Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารยธรรมโรมัน

อารยธรรมโรมัน

Published by gikiyd3956, 2021-09-16 14:44:19

Description: อารยธรรมโรมัน

Search

Read the Text Version

อารยธรรมโรมัน 1. ปจจยั ทางภูมิศาสตรท ี่มีผลตออารยธรรมโรมัน อารยธรรมโรมนั กำเนิดที่คาบสมทุ รอิตาลี ซ่ึงตงั้ อยทู างตอนใตข องทวีปยุโรป โดยมีลักษณะเปนแหลม ย่นื ลงไปในทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น ลักษณะภูมิประเทศสวนใหญเปน ภูเขา และเนนิ เขา ไดแ ก เทอื กเขาแอลป ทางทิศเหนอื ซ่ึงกัน้ คาบสมุทรอิตาลอี อกจากดนิ แดนสว นอ่นื ของทวีปยุโรป และเทอื กเขาแอเพนไนนซ ง่ึ เปน แกนกลางของคาบสมุทร สวนบริเวณท่ีราบมีนอ ยและมที ่ีราบนอย จึงทำใหการตง้ั ถ่นิ ฐานของชมุ ชนอยอู ยา ง กระจัดกระจายเปนชมุ ชนเล็กๆ พืน้ ท่กี ารเกษตรมีไมม ากนกั แตเ มอ่ื ประชากรเพม่ิ ข้นึ บรเิ วณดงั กลาวไม สามารถรองรบั การเกษตรทข่ี ยายตัวได จึงเปน สาเหตุท่ีชาวโรมันขยายดนิ แดนไปยังดินแดนอ่ืนๆ แผนท่กี ายภาพแสดงท่ีตง้ั ของอารยธรรมโรมนั 2. สมยั สาธารณรฐั พวกอทิ รัสกัน โดยไดรบั อารยธรรมของกรกี ซึ่งตอ มาไดอพยพเขามาในแหลมอิตาลี จงึ ไดนำเอาความ เช่ือในศาสนาและเทพเจา ของกรกี ศิลปะการแกะสลัก การทำเครอื่ งปนดนิ เผา ตัวอักษร การทำนายจากการดู เครอ่ื งในของสัตวและการบินของนก การสรางซุมประตูโคง (Arch) และประตมิ ากรรมเทพเจาเขา มาเผยแพร นอกจากพวกอทิ รัสกนั แลว ยงั มชี นเผาอน่ื ๆ อกี เชน พวกละตนิ ตอ มาไดต กมาอยูภ ายใตการปกครอง พวกอทิ รสั กนั ในระยะแรกปกครองระบอบกษัตรยิ  เรยี กวา อมิ พิเรียม (Imperium) กษตั ริยจ ะสภาซเี นตหรอื สภาขุน นางเปน ท่ปี รึกษาโดยสมาชกิ จะอยูใ นชนชัน้ พาทรเี ชียน (patrician) แตตอมาพวกละตนิ ไดขบั ไลอ ิทรัสกนั ออก

จากบลั ลงั กแ ละต้งั กรุงโรมขน้ึ แตอำนาจการปกครองยงั เปนดนิ แดนของพวกพาทริเชียน (patrician) เทานน้ั สว นราษฎรทเ่ี รียกวา เพลเบยี น (plebeian) ซึ่งเปนสามญั ชนหรอื ประชาชนสว นใหญ เชน ชาวไร ชาวนา ชางฝม อื ไมมสี ทิ ธใิ ดๆทางการเมืองและสังคมจนนำไปสูความขัดแยงระหวาง 2 ชนช้นั จนพวกเพลเบียนมสี ิทธิ ออกกฎหมายรวมกบั พวกพาทรเิ ชียน เรียกวา กฎหมายสิบสองโตะ (Law of the Twelve Tables) เพอ่ื ใช บงั คบั กับชาวโรมนั ทุกคน ซึ่งกฎหมายสบิ สองโตะนับเปน มรดกชิ้นสำคัญของโรมทถี่ ือเปนแมแบบของกฎหมาย โลกตะวนั ตก ตอ มาโรมันไดทำสงครามพวิ นกิ กับพวกคารเทจ โดยมีสาเหตุมาจากการแยง ผลประโยชนในเกาะ ชชิ ิลี ผลคอื ฝายคารเทจแพ จึงทำใหโ รมันกลายเปนรัฐท่มี อี ำนาจสงู สุดในขณะน้ัน 3. สมยั จักรวรรดิ ชาวโรมันเปล่ยี นการปกครองจากสาธารณรัฐมาใชเปน จกั รวรรดิ และออกสุ ตุส (Augustus) เปน จกั รพรรดหิ รอื ซีซาร (Caesar ) พระองคแ รกของจกั รวรรดโิ รมัน ในสมยั นี้โรมนั เจรญิ ถงึ ขีดสุดละไดขยาย อำนาจไปยังภมู ิภาคตา ง ๆ และเมอื่ ศาสนาครสิ ตไ ดแ ผข ยายมาถงึ ดินแดนทางภาคตะวนั ตกของปาเลสไตนซ ึ่ง อยภู ายใตการปกครองของจกั รวรรดิโรมนั ทำใหจ ักรวรรดโิ รมันตอตานศาสนานีอ้ ยางรนุ แรง แตใ นสมัย จกั รพรรดคิ อนสแตนตินมหาราชพระองค (Constantine the Great) ทรงใหเ สรีภาพในการนบั ถอื ศาสนา ทำ ใหจักรวรรดโิ รมนั กลายเปน จักรวรรดขิ องครสิ ตศาสนา ทรงสรา งกรุงคอนสแตนตโิ นเปล (ปจ จุบนั คอื นครอิส ตนั บูลในประเทศตรุ กี) ทางตะวนั ตกของจักรวรรดโิ รมนั ตอ มาเรยี กวา จกั รวรรดิโรมนั ตะวันออกหรอื จักรวรรดไิ บแซนไทน (Byzantine) จนกระทง่ั สมยั ปลายจักรวรรดิ โรมันเผชิญปญ หาภายในทำใหถูกพวก อนารยชนเผาเยอรมนั หรือเผากอธเขา ปลน สะดม และขับไลกษัตริยอ อกจากบัลลังก ถอื เปน การส้ินสุดของ จกั รวรรดโิ รมันตะวนั ตก และประวตั ศิ าสตรส มัยโบราณ

จักรพรรดหิ รอื ซซี าร (Caesar) ออกสุ ตสุ 4. มรดกของอารยธรรมโรมนั ความโดดเดนของอารยธรรมโรมนั เกดิ จากรากฐานที่แขง็ แรง ซึ่งไดรับอทิ ธพิ ลจากอารยธรรมกรีก และอารยธรรมของดินแดนรอบๆ ทะเลเมดเิ ตอรเรเนยี น ผสานกบั ความเจริญกา วหนา ท่ีเปนภูมิปญญาของชาว โรมนั เองทพ่ี ยายามคิดคนสรางระบบตางๆ เพอ่ื ดำรงความย่งิ ใหญของจักรวรรดิโรมนั ไว 4.1 สถาปตยกรรม เนนความใหญโ ต แข็งแรงทนทาน โดยชาวโรมันไดพัฒนาเทคนิคการกอสรา งของกรีกเปนประตู โคง (arch) และเปลีย่ นหลงั คาจากจั่วเปนโดม และสรางอาคารตา ง ๆ เพ่อื สนองความตองการของรฐั และ สาธาณชน เชน โคลอสเซยี ม สถานทอี่ าบนำ้ สาธารณะ วหิ ารแพนธอี อน (Pantheon)

โคลอสเซียม สถานทบ่ี นั เทิงของชาวโรมัน 4.2 ประติมากรรม สะทอนบคุ ลิกภาพของมนุษยอยา งสมจรงิ ตามธรรมชาติ และมีสัดสว นงดงามเหมอื นกรกี แตโ รมนั จะเนนพัฒนาศิลปะดา นการแกะสลักรูปเหมือนบุคคลสำคัญๆ เชน จักรพรรดิ นกั การเมือง โดยเฉพาะในครึ่ง ทอ นบนจะสามารถแกะสลกั ไดอยา งสมบูรณซ ึ่งแสดงใหเหน็ ถึงความมชี วี ิตชวี า ชาวโรมนั เชือ่ วาการแกะสลกั รปู เหมือนจรงิ ท่ีสดุ จะชว ยรกั ษาวิญญาณของคนนน้ั เม่อื ตายไปแลว ไวไ ด นอกจากน้ยี ังมีการแกะสลักภาพนนู ตำ่ เพ่ือบนั ทกึ เร่อื งรามทางประวัตศิ าสตรแ ละสดดุ วี รี กรรมของนักรบ 4.3 ภาษาและวรรณกรรม ชาวโรมันพฒั นาภาษาละตินจากตวั พยัญชนะในภาษากรีกทพี่ วกอที รัสกนั นำมาใช จนใชกัน แพรห ลายในมหาวทิ ยาลัยของยโุ รปสมัยกลาง และเปนภาษาทางราชการของศาสนาครสิ ตน ิกายโรมันคาทอลกิ สว นวรรณกรรมระยะแรกเปน บันทกึ พงศาวดาร กฎหมาย ตำราการทหาร และการเกษตร ตอมามีการแตง งาน ประพนั ธเ ปนของตนเอง ไดแ ก เรอื่ ง อเิ นยี ด ประพันธโ ดยเวอรจลิ งานประพันธของซเิ ซโร เปน ตน 4.4 วศิ วกรรม การสรา งถนนคอนกรตี โดยถนนท้ัง 2 ขา งจะมที อ ระบายนำ้ และมีหลักบอกระยะทาง นอกจากนยี้ งั มกี ารสรา ง สะพานสงน้ำ (aqueduct) ขนาดสูงใหญจ ำนวนมากเพื่อนำน้ำวันละ 300 ลานแกลลอนหรือประมาณ 8,505 ลา นลติ ร จากภูเขาไปยงั เมอื งเพ่ือใหชาวเมืองไดใช

สะพานสง นำ้ (aqueduct) สภาพถนนภายในกรุงโรมท่อี ดีตมมี ากจนมีคำกลาววา “ถนนทกุ สายมงุ สกู รุงโรม”

4.5 ปฏิทนิ ปฏิทินจเู ลยี น (แบบสรุ ิยคติ) ปหนึ่งมี 12 เดือน แตล ะปมี 365 วัน และเพ่ิมเดือนกุมภาพันธใหท ุก ๆ 4 ปม ี 366 วัน ตอมาไดเ ปล่ียนมาใชเ กรกอเรียน 4.6 กฎหมาย ระยะแรกโรมันไมไ ดเ ขยี นเปน ลายลักษณอ กั ษรและไมเ ปน ระบบ แตม ลี กั ษณะกลมกลนื ไปกับ ศาสนา ตอ มาเปลย่ี นเปนกฎหมายบานเมอื ง จนในที่สุดกไ็ ดม ีการตรากฎหมายสิบสองโตะ (Law of the Twelve Tables) ซึง่ ประมวลกฏหมายโรมันนเ้ี ปน รากฐานประมวลกฎหมายของประเทศตาง ๆ แมแ ต กฎหมายของวดั ในสมัยกลาง และยงั แสดงใหเ หน็ ถึงอทิ ธพิ ลในกฎหมายโรมนั ในสมยั จักรพรรดิจสั ติเนยี น ซึง่ ได และจดั เปน หมวดหมู เรยี กวา ประมวลกฎหมายจัสติเนยี น (Justinian Code) และท้ิงไวเปนมรดกลำ้ คาของ โลกตะวนั ตก 4.7 การแพทย แพทยโ รมันสามารถผาตัดรักษาโรคไดห ลายโรค โดนเฉพาะการผาตัดทำคลอดทารกทางหนา ทอง ของมารดา ซึ่งเรียกวา ศัลยกรรมซีซาร (Caesarean Operation) นอกจากน้ยี งั มกี ารสรา งโรงพยาบาล ระบบ บำบัดนำ้ เสียและส่ิงปฏิกูล สภาพสุขาของชาวโรมันในอดีต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook