Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนกลยุทธ์ 65-68

แผนกลยุทธ์ 65-68

Published by imcmblind, 2023-07-03 06:37:54

Description: แผนกลยุทธ์ 65-68

Search

Read the Text Version

Fl'1U1 dd u d T:triuuao!nualuooJtrntr,lflo\"Luw:y1l:}.t:lfrurj#}]ri ttzuunau1u1fiLlt{0141911u1ntufl11,{fi''}:flfl19r u 6'r:,nr-qtfiurlrari rl:vsirflwil:villil bdbd-bdb* leiriruunrflrurra yn-flfl1i {orauavn:u!?un1: U 6'ndr :rilvrusn'lrrilvuntlv!lvrufirfitorri'rf{i1u:{o{flunr:fi'ruu1F}run1v{flr:finrgr rfiorfluar:aury}fitu n1:Uq:1ror,1J4:qaanl:6nultlautuuLn:0{}rotuf-r1:fraar:tri'fvrtfuiifiu':dosfr'rri'lByr:acnufinur ncusn: uj!4nu!6! lni v4 Fr[uvnt:iln1:anruf4rnulcTufiuoru ri'rJnn:o.: fl].rlJulLas14il?u{rufirfluxdoq t6'ir-riiray tJL:uu t{r\"Lo1unr:rivr:{'qnr:finrsrfifrnrur'}1?\\ alilfitoiiiarxrflT r,::r1u frfiyr1sn1:rirrfiuruodr.rrYerrsu IqufiI tuu??11{nr:i,lofrrujforualoJ rjrolrt.J{, friarrur.rfi6A'v0{ir'}:n1}.rifi-rrfr'rrrjudorl:sruEaa u ' lpran\"r:rilrnfiounr:r:3fi't:t'flnr: vtBoanrudnult{luo'ru (School Base Nlanagement : SBAI) 9V tltutJoljounC6UuUFdl!tuvnT frfuvdl.i'ru ri'r-inrr:ot #nr3uu fr6usfl::l.n''1:4fl1ufrnulrTufiuoru uavrv.-iif<r,fre{rutAfrur{votunp,,i,'ruiil<:J, a?u:?, luuqn1:rrFurJulF}futr'r1,'rfl't:av nflr:fr4nulutlud,odrqt6 tq9! ds IprCIrisuir\"[unr: {nnr:finurto{1:trtuuLirirrfiutrlrrrlrfrflvrrsfiri'r14un ao!au0{ri0Fr'nsrfrornr:drrtJuroqfrGuuuav t?i9JJ3gu! u t?I01,'{9}lu''}fl'l:uifilTQf'}fl1:flnultY!0L14r.rL:8u}]nfufi::}.r }.rFl't'u.r: fiy}nByt?n a1}.l0nnnuily} Fl'tofi?{ J. <rr- uTil*(* r.,J u, r a rg rur,i ) fr'tirur u nr:1:qriuuaaunuFr'')uafl nrn rfi fi a \"lulnr : v r :u : r8ugr] ril ri oi r,rrler rfi u rluil

สารบัญ คำนำ สำรบญั ควำมเห็นชอบของคณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน บทท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐำนของสถำนศึกษำ 1 - ขอ้ มูลทัว่ ไป 1 - ประวตั ิสถานศึกษา 3 - คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน 5 - ข้อมูลด้านการบรหิ าร 6 - ข้อมูลการใชแ้ หลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกสถานศึกษา ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน 11 - เครือข่ายสง่ เสริม สนับสนุนการจดั การศึกษา 12 - เกียรตยิ ศ ความภาคภมู ิใจ 14 บทท่ี 2 กำรวิเครำะหส์ ภำพแวดล้อมของสถำนศึกษำ (SWOT) 19 - การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน 19 - การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 21 - แสดงผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา 24 บทที่ 3 ทศิ ทำงกำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำของโรงเรยี น 26 1) ทศิ ทำงกำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำ 26 - วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ 26 - นโยบายสถานศึกษา อตั ลกั ษณน์ กั เรียน เอกลักษณโ์ รงเรยี น ปรัชญาการจดั การศึกษา - กลยุทธข์ องสานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ และจดุ เนน้ ปีการศึกษา 2565 28 2) กำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำ 29 - โครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการศึกษา 29 3) มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ 30 4) กรอบกลยุทธภ์ ำยใตแ้ ผนพัฒนำคุณภำพกำรศกึ ษำ (แผนงาน/โครงการ) 34 บทท่ี 4 บทบำทหนำ้ ท่ขี องผู้เก่ยี วข้อง 59 บทที่ 5 กำรกำกับ ติดตำม ประเมินผลและรำยงำน 61 ภำคผนวก 63 - สาเนาคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสรปุ ผลการดาเนินงานและจัดทาแผนพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา (2565-2568)

daYr& nu'rlJuv'ru €fi 'lu n'l''l il tfi usau?Jo{n6uunT:}Jn''l?6n1ufi rrrurdT:ruiEruaouFrun.)u0prfl'lnrfifio'Lutnr:ulr:xl:'rfrrp.J#rLd {'rrairrrfiut\"lvri tfrs'fi?irrtiiufi'Bru'r rriunlyrcrr:finul rJ:vEirflrurl:v1.r'ril Iedbd-lodbd firuflunr:siriflunr:lnunr:fi6{rui?u?0{ !n91a1niflnr.,l,rJusovruf<rAouir:r#uiitauqfrfiyl'r{ rfl-}y}.r'rutunr:fierulniuri'r}r.r'l:s'onr:frnurfraoonrdowru r v 'r:aor d, v a ia r n1:tvdu n?1:Jst 0.1fl t:uu?l}JFt?13.JU tilulJ0{ufl n?\\:0{?11{ vvd&&ddu4 1l'r?\\Lq1|!avf'tiusfl::]]n1:4fi1ufifi19'r1ju1i{u51u }.rfr?1}Jl14ut8uLLr.lu1,{9}iu1n6un''}Yr n1:Flfl191 (rqcua-telcua) arild rfior{Juar:aurvrne{rrYrufiqvr{lul:sTuru ;{rvirrjrhflffLunr:fi'qrurnrunrfl e uiohjnr:6'flnr:6numodT:{rtuu\"L#fl1:vfivr6nr* hn- e[\"tL-- (urqn:fi'ruu4 fr3) rJ :sorun ::rL n r :a n rufi n *r*frdr t'r, rrfilT:s rE uua ounua'rrL o afl r r ul ri il\"lun : s u : H : r fr nYri o-rr,r {e} rfi u t\"Lfi

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๑ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม บทที่ 1 ข้อมูลพนื้ ฐาน 1. ข้อมูลท่วั ไป ชอื่ โรงเรยี น โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ จงั หวดั เชียงใหม่ ทีต่ ง้ั เลขท่ี 41 ถนนอารักษ์ ตาบลพระสิงห์ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รหสั ไปรษณีย์ 50200 อาณาเขต ทศิ เหนอื ติดกบั ถนนสามลา้ นซอย 1 ทศิ ใต้ ติดกับซอย 7 ถนนอารักษ์ ทศิ ตะวนั ออก ติดกบั ทดี่ นิ เอกชน ทิศตะวันตก ตดิ กับถนนอารกั ษ์ เนอื้ ที่ 3 ไร่ 3 งาน 46 ตารางวา หมายเลขโทรศพั ท์ 053 - 278009 หมายเลขโทรสาร 053 – 815137

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๒ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม เปิดสอนระดบั ชนั้ อนบุ าล ถึงระดบั ช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยแบง่ เป็นชนั้ เรียนปกติ และหอ้ งเรยี นพกิ ารซ้อน คูข่ นาน รวม 28 ห้องเรยี น แผนการจัดชั้นเรยี น - อนุบาล 2/2 รวม 4 ห้องเรยี น - ประถมศึกษา 2 / 2 / 2 / 2 / 2 / 2 รวม 12 ห้องเรียน - มัธยมศึกษาตอนต้น 2 / 2 / 2 รวม 6 ห้องเรียน - มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2 / 2 / 2 รวม 6 ห้องเรยี น เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาท่ปี ระสานงานดา้ นวิชาการ ไดแ้ ก่ สพป. เชียงใหม่ เขต 1 และสพม. ที่ 34 เชียงใหม่ และสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดเชยี งใหม่ โรงเรียนเครอื ข่ายการศึกษา 1. โรงเรียนวฒั โนทัยพายัพ 2. โรงเรยี นยุพราชวิทยาลยั 3. โรงเรียนหอพระ 4. โรงเรียนธรรมราชศึกษา เขตพนื้ ทบ่ี รกิ ารการรับนักเรยี น โรงเรียนให้บริการในการรับนักเรียนใน 17 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่จังหวัด กาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน นครสวรรค์ พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน สุโขทัย อตุ รดิตถ์ อทุ ยั ธานี นอกจากน้ยี งั มนี ักเรียนท่ีอยนู่ อกเขตการใหบ้ ริการมาเขา้ เรยี นอีกจานวนหนึ่ง

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๓ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม 2. ประวตั ิสถานศกึ ษา โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนที่ต้ังขึ้นโดย คณะกรรมการมูลนิธิช่วยและให้การศึกษาคนตาบอดภาคเหนือ ประกอบด้วยคณะกรรมการดังมีรายนาม ต่อไปน้ี 1. นายวรศักดิ์ นิมานนั ท์ ประธานกรรมการ 2. นางบุพพณั ฑ์ นิมมานเหมินทร์ รองประธานกรรมการ 3. นายบวร ชุตมิ า กรรมการ 4. นางสาวมกุ ดา อัยยเสน กรรมการ 5. นางศรีนวล พันธุพงษ์ กรรมการ 6. นางสุพิศ แมนมนตรี กรรมการ 7. นางแจม่ จติ เลาหวฒั น์ กรรมการ 8. นางอุณณ์ ชตุ ิมา กรรมการ 9. นายแพทยม์ นู แมนมนตรี กรรมการและเลขานุการ โดยมี นายวรศักดิ์ นิมานันท์ เป็นเจ้าของ เปิดดาเนินการสอนคร้ังแรกเม่ือวันที่ 17 พฤษภาคม 2503 โดยอาศยั บ้านเช่าของนายแพทยม์ นู แมนมนตรี ซึง่ ต้งั อยูท่ ่ีถนนราชมรรคาเปน็ อาคารเรียนชว่ั คราว ต่อมาเม่ือวันท่ี 28 กันยายน 2505 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถฯ ได้เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับแรม ณ พระตาหนักภูพิงค์ราชนิเวศ และได้ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้คณะกรรมการ ครู และนกั เรยี นได้เข้าเฝา้ และพระองค์ท่านได้พระราชทาน ทุนทรัพย์ส่วนพระองค์จานวน 20,000 บาท(สองหมื่น บาทถว้ น) เพ่ือให้โรงเรียนนาไปใชต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ต่อไป ใ น โ อ ก า ส เ ดี ย ว กั น น้ี ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ า พระบรมราชินีนาถฯ ทรงรับโรงเรียนสอนคนตาบอด ภาคเหนอื ฯ ไวใ้ นองค์อุปถมั ภ์ ในปี พ.ศ.2506 โรงเรียนมนี กั เรียนเพ่ิมมากขึ้น อาคารเรียนชั่วคราวคับแคบไม่สามารถรองรับจานวน นักเรียนได้ คณะกรรมการมูลนธิ ิฯ ร่วมกบั โรงเรียนได้ติดต่อเช่าธรณสี งฆ์ซึง่ เป็นวดั แสนเมืองมาร้านเพื่อก่อสร้าง อาคาร ตอ่ จากนั้นคณะกรรมการมูลนธิ ฯิ ได้ปรึกษากบั พ.ต.ท.นิรันดร ชยั นาม ผวู้ ่าราชการ จังหวัดเชียงใหม่ใน สมัยนั้น จัดแสดงละครเก็บเงินโดยเสด็จพระราชกุศลเรื่อง “เลือดสุพรรณ” ข้ึนท่ีพุทธสถานเชียงใหม่ ระหว่าง วันที่ 9-12 เมษายน พ.ศ.2506 รายได้จากการจัดแสดงละคร นามาสมทบกับเงินของผู้มีจิตเมตตาบริจาค ให้กับทางโรงเรียนเพื่อสร้างอาคารเรียน อาคารฝึกอาชีพ และโรงอาหาร จนเป็นผลสาเรจ็ และได้ย้ายโรงเรียน มาอยู่ในที่ปัจจุบันนี้ ต่อมาเมื่อวันท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ.2507 คณะกรรมการมูลนิธิฯ ได้ทูลเชิญสมเด็จพระ นางเจา้ พระบรมราชนิ ีนาถฯ เสด็จเปน็ องคป์ ระธานในการเปิดอาคารเรียนหลังแรก

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๔ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ 2 5 0 9 โ ร ง เ รี ย น ไ ด้ รั บ งบประมาณก่อสร้างอาคารจากกรมสามัญศึกษา เป็นตึก สองช้ัน โดยช้ันบนเป็นหอนอนนักเรียนหญิง ชั้นล่างใช้ เป็นอาคารเรียน ในปี พ.ศ.2521 ได้รับเงินบริจาค จาก คุณหญิง ระวิ กิตติขจร เป็นจานวนเงิน 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) สมทบกัลป์เงินบริจาคจาก ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่ จัดสร้างอาคารเรียนสอง ชั้นข้ึนและได้จัดชั้นล่างเป็นห้องปฏิบัติพิธีกรรมทาง ศาสนา ต่อมา ในปี พ.ศ.2523 คณะกรรมการมูลนิธิ ฯ ได้มอบโอนกิจการของโรงเรียนให้กับกองการศึกษาพิเศษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ดูแลต่อไป โดยทางมูลนธิ ฯิ ยงั ให้ความอนุเคราะหค์ า่ ใช้จา่ ยต่างๆ ทีท่ างโรงเรยี นไดร้ ับจัดสรรไม่เพยี งพอจากทางราชการ ในปี พ.ศ.2525 โรงเรยี นได้รับงบประมาณสร้างบา้ นพกั ครจู านวน 1 หลงั ในวงเงิน 228,000 บาท ปีงบประมาณ 2530 โรงเรียนได้รับงบประมาณหมวดค่าที่ดินและสง่ิ ก่อสร้างจากกรมสามัญศึกษาใน วงเงิน 4,000,000 บาท สร้างเป็นอาคารเรียนแบบพิเศษเอนกประสงค์ 3 ช้ันโดยสร้างขึ้นในท่ีดินเช่าของ ธรณีสงฆ์ส่วนหนึ่ง และอีกส่วนหนึ่งเป็นที่ดินซ่ึงนายธเนศ เอียสกุล ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานให้กับกรมสามัญศึกษา เพื่อใช้ในกิจการโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือฯ เพ่ือเป็นการเทดิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และเป็นศริ ิมงคลแก่ทางโรงเรียน เมื่อก่อสร้างอาคารเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทางโรงเรียนจึงได้ทาหนังสือของความร่วมมือจังหวัด ได้พิจารณาเสนอ ขอพระราชทาน พระราชานุญาต อัญเชิญพระนามาภิไธย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นนามอาคารเรยี กวา่ “อาคารสิรินธร” ซึ่งทางโรงเรยี นไดร้ บั พระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานนามาภิไธยเป็น นามอาคารเรียน ตามสาเนาหนังสือจากสานักราชเลขาธิการที่ รล.007/2306 ลงวันท่ี 14 มีนาคม พ.ศ. 2531 ปี พ.ศ.2536 โรงเรยี นไดร้ ับงบประมาณสรา้ งอาคารเพมิ่ เติมจากหลังแรก เปน็ อาคารเอนกประสงค์ 4 ช้ัน ในวงเงิน 7,000,000 บาท (เจ็ดล้านบาทถ้วน) โดยก่อสร้างเพียงสองช้ันคร่ึง โดยส่วนท่ีเหลือได้ใช้เงิน บริจาคจากบคุ คลท่ัวไปจดั สร้างจนแล้วเสร็จ ปี พ.ศ.2552 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้าง อาคารเรียน 4 ชั้น พร้อมครุภัณฑ์ จานวน 1 หลัง ใน วงเงิน 32,830,000.- บาท (สามสิบสองล้านแปด แสนบาทถ้วน) มีพ้ืนที่ใช้สอย 2,400 ตารางเมตร โดยชั้น 1 - 3 เป็นห้องเรียนทั้งหมด 18 ห้องเรียน ห้องพิเศษ 8 ห้อง และชั้น 4 จัดเป็นหอพัก นักเรียน และได้รับพระราชทานนามวา่ “อาคารปรีชา โชติ” และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ไดเ้ สด็จเปิดอาคาร เมอ่ื วันที่ 22 มถิ นุ ายน พ.ศ.2555

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๕ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม ปี พ.ศ.2554 โรงเรียนได้จัดซ้ือที่ดินติดกับที่ดินเดิมทางทิศตะวันออกเพ่ิมเติม จานวน 1 งาน 95 ตารางวา เป็นเงิน 9,000,000 บาท (เก้าล้านบาทถ้วน) โดยใช้เงินบริจาคจากประชาชนท่ัวไป สมทบกับเงิน มูลนิธิโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือจานวนหนึ่ง เพื่อใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนแก่นักเรียนโรงเรียน สอนคนตาบอดภาคเหนอื ฯ ตอ่ ไป ตราสญั ลักษณ์และความหมาย รูปพระมงกุฎมหาราชินีครอบเทียนที่จุดสว่าง ตรงกลางเป็นรูปมือคนกาลังอ่านหนังสือเบรลล์ พระมงกุฎมหา ราชินี หมายถึง โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือฯ จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ ภายใต้การอุปถัมภ์ของสมเด็จพระ นางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เทียนจุดสว่าง หมายถึง ความสว่าง ความเจริญก้าวหน้าในการศึกษาของ นักเรียนพิการทางสายตาคนกาลังอ่านหนังสือเบรลล์ หมายถึง การส่งเสริมการจัดการศึกษาให้กับนักเรียน พกิ ารทางสายตา อกั ษรยอ่ ส.บ.น. (สอนคนตาบอดภาคเหนอื ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวดั เชยี งใหม่) สีประจาโรงเรยี น ฟ้า – แสด 3. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ทรงคณุ วุฒิ ประธานกรรมการ 1. นางพรพฒั น์ ศริ ิ 2. นางลัดดา คงเมือง ผแู้ ทนผู้ปกครอง กรรมการ 3. นางสาวสุภาพร ชินชยั 4. นางวิลาวลั ย์ ขตั ทิ จกั ร ผู้แทนองค์กรชมุ ชน กรรมการ 5. นายภารากร คาเดช 6. พระครูปลดั อุทยั รตนปัญโณ ผูแ้ ทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน กรรมการ 7. นางสาวอารยี ์ เพลินชยั วานิช 8. นายประมวล พลอยกมลชณุ ห์ ผ้แู ทนศษิ ย์เก่า กรรมการ 9. นางวชิ ิตา เกศะรกั ษ์ ผ้แู ทนองคก์ รศาสนา กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ กรมมการ ผ้อู านวยการ กรรมการและเลขานุการ ผู้แทนครู กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๖ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม 4. ข้อมูลดา้ นการบริหาร 4.1 ข้อมูลครูและบคุ ลากร จานวนบุคลากรแยกตามประเภทบคุ ลากร โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนอื ฯ ท่ี ตาแหนง่ เพศ รวม หมายเหตุ ชาย หญิง 1. ผ้บู รหิ าร 1) ผู้อานวยการโรงเรียน 1-1 2) รองผู้อานวยการโรงเรียน - 22 รวม 1 2 3 2. ขา้ ราชการครู 1) ครชู านาญการพิเศษ (คศ.3) 167 2) ครูชานาญการ (คศ.2) 1 10 11 3) ครู (คศ.1) 3 5 8 ช่วยราชการ 2 คน 4) ครูผู้ชว่ ย 459 รวม 9 26 35 3. พนักงานราชการ 1) ครผู ู้สอน - 11 รวม - - - 4. ลูกจ้างประจา 134 5. ผปู้ ฏบิ ัติงานใหร้ าชการ(รายเดมิ ตอ่ เน่อื ง) 7 8 15 6. ผูป้ ฏิบตั งิ านใหร้ าชการ (รายใหมจ่ า้ งเหมาบริการ) 9 5 14 7. ลกู จา้ งชัว่ คราว --- รวมบคุ ลากรทั้งสน้ิ 27 45 72 ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 พฤศจิกายน 2564 จานวนบคุ ลากร 14 3 ผู้บรหิ าร 15 35 ข้าราชการครู 4 ลูกจ้างประจา ผูป้ ฏบิ ตั ิงานใหร้ าชการ(รายเดิมต่อเน่อื ง) ผปู้ ฏิบัติงานให้ราชการ (รายใหมจ่ า้ งเหมา บริการ)

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๗ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม 4.2 ข้อมลู แสดงจานวนขา้ ราชการครู พนกั งานราชการและลูกจ้างประจา จาแนกตามวฒุ ิการศึกษา ลาดบั ระดับการศึกษา จานวน(คน) 1 ปรญิ ญาเอก 1 3 ปรญิ ญาโท 12 5 ปรญิ ญาตรี 37 6 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย-อาชวี ศึกษา/อืน่ ๆ 7 7 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 8 8 ประถมศกึ ษา 7 รวม 72 ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2564 จานวนบคุ ลากร 8 7 1 10 7 37 ปรญิ ญาเอก ปริญญาโท ปรญิ ญาตรี มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย-อาชีวศึกษา/อนื่ ๆ มัธยมศกึ ษาตอนต้น ประถมศึกษา

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๘ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม 4.3. ข้อมูลนักเรียน (ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน ปกี ารศึกษา 2564) 1) จานวนนกั เรยี นทง้ั สิน้ 134 คน แยกเป็นเพศชาย 78 คน เพศหญิง 56 คน 2) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับช้นั ท่ีเปิดสอน ลาดับ ระดบั ช้นั ชาย หญิง รวม ปกติ ซ้อน รวม ปกติ ซ้อน รวม 1 อนบุ าล 1 0441237 2 อนุบาล 2 1011123 3 ประถมศึกษาปที ี่ 1 1 1 2 1 2 3 5 4 ประถมศึกษาปีที่ 2 1 4 5 1 4 5 10 5 ประถมศกึ ษาปีที่ 3 0 1 1 2 3 5 6 6 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 3 4 7 1 0 1 8 7 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 0 2 2 3 0 3 5 8 ประถมศึกษาปที ่ี 6 1 5 6 3 1 4 10 9 มัธยมศึกษาปีที่ 1 3 3 6 4 5 9 15 10 มัธยมศึกษาปีท่ี 2 3 9 12 1 2 3 15 11 มัธยมศึกษาปีท่ี 3 1 1 2 3 1 4 6 12 มธั ยมศึกษาปีที่ 4 11 0 11 8 0 8 19 13 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 7 0 7 5 0 5 12 14 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 12 0 12 1 0 1 13 รวม 44 34 78 35 21 56 134 จำนวนนกั เรยี น มธั ยมศึกษาปที ่ี 6, 13 อนบุ าล 1, 6 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1, 5 อนุบาล 2, 3 ประถมศึกษาปที ่ี 2, 10 ประถมศึกษาปีท่ี 3, 6 มัธยมศึกษาปที ่ี 5, 12 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4, 19 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4, 8 ประถมศกึ ษาปีที่ 5, 5 มธั ยมศึกษาปีที่ 3, 6 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6, 10 มัธยมศึกษาปที ่ี 2, 15 มธั ยมศึกษาปีที่ 1, 15

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๙ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม จานวนนกั เรยี นเรียนรว่ มปีการศกึ ษา 2564 ท่ี โรงเรยี น ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม คดิ เป็นร้อยละ 1 วัฒโนทยั พายัพ - - - 2 1 2 5 41.66 2 หอพระ - - - 1 14 6 50.00 3 ธรรมราชศกึ ษา - - - 1 - - 1 8.33 รวม - - - 4 2 6 12 100 จำนวนนกั เรยี นเรยี นรว่ มปี กำรศกึ ษำ 2564 ธรรมราชศึกษา 8% วฒั โนทัยพายพั 42% หอพระ 50%

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๐ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จงั หวัดเชยี งใหม 4.4 ขอ้ มูลอาคารสถานที่ ลักษณะการใช้งาน ปีทไี่ ด้รบั ท่ี ประเภทอาคาร จดั สรร 1 อาคารเรยี นแบบพเิ ศษ 3 ช้ัน อาคาร คสล 3 ชัน้ ประกอบด้วย 2530 (อาคารสิรนิ ธร 1) ช้ันท่ี 1 ลานอเนกประสงค์ 2536 2 อาคารเรียนแบบพิเศษ 4 ชนั้ ชั้นที่ 2 ห้องเรียนพิการซ้น จานวน 7 หอ้ ง (อาคารสริ ิธร 2) ชน้ั ท่ี 3 หอนอนนกั เรยี นชาย จานวน 40 เตียง 2547 อาคาร คสล 4 ชน้ั ประกอบด้วย 2550 3 อาคารห้องประชมุ 2 ช้ัน ชน้ั ที่ 1 หอ้ งประชุมเล็ก 1 ห้อง 2551 หอ้ งธรุ การ 1 ห้อง 4 อาคารลนิ พิศาล 2 ช้ัน หอ้ งปฏบิ ตั ิการ AIS 1 ห้อง 5 อาคารเรยี นแบบพเิ ศษ 4 ช้ัน หอ้ งเรยี นอนบุ าล 1 ห้อง ห้องกิจกรรมบาบัด 1 ห้อง (อาคารปรีชาโชต)ิ ชน้ั ท่ี 2 หอ้ งผลติ ส่ือ จานวน 4 หอ้ ง ห้องวชิ าการ 1 หอ้ ง ห้องทะเบียนและวัดผล 1 หอ้ ง หอ้ งพยาบาล 1 หอ้ ง ชั้นท่ี 3 หอนอนนักเรยี นหญิง จานวน 80 เตยี ง ชัน้ ท่ี 4 ห้องพักบุคลากร จานวน 7 หอ้ ง อาคาร คสล 2 ชน้ั ประกอบด้วย ชั้นท่ี 1 ห้องนวดแผนไทย 3 หอ้ ง ห้องดนตรี 1 ห้อง ชน้ั ท่ี 2 หอ้ งประชุม 1 หอ้ ง อาคาร คสล 2 ชน้ั ประกอบดว้ ย ชั้นท่ี 1 ร้านจาหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน 1 ห้อง ชั้นท่ี 2 ห้องพกั รบั รอง 1 หอ้ ง อาคาร คสล 4 ชนั้ ประกอบด้วย ชน้ั ที่ 1 หอ้ งเรยี นนวดแผนไทย 1 ห้อง หอ้ งนาฏศลิ ป์ 1 ห้อง หอ้ งดนตรี 1 ห้อง หอ้ ง USO 1หอ้ ง ห้องพิมพ์ดีด 1 หอ้ ง ห้องพักครู 1 หอ้ ง ชน้ั ท่ี 2 หอ้ งเรยี น จานวน 11 ห้อง ชน้ั ท่ี 3 หอ้ งสมดุ 1 ห้อง ห้องคอมพวิ เตอร์ 2 ห้อง หอ้ งอาเซยี น 1 ห้อง

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๑ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม ที่ ประเภทอาคาร ลกั ษณะการใช้งาน ปที ่ีไดร้ บั จดั สรร ห้องเรยี นอักษรเบรลล์ 1 หอ้ ง 2558 ห้องปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ 1 หอ้ ง 2563 2564 ห้องปฏิบตั กิ ารคณิตศาสตร์ 1 หอ้ ง ห้องพักครู 1 ห้อง ชนั้ ที่ 4 หอพกั นักเรยี นหอชายเลก็ 60 เตยี ง 6 อาคารปฏบิ ตั ิการวชิ าคหกรรม หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิชาคหกรรม 7 อาคารบา้ นพักครู 8 หนว่ ย (แบบ อาคารบา้ นพกั ครู 8 ครอบครัว แฟลต 8 หนว่ ย) 8 บา้ นพกั ครู แบบ 207 บ้านพกั ผบู้ รหิ าร 5. ขอ้ มลู การใชแ้ หล่งเรียนรภู้ ายในและภายนอก ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน 1) แหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี น ปีงบประมาณ 2564 ช่ือแหล่งเรียนรู้ ชือ่ แหล่งเรียนรู้ 1.หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ 14. ห้องฟน้ื ฟูกิจกรรมบาบัด 2.หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางภาษาและศนู ยอ์ าเซียนศึกษา 15. หอ้ งศูนย์ Call Center 3. ห้องปฏบิ ตั ิการวชิ าคณิตศาสตร์ 16. หอ้ งปฏิบัติการอาหาร-การงาน 4. หอ้ งปฏิบัตกิ ารวิชาวทิ ยาศาสตร์ 17. สถานประกอบการ Blind -coffee 5. ห้องปฏิบัตกิ ารฝกึ ผลิตของชาร่วย 18. สถานประกอบการ นวดแผนไทย 6. หอ้ งสมุดและห้องสอ่ื เสยี ง 19. หอ้ งเรียนดนตรไี ทย 7. หอ้ งฝกึ ทกั ษะครัวเรือน/กลมุ่ พกิ ารซ้อน 20. ห้องเรียนดนตรสี ากล 8. หอ้ งฝึกซักรดี เส้ือผ้า 21. ห้องเรยี นนาฏศิลป์ 9. ห้องกระต้นุ ประสาทสัมผสั 22. ห้องบรกิ ารคอมพิวเตอร์ USO 10. ห้องผลิตสื่อการเรยี นการสอน 23. โรงเรียนธนาคาร 11. หอ้ งพิพธิ ภณั ฑเ์ ครื่องมอื สอ่ื เทคโนโลยฯี 24. แหล่งเรยี นรู้สวนเกษตรพอเพยี ง 12. ห้องศนู ยส์ อื่ เทคโนโลยแี ละสง่ิ อานวยความสะดวก 25. สวนหยอ่ มหนา้ โรงเรยี น สาหรับนกั เรยี นทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางการเห็น 13. สนามโกลบอล 26. โรงครวั ประกอบอาหารของโรงเรยี น

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๒ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม 2) แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรยี น ปีงบประมาณ 2564 ช่อื แหล่งเรียนรู้ ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ 1. ศูนยฝ์ ึกวิชาชพี คนตาบอดฯ (อาเภอสนั ทราย) 7. นา้ พุรอ้ นสนั กาแพง 2. วดั พระสิงห์ 8. สวนเกษตร อ.สันกาแพง 3. วัดเมธัง 9. อทุ ยานหลวงราชพฤกษเ์ ชยี งใหม่ 4. สวนสาธารณะบวกหาด 10. ดัชฟารม์ 5. ห้างสรรพสินคา้ เทสโกโลตสั (สาขาหางดง) 11. สนามกีฬา 700 ปี 6. ห้างสรรพสินค้าเทสโกโลตสั (สาขาคาเท่ยี ง) 12. หอ้ งสมุดประชาชน 6. เครอื ข่ายสง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษา ที่ เครอื ขา่ ยการศึกษา โครงการที่ช่วยสนับสนนุ 1 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และ จัดกจิ กรรมฝึกปฏิบตั ิงานของศกึ ษานเิ ทศก์ สาหรับ เทคโนโลยี (สสวท.) โรงเรียนพน้ื ทน่ี วัตกรรม จงั หวดั เชียงใหม่ 2 คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ จัดการเรียนการสอนกระบวนวชิ าการเรยี นรูผ้ า่ น กจิ กรรม ของนักศึกษา คณะส่ือสารมวลชน 3 มลู นธิ ิธรรมิกชนเพอื่ คนตาบอดในประเทศไทย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ปฏิบตั งิ าน หนา้ ที่นาไฟล์ข้อมูลหนงั สอื ที่ผ่านการสแกน และตรวจสอบแกไ้ ขคาผดิ เรียบร้อยแลว้ ทา Mark Up 4 มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขต จดั กจิ กรรมฝึกสอนศีลธรรม ตามโครงการพระสอน ล้านนา ศลี ธรรมฯ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั จัดกิจกรรมฝกึ ปฏิบัติงาน นักศกึ ษาบัณฑิตวทิ ยาลยั 5 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการศึกษาสาหรบั บคุ คลที่มีความตอ้ งการพิเศษ 6 ชมรมสัตว์ปกี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี จดั กจิ กรรมที่ศูนยฝ์ กึ วิชาชพี คนตาบอด เพ่อื พฒั นาแปลง มหาวิทยาลยั แม่โจ้ พืชผกั สวนครัว และยังสง่ เสริมการเล้ยี งไก่เนื้อและไก่ไข่ จดั กจิ กรรม ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ ของนกั ศกึ ษา 7 คณะมนุษย์ศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศ์ าสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ จดั กจิ กรรม ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ของ คณะ 8 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ จัดกจิ กรรมปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 นกั ศึกษา 9 มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขต ช้นั ปที ่ี 1 สาขาวิชาพลศึกษา และสาขาวชิ าพลศึกษา เชยี งใหม่ และสขุ ศึกษา

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๓ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม ท่ี เครอื ข่ายการศกึ ษา โครงการทีช่ ว่ ยสนับสนุน 10 บรษิ ัท กล่องดินสอ จากัด จดั กิจกรรมฟงั นทิ านเสียงและปนั้ ตัวละครจากนิทานกบั 11 มหาวทิ ยาลัยฟาร์อสี เทอร์น นกั เรยี นชน้ั อนุบาลถงึ ประถมศกึ ษา จดั กิจกรรมวชิ าชพี ดา้ นการบรหิ ารการศึกษา ของคณะ 12 คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยฟาร์อสี เทอร์น จดั กิจกรรมงานวชิ าชพี ระหวา่ งเรียน คณะครศุ าสตร์ 13 โรงเรยี นชมุ ชนวดั ทา่ เดอื่ อาเภอเมอื ง จังหวดั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ เชียงใหม่ เครือข่ายสถานศึกษาพอเพียง 14 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร ส่งเสริมวินยั การออม โครงการโรงเรียนธนาคาร จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๔ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จงั หวัดเชยี งใหม 7. เกยี รติยศและความภาคภูมใิ จ 1) ด้านสถานศึกษา ปี พ.ศ. กจิ กรรม/รางวลั สถาบัน/หน่วยงาน 2564 รางวลั “สถานศกึ ษาปลอดภยั ” ประจาปี 2564 สานกั งานสวัสดิการและค้มุ ครอง ปที ่ี 2 ติดตอ่ กัน แรงงานจงั หวดั เชยี งใหม่ 2564 การดาเนนิ งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ประจาปี กล่มุ สถานศึกษา 2564 ชนะเลิศอันดบั 2 ระดับกลุม่ สถานศกึ ษา 2563 ได้รับการคดั เลือกให้เปน็ Best Practice การสง่ เสริม พฒั นาตามแนวนโยบายการจัดการศึกษาอาชพี เพือ่ การมี โครงการสานอนาคตการศกึ ษา งานทา โครงการผลติ ชาสมนุ ไพรผักเชียงดา Triple T CONNEXT ED ( CP All ) (TTT) ตามโครงการสานอนาคตการศึกษา CONNEXT ED 2563 ไดร้ ับการประกาศสถานศกึ ษาพอเพยี ง ตามแนวนโยบาย การขบั เคลื่อนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถานศกึ ษา ประจาปี 2563 2563 โครงการสรา้ งและส่งเสรมิ ความเปน็ พลเมืองดีตามรอย สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดเชียงใหม่ พระยุคลบาทดา้ นการศึกษาสู่การปฏบิ ัติ ๒๕๖๒ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา้ ฯพระราชทานนามอาคาร และเสด็จพระราชดาเนนิ เปดิ อาคาร สานกั พระราชวงั “อาคารวทิ ย์ประภา” ณ ศูนย์ฝึกอาชพี คนตาบอด อาเภอสันทราย จังหวัดเชยี งใหม่ ๒๕๖๒ รางวัลองคก์ รคณุ ธรรม สานกั งานวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งใหม่ ๒๕๖๐ รางวัลสถานศึกษาปลอดภัย และสุขภาพอนามยั ดี ระดบั กระทรวงแรงงาน ดเี ดน่ ปีที่ ๑ 2559 รางวัลโรงเรียนพระราชทาน 3 ปี ซอ้ น (ภายใน 10 ปี ) กระทรวงศึกษาธกิ าร ปกี ารศกึ ษา 2552,2555,2559

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๕ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม 2) ดา้ นผู้บรหิ ารและครูผ้สู อน กจิ กรรม/รางวัล สถาบัน/หน่วยงาน ท่ี ช่ือ-สกุล รับพระราชทานเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ ๑. ดร.ประมวล พลอยกมลชุณห์ ชา้ งเผอื ก (ป.ช.) ชัน้ สายสะพาย ประจาปี สานักพระราชวัง ๒๕๖๓ เน่อื งในวโรกาสพระราชพธิ ีเฉลมิ พระ ชนมพรรษา วันท่ี ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ๒. นางมธุฤดี ชัยชนะ รับรางวลั รองผอู้ านวยการดีเด่น ประเภท สมาคมรองผู้อานวยการ โรงเรียนเฉพาะความพกิ าร ระดบั ภาค สังกัดสานกั บรหิ ารงาน ประจาปี ๒๕๖๔ การศกึ ษาพิเศษ ๓. นางสาววชิ ติ า เกศะรักษ์ รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. OBEC AWORDS สานกั งานคณะกรรมการ ระดับภาค ดา้ นนวัตกรรม ประเภทเด็กทมี่ ี การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ความบกพรอ่ งทางการเห็น ประจาปี กระทรวงศึกษาธิการ การศึกษา ๒๕๖๔ ๔. นางสาวพิชญนนั ท์ กุลนุชิต รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWORDS สานักงานคณะกรรมการ ระดับชาติ ดา้ นวชิ าการ ประเภทเด็กทมี่ ีความ การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน บกพร่องทางการเห็น ประจาปีการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๖๓ ๕. นางสาวพทั ยา ใจแชม่ รบั รางวัลครูดีเด่น ระดับกลุมสถานศกึ ษาฯ สมาคมชาวศกึ ษาสงเคราะห ประจาปี ๒๕๖๓ และศึกษาพิเศษ สานัก บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ ๖. นางนงนชุ จาแก้ว รบั รางวัลครูตน้ แบบผ้มุ จี ติ วิญญาณแหง่ ความ สมาคมชาวศกึ ษาสงเคราะห ๗. นางมธฤุ ดี ชัยชนะ เปน็ ครู ระดับกลุมสถานศึกษาฯ ประจาปี และศึกษาพิเศษ สานัก ๘. นางสาวสุมาลี เรือนต้อื ๒๕๖๓ บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ ๙. นางสาวพทั ยา ใจแช่ม รับรางวัลครตู ้นแบบดา้ นระบบดแู ลชว่ ยเหลือ ๑๐. นางเพ็ญทวิ า จติ วรางคณา นกั เรยี น ระดับกลุมสถานศึกษาฯ ประจาปี สมาคมชาวศกึ ษาสงเคราะห ๒๕๖๒ และศึกษาพิเศษ สานัก รับรางวัลครตู ้นแบบด้านหลกั ปรชั ญา บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ เศรษฐกจิ พอเพียง ประจาปี ๒๕๖๒ สมาคมชาวศกึ ษาสงเคราะห รบั รางวัลครูดไี มม่ ีอบายมขุ ประจาปี และศึกษาพเิ ศษ สานกั การศกึ ษา ๒๕๖๒ บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ รบั รางวลั ครูดีไมม่ ีอบายมขุ ประจาปี สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษา ๒๕๖๒ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๖ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม ที่ ชื่อ-สกุล กจิ กรรม/รางวัล สถาบัน/หน่วยงาน ๑๑. นางสาวอุทุมพร เมอื งใจ รางวัลผ้ทู าคุณประโยชน์แกผ่ ู้พกิ ารจากกรม กระทรวงสาธารณสขุ ๑๒. นางเพญ็ ทวิ า จติ วรางคณา สุขภาพจติ โครงการรณรงค์พัฒนาการเดก็ เสริมสร้างสุขภาพ และกาลังผู้พิการ ประจาปี กระทรวงสาธารณสุข ๑๓. นางศิรพิ ร วงศ์รุจไิ พโรจน์ ๒๕๖๒ รางวลั ผ้ทู าคุณประโยชนแ์ ก่ผู้พกิ ารจากกรม กระทรวงสาธารณสขุ ๑๔. นางเพ็ญทิวา จติ วรางคณา สุขภาพจติ โครงการรณรงค์พัฒนาการเด็ก สมาคมกีฬาคนตาบอด เสริมสร้างสุขภาพ และกาลงั ผู้พกิ าร ประจาปี ๒๕๖๒ แหง่ ประเทศไทย รางวัลผู้ทาคณุ ประโยชน์แก่ผู้พิการจากกรม สุขภาพจติ โครงการรณรงค์พัฒนาการเด็ก เสริมสร้างสขุ ภาพ และกาลงั ผู้พิการ ประจาปี ๒๕๖๒ รางวลั ผูฝกสอนดีเดนกีฬาโกลบอลประจาป ๒๕๖๒ และไดรบั คดั เลือกใหเปนโคช ทมี ชาติไทยกีฬาโกลบอลในการแขงขนั ๒๐๑๙ IBSA Goalball Youth World Championships ณ ประเทศ ออสเตรเลีย และ ๒๐๑๙ Asia & Pacific Invitational Goalball Tournament ณ ประเทศไทย 3) ด้านนกั เรยี น ท่ี ช่ือ-สกุล กจิ กรรม/รางวลั สถาบนั /หน่วยงาน ๑. นางสาวสุรีรัตน์ ศรีสดใสดาวเรือง รางวลั ชนะเลิศเหรยี ญทอง การแขง่ ขันกฬี า สมาคนกีฬาคนตาบอด เด็กหญงิ จฬุ าลักษณ์ ขตั ทิ จักร โกลบอลหญิง การแข่งขัน Asian Youth แหง่ ประเทศไทย Para Games 2021 ณ เมอื งมานามา ราชอาณาจักรบาห์เรน ๒. นายสุรเดช สถติ สถาพรชยั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ การแข่งขนั สมาคมจักรยานคนพิการ รายการ MB Individual Time trial ไทย ป่นั ระยะทาง ๙๙ กโิ ลเมตร สถติ ิ ๒ ชัว่ โมง ๓๐ นาที การแขง่ ขันกีฬาจักรยานคนพิการชงิ แชมป์แห่งประเทศไทย ประจาปี ๒๕๖๔ ๓. นายสรุ ชยั หยกพณิชกจิ รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั ๒ การแขง่ ขัน สมาคมจกั รยานคนพิการ รายการ MB Road Race ป่ันระยะทาง ๒๙ ไทย กิโลเมตร สถิติ ๓๘ นาที การแขง่ ขันกีฬา

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๗ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม ท่ี ช่ือ-สกุล กจิ กรรม/รางวัล สถาบนั /หน่วยงาน จักรยานคนพิการชิงแชมป์แห่งประเทศไทย ประจาปี ๒๕๖๔ ๔. นางสาวรรนิ ทพิ ย์ แซห่ ล่อ รางวลั เหรยี ญทอง การแข่งขันว่งิ ๑๐๐ เมตร สมาคนกีฬาคนตาบอด นายภธู เิ บศ ศรเดช รางวลั เหรียญเงนิ การแข่งขันว่ิง ๑๐๐ เมตร แหง่ ประเทศไทย นายเอกรนิ ทร์ เมฆแสน รางวลั เหรียญทองแดง การแข่งขนั วิง่ ๑๐๐ เมตร มหกรรมกีฬาคนพิการชงิ แชมป์ประเทศไทย ประจาปี ๒๕๖๔ ณ สนามกีฬาเฉลิมพระ เกยี รติ ๘๐ พรรษา จังหวดั นครราชสมิ า ๕. นางสาวรรนิ ทิพย์ แซห่ ล่อ รางวลั เหรยี ญทอง การแขง่ ขันว่งิ ๒๐๐ เมตร สมาคนกีฬาคนตาบอด นายภธู เิ บศ ศรเดช รางวัล เหรียญทอง การแข่งขันกระโดดไกล แห่งประเทศไทย นายเอกรินทร์ เมฆแสน รางวลั เหรียญเงนิ การแข่งขันว่งิ ๒๐๐ เมตร นายธนวฒั น์ อายอ้ รางวัล เหรยี ญเงนิ การขวา้ งจักร F 11 นายธนวฒั น์ อุ่นถ่นิ รางวัล เหรียญเงนิ การขวา้ งจักร F 13 มหกรรมกีฬาคนพิการชิงแชมปป์ ระเทศไทย ประจาปี ๒๕๖๔ ณ สนามกีฬาเฉลมิ พระ เกยี รติ ๘๐ พรรษา จงั หวัดนครราชสิมา ๖. นายสุรเดช สถิตสถาพรชยั ได้รับทุนเข้าศึกษาต่อ หลกั สูตรบริหารธุรกิจ สมาคมจกั รยานคนพิการ นายสรุ ชยั หยกพณิชกจิ บณั ฑิต สาขาวิชาการจดั การอุตสาหกรรม ไทย บรกิ ารดา้ นการกฬี าและสุขภาพ มหาวิทยาลยั รัตนบัณฑติ ๗. นายสุรเดช สถติ สถาพรชัย นักเรียนไดร้ บั รางวลั พลเมอื งดี ตามโครงการ ส า นั ก ง า น ศึ ก ษ า ธิ การ สร้างและสง่ เสรมิ ความเปน็ พลเมืองดีตามรอย จงั หวดั เชยี งใหม่ พระยุคลบาทดา้ นการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ิ ๘. นางสาวเยาวลกั ษณ์ รกั ษ์ครี เี ขต ไดร้ ับการคัดเลอื กเข้าศกึ ษาต่อ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง ระดับอุดมศึกษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ จงั หวดั เชยี งราย ๙. นางสาวมาริสา ทะนนั ชัย ไดร้ บั การคัดเลือกเขา้ ศึกษาต่อ มหาวิทยาลยั พะเยา ระดบั อุดมศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๔ จังหวัดพะเยา ๑๐. นางสาวกนกรดา ชวิ ส ได้รับการคดั เลือกเขา้ ศกึ ษาต่อ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ระดบั อุดมศึกษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ เชยี งใหม่ ๑๑. นายอภสิ ิทธิ์ เฉพาะธรรม ได้รับการคดั เลอื กเข้าศึกษาต่อ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ ระดบั อดุ มศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๔ เชียงใหม่

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๘ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม ท่ี ชือ่ -สกุล กจิ กรรม/รางวลั สถาบัน/หนว่ ยงาน ๑๒. นางสาวรอด ลุงตอ องคการบรหิ าร ๑๓. นางสาวศิรบิ ุตร มุสิกะโปดก รับรางวลั เดก็ และเยาวชนดเี ดน เนื่องในงาน สวนจังหวดั เชียงใหม ๑๔. นายคณัสนันท เงินคา วันเด็กแหงชาติ ประจาป ๒๕๖๔ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๑๕. นายอาชญั บญุ พรหม ได้รบั การคัดเลือกเข้าศกึ ษาต่อ ระดับอุดมศึกษา ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ไดร้ ับการคดั เลือกเขา้ ศกึ ษาต่อ ระดับอดุ มศึกษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ได้รบั การคดั เลือกเข้าศึกษาต่อ ระดบั อดุ มศึกษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๑๙ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม บทที่ 2 การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา (SWOT) 1. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในของโรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ จงั หวดั เชียงใหม่ โดยใช้ปัจจยั 7S สามารถวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในสถานศึกษา ได้ดังน้ี 7 S Model Strength Weakness 1. โครงสร้าง (Structure) จุดแข็ง จุดอ่อน 1. มีโครงสรา้ งการบริหารงานทช่ี ัดเจน 2. ระบบ (Systems) มีการนา ICT มาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ 1. บุคลากรในโครงสร้างภาระงาน 2. การกาหนดภารงานสอดคล้องกับ หลายหนา้ ท่ี ทาใหง้ านไม่เป็นไปตาม 3. บคุ ลากร/ทีม (Staffs) ภารกจิ ของโรงเรยี นประเภทการศึกษา กาหนด พเิ ศษ 2. ความคล่องตัวในการปฏิบตั งิ าน 3. บุคลากรมคี วามรู้ ความชานาญและ เน่ืองจากการมีภาระงานทบั ซ้อนของ ประสบการณ์หลากหลายในการจดั การ บุคลากรตามโครงสร้าง ศกึ ษาทม่ี ปี ระสิทธิภาพ 3. ขาดการประสานงานตามโครงสรา้ ง เพ่ือบรรลเุ ปา้ หมายขององค์กร 1. มีรูปแบบการทางานอยา่ งเปน็ ระบบ 4. คณะกรรมการสถานศึกษา 2. มรี ะบบงบประมาณที่ได้รบั การ ผู้ปกครองชมุ ชน มีส่วนรว่ มในการ สนับสนนุ ทั้งจากภาครฐั และเอกชนท่ี กาหนดนโยบายน้อย เพยี งพอต่อการบรหิ ารจัดการท่มี ี 1. บุคลากรบางทา่ นไมป่ ฏบิ ตั ิตาม ประสิทธภิ าพ ระบบการปฏิบัติงาน 3. มสี ือ่ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีส่งเสริมการ 2. ระบบการทางานบางงานมีขั้นตอน ปฏิบัติงานไดเ้ ปน้ อยา่ งดี คอ่ นข้างซบั ซ้อน เชน่ SET, ระบบ 4. มีรปู ระบบการทางานทั้งออนไลน์ สารสนเทศ ต้องใชเ้ วลาดาเนินงาน และออฟไลน์ 3. การนิเทศ กากับ ติดตาม ไมช่ ัดเจน 1. บคุ ลากรมีความรักและศรัทธาใน วิชาชพี ครูและมีจานวนเพียงพอ 1. บคุ ลากรมีภาระงานมาก การ 2. บคุ ลากรสว่ นใหญม่ คี วามรู้ ความ กระจายงานไมเ่ ท่ากัน ชานาญและมีประสบการณใ์ นการ 2. มคี ุณลักษณะ คุณวุฒไิ มต่ รงกับ ทางาน ภาระงานหรือวชิ าที่รับผดิ ชอบ 3. บุคลากรร่นุ ใหม่ท่มี ีความพร้อมเรยี นรู้ 3. บุคลากร สาขาวชิ าทส่ี าคัญที่ และมกี ารพัฒนาตนเอง จาเป็นมีน้อย ไม่เพยี งพอ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๐ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชยี งใหม 7 S Model Strength Weakness จุดแข็ง จุดออ่ น 4. ทกั ษะ/ความชานาญ 1. บคุ ลากรมที กั ษะ มีความรู้ ความ 4. บุคลากรรุ่นใหม่ มปี ระสบการณ์ใน การทางาน การจดั การเรียนรู้แตกต่าง (Skills) ชานาญและมปี ระสบการณใ์ นการ กนั 5. การประสานความรว่ มมือ การ จัดการเรยี นการสอนสาหรับนกั เรียนที่มี ส่ือสาร 6. บุคลากรทางานเฉพาะท่ีได้รบั ความบกพร่องทางการเห็น มอบหมายท่ีเกีย่ วกับตนเอง เทา่ นนั้ 1. ความรู้ ความเขา้ ใจ เพื่อใหเ้ กิด 2. มปี ระสบการณใ์ นหนา้ ที่ สามารถ ทกั ษะต้องใชเ้ วลาในการฝกึ ฝนเรยี นรู้ ทั้งการจดั การเรยี นรู้สาหรับนักเรยี นที่ อธบิ ายการทางานและสอนงานได้เปน็ มีความบกพร่องทางการเหน็ และ ภาระงานอืน่ ทมี่ อบหมาย อย่างดี 2. บุคลากรขาดทักษะดา้ นเทคโนโลยี และภาษาตา่ งประเทศเพอ่ื การสอื่ สาร 3. มกี ารพัฒนาตนเองเพอ่ื การเรียนรู้ 1. ผู้บรหิ ารใชก้ ารบริหารแบบยืดหยุน่ การทางาน เกินไป ทาให้ขาดความเด็ดขาดในการ ดาเนินการ 5. รปู แบบ (Styles) 1. ผู้บริหารมีวสิ ยั ทัศน์ มคี วามสามารถ 2. การมที ัศนคติ ความคิด ท่ีแตกตา่ ง กันรูปแบบวธิ ีการตัดสนิ ใจจึงแตกตา่ ง เปน็ ทย่ี อมรับในระดับประเทศ 3. การนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม ยงั ขาด ระบบทชี่ ัดเจน 2. มคี วามยดื หยนุ่ ในการบริหารงาน ใช้ 4. การนาฐานข้อมูลสารสนเทศมาใช้ ร่วมกนั นอ้ ย หลักการบริหารแบบมสี ่วนรว่ ม 1. ระดับการปฏบิ ัตแิ ละทัศนคตใิ นการ 3. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การบรหิ ารงาน บรหิ ารท่แี ตกตา่ งกนั การมีส่วนรว่ ม แตกตา่ งกนั เพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายขององค์กร 2. การดาเนนิ งานไม่ตรงตามกาหนด 3. ความเขา้ ใจในงาน การส่ังการ/งาน 4. ฝ่ายบรหิ ารสง่ เสรมิ การทางานเป็น สผู่ ูป้ ฏิบตั งิ านไม่ชดั เจน ทาให้การ ปฏบิ ัตงิ านไม่เป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ ทมี 1. มคี วามคิดเชิงเวทนานยิ มทาให้ ผเู้ รยี นเสียโอกาสในการเรียนรชู้ ีวติ 5. ส่งเสรมิ การสรา้ งเครอื ข่ายการจัด การศกึ ษา 6. กลยทุ ธ์/เทคนิค 1. โรงเรยี นมนี โยบาย กลยทุ ธก์ าร (Strategy) บรหิ ารชดั เจนเป็นระบบ 2. ฝา่ ยบรหิ ารมีส่วนรว่ มในการพฒั นา องค์กร 3. การมกี ลยุทธ์ เทคนคิ วธิ ีการบริหาร จัดการทห่ี ลากหลายเพือ่ ให้บรรลุ เปา้ หมายขององค์กร 7. ค่านยิ ม/วฒั นธรรม/คณุ 1. ค่านิยมในการชว่ ยเหลือนักเรยี นทม่ี ี คา่ ท่มี รี ่วมกนั (Shared ความบกพร่องทางการเหน็ value) 2. การให้ความเคารพและการใหเ้ กียรติ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๑ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชยี งใหม 7 S Model Strength Weakness จดุ แข็ง จดุ อ่อน กับผู้อาวุโส 2. คา่ นยิ มบางอย่างทเี่ ป็นอุปสรรคตอ่ 3. ความรว่ มมือ และอทุ ิศเวลาในการ การพฒั นางาน เชน่ เคยทากันมาแบบ ดูแลนักเรียน นี้ การสงวนความคิดเห็นในที่ประชมุ 4. การมสี ่วนร่วมในการแก้ปัญหา แตแ่ สดงออกนอกรอบ 3. ทัศนคตแิ ละการปรับตวั ท่ีแตกต่าง กันตามแต่ละชว่ งวัย 4. การทางาน การแสดงออกเฉพาะ กลุม่ ของตนเอง สรปุ ผล การวเิ คราะหไ์ ด้ว่าโรงเรยี นโครงสร้างการบริหารงานท่ชี ดั เจน มีการนา ICT มาใชใ้ นการบรหิ าร จัดการ มีรูปแบบการทางานอย่างเป็นระบบ มีการบริหารจัดการงบประมาณท่ีเพียงพอบริหารงาน มีส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีส่งเสริมการปฏบิ ัติงาน รูปแบบสารสนเทศหรอื ระบบงานมีทั้งออนไลนแ์ ละออฟไลน์ บุคลากรมีความ รักและศรัทธาในวิชาชีพ มีความรู้ ความชานาญและมีประสบการณ์ในการทางานและมีจานวนเพียงพอ บุคลากรรุ่นใหม่ที่มีความพร้อมเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง เป็นจุดแข็งที่ส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาของ โรงเรยี นให้เกดิ ประสิทธภิ าพ สาหรับจุดอ่อนทีพ่ บ คอื บคุ ลากรทักษะ ความชานาญ และประสบการณ์น้อย ซึง่ ทักษะในการทางาน ความเข้าใจ ด้านเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร ที่เกี่ยวต้องใช้เวลาในการ ฝึกฝนเรียนรู้ มีภาระงานทับซ้อน การมีทัศนคติ ค่านิยมบางอย่างท่ีเป็นอุปสรรคในการทางานร่วมกัน รวมถึง รปู แบบ การนิเทศ กากับ ตดิ ตาม 2. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินปู ถัมภ์ จังหวดั เชยี งใหม่ ใชป้ จั จัยตามรปู แบบของ STEP Model โดยผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกของ โรงเรียน ดังน้ี PEST/STEP Model Opportunities Threats 1. Sociocultural (โอกาส) (อปุ สรรค) (สงั คมและวฒั นธรรม) 1.โรงเรียนต้งั อยูใ่ นสังคม และชมุ ชน ท่ี 1.โรงเรยี นตง้ั อยใู่ นเขตชุมชนเมอื ง มี มวี ัฒนธรรมการเอื้อเผ่ือแผ่และพร้อม มลภาวะทางอากาศ และทางเสยี ง เปน็ สง่ เสรมิ ช่วยเหลอื ความเสี่ยงด้านความปลอดภยั ของ 2.สงั คมและชุมชน มที ัศนคติทด่ี ี และ นกั เรยี น เมอื่ มีการแพร่ระบาดของโรค ศรทั ธาต่อโรงเรยี น ให้ความรว่ มมือและ ไวรสั โควดิ 19 สนับสนนุ การจัดการศึกษาของโรงเรยี น 2.สังคมได้รบผลกระทบจากสถานการณ์ 3.โรงเรยี นตง้ั ในเขตเมือง มสี ถานศึกษา การแพรร่ ะบาดของ โควิด - 19 ทาให้ หน่วยงาน องค์กรภาคสงั คมในการเข้า เข้ามามสี ่วนร่วมการจดั การศึกษา มามสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา มีการ นอ้ ยลง

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๒ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม PEST/STEP Model Opportunities Threats (โอกาส) (อุปสรรค) 2. Technology 3.ผ้ปู กครองเปน็ กลุ่มชาติพันธม์ ี (เทคโนโลย)ี ทา MOU รว่ มกันเพื่อสรา้ งเครือขา่ ย วัฒนธรรมที่หลากหลาย การเตรียม การศึกษาทั้งภายในและต่างประเทศ ความพร้อมในการพฒั นานกั เรยี น 3. Economic 4.ชุมชนและหน่วยงาน มกี ารสบื สาน แตกตา่ งกัน (เศรษฐกิจ-อาชีพ) อนรุ กั ษป์ ระเพณี วัฒนธรรมและภูมิ ปัญญาท้องถิ่น เปน็ แหลง่ เรียนรู้ และ 1. เทคโนโลยีสาหรบั นักเรียนทม่ี ีความ แบบอย่างทีด่ ีสาหรบั นกั เรยี น บกพร่องทางการเห็นมรี าคาสูง การซ่อม 1.ไดร้ ับการสนับสนนุ ด้านเทคโนโลยี บารุงใช้งบประมาณค่อนข้างมาก จากภาครฐั และภาคเอกชนเป็นอย่างดี 2.บคุ ลากรที่มีความชานาญด้าน 2.ความก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยี เทคโนโลยีสาหรบั บคุ คลทม่ี ีความ ชว่ ยให้เกิดการพฒั นารปู แบบการ บกพร่องทางการเห็นมนี ้อย จัดการเรยี นรู้ได้หลากหลาย 3. ความกา้ วหน้าอยา่ งรวดเร็วของ เทคโนโลยีและมมี ากเกินไป เปน็ ภัย 1. ชมุ ชนรอบโรงเรยี นอยใู่ นเขต คุกคามและความเสีย่ งผลต่อพฤติกรรม เศรษฐกจิ เมือง ให้การสนบั สนุนดา้ น ค่านิยม ทศั นคตจิ ากสอื่ โซเชยี ล ทัง้ ตอ่ งบประมาณ ทนุ การศกึ ษาเป็นอยา่ งดี นกั เรียนและบุคลากร 2. ไดร้ บั การสนับสนนุ ด้านงบประมาณ 4. ผู้ปกครองมีพนื้ ฐานดา้ นเทคโนโลยี ในการจัดการศึกษาจากหนว่ ยงาน ค่อนข้างนอ้ ย ส่งผลใหก้ ารช่วยเหลอื ภาครัฐและเอกชน บตุ รหลานโดยเฉพาะการเรยี นออนไลน์ 3. มคี วามพรอ้ มดา้ นสือ่ สง่ิ อานวย ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควดิ ความสะดวกสาหรับนักเรยี นที่มีความ – 19 บกพร่องทางการเห็น สนับสนุนการจัด 1. สภาพเศรษฐกิจทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ การศึกษา จากการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ – 19 สง่ ผลใหส้ ังคมเข้ามามีส่วนร่วมด้าน งบประมาณนอ้ ยลง 2. ผู้ปกครองสว่ นใหญม่ ีพืน้ ฐานทาง เศรษฐกิจน้อย การดแู ลหรือสนบั สนุน ดา้ นงบประมาณค่อนข้างน้อย

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๓ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม PEST/STEP Model Opportunities Threats (โอกาส) (อปุ สรรค) 4. Politic (กฎหมาย/นโยบาย) 4. กรมสรรพากรใหผ้ ูบ้ รจิ าคเงินนาไป 1. การเปลีย่ นแปลง นโยบายสว่ นกลาง ลดหย่อนภาษี ได้ 2 เทา่ สง่ ผลให้ ตน้ สังกดั บอ่ ย ทาใหก้ ารดาเนินงานต้อง โรงเรยี นได้รบั เงนิ บริจาค นามาบริหาร ปรบั เปลย่ี นตลอดเวลา บางเร่ืองไม่ จดั การดแู ลคนพกิ ารได้ สามารถนามาปฏบิ ัติไดท้ ่ีมสี ่งผลกระทบ ตอ่ การดาเนนิ งานของโรงเรียน 1. นโยบายที่สง่ เสริมการศกึ ษาของคน 2. การใหค้ วามรว่ มมือ ความสาคัญ พิการ สง่ ผลทาให้คนพิการได้รบั การ ในทางปฏิบัติต่อกฎหมาย หรือ พฒั นาและยกระดับคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี พระราชบญั ญตั ิท่ีเก่ยี วข้องกับมนษุ ย์ 2. นักเรยี นที่มคี วามบกพร่องทางการ พิการยงั ไมเ่ ต็มที่ เช่น การเรียนรวม การ เหน็ ได้รบั สิทธพิ ิการและสวัสดิการผู้ จา้ งงาน การกาหนดรายได้หรืออัตรา พิการตามกฎหมาย นักเรียนพกิ ารที่ไม่ อตั ราคา่ จา้ ง มีสัญชาติไทยไดร้ บั การศึกษาอยา่ งเทา่ เทียม 3. มีกฎหมาย พระราชบัญญัติท่ี สนับสนุน และเออ้ื ตอ่ ด้านการจดั การศึกษา ด้านสุขภาพ และด้านอาชีพ สรุปผลการวเิ คราะห์ได้วา่ สังคมและชุมชน มีทัศนคติท่ีดี และศรัทธาต่อโรงเรียน ให้ความร่วมมือและ สนบั สนุนการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน มกี ารสร้างเครือข่ายเพอ่ื เข้ามามีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาท้งั ภายใน และต่างประเทศ ขณะเดียวกันจากผลกระทบของสภาพเศรษฐกิจ Economic (เศรษฐกิจ-อาชีพ) (-) 3.67 จากการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด – 19 ส่งผลให้สังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนด้านงบประมาณ น้อยลง ผู้ปกครองส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธม์ ีวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย และมีพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจครัวเรอื นท่ี แตกตา่ งกัน ส่งผลใหผ้ ู้ปกครองไม่สามารถดูแลช่วยเหลือ สนับสนนุ ดา้ นการศกึ ษาของนกั เรียนได้เตม็ ท่ี

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๔ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม 3. ตารางแสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกของโรงเรยี น การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน สภาพแวดล้อมภายใน ค่านา้ หนกั ค่าคะแนน คะแนนจรงิ สรปุ ผล S (+) W (-) S (+) W (-) 0.36 1. โครงสร้าง (Structure) 0.18 4.50 3.00 0.36 0.45 0.19 0.15 4.33 3.08 0.19 0.46 0.13 2. ระบบ (Systems) 0.15 4.17 2.50 0.13 0.50 0.21 0.17 0.21 0.38 0.04 3. บุคลากร/ทีม (Staffs) 0.10 3.50 3.83 0.04 0.38 -0.01 0.10 -0.01 0.41 4. ทกั ษะ/ความชานาญ 4.17 3.17 0.08 (Skills) 0.15 0.08 0.50 4.00 3.17 0.98 5. รูปแบบ (Styles) 1.00 4.07 3.09 3.83 3.33 6. กลยทุ ธ์/เทคนิค (Strategy) 7. ค่านิยม/วฒั นธรรม/คณุ คา่ ทม่ี รี ว่ มกนั (Shared value) สรปุ ปัจจัยภายใน จากตารางการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน พบว่า โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรม ราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ มีจุดแข็งที่ระดับคะแนน (+) 4.07 สูงกว่าจุดอ่อนซึ่งอยู่ที่ระดับคะแนน (-) 3.09 มีความแตกต่างกันที่ระดับคะแนน 0.98 เม่ือพิจารณาสภาพแวดล้อมภายในรายด้าน พบว่าระดับ คะแนนสูงสุดคอื โครงสร้าง (Structure) 4.50 ระบบ (Systems) 4.33 บุคลากร/ทมี (Staffs) 4.17 รูปแบบ (Styles) 4.17 ส่วนระดบั คะแนนน้อยสดุ คอื ทักษะ/ความชานาญ (Skills) 3.50 การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก สภาพแวดล้อมภายนอก ค่าน้าหนกั คา่ คะแนน คะแนนจริง สรุปผล 0.30 O (+) T (-) O (+) T (-) 0.75 1. Sociocultural (สังคม 0.20 4.83 3.50 1.45 0.70 0.07 และวฒั นธรรม) 0.20 0.26 2. Technology 0.30 4.60 2.83 0.92 0.85 0.75 (เทคโนโลยี) 1.00 1.31 3. Economic (เศรษฐกจิ - 4.20 3.67 0.84 1.10 อาชพี ) 4. Politic(กฎหมาย/ 4.60 3.17 1.38 0.63 นโยบาย) 4.59 3.28 สรุปปัจจยั ภายนอก

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๕ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม จากตารางการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก พบว่า โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรม ราชินปู ถมั ภ์ จงั หวัดเชียงใหม่ มีโอกาสทเ่ี อ้ือต่อการบรหิ ารจดั การ ทีร่ ะดบั คะแนน (+) 4.59 โดยมีปจั จยั ท่ีเป็น อุปสรรค ที่ระดับคะแนน (-) 3.28 มีความแตกต่างกันท่ีระดับคะแนน 1.31 เม่ือพิจารณาสภาพแวดล้อม ภายนอกรายด้าน พบว่า Sociocultural (สังคมและวัฒนธรรม) มีค่าเฉล่ียสูงสุด 4.83 และการมีกฎหมาย นโยบายและพระราชบัญญัติ ที่เออ้ื ตอ่ การจัดการศกึ ษาสาหรับนกั เรยี นที่มคี วามบกพร่องทางการเห็น Politic (กฎหมาย/นโยบาย) ท่ี 4.60 เช่นเดียวกับการได้รับการสนับสนุนด้านสื่อ เทคโนโลยี และความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี Technology (เทคโนโลยี) ทีม่ ีคา่ คะแนนเท่ากนั ภาพแสดงสถานภาพของสถานศกึ ษาจากการวิเคราะห์ทไี่ ด้ ผลการวิเคราะห์สถานภาพของสถานศึกษา พืน้ ท่ีสว่ นใหญอ่ ยูใ่ นพนื้ ทที่ ี่เปน็ จดุ แข็งและโอกาส (STARS) มีปัจจัยภายในท่ีเป็นจุดแข็ง และมีปัจจัยภายนอกที่เอื้อต่อการบริหารจัดการ พ้ืนที่ท่ีเป็นจุดอ่อน และอุปสรรค เป็นพ้ืนท่ีส่วนน้อย โดยลักษณะเช่นน้ีถือว่าสภาพแวดล้อมของโรงเรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเป็นโอกาสและมี จุดแข็ง ส่งผลต่อการใช้กลยุทธ์ท่ีต้องการขยาย ต่อยอดเพ่ือพัฒนา และส่งเสริมให้แผนงานโครงการ เจริญก้าวหน้ายิ่งข้ึน จากการที่สังคมและชุมชน มีทัศนคติที่ดีและศรัทธาต่อโรงเรียน ให้ความร่วมมือและ สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น ตลอดจนการมโี ครงสรา้ งการบรหิ ารงานทช่ี ดั เจน มกี ารนา ICT มาใช้ใน การจัดการเรียนรู้ และการมีบคุ ลากรทีม่ ีความรู้ ความชานาญและประสบการณ์หลากหลายในการจัดการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพ โรงเรียนได้รับความสาเร็จในโครงการระดับเขตพ้ืนท่ี ระดับจังหวัด ระดับภูมิภาคและ ระดบั ประเทศ สอดคลอ้ งกับผลการวิเคราะห์ดังกล่าว

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๖ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม บทท่ี 3 ทิศทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น 1. ทศิ ทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา วสิ ัยทศั น์ (Vision) เป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ มุ่งพฒั นาผ้เู รียนสู่คุณภาพตามมาตรฐาน บรหิ ารจดั การบนหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง พันธกิจ (Mission) 1. ส่งเสริมโอกาสและความเท่าเทียมทางการศกึ ษาเพื่อพัฒนานกั เรียน ให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา 2. สง่ เสริมและพัฒนานกั เรียนดา้ นทกั ษะวิชาการ ทักษะวิชาชีพ ทกั ษะชวี ติ และมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล 3. สง่ เสรมิ สนับสนุนการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน็ แนวทางในการจดั การศกึ ษา 4. ส่งเสริมสนับสนนุ การนาหลกั ธรรมาภิบาลมาใชใ้ นการบริหารอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 5. สง่ เสรมิ และพัฒนาครบู ุคลากรทางการศึกษาให้มสี มรรถนะ ตามมาตรฐานวิชาชีพ 6. ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ มีการบรหิ ารจัดการความปลอดภยั จากภยั พิบัตแิ ละภยั คุกคามทุกรปู แบบ เพอื่ รองรับวิถชี ีวิตใหม่ กลยุทธ์ ( Strategy) 1. ขยายโอกาสทางการศึกษาสาหรบั นกั เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเหน็ ใหเ้ ข้าถึงและไดร้ ับ บริการทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ดว้ ยรูปแบบท่ีหลากหลาย มาตรการ 1. จัดระบบฐานข้อมูลสารสนเทศพน้ื ที่การใหบ้ ริการท่ีครอบคลุมและมีประสทิ ธิภาพ 2. พัฒนาระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน และการรบั นักเรียนเชงิ รุก 3. ส่งเสริมสนบั สนนุ การเตรียมความพร้อมตามแนวทางการเปล่ยี นผา่ นหรอื งช่วงเชือ่ มต่อ (Transition) ท่สี อดคลอ้ งเหมาะสมตามระดับการศึกษา 2. พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ตามหลักสตู รและมาตรฐานตามระบบการประกนั คุณภาพ ภายในสถานศึกษา มาตรการ 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อมีสมรรถนะ ตามหลกั สูตรสถานศึกษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของโรงเรียน 2. ส่งเสริม สนับสนนุ เทคโนโลยสี ่ิงอานวยความสะดวก ส่ือ บริการและความช่วยเหลืออ่ืนใดทาง การศึกษาสาหรับนักเรยี นทมี่ ีความบกพร่องทางการเห็น

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๗ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชยี งใหม 3. ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาทกั ษะวิชาการ ทักษะชวี ติ และการดาเนนิ ชีวิตวิถใี หมต่ าม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรการ 1. ส่งเสริมการจัดการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาทกั ษะวชิ าการ ทกั ษะการดารงชวี ติ วิถีใหม่ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. สง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้เพ่ือปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การมที ัศนคติทถ่ี ูกต้องต่อการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข 4. พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาเพื่อการมงี านทา มาตรการ 1. สง่ เสรมิ สนับสนุนการจดั การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ทีส่ อดคล้องเหมาะสมตามความ สนใจและความถนัดของผูเ้ รียน 5. ส่งเสรมิ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ให้มสี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี และมคี วามก้าวหนา้ ทางวชิ าชพี มาตรการ 1. ส่งเสรมิ สนับสนุนการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ใหม้ ีสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชพี ใหม้ ี ความก้าวหน้าทางวชิ าชพี 2. ส่งเสริม สนับสนุนการสรา้ งขวัญกาลงั ใจ การยกยอ่ งเชิดชเู กียรติและมเี จตคติท่ดี ตี ่อการ ประกอบวชิ าชพี 3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใหค้ รูและบุคลากรทางการศกึ ษา มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้เพื่อการ พฒั นาวชิ าชพี เพื่อสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) 6. พฒั นาระบบการบริหารและการจัดการสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล มาตรการ 1. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ กระบวนการบริหารจดั การตามระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 2. ส่งเสริม สนบั สนนุ การนาหลักธรรมาภิบาลและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาใชใ้ น กระบวนการบริหารจัดการ 3. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดสภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศที่เออ้ื ต่อการจดั การเรียนร้บู นพื้นฐาน ของความปลอดภัยจากภยั พบิ ัตแิ ละภัยคุกคามต่างๆ 4. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตามและประเมินผลการบริหารจดั การอย่างเปน็ ระบบ เปา้ ประสงค์ 1. นักเรยี นไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาอย่างท่ัวถงึ 2. นักเรียนมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศกึ ษา 3. นักเรยี นมคี ุณธรรมและทักษะงานอาชพี ตามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล 4. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะการปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานวชิ าชีพ 5. สถานศกึ ษามีการบรหิ ารจดั การทมี่ ีประสทิ ธภิ าพตามหลกั ธรรมาภบิ าล

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๘ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม นโยบายสถานศึกษา 1.ขยายโอกาสทางการศึกษาสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทาการเห็น ให้เข้าถึงและได้รับบริการ ทางการศกึ ษา 2.พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามหลกั สูตร และมาตรฐานประกนั คุณภาพ 3.สง่ เสริมนกั เรยี นใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.ส่งเสริมและพฒั นาการจดั การศึกษาเพอ่ื การมีงานทา 5.ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี 6.พัฒนาระบบการบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาล  อตั ลักษณ์นักเรยี น มคี ุณธรรม นาความรู้ สทู่ กั ษะชวี ิต  เอกลักษณ์โรงเรยี น เปน็ ศนู ยก์ ลางแห่งการเรยี นรู้ สาหรบั นกั เรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเห็น  ปรัชญาการจดั การศกึ ษา อยู่อยา่ งมปี ระโยชน์ และไม่เป็นภาระแกส่ งั คม กลยุทธข์ อง สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ กลยทุ ธ์ที่ 1 เพ่ิมโอกาสใหค้ นพิการและเด็กด้อยโอกาส เข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษา กลยุทธท์ ี่ 2 พัฒนาคุณภาพผ้เู รียน กลยทุ ธ์ที่ 3 พฒั นาระบบบรหิ ารและการจดั การ กลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนาผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา กลยทุ ธ์ที่ 5 ทบทวน ปรบั ปรุง กฎหมาย ระเบียบการจดั การศึกษาสาหรับคนพิการและเดก็ ด้อยโอกาส จดุ เนน้ ปกี ารศกึ ษา 2565 เน้นคณุ ธรรมด้านความกตัญญู

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๒๙ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม 2. การบรหิ ารจดั การศึกษา ผู้อานวยการโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษา ศูนยก์ ารเรียนวิชาชีพฯสนั ทราย ฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝา่ ยบรหิ ารงบประมาณและแผนงาน ฝา่ ยบรหิ ารงานกิจการนกั เรยี น 1. งานจดั การเรยี นการสอนพฒั นา 1. งานพัฒนาระบบ 1. งานธรุ การและสารบรรณ 1. งานระบบดแู ลช่วยเหลอื คุณภาพผู้เรยี น เครือข่ายและขอ้ มลู 2. งานการเงนิ และบัญชี นกั เรียน 1.1 งานจัดการเรียนการสอน สารสนเทศ 3. งานพัสดุ - งานนกั เรยี นประจา ระดบั ปฐมวัย 4. งานนโยบายและแผน - งานสง่ เสรมิ สุขภาพ 1.2 งานจดั การเรยี นร้ขู ้นั พน้ื ฐาน 2. งานโสตทัศนปู กรณ์ 5. งานควบคมุ ภายใน อนามยั นักเรยี น 1.3 งานจดั การเรยี นการสอน 3. งานอาคาร สถานท่ี 6. งานระดมทรพั ยากรเพือ่ - งานสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย กลมุ่ บกพรอ่ งทางการเหน็ โรงเรยี น และมีความพกิ ารอ่นื รว่ มดว้ ย สิ่งแวดลอ้ ม ภมู ทิ ศั น์ และ การศกึ ษา 2. งานกจิ กรรมนักเรยี น 1.4 งานจดั การเรียนรว่ มและ สาธารณปู โภค 7. งานโภชนาการ 3. งานส่งเสรมิ คณุ ธรรม ซ่อมเสรมิ 4. งานประชาสัมพันธ์ 8. งานกองทุนสวัสดิการครู 1.5 งานศนู ย์ฝกึ วิชาชพี คนตา 5. งานโครงการ 9. งานยานพาหนะ จรยิ ธรรมและจิตสาธารณะ บอด พระราชดาริ 4. งานธนาคารโรงเรยี น 6. งานสถานศกึ ษา ฝา่ ยบริหารงานบคุ คล - งานทุนการศึกษาและ 2.งานพฒั นาการเรยี นการสอนวชิ าชพี พอเพียง สงั คมสงเคราะห์ เพ่ือการมีงานทา 7. งานประกันคณุ ภาพ 1. อตั รากาลงั การแต่งต้ัง การศึกษา โอนย้าย การจา้ งและ 3.งานวิจัยเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 8. งานคณะกรรมการ เกษียณอายรุ าชการ 4.งานพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา สถานศึกษา 2. งานบาเหน็จความชอบ 5.งานนิเทศกากบั และตดิ ตาม เลอ่ื นขน้ั เงนิ เดือน งาน 6.งานทะเบยี น งานวดั ผลและ เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ ทะเบียน ประวัตแิ ละสารสนเทศ ประเมนิ ผลผเู้ รียน 3. งานส่งเสริมและพฒั นา 7.งานพัฒนาส่ือ แหล่งเรียนรู้ บคุ ลากร 4. งานวินยั และนติ ิการ นวตั กรรมและเทคโนโลยี 5. งานเวรยามรกั ษาความ การศึกษา ปลอดภัย 8.งานฟ้นื ฟูสมรรถภาพ 6. งานสัมพันธ์ชมุ ชน 9.งานห้องสมดุ 7. งาน AIS CALL CENTER 10.งานกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๓๐ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม 3. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถมั ภ์ จังหวดั เชยี งใหม่ เปน็ โรงเรยี นสังกัดสานัก บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ อยใู่ นเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเชียงใหมเ่ ขต 1 และสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดเชียงใหม่ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดก้ าหนดมาตรฐานสถานศกึ ษาเฉพาะ ความบกพร่องทางการเหน็ ตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 3 มาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั 3 มาตรฐาน 15 ตวั ชวี้ ดั 46 ประเดน็ พจิ ารณา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพเดก็ 1) มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มีสขุ นิสยั ทดี่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.1 เด็กมพี ฒั นาการด้านร่างกาย ตามเกณฑ์ประเภทความพกิ าร 1.2 เดก็ ดแู ลรักษาความปลอดภยั ของตนเองทางด้านรา่ งกาย ตามศกั ยภาพและเหมาะสมกับวยั 1.3 เดก็ ดูแลรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนสิ ยั หลีกเลี่ยงจากสภาวะทเ่ี สีย่ งตอ่ โรค ส่ิงแวดล้อมและสถานการณ์ทเี่ ส่ียงอันตรายได้ 1.4 มกี ารจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ตามหลักสูตรเพ่ือพัฒนาให้เดก็ มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย และมีสุขนสิ ยั ที่ดี 1.5 รกั การออกกาลังกาย ได้เหมาะสมตามวัย 2) มพี ฒั นาด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 2.1 เด็กมอี ารมณร์ ่าเรงิ แจ่มใส แสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ได้เหมาะสม 2.2 เด็กมีความอดทนในการรอคอย 2.3 เด็กมกี ารแสดงออกด้านศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว ชนื่ ชมในผลงานของตนเองและผู้อนื่ 2.4 เด็กยอมรบั ในความสามารถของตนเองและผู้อ่ืน เคารพสทิ ธิ หนา้ ทที่ ี่รับผดิ ชอบ 3) มีพัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ดี ีของสังคม 3.1 เด็กปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจาวนั การรบั ประทานอาหาร การใชห้ ้องน้า ห้องส้วม ดว้ ยตนเอง 3.2 เดก็ เก็บของเลน่ และสงิ่ ของเคร่ืองใช้ดว้ ยตนเอง 3.3 เดก็ มมี ารยาททางสงั คม เชน่ การไหว้ การขอบคุณ ขอโทษ 3.4 เดก็ ทง้ิ ขยะไดถ้ ูกที่ รักษาความสะอาดของห้องเรยี น 3.5 เด็กเล่นและทากจิ กรรมร่วมกับผู้อืน่ 3.6 เด็กปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลง ประนีประนอม แกไ้ ขปญั หาโดยปราศจากการใชค้ วามรุนแรง เหมาะสมตามวัย 3.7 เดก็ เป็นผู้นา ผู้ตาม ไดเ้ หมาะสมตามสถานการณ์ 3.8 เด็กปฏบิ ัติตนเบ้ืองตน้ ในการเป็นสมาชิกที่ดขี องสังคม 4) มีพฒั นาด้านการสติปัญญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคิดพนื้ ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ 4.1 เด็กสนทนาโตต้ อบอย่างต่อเน่ือง และเลา่ เร่ืองราว ให้ผูอ้ ื่นเข้าใจ เชอ่ื มโยงกบั เร่ืองท่ีฟงั 4.2 เดก็ ตั้งคาถามเก่ยี วกับเร่ืองท่ตี นเองสนใจหรือสงสยั และตง้ั คาถามเพือ่ แสวงหาความรู้ 4.3 เดก็ บอกลกั ษณะ ส่วนประกอบ หรอื ความสาคญั ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ประสาทสมั ผสั 4.4 เดก็ บอกเลา่ เหตผุ ลตามสถานการณ์ได้เหมาะสมกับวยั 4.5 เดก็ ตดั สินใจในเรอื่ งง่ายๆ ได้ 4.6 เดก็ สรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะ การเคล่ือนไหว ตามความคดิ และจินตนาการ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๓๑ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชยี งใหม 4.7 เดก็ ใช้ส่ือเทคโนโลยีเป็นเครือ่ งมือในการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างเหมาะสม 5) เด็กทุกคนร่วมโครงงานคุณธรรม (ให้สอดคลอ้ งกบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน) มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. มีหลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถิ่น 1.1. มีหลักสตู รสถานศึกษาท่ีสอดคลอ้ งกับบรบิ ท และหลกั สตู รปฐมวัย 2. จดั ครใู หเ้ พยี งพอกับช้นั เรียน 2.1. จัดครใู ห้เหมาะสมกับภาระการจัดการเรยี นการสอน 3. ส่งเสริมใหค้ รมู ีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ 3.1. พัฒนาครูใหม้ คี วามรู้ความสามารถ ด้านการวิเคราะห์ ออกแบบการเรยี นรู้และการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ในระดับปฐมวยั 3.2. ประเมินพฒั นาการเด็กเปน็ รายบคุ คลโดยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย 3.3. มีปฏสิ มั พันธ์ทีด่ ีกับเด็กและครอบครัว 4. จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ 4.1. สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ให้มีความเหมาะสม มีความปลอดภยั ตามบริบท 4.2. จัดสื่อทีห่ ลากหลาย เพียงพอ และเหมาะสมกบั บริบทและวยั 5. ใหบ้ รกิ ารสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรยี นรูเ้ พื่อสนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ 5.1. สถานศึกษาจดั ใหบ้ ริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื การเรียนรูเ้ พื่อสนบั สนุน การจดั ประสบการณ์ใหแ้ ก่เด็กและครู 6. มรี ะบบบริหารคุณภาพที่เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกย่ี วข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม 6.1. มีมาตรฐานสถานศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย และอตั ลกั ษณ์ ของสถานศึกษา 6.2. มีแผนพัฒนาการศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย 6.3. มีการประเมนิ ผล ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานและจดั ทา รายงานผลการประเมินตนเองประจาปี 6.4. นาผลการประเมนิ ไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมสี ว่ นเก่ยี วข้อง และรายงานผลการประเมินตนเองให้หนว่ ยงานต้นสังกัด มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเป็นสาคัญ 1. จัดประสบการณท์ ีส่ ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ 1.1. มกี ารประเมนิ พฒั นาการเดก็ เป็นรายบุคคล จดั ทาแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ 1.2. มกี จิ กรรมส่งเสริมพัฒนาการครบทุกด้าน 2. สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัติอยา่ งมีความสขุ 2.1. ครจู ดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ ชือ่ มโยงกับประสบการณเ์ ดิม ผ่านการเลน่ อยา่ งมีความสขุ 2.2. ครูจัดกจิ กรรมการเรียนร้ทู สี่ อดคล้องกับชวี ติ ประจาวัน จากประสบการณ์ตรง และแหล่ง เรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๓๒ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชยี งใหม 3. จดั บรรยากาศทเี่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ใชส้ อื่ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวยั 3.1. ครแู ละนกั เรียน มสี ่วนร่วมในการจัดสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียนให้มคี วามสะอาด อากาศถา่ ยเท ปลอดภัย และเอื้อตอ่ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 3.2. ครใู ช้สอ่ื และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับวัยของเดก็ และใช้ส่อื ของจรงิ ของจาลอง และ สญั ลักษณ์ ท่ีเหมาะสมกบั วยั วุฒภิ าวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและความสนใจของเด็ก ท่ีหลากหลาย 4. ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรบั ปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเดก็ 4.1. ประเมินพัฒนาการเดก็ โดยใชแ้ บบสงั เกต แบบคดั กรอง แบบประเมินพัฒนาการ 4.2. ประเมนิ เดก็ โดยผปู้ กครองและผทู้ ี่เกยี่ วขอ้ งมีสว่ นรว่ มในการประเมิน 4.3. นาผลการประเมินไปจัดประสบการณเ์ พอื่ พฒั นาคณุ ภาพเด็ก 4.4. ครมู กี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพอื่ ใหก้ ารจัดประสบการณ์มีประสิทธิภาพมากขน้ึ มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 3 มาตรฐาน 13 ตัวชีวัด 18 ประเด็นพจิ ารณา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรยี น 1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรียน 1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคานวณ 2) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคิดเห็น และแกป้ ัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรมตามศกั ยภาพ 4) มกี ารใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 5) มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นผ่านเกณฑ์ตามทสี่ ถานศึกษากาหนด 6) มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชพี 7) มคี วามสามารถดา้ นดนตรี กฬี า สาหรบั บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางการเหน็ 1.2 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน 1) การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมท่ีดตี ามท่ีสถานศกึ ษากาหนด 2) ความภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย 3) การยอมรับที่จะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 2.1 มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน 1) มเี ปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจชดั เจน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศึกษา ความต้องการ ชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เปน็ ไปได้ในการปฏบิ ตั ิ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา 1) มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาทีช่ ดั เจน มปี ระสิทธภิ าพ สง่ ผลต่อคุณภาพ ตามมาตรฐานของสถานศึกษาโดยความรว่ มมอื ของผู้เกีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (2565-2568) ๓๓ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม 2.3 ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทุก กลมุ่ เป้าหมาย 1) ดาเนินงานพฒั นาวิชาการทเี่ น้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้าน 2) ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลมุ่ เปา้ หมาย เชอ่ื มโยงกับชวี ิตจรงิ 2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี 1) สง่ เสริมใหค้ รมู คี วามชานาญในด้านเรียนการสอนตามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณ วชิ าชพี ครู 2) ส่งเสรมิ ให้มชี ุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพมาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผูเ้ รียน 2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ 1) มกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนทป่ี ลอดภัยและเอ้ือต่อ การจัดการเรยี นรู้ 2) มีสภาพแวดล้อมทางสงั คมทป่ี ลอดภยั และเอื้อต่อการจดั การเรียนรู้ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ 1) จดั ระบบการจัดหา การพัฒนาและการบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบรหิ าร จดั การและการจดั การเรียนร้ทู เ่ี หมาะสม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 3.1 จัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้ 1) จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดใหส้ อดคล้องตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา 2) มแี ผนการจดั การเรียนรู้เฉพาะบุคคล (IEP) 3) จัดกจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล 3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรูท้ ี่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ 1) ใชเ้ ทคโนโลยสี งิ่ อานวยความสะดวก ส่อื บรกิ ารความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษาเทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ รวมทงั้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ 3.3 มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเชิงบวก 1) ครูผสู้ อนมกี ารบริหารจดั การชนั้ เรยี นโดยเนน้ การมีปฏสิ ัมพันธ์เชงิ บวกสามารถเรียนรู้รว่ มกนั ไดอ้ ย่างมีความสขุ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น 1) มเี ครอ่ื งมือและวธิ ีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเปา้ หมายการเรยี นรู้ 2) ประสานความร่วมมือกับผปู้ กครองและให้ข้อมลู ยอ้ นกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้พัฒนาการ เรยี นรู้ประสานความรว่ มมือกบั ผู้ปกครองและใหข้ อ้ มูลย้อนกลับแกผ่ ูเ้ รียนเพือ่ นาไปใช้ พฒั นาการเรียนรู้ 3.5 มีการแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพ่อื พฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ 1) มีชมุ ชนแหลง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพระหวา่ งครู 2) มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพือ่ พัฒนาและปรบั ปรุง

กรอบกลยทุ ธ์ภายใต้แผนพัฒนาคุณ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนอื ในพ กลยุทธ์ระดบั องค์กร กลยทุ ธ์ระดบั แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม 1.1 พัฒนาระบบการดแู ล 1.2.1 โครงการส่งเสริมการ ช่วยเหลอื นกั เรยี น และการ บรหิ ารงานฝ่ายวชิ าการ : รบั นกั เรียนเชงิ รกุ งานทะเบยี นวัดผล - ข้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับ 1.2 จดั ระบบฐานข้อมูล นักเรยี นเป็นระบบ สารสนเทศพน้ื ท่กี าร ครอบคลมุ ให้บริการที่ครอบคลมุ และมี - การรบั การคัดกรอง การ ประสทิ ธิภาพ ส่งต่อนกั เรียนทมี่ ีความ บกพร่องทางการเห็นอยา่ ง 1.ขยายโอกาสทางการศึกษา เปน็ ระบบ สาหรับนกั เรียนทมี่ คี วามบกพรอ่ ง 1.2.2 งานระบบดูแล ทางการเหน็ ให้เข้าถงึ และไดร้ บั ช่วยเหลือนักเรยี น บรกิ ารทางการศึกษาอย่างมี - กิจกรรมการเยย่ี มบ้าน คุณภาพ ดว้ ยรูปแบบทีห่ ลากหลาย - กิจกรรมการจัดประชุม ผู้ปกครอง 1.2.3 งานนกั เรยี นประจา (หอพกั เรือนนอน) - การดูแลชว่ ยเหลอื พัฒนา สง่ เสรมิ ตามระบบงาน นกั เรยี นประจา

ณภาพการศกึ ษา (๒๕๖5-๒๕๖8) พระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ จงั หวดั เชยี งใหม่ ตัวช้วี ดั ค่าเปา้ หมาย ผู้รบั ผิดชอบ 2565 2566 2567 2568 งานทะเบยี นวดั ผล - รอ้ ยละของความพงึ พอใจใน 85 85 85 85+ การดาเนนิ งาน งานระบบดแู ล แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (2565-2568) - รอ้ ยละของนักเรยี นทไ่ี ด้รับ 80 80 80 80+ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม การดูแลตามระบบดแู ล ชว่ ยเหลือนักเรยี น - ร้อยละของความพงึ พอใจใน 80 80 80 80+ การดาเนนิ งาน - ร้อยละของความพงึ พอใจใน 80 80 80 80+ งานนกั เรยี นประจา การดาเนนิ งาน ๓๔

กรอบกลยุทธ์ภายใต้แผนพัฒนาคณุ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพ กลยุทธ์ระดบั องคก์ ร กลยุทธ์ระดบั แผนงาน โครงการ/กิจกรรม 1.ขยายโอกาสทางการศกึ ษา 1.3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การ 1.3.1 โครงการพฒั นาการ เรยี นการสอนพิการซอ้ นและ สาหรบั นกั เรยี นที่มคี วามบกพรอ่ ง เตรียมความพรอ้ มตามแนว นกั เรยี นหหู นวกตาบอด - กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ทางการเห็น ใหเ้ ขา้ ถงึ และไดร้ ับ ทางการเปลย่ี นผา่ นหรอื ช่วง ตามหลกั สูตรสถานศึกษา บริการทางการศึกษาอย่างมี เช่ือมตอ่ (Transition) - กิจกรรมพัฒนาทักษะดา้ น การประกอบอาชีพ คุณภาพ ดว้ ยรูปแบบทหี่ ลากหลาย ที่สอดคลอ้ งเหมาะสมตาม - กิจกรรมส่งเสริมทกั ษะการ ระดับการศึกษา ดารงชวี ติ -กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ 1.3.2 โครงการพฒั นาการ จัดการเรยี นร่วม - นกั เรียนเรยี นรว่ มทกุ คน ได้รบั การพัฒนาตาม มาตรฐานการศึกษาอยา่ ง เต็มศกั ยภาพ - งานเรียนร่วมมสี ารสนเทศ เพือ่ การบรหิ ารจดั การทีเ่ ปน็ ปัจจุบนั

ณภาพการศึกษา (๒๕๖5-๒๕๖8) พระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ จังหวัดเชยี งใหม่ ตัวช้ีวดั ค่าเปา้ หมาย ผ้รู บั ผดิ ชอบ 2566 2567 2565 2568 - รอ้ ยละของผเู้ รยี นได้รบั การ 80 80 80 80+ งานการจดั การ พัฒนาตามมาตรฐานคณุ ภาพ เรยี นการสอน การศกึ ษาและมีคุณลกั ษณะ พกิ ารซ้อน ที่พึงประสงค์ ระดบั ดขี ึน้ ไป - รอ้ ยละของผเู้ รียนมที กั ษะดา้ น 80 80 80 80+ อาชพี ท่ีสอดคล้องตามความ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (2565-2568) โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม ถนัด - ร้อยละของผเู้ รยี นสามารถ 80 80 80 80+ ดารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งอิสระ งานเรยี นร่วม - รอ้ ยละของผเู้ รยี นได้รบั การ 80 80 80 80+ (ครูเสรมิ วชิ าการ) พฒั นาตามมาตรฐานคณุ ภาพ การศึกษาและมีคณุ ลกั ษณะ ทพ่ี ึงประสงค์ ระดับดีขึ้นไป - ร้อยละของการดาเนนิ งานและ 80 80 80 80+ มีสารสนเทศเพ่อื การบรหิ าร จดั การ ทีเ่ ป็นปัจจบุ นั ๓๕

กรอบกลยทุ ธภ์ ายใต้แผนพฒั นาคุณ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนอื ในพ กลยทุ ธร์ ะดบั องคก์ ร กลยทุ ธ์ระดบั แผนงาน โครงการ/กิจกรรม 1.3 สง่ เสรมิ สนับสนนุ การ 1.3.3 โครงการพฒั นาการ เตรยี มความพร้อมตามแนว เรียนการสอนระดบั ทางการเปลยี่ นผา่ นหรอื ช่วง มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เชอ่ื มต่อ (Transition) (วิชาชพี รว่ มกับวชิ าสามัญ ทส่ี อดคลอ้ งเหมาะสมตาม ระดบั การศึกษา พืน้ ฐานตามหลกั สตู ร สถานศึกษา) 1.ขยายโอกาสทางการศกึ ษา - กิจกรรมการเรยี นร้วู ิชา สาหรบั นักเรยี นท่มี คี วามบกพรอ่ ง สามญั หลกั สตู รสถานศกึ ษา ทางการเหน็ ใหเ้ ข้าถึงและไดร้ บั บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งมี - กิจกรรมส่งเสรมิ คุธรรม คุณภาพ ดว้ ยรูปแบบทห่ี ลากหลาย จรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะท่ี พงึ ประสงค์ - กิจกรรมการเรียนรูด้ ้าน วชิ าชพี 1.3.4 โครงการพฒั นา ทักษะการเรียนรวู้ ิชาชีพ สาหรับนกั เรยี นทบ่ี กพรอ่ ง ทางการเหน็ - ฝึกทกั ษะการดารงชวี ิต อยา่ งอิสระ - กิจกรรมการเรียนรดู้ า้ น วิชาชีพเพือ่ ประกอบอาชพี ไดต้ ามศกั ยภาพ

ณภาพการศกึ ษา (๒๕๖5-๒๕๖8) พระบรมราชินปู ถัมภ์ จังหวดั เชยี งใหม่ ตวั ชี้วัด ค่าเปา้ หมาย ผู้รบั ผดิ ชอบ 2566 2567 2565 2568 - ร้อยละของผ้เู รียนผ่านเกณฑ์ 85 85 85 85+ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (2565-2568) การประเมินตามสถานศกึ ษา โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม กาหนด คณะกรรมการ ศูนย์ฝึกอาชพี ฯ - รอ้ ยละของผ้เู รยี นสามารถ 85 85 85 85+ ดารงชีวิตไดอ้ ย่างอิสระ - ร้อยละของผเู้ รยี นมที ักษะดา้ น 85 85 85 85+ อาชพี ท่สี อดคล้องตามความ ถนัด ๓๖

กรอบกลยทุ ธ์ภายใต้แผนพัฒนาคุณ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือในพ กลยุทธร์ ะดบั องค์กร กลยทุ ธ์ระดบั แผนงาน โครงการ/กิจกรรม 2.พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2.1 พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น 2.1.1 พัฒนาคุณภาพ ตามหลักสูตรและมาตรฐานตาม เพ่อื มสี มรรถนะ ตาม ผู้เรยี น ระดบั ปฐมวัยให้มี ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน หลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีมี ความร้แู ละทักษะตาม สถานศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย คณุ ภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของโรงเรียน 1.1 ส่งเสรมิ คณุ ลักษณะที่ พงึ ประสงค์ระดับปฐมวยั - กิจกรรมสขุ ภาพดีมีสุข - กิจกรรมจติ อาสาพัฒนาสุข (สิ่งแวดล้อม/สงั คม) - กิจกรรมส่งเสริมทักษะการ ดารงชีวติ

ณภาพการศึกษา (๒๕๖5-๒๕๖8) พระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวดั เชียงใหม่ ตัวชี้วัด คา่ เป้าหมาย ผรู้ ับผิดชอบ 2566 2567 2565 2568 - ร้อยละของเดก็ ปฐมวยั ไดร้ บั 70 75 80 80+ การพัฒนาทักษะการเรียนร้เู ตม็ งานการเรียนการ ตามศกั ยภาพของผู้เรยี น สอนปฐมวยั แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (2565-2568) โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม - ร้อยละ ของเดก็ ปฐมวยั มี 70 75 80 80+ คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ - ร้อยละของเดก็ ปฐมวัยมี 70 75 80 80+ พฒั นาการด้านสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต เหมาะสมตามวัย - ร้อยละของเดก็ ปฐมวัยมจี ิต 70 75 80 80+ อาสา ร้จู กั การดแู ลสงิ่ แวดลอ้ ม และการอยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ในสงั คม ได้เหมาะสม -รอ้ ยละของเด็กปฐมวยั มีทักษะ 70 75 80 80+ ในการดูแลช่วยเหลือตนเองได้ เหมาะสม ๓๗

กลยทุ ธ์ระดบั องค์กร กลยุทธ์ระดบั แผนงาน โครงการ/กิจกรรม 2.พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2.1.2 พฒั นาคุณภาพ ตามหลกั สูตรและมาตรฐานตาม ผ้เู รยี น ระดบั การศกึ ษาขนั้ ระบบการประกนั คุณภาพภายใน พนื้ ฐาน สถานศึกษา - ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระ 2.2 สง่ เสรมิ สนับสนนุ - ส่งเสริมคณุ ลกั ษณะอนั พงึ เทคโนโลยสี งิ่ อานวยความ ประสงค์ตามสถานศกึ ษา สะดวก สอ่ื บรกิ ารและความ กาหนด - ส่งเสริมความสามารถใน ชว่ ยเหลืออน่ื ใดทางการศกึ ษา การอ่าน คิด วิเคราะห์ และ สาหรบั นกั เรียนทบี่ กพร่อง เขยี น สู่ทกั ษะศตวรรษที่ ทางการเห็น 21 - สง่ เสริมการเรียนรเู้ พ่อื มี สมรรถนะสาคญั ตาม หลกั สูตรสถานศกึ ษา - กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นตาม เป้าหมายของหลกั สตู ร การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 2.2.1 งานพัฒนาสื่อ แหล่งเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษา - การผลติ สือ่ สง่ เสรมิ การอ่าน และการ เรยี นรู้ สาหรบั นักเรยี นบกพรอ่ งทางการ เห็น

ตวั ช้วี ดั ค่าเปา้ หมาย ผู้รบั ผิดชอบ 2565 2566 2567 2568 - รอ้ ยละของผู้เรียนทไ่ี ด้รบั การ 80 80 80 80+ พฒั นาตามมาตรฐานการศกึ ษา - ร้อยละของการประเมินผล 80 80 80 80+ สัมฤทธิ์ ตามเกณฑ์ - รอ้ ยละของการประเมิน 80 80 80 80+ คณุ ลกั ษณะ ระดบั ดี ข้นึ ไป งานการเรียนการ -ร้อยละของการประเมิน ความสามารถในการอา่ น คิด 80 80 80 80+ สอนข้ันพื้นฐาน วเิ คราะห์ และเขียน ระดบั ดี ข้นึ ไป 80 80 80 80+ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (2565-2568) - ร้อยละของการประเมนิ 100 100 100 100 โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ระดบั ดี ข้ึนไป - ร้อยละของผเู้ รียนผ่านการ ประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น - รอ้ ยละของสื่อสง่ เสรมิ การอ่าน 80 80 80 80+ และการเรียนรู้ ไดร้ ับการผลติ เปน็ สื่ออกั ษรเบรลล์ สอ่ื ภาพนูน สือ่ แถบเสียง และสอื่ รูปแบบ อืน่ ๆ ตามความประสงค์ ๓๘

กลยุทธร์ ะดบั องคก์ ร กลยทุ ธ์ระดบั แผนงาน โครงการ/กิจกรรม - การดูแลรกั ษา และซ่อม บารงุ อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการผลิต สื่อ การปฏบิ ัตงิ าน และการ ใหบ้ รกิ าร - พฒั นาเทคโนโลยีการผลิตสือ่ สาหรบั นกั เรยี นที่มีความ บกพรอ่ งทางการเห็น ทัง้ แบบ ปกตแิ ละแบบออนไลน์ 2.2 ส่งเสรมิ สนับสนนุ - การผลติ หนังสือภาพนนู และ เทคโนโลยสี ่ิงอานวยความ หนงั สืออกั ษรเบรลล์ ให้ห้องสมุด สะดวก สือ่ บรกิ ารและ 2.2.2 การพัฒนางานฟน้ื ฟู ความช่วยเหลืออน่ื ใดทาง การศกึ ษาสาหรับนักเรยี นท่ี สมรรถภาพ บกพรอ่ งทางการเห็น - การบาบดั ฟนื้ ฟสู มรรถภาพ ตามความตอ้ งการจาเปน็ รายบุคคล - จดั หา เครอื่ งมือประเมิน ส่อื และอุปกรณ์ สาหรบั เด็ก บกพรอ่ งทางการเหน็ รวมถงึ การบารงุ รกั ษา - กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ เครือขา่ ยทางวิชาการ

ตวั ชีว้ ัด ค่าเปา้ หมาย ผ้รู บั ผดิ ชอบ 2565 2566 2567 2568 - ร้อยละของความพงึ พอใจใน การรับบริการ การดูแลรักษา 80 80 80 80+ และซอ่ มบารุงใหม้ สี ภาพพร้อม ใช้งาน - รอ้ ยละของการไดร้ บั การ พฒั นาให้มคี วามรู้ ความ 80 80 80 80+ สามารถในการผลิต และใช้ งานสื่อ เทคโนโลยี สื่อ เทคโนโลยสี าหรับนักเรยี นท่ี เพือ่ การศกึ ษา มีความบกพรอ่ งทางการเห็น ทง้ั แบบปกติและแบบออนไลน์ - จานวน 30 เลม่ ตอ่ ปี 30 30 30 30+ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (2565-2568) โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จงั หวัดเชียงใหม - ร้อยละของผู้เรียนทไี่ ดร้ บั 80 80 80 80+ บริการฟน้ื ฟูบาบดั - ร้อยละของความพึงพอใจใน 80 80 80 80+ การใช้บริการ สื่อ อปุ กรณใ์ น งานฟนื้ ฟูบาบดั การดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน - รอ้ ยละของความพงึ พอใจใน 80 80 80 80+ กจิ กรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ เพือ่ สร้างเครอื ข่ายทางวชิ าการ ๓๙

กลยุทธร์ ะดบั องคก์ ร กลยุทธร์ ะดบั แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม 2.2.3โครงการส่งเสรมิ สุขภาพและอนามัยนักเรียน - การบรกิ ารด้านสุขภาพ อนามัยนกั เรยี น - การจัดสง่ิ แวดล้อมใหถ้ กู สุขลักษณะ - งานการปอ้ งกันโรค COVID- 19 ตามมาตรการการจัดการ 2.2 สง่ เสริม สนบั สนนุ โรงเรยี น เทคโนโลยสี ่ิงอานวยความ 2.2.4 โครงการพฒั นา สะดวก ส่ือ บริการและ งานโสตทศั นปู กรณ์ - พฒั นางานโสตทศั นปู กรณ์ ความช่วยเหลืออื่นใดทาง - จดั ซื้อ จดั หา การศกึ ษาสาหรับนกั เรยี นที่ โสตทศั นปู กรณ์ท่ีจาเปน็ และ บกพร่องทางการเห็น ขาดแคลน - ให้บริการโสตทศั นปู กรณ์ - การดแู ลรกั ษาและซอ่ มบารงุ โสตทัศนปู กรณ์ 2.2.5 กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศกั ยภาพนักเรียน (งานสอน เสริม) - บริการสอนซอ่ มเสรมิ การ เรยี นร้นู ักเรยี นภายใน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook