฝึก

7 ปฏบิ ัติจริง รวมทง้ั เนน้ พัฒนาการเรียนรขู้ องนกั เรยี นความสำคญั ของการประเมนิ ผลจากสภาพจริง 1. การเรียนการสอนและการวัดประเมนิ ผลจากสภาพจริง จะเอื้อให้นกั เรยี นสามารถเรยี นรู้ได้อย่าง เตม็ ศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล 2. เปน็ การเอ้ือต่อการเรยี นการสอนทเี่ น้นนกั เรยี นเป็นศูนย์กลาง 3. เป็นการเนน้ ใหน้ ักเรยี นไดส้ รา้ งงาน 4. เปน็ การผสมผสานให้กจิ กรรมการเรียนรู้และการประเมินผล 5. เป็นการลดภาระงานซ่อมเสรมิ ของครู 9. การวดั ผลภาคปฏิบัติ (Performance Assessment) การวดั ผลภาคปฏบิ ตั ิ เปน็ การวัดผลงานที่ใหน้ ักเรยี นลงมือปฏบิ ัติ ซึ่งสามารถวดั ได้ทง้ั กระบวนการ และผลงาน ในสถานการณ์จริง หรอื ในสถานการณจ์ ำลอง ส่ิงทค่ี วรคำนงึ ในการสอบวัดภาคปฏิบัตคิ ือ 1. ขัน้ เตรยี มงาน 2. ขั้นปฏบิ ัติงาน 3. เวลาท่ใี ช้ในการทำงาน 4. ผลงาน 10. การประเมนิ ผลโดยใชแ้ ฟม้ สะสมงาน (Portfolios) เป็นแนวทางการประเมินผลโดยการรวมข้อมลู ที่ครแู ละผู้เรียนทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ รว่ มกนั โดยกระทำ อย่างต่อเน่ืองตลอดภาคเรียน ดงั นั้นการวดั ผลและประเมนิ ผลโดยใชแ้ ฟ้มสะสมงานส่วนหน่งึ จะเปน็ กิจกรรมที่ สอดแทรกอยใู่ สภาพการเรยี นประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านจ้ี ะวัด เนื้อหาที่เกย่ี วขอ้ งกับสภาพ ชวี ิตประจำวัน 11. แบบทดสอบ (Test) ประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งประเภทออกไดห้ ลายลักษณะ ขึน้ อยูก่ บั เกณฑ์ทจี่ ะใช้ แบง่ ตามสมรรถภาพทจี่ ะวัด แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) หมายถงึ แบบทดสอบทว่ี ัดสมรรถภาพ สมองด้านต่าง ๆ ทน่ี กั เรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแลว้ ว่ามีอยู่เท่าใด แบบทดสอบแบง่ ออกเป็น ๒ ชนดิ 1.1 แบบทดสอบทค่ี รสู รา้ งข้นึ หมายถงึ แบบทดสอบที่มุง่ วัดผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรียน เฉพาะกลมุ่ ท่ีครูสอน 1.2 แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบทมี่ งุ่ วัดผลสัมฤทธ์มิ ีจุดมงุ่ หมาย เพอื่ เปรียบเทยี บคุณภาพตา่ ง ๆ ของนักเรียนที่ตา่ งกลุ่มกัน เชน่ แบบทดสอบมาตรฐานระดับชาติ 2. แบบทดสอบวัดความถนดั (Aptitude Test) หมายถงึ แบบทดสอบที่มงุ่ วัดสมรรถภาพ สมองของ ผู้เรยี น

8 2.1 แบบทดสอบวดั ความถนัดทางการเรยี น หมายถึง แบบทดสอบที่มงุ่ วัดความถนัด ทางดา้ นวิชาการตา่ ง ๆ เช่น ด้านภาษา 2.2 แบบทดสอบวัดความถนัดเฉพาะ หมายถึง แบบทดสอบท่ีมุ่งวัดความถนัด เฉพาะทีเ่ กี่ยวกบั งานอาชพี ตา่ ง ๆ หรือความสามารถพเิ ศษ เชน่ ความสามารถทางดนตรี 3. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคม หมายถึง แบบทดสอบทีใ่ ช้วัดบคุ ลกิ ภาพและการ ปรับตวั ใหเ้ ขา้ กับ สังคม ซ่ึงเป็นเร่ืองที่วดั ไดย้ าก ผลที่ได้ไม่คงทีแ่ นน่ อน 3.1 แบบทดสอบวัดเจตคติทม่ี ีตอ่ บคุ คล สง่ิ ของ เรื่องราว 3.2 แบบทดสอบวดั ความสนใจที่มีตอ่ อาชีพ การศึกษา 3.3 แบบทดสอบวดั การปรบั ตัว เชน่ การปรับตัวเขา้ กับเพื่อน ๆ แบง่ ตามลักษณะการตอบ 1. แบบทดสอบภาคปฏบิ ัติ หมายถึง แบบทดสอบท่ีให้นักเรียนลงมือปฏิบัตจิ รงิ เช่น การปรุง อาหาร 2. แบบทดสอบข้อเขียน หมายถงึ แบบทดสอบท่ใี ช้การเขยี นตอบ 3. แบบทดสอบปากเปลา่ หมายถงึ แบบทดสอบท่ีใช้การพูดโต้ตอบแทนการเขียน แบง่ ตามเวลาท่ีกำหนดให้ตอบ 1. แบบทดสอบท่จี ำกดั เวลาในการตอบ หมายถงึ แบบทดสอบทีใ่ ชเ้ วลานอ้ ย 2. แบบทดสอบท่ีไมจ่ ำกดั เวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบทีใ่ ชเ้ วลาตอบมาก แบ่งตามจำนวนผเู้ ขา้ สอบ 1. แบบทดสอบเปน็ รายบุคคล หมายถึง การสอบทลี ะคนมักเปน็ การสอบภาคปฏิบตั ิ 2. แบบทดสอบเปน็ ช้นั หรือเป็นหมู่ หมายถงึ การสอบทีละหลาย ๆ คน แบ่งตามส่ิงเร้าของการถาม 1.แบบทดสอบทางภาษา หมายถงึ แบบทดสอบท่ีต้องอาศัยภาษาของสังคมน้ันๆ เป็นหลัก ใชก้ ับผทู้ ่อี ่านออกเขยี นได้ 2.แบบทดสอบท่ีไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบทใี่ ชร้ ูปภาพ สญั ลักษณห์ รือตวั เลข แบง่ ตามลักษณะของการใชป้ ระโยชน์ 1. แบบทดสอบย่อย หมายถงึ แบบทดสอบประจำบท หรือหนว่ ยการเรยี น 2. แบบทดสอบรวม หมายถึง แบบทดสอบสรุปรวมเน้ือหาท่ีเรียนผ่านมาตลอดภาคเรียน

9 แบง่ ตามเนื้อหาของขอ้ สอบในฉบับ 1. แบบทดสอบอตั นัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคำถามนักเรยี นต้องคิดหาคำตอบเอง 2. แบบทดสอบปรนยั หมายถึง แบบทดสอบทีม่ ที ั้งคำถามและคำตอบเฉพาะคงที่แนน่ อน 12. การสร้างแบบทดสอบชนิดตา่ ง ๆ 1. ขอ้ สอบอัตนยั หรอื ความเรยี ง (Subjective or Essay Test)ลักษณะท่วั ไป เปน็ ข้อสอบทมี่ ี เฉพาะ คำถาม แล้วให้เขียนตอบอยา่ งเสรี หลกั ในการสร้าง 1.1. เขยี นคำช้ีแจงเกี่ยวกับวธิ ีการตอบใหช้ ัดเจน 1.2. ควรเขยี นคำถามให้ชัดเจน และควรใชค้ ำถามให้ใชค้ วามคิด เช่น จงอธิบาย จงวิเคราะห์ 1.3. กำหนดเวลาใหต้ อบนานพอสมควร 1.4. เลือกถามเฉพาะจดุ ที่สำคญั ของเรอื่ ง 1.5. คำถามแตล่ ะข้อมีความยากงา่ ยไม่เทา่ กัน 2. ขอ้ สอบแบบกาถูก-ผิด (True - false Test)ลกั ษณะท่ัวไป ขอ้ สอบเลือกตอบมี ๒ ตัวเลอื ก เชน่ ถูก- ผิด ใช่-ไม่ใช่ หลกั ในการสรา้ ง 2.1. เขยี นคำถามให้รดั กุมสนั้ ๆ 2.2. ควรเขียนคำถามดว้ ยภาษาง่าย ๆ ชัดเจนตรงไปตรงมา 2.3. ควรออกขอ้ สอบใหม้ ีข้อถูกกบั ข้อผดิ จำนวนใกล้เคยี งกัน 2.4. หลกั การใหค้ ะแนนไมค่ วรใชว้ ธิ ีหกั คะแนนหรือตดิ ลบในข้อที่ตอบผิด 3. ขอ้ สอบแบบเติมคำ (Completion Test) ลักษณะท่ัวไป เปน็ ข้อสอบท่ีประกอบด้วยประโยคหรอื ข้อความท่ียงั ไมส่ มบรู ณ์แล้วให้ผู้ตอบเตมิ คำ หรือประโยคหลกั ในการสร้าง 3.1. ไม่ควรใช้ขอ้ ความหรอื ประโยคจากหนังสือแล้วตัดคำบางคำ หรอื บางขอ้ ความออกมาใช้ เปน็ คำถาม 3.2. คำตอบท่ตี ้องการให้เติมหรอื ท่ีถูก จะต้องเปน็ คำตอบท่ีเฉพาะเจาะจงไม่ตีความไดห้ ลายนัย 3.3. แต่ละข้อความใหเ้ ติมแห่งเดยี วตอนท้ายของประโยคหรือข้อความ แต่ถ้าจำเป็นอาจเวน้ ใหเ้ ติมสว่ นอ่นื 3.4. ตำแหนง่ ท่เี ติมต้องเป็นจุดสำคัญจรงิ ๆ 4. ขอ้ ทดสอบแบบตอบสัน้ ๆ (Short Answer Test)หลกั ในการสร้าง 4.1. คำตอบทต่ี ้องการมักจะสั้นเปน็ คำเดียว วลเี ดยี ว หรือประโยคสนั้ ๆ 4.2. คำตอบที่ได้ต้องเป็นประเภทตายตวั แน่นอน 4.3. มักจะเป็นคำถามทีถ่ ามเก่ยี วกบั ศัพท์ กฎ นิยาม ทฤษฎี หลกั การ

10 5. ขอ้ สอบแบบจับคู่ (Matching Test) ลักษณะท่ัวไป เปน็ ข้อสอบเลอื กตอบชนดิ หน่ึง โดยมคี ำหรอื ขอ้ ความแยกออกจากกันเปน็ 2 ชดุ แลว้ ให้ผูต้ อบเลือกจบั คู่วา่ มีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งใดอย่างหนึง่ หลกั ในการสร้าง 5.1. ตวั เลือกต้องมจี ำนวนมากกวา่ ตัวยืน 2-4 ข้อ 5.2. ตัวยืนควรจะมี จำนวน 5-15 ข้อ ถ้าตัวยืนมีจำนวนน้อยเกินไปจะจับคู่หาคำตอบได้งา่ ยมาก 5.3. ข้อความในแตล่ ะชุดต้องเปน็ เอกพันธ์ 5.4. ตัวยนื ในแตล่ ะข้อมีโอกาสจับคกู่ ับตัวเลอื กทกุ ข้อ 5.5. ขอ้ สอบในชดุ ตัวยนื และตัวเลือกทุกข้อตอ้ งอยู่ในหน้าเดยี วกัน 5.6. ตอ้ งระบุความสมั พนั ธข์ องขอ้ ความท้ังสองชุดให้ชัดเจน โดยเขยี นคำช้ีแจงว่าจะให้จบั คู่ โดยยดึ ความสมั พันธ์แบบใด 5.7. รูปแบบของขอ้ สอบจับคู่ ส่วนใหญ่จะใหผ้ ู้ตอบนำอักษร หน้าข้อความทางขวามอื ไปใสใ่ น วงเลบ็ หนา้ ข้อความทาง ด้านซา้ ยมอื ทคี่ ิดวา่ สมั พนั ธ์กนั 6. ขอ้ สอบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) ลักษณะทัว่ ไป คำถามแบบเลือกตอบจะประกอบดว้ ย ตัวเลอื กทเี่ ป็นคำตอบถกู และตวั เลอื กท่เี ป็นตัวลวง และคำถามแบบเลือกตอบที่ดี นิยมใช้ตัวเลอื กทใ่ี กลเ้ คียงกัน ดเู ผนิ ๆ จะเหน็ ว่าทกุ ตวั เลอื กถูกหมด หลักในการสร้าง 6.1. เขยี นตอนนำใหเ้ ปน็ ประโยคคำถามสมบรู ณ์ อาจใส่เคร่ืองหมายปรัศนี (?) 6.2. เน้นเรื่องจะถามใหช้ ดั เจนและตรงจดุ ไมค่ ลุมเครือ 6.3. ควรถามในเร่ืองทม่ี ีคุณค่าตอ่ การวัด 6.4. หลีกเลยี่ งคำถามปฏิเสธ 6.5. อยา่ ใชค้ ำฟุ่มเฟือย 6.6. เขียนตัวเลือกใหเ้ ป็นเอกพนั ธ์ 6.7. ควรเรียงลำดบั ตวั เลขในตัวเลือกตา่ ง ๆ 6.8. เขียนตวั เลือกให้อสิ ระขาดจากกัน 6.9. ควรมตี วั เลอื ก 4-5 ตวั 6.10. อย่าแนะคำตอบ 13. การวัดและประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ (Authentic Assessment) กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมในช้ันเรียน กิจกรรมการ ปฏิบัติ กิจกรรมสำรวจภาคสนาม กิจกรรมการสำรวจตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาค้นคว้า กจิ กรรมศกึ ษาปญั หาพเิ ศษหรือโครงงาน ฯลฯ อย่างไรกต็ าม ในการทำกิจกรรมเหล่านต้ี อ้ งคำนงึ วา่ ผเู้ รียนแต่ ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน ผู้เรียนแต่ละคนจึงอาจทำงานช้ินเดียวกันได้เสร็จในเวลาท่ีแตกต่างกัน และ ผลงานที่ได้ก็อาจแตกต่างกันด้วย เมื่อผู้เรียนทำกิจกรรมเหล่านี้แล้วก็จะต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏบิ ัติตา่ ง ๆ เจตคติ ความรัก ความซาบซ้ึงกจิ กรรมทผ่ี ู้เรียนได้

11 ทำและผลงานเหล่าน้ีต้องใช้วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพื่อช่วยให้สามารถประเมินความรู้ ความสามารถ และความรู้สึกนึกคิดที่แท้จริงของผู้เรียนได้ การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงจะมี ประสิทธิภาพก็ต่อเม่ือมีการประเมินหลาย ๆ ด้าน หลากหลายวิธีใน สถานการณ์ต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับชีวิต จรงิ และต้องประเมินอยา่ งต่อเนือ่ งเพ่ือจะได้ข้อมลู ทม่ี ากพอท่ีจะสะทอ้ นความสามารถท่แี ทจ้ รงิ ของผูเ้ รยี นได้ ลกั ษณะสำคญั ของการวัดและประเมินผลจากสภาพจรงิ 1. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงมีลักษณะที่สำคัญ คือ ใช้วิธีการประเมิน กระบวนการคิดท่ีซับซ้อน ความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพของผู้เรียนในด้านของผู้ผลิตและ กระบวนการท่ไี ด้ผลผลิตมากกว่าท่ีจะประเมนิ วา่ ผูเ้ รียนสามารถจดจำความรูอ้ ะไรไดบ้ ้าง 2. เป็นการประเมินความสามารถของผู้เรียน เพื่อวนิ ิจฉัยผเู้ รยี นในส่วนที่ควรส่งเสริมและ สว่ นทค่ี วรจะแก้ไขปรบั ปรงุ เพ่อื ให้ผู้เรียนไดพ้ ัฒนาอย่างเต็มศกั ยภาพตามความสามารถ ความสนใจและความ ตอ้ งการของแตล่ ะบุคคล 3. เป็นการประเมินท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมประเมินผลงานของทั้งตนเองและ ของเพื่อนร่วมห้อง เพ่อื สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนรู้จักตัวเอง เชือ่ มน่ั ในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองได้ 4. ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวาง แผนการสอนของผู้สอนว่าสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียนแต่ละ บคุ คลไดห้ รือไม่ 5. ประเมนิ ความสามารถของผเู้ รียนในการถา่ ยโอนการเรียนรูไ้ ปสชู่ วี ติ จริงได้ 6. ประเมินดา้ นต่าง ๆ ด้วยวิธีทหี่ ลากหลายในสถานการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งต่อเน่ือง วธิ ีการและแหลง่ ข้อมูลทใ่ี ช้ เพอื่ ใหก้ ารวัดและประเมนิ ผลได้สะท้อนความสามารถทแ่ี ท้จริงของผูเ้ รียนผลการประเมิน อาจจะได้มาจากแหลง่ ขอ้ มูลและวิธกี ารตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1. สงั เกตการแสดงออกเป็นรายบคุ คลหรือรายกลมุ่ 2. ชน้ิ งาน ผลงาน รายงาน และกระบวนการ 3. การสมั ภาษณ์ 4. บันทกึ ของผเู้ รยี น 5. การประชมุ ปรกึ ษาหารือร่วมกันระหว่างผเู้ รยี นและครู 6. การวัดและประเมนิ ผลภาคปฏิบตั ิ (Practical Assessment) 7. การวดั และประเมินผลด้านความสามารถ (Performance Assessment) 8. แฟ้มผลงาน (Portfolio) 9. การประเมินตนเอง 10. การประเมนิ โดยกลุ่มเพ่ือน

