Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ

Published by soontornwongchalard, 2020-12-08 04:49:54

Description: ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ

Search

Read the Text Version

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั ปจั จยั ทางกายภาพ ครูผู้สอน นายสุนทร วงษ์ฉลาด โรงเรยี นขนาดมอญพทิ ยาคม สพม.33

ผลการเรยี นรู้ • เห็นคณุ คา่ และความสาคญั ของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม • มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับระบบนเิ วศและผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลงของระบบนเิ วศ

ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมชี ีวิตกับปัจจยั ทางกายภาพ อณุ หภูมิ มคี วามสาคญั ตอ่ การดารงชีวิตของสิ่งมชี วี ติ โดยเป็นปัจจัย ในการควบคมุ การเจรญิ เติบโต การสืบพนั ธุแ์ ละการแพร่กระจายของ ส่งิ มชี วี ติ นอกจากนี้อณุ หภูมยิ ังมีผลทาให้สิง่ มีชวี ิตมกี ารปรบั ตวั ทางด้านโครงสรา้ ง เช่น การปรับตัวของหมขี ว้ั โลกหรือสัตว์ในเขตหนาว มีขนยาวปกคลุม มชี ้ันไขมนั ใต้ผวิ หนงั หนา และการปรับตัวด้าน พฤตกิ รรม เชน่ การอพยพของนกปากหา่ งจากสภาพอุณหภูมติ ่าในทาง ตอนเหนอื ของทวปี เอเชียลงมาอย่ทู างตอนใตข้ องทวีปเอเชียเป็นการ ช่ัวคราว เพราะมีอุณหภมู ิทีเ่ หมาะสมวา่ เปน็ ตน้

ความสมั พันธ์ระหวา่ งสิง่ มชี ีวิตกบั ปจั จยั ทางกายภาพ แสง มีความสาคญั ตอ่ สงิ่ มีชวี ติ ในระบบนเิ วศ โดยเป็นปัจจัยจากดั ของ พชื โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ พชื ที่เจริญในระดบั ความลึกตา่ งกันในทะเล แสงมีผล ตอ่ การสร้างอาหารของพชื มผี ลตอ่ การสบื พนั ธข์ุ องพืชและสัตว์บางชนดิ เชน่ สัตวเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยน้านมและนกในเขตอบอุ่นและเขตหนาว ระบบสบื พนั ธุข์ อง สัตวพ์ วกนจ้ี ะข้ึนอยกู่ ับชว่ งเวลาท่ีไดร้ บั แสงในแตล่ ะฤดู โดยฤดใู บไม้รว่ ง ปรมิ าณแสงทมี่ ีตอ่ วนั ลดลง ทาให้สัตว์เลือดอนุ่ มีการผลิตฮอรโ์ มนเพศท่ี เก่ยี วขอ้ งกบั การสืบพนั ธ์ุเพมิ่ ขน้ึ สตั ว์เลือดอ่นุ จะเริม่ มกี ารผสมพันธใุ์ นฤดูใบไม้ ร่วง และออกลกู ในชว่ งฤดูใบไม้ผลเิ ม่อื อณุ หภมู อิ ุ่นข้ึนและอาหารอดุ ม ทารด์ เิ กรด (Tardigrade)หรือหมนี า้ สมบรู ณ์ นอกจากน้ีแสงยังมีผลตอ่ การเกดิ พฤตกิ รรมตา่ งๆ เช่น การหุบและ บานของดอกไม้ การออกหากินของสัตว์ เป็นต้น

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมชี วี ิตกับปัจจยั ทางกายภาพ ความชนื คือ ปรมิ าณนา้ ที่มอี ยใู่ นสภาพแวดล้อมแตล่ ะแหง่ มีความสาคัญ ต่อระบบนิเวศ เน่ืองจากจากเปน็ ปจั จัยทีเ่ ปน็ ตวั กาหนดสภาพแวดล้อม ความอดุ มสมบูรณ์ ลกั ษณะ และชนดิ ของระบบนเิ วศนน้ั ๆ นอกจากน้ี ความช้ืนยงั มีผลต่อการปรบั ตวั ของสิง่ มชี วี ิตอีกดว้ ย เชน่ หนูแกงการู (kangaroo rat) เป็นสตั วท์ พ่ี บอยูท่ างตะวันตกเฉียงใตข้ องทวีปอเมรกิ าซึง่ เป็นทะเลทราย พบว่าโดยปกติจะกินเมล็ดพชื ทแี่ ห้งเป็นอาหารเท่านั้นโดย ไมไ่ ด้ด่มื นา้ เลย แตร่ ่างกายสามารถปรบั ตัวใหม้ ชี วี ติ อยู่รอดได้โดยไมด่ ่มื นา้ มาจากกระบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล์ และมีการสญู เสียน้าออกจาก ร่างกายน้อยมาก

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ มีชวี ิตกับปจั จัยทางกายภาพ แก๊ส แกส๊ ท่สี าคญั สาหรับสิง่ มีชีวิต ออกซเิ จน คาร์บอนไดออกไซด์ และไนโตรเจน โดยเฉพาะแก๊ส ออกซิเจนมีความสาคญั ในการดารงชวี ิตของสิ่งมชี วี ิต เกือบทกุ ชนิด สิ่งมชี วี ิตที่อย่บู นบกจะไดร้ ับแกส๊ ออกซเิ จนอย่างพอเพียง แตส่ งิ่ มีชวี ติ ทีอ่ ยใู่ นน้าแก๊ส ออกซิเจนจะเปน็ ปจั จยั จากดั ในการดารงชีพที่สาคญั

ความสัมพันธร์ ะหว่างสงิ่ มชี วี ิตกบั ปัจจยั ทางกายภาพ ดนิ ดนิ เป็นทีอ่ ยู่อาศยั และใหแ้ รธ่ าตุแกพ่ ืชและสัตว์ องคป์ ระกอบสาคญั ของดนิ คือ แรธ่ าตใุ นดิน อากาศ ความชื้น และปรมิ าณสารอินทรยี ์ในดิน ดังน้ันลกั ษณะ ของดนิ จึงมอี ิทธิพลตอ่ พชื และสัตว์มาก สตั วไ์ ดร้ ับธาตุ จากการบริโภคพืชหรือบริโภคแรธ่ าตจุ ากดนิ โดยตรง เช่น สตั ว์ป่าไดร้ ับแรธ่ าตจุ ากการกนิ ดินโป่ง เปน็ ต้น

ความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวติ กบั ปจั จัยทางกายภาพ ความเปน็ กรด-เบสของดนิ และนา้ หรอื เรียกว่าค่า pH เปน็ ปจั จัยที่เกิดจากปฏสิ มั พันธข์ อง ส่งิ มีชวี ิตกับทีอ่ ยู่อาศยั แตล่ ะแหง่ ตวั อย่าง เชน่ การย่อยสลายสารอินทรียข์ องแบคทเี รียและ รา ทาให้บรเิ วณนน้ั มสี ภาพของความเป็นกรดสูง หรอื การขับถา่ ยของเสียของสงิ่ มชี ีวติ บาง ชนิด เชน่ การขับถ่ายของสตั วป์ กี ซ่งึ มีกรดยูริกลงในดินและน้าในบรเิ วณนั้นเป็นเวลานาน ทา ใหบ้ รเิ วณน้นั มีสภาพ pH คอ่ นข้างต่า และเป็นกรด เป็นต้น