12 11. การประเมนิ กลุ่ม 12. การประเมนิ โดยใช้แบบทดสอบท้งั แบบอัตนัยและแบบปรนัย การวัดผลและประเมนิ ผลดา้ นความสามารถ (Performance Assessment) ความสามารถของผู้เรียนประเมินได้จากการแสดงออกโดยตรงจากการทำงานต่าง ๆ เป็น สถานการณ์ท่ีกำหนดให้ ซึ่งเป็นของจรงิ หรือใกล้เคยี งกับสภาพจรงิ และเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้แก้ปัญหาหรือ ปฏิบัติงานได้จริง โดยประเมินจากกระบวนการทำงาน กระบวนการคิด โดยเฉพาะความคิดขั้นสู งและ ผลงานทไี่ ด้ ลกั ษณะสำคญั ของการประเมินความสามารถ คือ กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ของงาน วิธกี าร ทำงาน ผลสำเรจ็ ของงาน มีคำสง่ั ควบคมุ สถานการณใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน และมเี กณฑ์การใหค้ ะแนนทีช่ ดั เจน การประเมนิ ความสามารถทีแ่ สดงออกของผู้เรยี น ทำได้หลายแนวทางตา่ ง ๆ กนั ขึ้นอยู่กบั สภาพแวดลอ้ ม สภาวการณ์ และความสนใจของผูเ้ รียน ดังตัวอย่างต่อไปน้ี 1. มอบหมายงานใหท้ ำ งานท่ีมอบใหท้ ำต้องมีความหมาย มคี วามสำคัญ ความสมั พันธ์ กบั หลักสตู ร เน้ือหาวชิ า และชีวิตจริงของผูเ้ รียน ผเู้ รียนต้องใช้ความร้หู ลายดา้ นในการปฏิบตั งิ านทสี่ ามารถ สะทอ้ นให้เหน็ ถงึ กระบวนการทำงาน และการใชค้ วามคดิ อยา่ งลึกซง้ึ ตวั อย่างงานที่มอบหมายให้ทำ เชน่ - บทความในเร่ืองท่ีกำลังเปน็ ประเดน็ ที่นา่ สนใจและมีความสำคัญอยู่ในขณะนั้น เชน่ พายฝุ นดาวตก นำ้ จะท่วมประเทศไทยจริงหรือการโคลนนิ่งส่ิงมีชีวิต - รายงานสง่ิ ที่ผู้เรยี นสนใจโดยเฉพาะ เช่น การศกึ ษาวงจรชีวติ ของแมลงวนั ทอง - การสำรวจความหลากหลายของพืชในบริเวณโรงเรยี น - สงิ่ ประดิษฐท์ ี่ได้จากการทำกิจกรรมท่ีสนใจ เช่น การสร้างระบบนเิ วศนจ์ ำลองใน ระบบเปิด อุปกรณ์ไฟฟา้ ใชค้ วบคุมการปิดเปิดน้ำ ชุดอปุ กรณต์ รวจสภาพดิน เครอื่ ง ร่อนทีส่ ามารถรอ่ นได้ไกลและอยใู่ นอากาศได้นาน 2. การกำหนดชิ้นงาน หรอื อุปกรณ์ หรือสิง่ ประดษิ ฐใ์ หผ้ ูเ้ รียนวเิ คราะห์ องค์ประกอบ และกระบวนการทำงาน และเสนอแนวทางเพื่อพัฒนาให้มีประสิทธภิ าพดีขึ้น เช่น กจิ กรรมศึกษาการเกิด กระแสอากาศของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ใหน้ กั เรียนทดลองใชอ้ ุปกรณ์แสดงการเกิดกระแสอากาศ บันทึกผลการทดลองพร้อม กับอภปิ รายเพอ่ื ตอบปญั หาต่อไปน้ี 1) ถ้านักเรียนจดุ เทียนไขจะเกดิ อะไรขึ้น 2) ถ้านกั เรยี นดับเทยี นไขจะเกิดอะไรข้นึ 3) อปุ กรณน์ ้ีทำงานได้อย่างไร เพราะเหตุใด 4) ถ้านักเรยี นจะปรบั ปรุงอุปกรณช์ ดุ นีใ้ ห้ทำงานมีประสิทธิภาพมากข้นึ จะปรบั ปรุง อะไรบา้ ง อย่างไร เพราะเหตุใด

13 5) ถ้าตอ้ งปรับปรุงอปุ กรณ์ให้ดขี ้ึน จะมวี ิธกี ารทำและตรวจสอบไดอ้ ยา่ งไร 6) ถ้าจะนำอุปกรณท์ ่ีปรบั ปรุงแล้วไปใช้ประโยชน์ จะใชท้ ำประโยชน์อะไรบ้าง 3. กำหนดตัวอยา่ งชนิ้ งานให้ แล้วให้ผเู้ รียนศกึ ษางานนนั้ และสรา้ งชน้ิ งานท่ีมีลักษณะ ของการทำงานได้เหมือนหรือดกี วา่ เดิม เช่น การประดิษฐเ์ ครือ่ งร่อน การทำสไลด์ถาวรศึกษาเนื้อเย่ือพชื การทำกระดาษจากพชื ในท้องถิ่น ฯลฯ 4. สรา้ งสถานการณจ์ ำลองท่ีสมั พนั ธ์กบั ชีวิตจรงิ ของผเู้ รียน โดยกำหนดสถานการณ์แลว้ ให้ผู้เรียนลงมอื ปฏิบตั ิเพอื่ แก้ปญั หา หลกั และแนวคิดเกยี่ วกบั การประเมินโครงการ 1. ความหมายของการประเมินโครงการ สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ (2524, หน้า 1) ได้ให้ความหมายของการประเมินโครงการไว้ว่า เป็น กระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศสำหรับการตัดสินคุณค่าของโครงการ ผลผลิตกระบวนการ จดุ มุ่งหมายของโครงการ หรือทางเลอื กตา่ ง ๆ เพอ่ื นำไปปฏิบตั ิใหบ้ รรลุจดุ มุ่งหมาย จุดเน้นของการประเมินคือ การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้ข้อสนเทศ เพื่อตัดสินคุณค่าของส่ิงหน่ึงสิ่งใด โดยเฉพาะ ไพศาล หวังพานชิ (2533, หนา้ 25 – 26) ได้ใหค้ วามหมาของการประเมินโครงการไว้วา่ การประเมิน โครงการเปน็ กระบวนการกำหนดคณุ คา่ ของโครงการนน้ั วา่ ดีมปี ระสทิ ธิภาพและไดผ้ ลเพียงใด สุวิมล ติรกานันท์ (2543, หน้า 2) กล่าวว่า การประเมินโครงการเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในทุก ขั้นตอนของกระบวนการดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศที่สามารถใช้ในการพิจารณาการดำเนินการ ซึ่งจะทำ ให้การดำเนินการเป็นไปได้อย่างทันท่วงที ในทางตรงกันข้ามผลการประเมินจะไม่เกิดเท่าท่ีควร หากผลน้ันไม่ สามารถใชใ้ นเวลาที่เหมาะสม จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า ความหมายการประเมินโครงการสรุปได้ว่า เป็นกระบวนการ ดำเนินงานที่ให้ได้มาซ่ึงข้อมูล สารสนเทศสำหรับการตัดสินคุณภาพ คุณค่าของโครงการว่ามีระดับคุณภาพ และคุณคา่ อยา่ งไร นำไปใชพ้ ัฒนาสืบเน่ืองตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งไร 2. ความมงุ่ หมายของการประเมนิ โครงการ หลักการดำเนินงานใด ๆ จะต้องมีการติดตามผลงานหรือประเมินผลงานท่ีได้รับมอบหมายไป ดำเนินการ การติดตามผลงานเป็นการประเมินวิธีหน่ึง เพ่ือตรวจสอบว่างานใดดำเนินต่อไปอย่างไรเป็นการ ป้องกันไม่ให้งานแต่ละช่วงแต่ละตอน ดำเนินการผิดจุดประสงคแ์ ละเป้าหมายเพื่อเปน็ การเพ่ิมประสิทธิภาพใน การทำงาน และทำให้การดำเนินงานนั้นมีโอกาสประสบความสำเร็จตามจุดประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ มากยิ่งขึ้น บทบาทหน้าที่ของการศึกษาในปัจจุบันโดยเฉพาะโรงเรียนท่ีมีขอบข่ายขยายกว้างและซับซ้อนมาก ขึ้น เพราะความเติบโตและเจริญงอกงามของสังคม ความต้องการของสังคมเปล่ียนแปลงไปตามสภาพของ สังคม ซ่ึงปัจจุบันโรงเรียนไม่ได้มีหน้าที่สอนเพียงอย่างเดียวแต่ต้องเก่ียวข้องประสานงานกับชุมชน สังคมและ

14 ครอบครัวของนักเรียน โรงเรียนจำเป็นต้องบรหิ ารงานให้ดำเนินไปตามนโยบายของการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียน ต้องดำเนินตามแผนโครงการท่ีกำหนดจากนโยบายสูงสุด ดังน้ันจึงต้องมีการติดตามและประเมิน โครงการ เพ่ือให้งานดำเนินไปตามวัตถุประสงค์จึงทำให้การประเมินโครงการมีความมุ่งหมายและความสำคัญ ตามความคดิ เหน็ ของนกั วชิ าการในหลายแงม่ มุ ดงั ตอ่ ไปนี้ ประชุม รอดประเสริฐ (2539, หน้า 74 – 75) ได้กล่าวถึงความหมายการประเมินโครงการของ มิ ตเชล (Mizel) และการประเมินโครงการท่ีมีความหมายเฉพาะของ คนอกซ์ (Knox) ว่าการประเมินโครงการมี ความมุง่ หมาย 3 ประการ 1. เพื่อแสดงผลการพจิ ารณาถึงคุณคา่ ของโครงการ 2. เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ ทู้ ี่ตดั สินใจมกี ารตัดสินใจท่ถี กู ต้อง 3. เพ่ือการบริการข้อมูลแก่ฝ่ายการเมือง เพื่อใชใ้ นการกำหนดนโยบาย การประเมินโครงการ ความมุง่ หมายเฉพาะ ดงั ต่อไปนี้ 1. เพือ่ แสดงถึงเหตุผลทช่ี ดั เจนของโครงการอันเปน็ พ้นื ฐานทีส่ ำคญั ของการตัดสนิ ใจวา่ ลักษณะใด ของโครงการมีความสำคญั มากที่สุดซงึ่ จะต้องทำการประเมินเพ่อื หาประสทิ ธภิ าพและข้อมลู ชนดิ ใดจะต้องเก็บ รวบรวมเพอ่ื การวเิ คราะห์ 2. เพื่อรวบรวมหลักฐานความเป็นจรงิ และข้อมูลท่จี ำเป็น เพ่ือนำไปสู่การพิจารณาประสิทธผิ ลของ โครงการ 3. เพือ่ การวเิ คราะห์ข้อมูลและข้อเท็จจรงิ ตา่ ง ๆ เพ่ือการนำไปสกู่ ารสรปุ ผลของโครงการ 4. การตัดสนิ ใจว่าข้อมูลหรือขอ้ เท็จจรงิ ใดสามารถนำไปใช้ได้ สรุปได้ว่าการประเมินโครงการ มีความมุ่งหมายเพื่อแสดงผลการพิจารณาถึงคุณค่าของโครงการ เพื่อ นำข้อมูลไปวเิ คราะห์หาประสิทธิภาพของโครงการ เพ่ือช่วยให้ผู้มอี ำนาจสามารถนำไปตัดสินใจและนำไปใชไ้ ด้ โดยคำนึงถึงความสำคัญของโครงการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด บรรลตุ ามวัตถุประสงค์หรือไม่ เพราะผลการ ประเมินจะเป็นตัวกระตุ้นให้การดำเนินงานมีข้อบกพร่องน้อยลง ขณะเดียวกันก็เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ มากข้นึ ในการดำเนนิ งานแต่ละโครงการ 3. ประโยชน์ของการประเมินโครงการ จากความมุง่ หมายและความสำคัญดงั กล่าวแล้ว พอสรุปไดว้ า่ การประเมินโครงการมีประโยชน์ ดังตอ่ ไปน้ี 1. การประเมนิ โครงการช่วยให้กำหนดวัตถุประสงคแ์ ละมาตรฐานของการดำเนินงานมีความชัดเจน ดังกล่าวคือ ก่อนที่จะนำโครงการไปใช้ย่อมจะได้รบการตรวจสอบอย่างละเอียดจากผู้บริหารและผู้ประเมิน ส่วนใดท่ไี ม่ชดั เจน เช่น วัตถุประสงคห์ รอื มาตรฐานการดำเนินงาน หากขาดความแนน่ อนที่แจ่มชัดจะตอ้ งได้รับ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้มีความถูกตอ้ งชัดเจนเสยี ก่อน 2. ประโยชน์เต็มท่ี ทั้งนี้เพราะการประเมินโครงการจะต้องวิเคราะห์ทุกส่วนของโครงการข้อมูลใด หรือปัจจัยใดที่เป็นปัญหา จะได้รับการปรับปรุงแก้ไขเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานหรือใช้ในการปฏิบัติงานอย่าง

15 เหมาะสมกับคุณค่า ทรัพยากรทุกชนิดจะได้รับการจัดสรรให้อยู่ในจำนวนหรือปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอแก่ การดำเนินงาน ทรัพยากรที่ไม่จำเป็นหรือมีมากเกินไป จะได้รับการตัดทอน และทรัพยากรใดที่ขาดจะได้รับ การจัดสรรเพมิ่ เตมิ 3. การประเมินโครงการช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ เพราะโครงการเป็นส่วนหน่ึงของแผน ดังนเี้ มอื่ โครงการไดร้ ับการตรวจสอบวเิ คราะห์ปรับปรุงแก้ไขเพ่อื ให้ดำเนินไปดว้ ยดี 4. การประเมินโครงการมีส่วนช่วยให้การแก้ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบ (impact) ของโครงการ และทำใหโ้ ครงการมขี อ้ ทท่ี ำให้ความเสียหายลดนอ้ ยลง 5. การประเมินโครงการมีส่วนช่วยอย่างสำคัญในการควบคุมคุณภาพของงาน เพราะการประเมิน โครงการมกี ารตรวจสอบ และควบคุมชนดิ หน่งึ 6. การประเมินโครงการมีช่วยในการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้ปฏิบัติงานตามโครงการ เพราะการ ประเมินโครงการไม่ใช่เป็นการควบคุมบังคับบัญชาหรือส่ังการ แต่เป็นการศึกษาวิเคราะห์เพ่ือปรับปรุงแก้ไข และเสนอแนะวิธีการใหม่ ๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติโครงการย่อมจะนำมาซึ่งผลงานท่ีดีเป็นท่ียอมรับของ ผเู้ ก่ยี วข้องทั้งปวง 7. ผลของการประเมินโครงการอาจเป็นข้อมูลอย่างสำคัญในการวางแผนหรือกำหนดนโยบายของ ผบู้ รหิ ารและฝ่ายการเมอื ง 8. การประเมินโครงการช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการ กล่าวคือ การประเมินโครงการ จะช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบถึงอุปสรรคและปัญหา ข้อดี ข้อเสีย ความเป็นไปได้และแนวทางในการปรับปรุง แก้ไขในการดำเนินการโครงการ โดยข้อมูลดังกล่าวแล้วจะช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจว่าจะดำเนินโครงการน้ัน ตอ่ ไป หรือยตุ ิโครงการน้ัน

16 บทที่ 3 วิธีดำเนินการ วิธีการดำเนินงาน โครงการวัดและประเมนิ ผลคณุ ภาพ้เู รยี นประจำปกี ารศกึ ษา 2562 มีวีธกี ารและขนั้ ตอนการดำเนินการ ดังนี้ 1. ข้ันตอนการดำเนนิ งาน / กจิ กรรม / เวลา เวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ พ.ค. 63 นางรัชฎาพร และคณะ ท่ี งาน / กจิ กรรม พ.ค. 63 นางรัชฎาพร และคณะ 1 ประชมุ กำหนดรายละเอียดกจิ กรรม พ.ค. 63 – มี.ค. 64 นางรชั ฎาพร และคณะ 2 แต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินงาน พ.ค. 63 – มี.ค. 64 นางรชั ฎาพร และคณะ 3 ดำเนินงานตามโครงการ ม.ี ค. 64 นางรชั ฎาพร และคณะ 4 ตดิ ตามประเมินผล 5 สรุปรายงานผลตอ่ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. แผนการปฏิบัติงาน / กจิ กรรม ที่ งาน / กิจกรรม วธิ ีการ / สถานที่ เวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ พ.ค. 63 นางรัชฎาพร และ 1 ประชมุ กำหนดรายละเอยี ด นัดบคุ คลทเี่ กย่ี วขอ้ งประชุม พ.ค. 63 พ.ค. 63 – คณะ กจิ กรรม ทตี่ ึก IT โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ ม.ี ค. 64 นางรัชฎาพร และ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้บริหารมอบหมายใหห้ ัวหน้าฝ่ายวชิ าการ พ.ค. 63 – คณะ ดำเนนิ งาน แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งาน มี.ค. 64 นางรัชฎาพร และ พ.ค. 63 – 3 ดำเนินงานตามโครงการ - สร้างพัฒนาปรับปรงุ เคร่อื งมอื ประเมิน มี.ค. 64 คณะ คุณภาพ นางรชั ฎาพร และ คณะ - วเิ คราะหต์ รวจสอบความสมบรู ณถ์ ูกต้อง นางรัชฎาพร และ ของเคร่อื งมือประเมินคณุ ภาพ คณะ - จัดพิมพ์และอดั สำเนาเครือ่ งมือประเมิน คณุ ภาพ - วิเคราะหต์ รวจสอบความสมบรู ณ์ถกู ต้อง ของเครื่องมือประเมินคณุ ภาพ 4 ตดิ ตามประเมินผล นางรววี รรณ และคณะ ตดิ ตามการ ประเมินผล 5 สรุป รายงานผล ต่อ นางรวีวรรณ และคณะ สรุปรายงานผล ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ต่อผอู้ ำนวยการโรงเรียน

17 3. งบประมาณและทรพั ยากร งบประถมศกึ ษา 100,000 บาท งบมัธยมศกึ ษา 35,000 บาท รวม 135,000 บาท ท่ี คำช้ีแจง/รายการ การ บคุ ลากร ตอบ จำแนกตามหมวดรายจ่าย ลงทนุ รวม ใชง้ บประมาณและ ค่าจ้าง แทน ดำเนนิ งาน ครภุ ณั ฑ์ ทด่ี ินฯ ทรัพยากร ใชส้ อย วัสดุ สาธาฯ 1 คา่ วัสดุอปุ กรณ์ในการ 135,000 135,000 ดำเนนิ งาน รวม 135,000 135,000

18 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการวัดและประเมินผลคุณภาพู้เรยี นประจำปกี ารศึกษา 2562 โรงเรียนชุมชนา้ นพบพระ อำเภอพบพระ จงั หวดั ตาก มวี ัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อพฒั นาเคร่ืองมือการประเมินให้ มคี ณุ ภาพทกุ กลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละทุกระดบั ชั้นเรียน 2) เพอื่ ประเมนิ คุณภาพนักเรยี นทุกคนและทุก ระดบั ชั้นเรยี น 3) เพ่ือรวบรวมข้อมลู ในการปรับปรุงคุณภาพและจัดทำรายงานสง่ หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณสร้าง พัฒนา และปรับปรุงเครื่องมือการประเมนิ คุณภาพนักเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และนกั เรยี นร้อยละ 100 ได้รับการประเมินคุณภาพทุกคนทกุ ระดับช้ันเรียน เชงิ คุณภาพคคอื การวดั ผล ประเมินผลการเรียนปลายภาคและปลายปีมีมาตรฐานมากขึ้นประสทิ ธิภาพ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดับคณุ ภาพดีขน้ึ ไป สาระการเรยี นรู้ จำนวน ป.1 ป.2 ระดบั คุณภาพดขี ้นึ ไป (คน) ม.1 ม.2 ม.3 รวม ร้อยละ นกั เรียน ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 1. ภาษาไทย 1,163 105 98 57 83 60 81 66 38 50 638 54.86 2. คณติ ศาสตร์ 1,163 79 93 60 53 45 28 15 19 49 441 37.92 3. วิทยาศาสตร์ 1,163 119 106 84 51 82 82 43 37 33 637 54.77 4. สงั คมศึกษา 1,163 100 109 59 118 26 41 32 39 55 579 49.79 5. ประวัตศิ าสตร์ 1,163 108 96 23 100 70 64 74 48 58 641 55.12 6. สขุ -พลศกึ ษา 1,163 157 116 83 131 124 151 104 72 59 997 85.73 7. ศิลปะ 1,163 157 86 124 130 122 133 127 84 73 1,036 89.08 8. การงานอาชพี 1,163 122 107 53 89 101 151 104 89 70 886 76.18 9.ภาษาต่างประเทศ 1,163 97 90 95 35 53 38 94 40 57 599 51.50 รวมจำนวน 10,467 1,044 901 638 790 683 769 659 466 504 6,454 61.66 (คน/รอ้ ยละ) /100 /73.88 /74.71 /42.96 /64.07 /54.11 /56.59 /58.11 /58.18 /76.71 จากตารางพบว่านักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 มีนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ คุณภาพดีขึ้นไปร้อยละ 73.88 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 มีนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ คุณภาพดีขึ้นไปร้อยละ 74.71 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ คุณภาพดีข้ึนไปร้อยละ 42.96 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ คุณภาพดีข้ึนไปร้อยละ 64.07 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 มีนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับ คุณภาพดีขึ้นไปร้อยละ 54.11 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับ คุณภาพดีขึ้นไปร้อยละ 56.59 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ คุณภาพดีขึ้นไปร้อยละ 58.11 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มีนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ คุณภาพดีข้ึนไปร้อยละ 58.18 และ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับ คุณภาพดีข้นึ ไปร้อยละ 76.71

19 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ จำนวน จำนวนนักเรยี นตามระดับคุณภาพ นกั เรยี น ระดบั ชน้ั ท้ังหมด (คณุ ลักษณะอันพึงประสงค)์ ประถมศึกษาปีท่ี 1 157 ดเี ยยี่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 134 ประถมศึกษาปีท่ี 3 165 60 92 5 - ประถมศึกษาปที ่ี 4 137 ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 131 97 31 6 - ประถมศึกษาปที ่ี 6 151 มัธยมศึกษาปีที่ 1 126 137 25 3 - มัธยมศึกษาปที ี่ 2 89 มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 73 116 21 - - 1,163 รวม 100 93 38 - - เฉลี่ยร้อยละ 42 109 - - 53 40 25 - 31 66 - 1 19 41 13 - 648 463 52 1 55.72 39.81 4.47 0.09 จากตารางพบว่านกั เรียนมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงคร์ ะดับดีเยีย่ มรอ้ ยละ 55.72 ระดบั ดรี อ้ ยละ 39.81 ระดบั ผ่านร้อยละ 4.47 และระดบั ไมผ่ ่านร้อยละ 0.09 ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น จำนวน จำนวนนกั เรียนตามระดับคุณภาพ นกั เรียน ระดบั ช้นั ทั้งหมด (การอา่ นคดิ วิเคราะห์ และเขียน) ประถมศึกษาปที ่ี 1 157 ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน ประถมศกึ ษาปีที่ 2 134 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 165 78 46 19 14 ประถมศึกษาปีท่ี 4 137 ประถมศึกษาปีท่ี 5 131 62 63 9 - ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 151 มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 126 63 97 5 - มัธยมศึกษาปที ่ี 2 89 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 73 90 45 2 - 1,163 รวม 100 62 65 4 - เฉล่ียรอ้ ยละ 48 98 5 - 43 58 26 - 38 50 - 1 15 31 27 - 499 553 97 15 42.91 47.55 8.34 1.29

20 จากตารางพบวา่ ผลการประเมนิ การอ่านคิด วเิ คราะห์ และเขียนของนักเรียน ระดับดีเย่ียมร้อยละ 42.91 ระดบั ดีร้อยละ 47.55 ระดบั ผา่ นรอ้ ยละ 8.34 ระดับไม่ผา่ นรอ้ ยละ 1.29

21 บทท่ี 5 สรปุ ผล และข้อเสนอแนะ รายงานผลการดำเนินงานโครงการวัดและประเมินผลคุณภาพู้เรียน ประจำปีการศึกษา 2562 โรงเรียนชุมชน้านพบพระ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาเครือ่ งมือการประเมินให้ มีคุณภาพทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกระดับชั้นเรียน 2) เพ่ือประเมินคุณภาพนักเรียนทุกคนและทุก ระดับชั้นเรียน 3) เพื่อรวบรวมข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพและจัดทำรายงานส่งหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เปา้ หมายเชงิ ปริมาณสร้าง พัฒนา และปรับปรุงเครื่องมอื การประเมินคณุ ภาพนักเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และนักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการประเมินคุณภาพทุกคนทุกระดับชั้นเรียน เชิงคุณภาพคคือการวัดผล ประเมินผลการเรียนปลายภาคและปลายปีมีมาตรฐานมากขึ้นประสิทธิภาพ สามารถนำมาสรุปผล และ ข้อเสนอแนะ ไดด้ ังนี้ สรปุ ผล 1. เคร่อื งมือการประเมนิ ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทุกระดับชั้น มีเน้อื หาตรงตามมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วัด 2. การประเมนิ คุณภาพนักเรียนกลางภาคและปลายภาคเรียน ดำเนนิ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย 3. นักเรียนมีคณุ ภาพสงู ข้ึนตามเกณฑ์มาตรฐาน ข้อเสนอแนะ กำหนดแนวทางในการสรา้ งเคร่ืองมือนักเรยี นใหช้ ัดเจน

22 ภาคผนวก

23 แบบวิเคราะหน์ กั เรียนรายบุคคล

24 แบบทดสอบวดั และประเมินผลนักเรยี น

25

26 แบบสังเกตพฤตกิ รรมในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม (ในชนั้ เรียน)

27 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ

28 แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (ในระเบยี บวัดและประเมินผล โรงเรียนชุมชนบา้ นพบพระ)

29 แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชแี้ จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วขีด✓ลงในช่อง ท่ตี รงกับระดับคะแนน คุณลกั ษณะอนั พงึ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ประสงคด์ ้าน ๓๒๑ ซ่อื สัตย์ สจุ รติ ๑. ให้ข้อมลู ท่ีถูกต้องและเป็นจรงิ มวี นิ ยั รับผิดชอบ ๒.ปฏบิ ัติในสิง่ ท่ถี ูกต้อง ใฝ่เรยี นรู้ ๑. ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงกฎเกณฑร์ ะเบียบข้อบงั คบั ของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ งๆในชีวิตประจำวัน มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. ร้จู กั ใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์และนำไปปฏบิ ัติได้ มีจิตสาธารณะ ๒. ร้จู กั จดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม ๓. เชือ่ ฟงั คำสัง่ สอนของบดิ า-มารดาโดยไมโ่ ต้แย้ง ๔.ตัง้ ใจเรยี น ๑. มีความตัง้ ใจและพยายามในการทำงานท่ีได้รับมอบหมาย ๒. มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออุปสรรคเพ่ือให้งานสำเร็จ ๑. รู้จกั ชว่ ยพอ่ แมผ่ ้ปู กครองและครทู ำงาน ๒. รู้จักการดแู ลรักษาทรัพย์สมบตั แิ ละสิง่ แวดล้อมของ หอ้ งเรียนโรงเรียน คะแนนรวม คะแนนเฉลย่ี เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชัดเจนและบ่อยครงั้ ให้ ๑ คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัตบิ างคร้ัง เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ๒.๓๔ – ๓.๐๐ ๑.๖๗ – ๒.๓๓ ๑.๐๐ – ๑.๖๖ ชว่ งคะแนนเฉลยี่ ๓ = ดมี าก ๒ = พอใช้ ๑ = ควรปรับปรุง ระดับคณุ ภาพ ๓๒๑ ระดับคุณภาพทีไ่ ด้

30 เกณฑ์การประเมนิ ความเป็นไทย พฤติกรรม ดี ปานกลาง ปรบั ปรงุ (๓) (๒) (๑) มารยาทไทยเกย่ี วกับ ปฏิบัตไิ ด้ถกู ตอ้ ง ปฏิบัตไิ ด้ไม่ครบ ปฏบิ ัติได้บางอย่าง ตามแบบมารยาทไทย ตามแบบมารยาทไทย การไหว้ การรบั ประทาน ตามแบบมารยาทไทย อาหาร แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อ แสดงความกตัญญูกตเวที แสดงความกตญั ญูกตเวทีต่อ แสดงความกตัญญูกตเวทตี อ่ บคุ คลในครอบครวั ตอ่ บุคคลในครอบครัวได้ บุคคลในครอบครวั ไดไ้ ม่ บคุ คลในครอบครัวได้ สมบูรณ์ตามแบบลักษณะ สมบูรณต์ ามแบบลกั ษณะ บางสว่ นตามแบบลกั ษณะ ของไทย ของไทย ของไทย เหน็ ความสำคัญ ปฏิบัตไิ ด้ถกู ตอ้ ง ปฏิบตั ไิ ด้ไมค่ รบ ปฏิบตั ิได้บางอยา่ ง ของภาษาไทย ตามแบบมารยาทไทย ตามแบบมารยาทไทย ตามแบบมารยาทไทย แบบบนั ทึกการสังเกตพฤตกิ รรมความเป็นไทย เลข ช่อื – สกลุ มารยาทไทยเกี่ยว ักบการไห ้ว รวม ผล ท่ี การรับประทาน อาหาร การประเมิน แสดงความกตัญญูกตเว ีท ่ตอ ุบคคลในครอบครัว เ ็หนความสำคัญของภาษาไทย ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่าน ไม่ผา่ น เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคุณภาพ เกณฑ์ทผี่ า่ น ๓ หมายถงึ ปฏบิ ัตไิ ดร้ ะดับท่ีน่าพอใจ ๐ – ๔ คะแนน ปรับปรุง ตั้งแต่ ๗ คะแนนขน้ึ ไป ๒ หมายถึง ปฏบิ ัตไิ ดแ้ ต่ไม่สมบูรณ์ ๕ - ๗ คะแนน พอใช้ ๑ หมายถงึ ปฏบิ ัตไิ ม่ได้ ไม่ได้ปฏิบัติ ๘ - ๙ คะแนน ดี

31 เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมการเปน็ ผู้มวี นิ ัยในตนเอง รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรบั ปรุง มีวินยั วางแผนการทำงาน วางแผนการทำงาน ทำงานไม่ตามขัน้ ตอน ตามขน้ั ตอนตรวจสอบความ ตามขั้นตอนตรวจสอบ ความ ขาดการตรวจสอบไม่ ใฝ่เรยี นรู้ เรียบรอ้ ย มคี ณุ ภาพ เรียบรอ้ ย เรียบร้อย กระตือรอื ร้น สนใจ สนใจ ซกั ถาม ฝกึ ปฏบิ ตั ิ สนใจฝกึ ปฏบิ ัติ มคี วามรบั ผดิ ชอบ ซักถาม ฝึกปฏิบตั ิ ตามขั้นตอน ตามข้ันตอน อย่างตง้ั ใจ ผลงานสำเรจ็ สมบูรณ์เกดิ ผลงานสำเรจ็ สมบูรณ์ ผลงานไม่สมบรู ณ์ ประโยชน์ แบบบนั ทึกผลการสังเกตพฤติกรรมการเป็นผู้มีวินัยในตนเอง มีวินัย ใฝ่เ ีรยนรู้ ีมความ ัรบ ิผดชอบ เลขที่ ชือ่ – สกุล รวม ผลการประเมิน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่าน ไมผ่ ่าน เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์ท่ผี ่าน ๓ หมายถึง ปฏบิ ตั ไิ ดร้ ะดับที่น่าพอใจ ๐ – ๔ คะแนน ปรับปรงุ ตั้งแต่ ๘ คะแนนขึน้ ไป ๒ หมายถงึ ปฏบิ ตั ิได้แต่ไม่สมบรู ณ์ ๕ - ๗ คะแนน พอใช้ ๑ หมายถึง ปฏิบตั ไิ ม่ได้ ไม่ไดป้ ฏิบัติ ๘ - ๙ คะแนน ดี

32 แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คำช้ีแจง : ให้ผูส้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี นแล้วขดี ✓ลงในชอ่ ง ทตี่ รงกับระดับคะแนน คุณลกั ษณะอันพึง รายการประเมนิ ระดับ ประสงคด์ ้าน คะแนน ๓๒๑ ความสามารถใน ๑. มีความสามารถในการรบั – ส่งสาร การสอ่ื สาร ๒.มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ ของตนเองโดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม ความสามารถใน ๓. ใชว้ ธิ ีการส่อื สารท่เี หมาะสม การคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพือ่ การสรา้ งองค์ความรู้ ความสามารถใน ๒. มคี วามสามารถในการคดิ เป็นระบบเพื่อการสร้างองค์ความรู้ การใช้ทักษะชีวติ ๑. ทำงานและอยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนด้วยความสัมพนั ธอ์ ันดี ๒. มีวิธแี ก้ไขความขัดแยง้ อย่างเหมาะสม คะแนนรวม คะแนนเฉล่ยี เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏิบัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ ๒ คะแนน พฤติกรรมที่ปฏบิ ัติชดั เจนและบ่อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั บิ างครัง้ เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ๒.๓๔ – ๓.๐๐ ๑.๖๗ – ๒.๓๓ ๑.๐๐ – ๑.๖๖ ชว่ งคะแนนเฉลย่ี ๓ = ดมี าก ๒ = พอใช้ ๑ = ควรปรบั ปรุง ระดับคุณภาพ ๓๒๑ ระดับคณุ ภาพทีไ่ ด้

33 แบบประเมินภาพวาดการปฏิบตั ิตนในวนั สำคญั เกี่ยวกบั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เลขท่ี ช่อื – สกลุ วาดภาพตรง ัหว ้ขอท่ี ผลการประเมนิ กำหนดและการ วางแผนที่เหมาะสม ความ ิคดสร้างสรรค์ ความประ ีณตสวยงาม ความสมบูร ์ณของภาพ รวมคะแนน ๕ ๕ ๕ ๕ ๒๐ ผา่ น ไมผ่ ่าน ระดับคณุ ภาพ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดี ๑๐ – ๑๕ คะแนน พอใช้ ๐ – ๙ คะแนน ปรบั ปรุง เกณฑ์ทผี่ ่าน ตง้ั แต่ ๑๕ คะแนนขนึ้ ไป

แบบประเมินการจดั ปา้ ยนเิ ทศ 34 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ผลการประเมนิ เลขท่ี ชื่อ – สกลุ ตรงตามหัว ้ขอ ีมเนื้อหาเหมาะสม ความ ิคดสร้างสรรค์ ความประ ีณตสวยงาม ใ ้ช ัวส ุดอย่างพอประมาณ รวมคะแนน ๕ ๕ ๕ ๕ ๒๐ ผา่ น ไมผ่ า่ น ระดับคุณภาพ ๑๖ – ๒๐ คะแนน ดี ๑๐ – ๑๕ คะแนน พอใช้ ๐ – ๙ คะแนน ปรับปรุง เกณฑ์ทีผ่ า่ น ตง้ั แต่ ๑๕ คะแนนขน้ึ ไป

35 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน ชอื่ – สกลุเลข ี่ท ผลการประเมนิ ตรงตาม ุจดประสง ์ค นำเสนอเหมาะสม ักบสาระ สอดค ้ลองความเป็นจริง นำเสนอ ่นาสนใจ ส ุนกสนาน สรุปแนวทางปฏิบัติ รวมคะแนน ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ผา่ น ไม่ผ่าน เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคณุ ภาพ เกณฑท์ ่ีผา่ น ๒ หมายถึง ทำได้ระดบั ทน่ี ่าพอใจ ๘ – ๑๐ คะแนน ดี ตัง้ แต่ ๗ คะแนนขึ้นไป ๑ หมายถงึ ทำได้แต่ไมส่ มบรู ณ์ ๕ - ๗ คะแนน พอใช้ ๐ หมายถงึ ทำไม่ได้ ไม่ได้ทำ ๐ – ๔ คะแนน ปรับปรงุ

36 แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียนรายบคุ คล เลข ่ีทชอื่ – สกุล ผลการประเมนิ ีมความตั้งใจในการทำงาน ีมความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ความสะอาดเรียบร้อย ผลสำเร็จของงาน รวมคะแนน ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ ผ่าน ไมผ่ า่ น เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ เกณฑ์ทผี่ ่าน ๓ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมสม่ำเสมอ ดี ๒ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครั้ง ปานกลาง ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี ตัง้ แต่ ๑๐ คะแนน ๑ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้งหรือน้อยครั้ง ปรับปรุง ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้ ข้นึ ไป ๑ – ๕ คะแนน ปรบั ปรุง

37 แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่ม กล่มุ ท.ี่ ............. ช่ือ – สกลุเลขท่ี รวม ผลการประเมิน ีม ่สวนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ีมความกระ ืตอรือร้นในการทำงาน รับ ิผดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ีม ้ัขนตอนในการทำงานอย่างเป็น ระบบ ใ ้ชเวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม ๓๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ ผ่าน ไม่ผา่ น เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคุณภาพ เกณฑท์ ่ผี ่าน ๓ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมสมำ่ เสมอ ดี ๒ ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ปานกลาง ๑๑ – ๑๕ คะแนน ดี ตัง้ แต่ ๑๐ คะแนน ๑ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ังหรือน้อยครั้ง ปรับปรุง ๖ – ๑๐ คะแนน พอใช้ ข้นึ ไป ๑ – ๕ คะแนน ปรบั ปรุง

38 เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมการเปน็ ผู้มีวนิ ัยในตนเอง รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรับปรงุ มีวินยั วางแผนการทำงาน วางแผนการทำงาน ทำงานไมต่ ามขน้ั ตอน ใฝ่เรียนรู้ ตามขน้ั ตอนตรวจสอบความ ตามขั้นตอนตรวจสอบ ความ ขาดการตรวจสอบไม่ มคี วามรับผิดชอบ เรียบรอ้ ย มคี ณุ ภาพ เรียบรอ้ ย เรียบรอ้ ย กระตือรอื ร้น สนใจ สนใจ ซกั ถาม ฝกึ ปฏบิ ตั ิ สนใจฝกึ ปฏบิ ัติ ตามขนั้ ตอน ซักถาม ฝึกปฏิบตั ิ ตามขั้นตอน อย่างตง้ั ใจ ผลงานสำเรจ็ สมบูรณ์เกดิ ผลงานสำเรจ็ สมบูรณ์ ผลงานไม่สมบรู ณ์ ประโยชน์ แบบบนั ทึกผลการสังเกตพฤติกรรมการเปน็ ผมู้ วี ินัยในตนเอง มีวินัย ใฝ่เ ีรยนรู้ ีมความ ัรบ ิผดชอบ เลขท่ี ช่อื – สกุล รวม ผลการประเมนิ ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่าน ไมผ่ า่ น เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์ที่ผ่าน ๓ หมายถึง ปฏบิ ัติได้ระดับที่น่าพอใจ ๐ – ๔ คะแนน ปรับปรงุ ต้ังแต่ ๘ คะแนนขึน้ ไป ๒ หมายถึง ปฏบิ ตั ิไดแ้ ต่ไม่สมบรู ณ์ ๕ - ๗ คะแนน พอใช้ ๑ หมายถึง ปฏิบัติไม่ได้ ไม่ไดป้ ฏิบัติ ๘ - ๙ คะแนน ดี

39 แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล เลขท่ี ชอื่ – สกุล การส่งงาน เช่อื ฟงั คำสั่งสอนของพ่อ รวม แม่ ญาติผู้ใหญ่ และครู เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คุณภาพ เกณฑท์ ี่ผา่ น ๓ หมายถึง ดี ๐-๒ คะแนน ปรับปรงุ ตั้งแต่ ๔คะแนนข้ึนไป ๒ หมายถึง พอใช้ ๓-๔ คะแนน พอใช้ ๑ หมายถึง ปรับปรุง ๕-๖ คะแนน ดี

40 แบบประเมินการอภปิ ราย เรือ่ ง การยอมรับความแตกต่าง กล่มุ ท่.ี ........... สมาชิกกลมุ่ ๑........................................................................... ๒............................................................. ๓............................................................................ ๔.............................................. ................ ลำดบั ที่ รายการประเมนิ คุณภาพผลงาน ๓๒๑ ๑. ผลการอภิปราย ๒. การเสนอแนวทางการปฏิบัตติ นในการยอมรบั ผอู้ ื่น ท่ีแตกตา่ ง รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปรบั ปรงุ = ๑ ดี = ๓ พอใช้ = ๒ เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ดี ช่วงคะแนน ๕-๖ พอใช้ ๓-๔ ปรบั ปรุง ๑-๒

41 แบบประเมนิ การเขียนแผนผังความคิด กลมุ่ ท.่ี .................. สมาชกิ กลุ่ม ๑........................................................................... ๒............................................................. ๓............................................................................ ๔.............................................................. ลำดับที่ รายการประเมิน คณุ ภาพผลงาน ๓๒๑ ๑. ความถูกต้องในการเขียน ๒. ความสะอาดเรยี บรอ้ ย ๓. การตรงต่อเวลา รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเด็นในการ ดีมาก (๒) ดี (๑) พอใช้ (๐) ประเมนิ ความถูกตอ้ งใน นกั เรยี นสามารถเขียน นกั เรยี นสามารถเขียน นกั เรยี นไม่สามารถเขียน การเขียน แผนผงั ความคิดได้อย่าง แผนผงั ความคิดได้ แผนผงั ความคดิ ได้ ถูกต้อง ครบถ้วน แต่ตอ้ งรบั ฟังคำแนะนำ จากครู ความสะอาด นกั เรียนสามารถเขียน นักเรียนสามารถเขียน นักเรียนไม่สามารถเขยี น เรียบร้อย แผนผงั ความคิดไดอ้ ย่าง สะอาด เรียบรอ้ ย โดย แผนผังความคดิ ไดอ้ ย่าง แผนผงั ความคิดไดอ้ ย่าง การตรงต่อเวลา ไม่มจี ดุ ผดิ พลาด ส่งผลงานครบถว้ น ตรง สะอาดเรียบร้อย โดยมีจดุ สะอาดเรยี บร้อย ตามเวลาที่กำหนด ผดิ พลาด ส่งผลงานครบถว้ น แตช่ ้า ส่งผลงานครบถว้ น กวา่ กำหนดเล็กน้อย แต่ช้ากวา่ กำหนดมาก เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๗-๙ ดี ๔-๖ ๑-๓ พอใช้ ปรบั ปรงุ

42 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน กล่มุ ท่ี................... สมาชิกกลมุ่ ๑........................................................................... ๒............................................................. ๓............................................................................ ๔.............................................................. ลำดบั ท่ี รายการประเมิน คุณภาพผลงาน ๓๒๑ ๑. นำเสนอเนือ้ หาในผลงานได้ถูกตอ้ ง ๒. การนำเสนอมีความนา่ สนใจ รวม ๓. ความเหมาะสมกับเวลา ๔. ความกลา้ แสดงออก ๕. บคุ ลกิ ภาพ นำ้ เสยี งเหมาะสม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน การปฏบิ ตั ิงานสมบูรณช์ ดั เจน ให้ ๒ คะแนน การปฏิบตั ิงานยังมีขอ้ บกพร่องเลก็ นอ้ ย ให้ ๑ คะแนน การปฏิบตั งิ านยังมีข้อบกพรอ่ งเปน็ ส่วนใหญ่ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ ๑-๕ พอใช้ ปรบั ปรุง

43 แบบสัมภาษณ์ ชื่อ-นามสกลุ นกั เรยี น ............................................................................. ชน้ั ..................... เลขท่ี ................... ช่อื -นามสกุล ครทู ่สี ัมภาษณ์ ............................................................................................................................. วันทีส่ มั ภาษณ์ วนั ที่ .................. เดอื น ....................................... พ.ศ. ................... เวลา ............................ น. ๑. ความประพฤติทั่วไปขณะอยู่ในโรงเรยี น …………………………………………………………………................................... ……………………………………………………………………………………………………………..…............................................... ๒. ความประพฤติทแ่ี สดงต่ออาจารย์หรือผูใ้ หญ่ …………………………………………………………………............................. ……………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………… ๓. ความประพฤติและอปุ นสิ ัยที่อาจารย์พอใจแลว้ …………………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………………………………………………................................................. ๔. ความประพฤติที่อาจารย์ยังบกพร่องและควรจะแก้ไข ………………………………………………..………......................... …………………………………………………………………………………………………………….................................................... ๕. โดยทั่ว ๆ ไปส่ิงท่ีนกั เรยี นชอบและสนใจมากท่ีสุด ………………………………………………………….............................. …………………………………………………………………………………………………………...............................................…..… ๖. โดยท่ัวๆ ไปสงิ่ ทีน่ ักเรยี นไมช่ อบและไมส่ นใจมากท่ีสุด………............................…………………..………………….……… …………………………………………………………………………………………………..................................................………..… ๗. วิชาที่นักเรียนชอบและสนใจมากที่สุด คือ ………………………...............................…………………………………….……. ๘. วิชาทนี่ กั เรียนไมช่ อบและไมส่ นใจมากที่สดุ คือ ……………………………..............................……………………….……… ๙. เวลามีคนขดั ใจนักเรยี น นกั เรียนจะ …..………………………………………...............................…………………….………... ……………………………………………………………………………………………………...............................................………..… ๑๐.มอี ะไรบา้ งท่ที ำให้นักเรยี นพอใจมากท่ีสุด ………………………………………..................................………………………… …………………………………………………………………………………………………...............................................…………..… ๑๑.ความสัมพนั ธข์ องนักเรียนกบั เพ่ือนในห้องเรยี น ………………………............................…………………………….………. ……………………………………………………………………………………………………….......................................................... ๑๒.ความสัมพันธ์ของนักเรียนกับเพ่ือนนอกห้องเรียน ………….............................................……………………….……….. ……………………………………………………………………………………………………….......................................................… ๑๓.สุขภาพของนกั เรียนโดยท่วั ไป ……………………………………………..........................................………….………………... …………………………………………………………………………………….....................................................…………………..… ๑๔.เวลาที่รบั ประทานอาหารทโ่ี รงเรยี น ( ) นกั เรยี นรับประทานอาหารไดท้ ุกชนิด ( ) นกั เรียนเลอื กรับประทานอาหารที่ตนชอบ ( ) นกั เรยี นรบั ประทานอาหารยาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook