สาระการเรียนร้แู กนกลาง • การอ่านออกเสยี งรอ้ ยแกว้ ท่เี ป็นโวหารตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย - คาํ ที่มพี ยัญชนะควบกลํา - คําทมี่ อี กั ษรนาํ - คาํ ท่ีมตี วั การนั ต์ - คาํ ท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศ - อักษรย่อและเคร่อื งหมายวรรคตอน - วัน เดือน ปแี บบไทย - ขอ้ ความทีเ่ ปน็ โวหารตา่ ง ๆ - สาํ นวนไทยที่เป็นคาํ พังเพยและสุภาษติ • การอ่านทาํ นองเสนาะ บทร้อยกรองท่เี ป็นโวหารตา่ งๆ
คอื คําท่ีมพี ยัญชนะตน้ ๒ ตวั เรียงกนั ออกเสียงกลํา ร ล วเปน็ เสยี งเดยี วกนั กับ แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท คอื ๑. อกั ษรควบแท้ ๒. อกั ษรควบไมแ่ ท้
คอื คาํ ที่มพี ยัญชนะตัวหนา้ เป็น ก ข ค ต ป ผ พ ควบกับ ร ล ว เวลาอ่านใหอ้ อกเสียงพยญั ชนะทงํั สองตวั พร้อมกัน กราบพระ กว้างขวาง ตรวจตรา พลกุ พล่าน ควายขวดิ ผลผี ลาม
จ ซคอื ศคสําทมี่คีพวบยัญกับชนะรตัวแหตนา้เ่ วเปล็นาอ่าน จะไม่อา่ นออกเสยี งตวั ร ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตวั หน้า ศรทั ธา สร้างเสริม เสแสรง้ โศกเศรา้ ไซร้ จรงิ จัง
ทใําชใ้สทหคร้มาํือะหีเเสดนคียยี้าอทํางวกัอทวกี่นษักรีม่ันาํษรรีพพสณรโยยตูงดยญััญหยํ่าุกรเชชทตดือนน่พี ยี่ต์อะะยวักตตาเมัญษน้ัวทพทรชส่ากนยนี่สอลัญะอนํังตาตงชงซวัวันแเ่ึงะรเรตปียกวั็นงเแกปรนั ็นก
อักษรยอ่ อักษรย่อ คือ อกั ษรทย่ี อ่ มาจากคาํ ทยี่ าวเพอื่ ให้ส้นั ลงโดยใช้ . (เครอ่ื งหมายมหพั ภาค) ในการย่อคํานน้ั ๆ ตัวอย่างคาํ ยอ่
ตัวอย่างการอ่านอักษรยอ่ ๑ ๒ เวลาอ่านตอ้ งอา่ นคาํ เต็ม
ตวั การันต์ ตัวการันต์ หลกั การอ่านคาํ ที่มีตัวการันต์
เครือ่ งหมายวรรคตอน กอค่าวลนามุ่ มไคดหําคถ้มือปกูารยตเะไค้อโดยรงช้ อ่ืคัดแงเลหหจะนมรชือาขว่ ขย้นึ ยอ้ทใคใี่หชว้ผเ้าขูอ้ มยี่าในนหกเ้เขดํา้าน่กใชจับัดคเาํพ่อื ให้
๑. - ใช้เขียนหลงั ตัวอักษรเพอ่ื แสดงว่าเปน็ อกั ษรย่อ เชน่ พุทธศักราช = พ.ศ. - ใชเ้ ขียนตาํ แหนง่ แสดงจดุ ทศนิยม เช่น ๑๖.๕๐ บาท อา่ นวา่ สิบหกบาทห้าสบิ สตางค์ - ใชค้ ั่นระหว่างช่ัวโมงกับนาทเี พื่อบอกเวลา เชน่ ๑๑.๓๐ น. อา่ นวา่ สบิ เอ็ดนาฬกิ าสามสิบนาที - ใช้เขยี นไวห้ ลงั ตัวอักษรหรือตวั เลขเพ่อื บอกลําดบั ข้อ เชน่ ๑. ๒. ก. ข. และใชเ้ พ่ือแสดงวา่ จบประโยคหรอื จบความ เชน่ กา้ ว. น. ระยะทางช่วั ยกเทา้ ย่างไปคร้ังหนง่ึ
- ใชเ้ ขยี นคน่ั คําเพื่อแยกข้อความ ๒. ออกจากกัน เช่น ผลไม้หลากชนดิ เชน่ มะม่วง , มังคดุ , ละมดุ , ลําไย - ใชค้ ัน่ ตวั เลข เช่น ๑,๒๐๐ บาท อ่านวา่ หนึ่งพนั สองร้อยบาท
๓. - ใเชพแ้ อ่ื ทไนม่ตคาํ้อหงรเขอื ยีขน้อคซวา้ํ อามีกบเรชรน่ ทดั บน มมทัะงเุ รมคยี วุ่ดนง กโิ ล\"\"กรัมละ ๒๒๖๐๐๕ บบบาาาททท
- ใชค้ รอ่ มข้อความทีต่ ้องการเน้น ๔. เช่น แมบ่ อกวา่ “ ลกู ต้องเป็นเด็กดี ” - เพอ่ื เน้นขอ้ ความใหเ้ ดน่ ชดั ข้นึ
๕. ใช้เม่ือสิน้ สดุ ความหรอื ประโยคทเี่ ปน็ คําถาม เช่น What is your name ? ๖+๘=? ใช้หลังขอ้ ความเพอ่ื แสดงความสงสัยหรือไม่ แน่ใจ มักเขยี นอยู่ในวงเล็บ กฤษฎาธาร (กรดิิ สะดาทาน) น. พระที่น่งั ทท่ี ําข้ึนสําหรับ เกียรตยิ ศ (?)
๖. ใชเ้ ขยี นหลงั คาํ วลี หรอื ประโยคที่ เป็นคําอทุ าน เชน่ โอโ้ ห ! ใหญม่ าก ตายจริง ! กระเปา๋ ฉันหาย ใช้เขยี นหลงั คําเลยี นเสียงธรรมชาติ เช่น รถชนดงั โครม ! เขาปดิ ประตดู ังปัง !
- ใช้เขียนครอ่ มขอ้ ความเพ่ืออธิบายคาํ ๗. ทอ่ี ยู่ขา้ งหนา้ เชน่ พระเนตร (ตา ) - ใช้กบั ขอ้ ความที่บอกทมี่ าของคาํ หรอื ข้อความ เชน่ ชลี (กลอน) ก. อญั ชล,ี ไหว้ - ใชก้ บั นามเตม็ ที่เขยี นใตล้ ายมอื ชอื่ เช่น สมศักด์ิ มานนี ะ (นายสมศักด์ิ มานีนะ)
๘. - ใชข้ ีดใตค้ าํ หรือข้อความทสี่ ําคญั เพอ่ื เนน้ ใหผ้ ู้อ่านสังเกตเปน็ พเิ ศษ เชน่ qพมิ ไมไ่ ด้เปน็ คนใจน้อย แต่พมิ รูส้ กึ น้อยใจ qฉนั ไมต่ อ้ งการอะไรมากไปกว่า ปัจจยั สี่
๙. -สวใชรรเ้ ปคน็ ตเครอื่อ่างนหวมา่ ายสแะย-กพหยวนัางค-์ คเชดน่ - ใชใ้ นความหมายวา่ และ , กบั เชน่ § เช§ิญชมภฟาตุษบาอตลรทะกีมลูมไ้าทลา–ยก-ะไเดสือ(ดแาลวะ) (กบั ) -ไมใ่ตช้อ้เขงยี ใสนต่แวัสอดกังลษาํ รดบัเชยน่ อ่ ย–ข-อพกงธิราารเี ปยแดิ สกงดาารงนทโขี่ น - ใช้ในความหมายว่า ถึง เชน่ เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. มีผู้เข้าชมจาํ นวน ๒๐ - ๒๕ คน
๑๐. - ใช้เขยี นหลังคาํ วลี หรอื ประโยค เพอ่ื ใหอ้ ่านซาํ้ คาํ วลี หรือประโยค อกี ครงั้ หน่ึง เชน่ งู ๆ ปลา ๆ อ่านวา่ งงู ูปลาปลา เดก็ เลก็ ๆ อา่ นวา่ เด็กเลก็ เล็ก แตล่ ะวนั ๆ อา่ นวา่ แตล่ ะวันแต่ละวัน ไกย่ ่างมาแล้วครบั ๆ อ่านวา่ ไกย่ า่ งมาแลว้ ครบั ไกย่ ่างมาแล้วครับ
๑๑. - ใช้ละคาํ ทรี่ ูก้ ันดแี ล้ว โดยละส่วนทา้ ย ไว้เหลอื แตส่ ่วนหน้าของคาํ พอเปน็ ท่ี เขา้ ใจ เวลาอา่ นให้อ่านคาํ เต็ม เชน่ ü นครศรฯี อา่ นวา่ นครศรีธรรมราช ü กรุงเทพฯ อ่านว่า กรงุ เทพมหานคร ü โปรดเกล้าฯ อ่านวา่ โปรดเกล้าโปรด กระหมอ่ ม
๑๒. - ใช้สําหรบั ละขอ้ ความข้างท้ายทอ่ี ยู่ - ในประเภทเดยี วกนั ซ่ึงยงั มีอกี มากมาย แต่ไม่ได้นาํ มาแสดงไว้ เช่น สิง่ ของท่ซี อ้ื ขายในห้องสรรพสินค้า มีเสอ้ื ผ้า รองเทา้ กระเปา๋ เครื่องสําอาง ฯลฯ
๑๓. Ø ใช้ขีดหลงั จาํ นวนตวั เลข เพอ่ื แบง่ จํานวนยอ่ ย ออกจากจาํ นวนใหม่ สว่ นมากเปน็ บ้านเลขท่ี เชน่ บ้านเลขท่ี ๙๘/๕๖๕ อ่านวา่ บ้านเลขท่เี กา้ สิบแปดทบั หา้ หกห้า Ø ใชข้ ีดคนั่ ระหว่างตัวเลขแสดงวัน เดือน ปี เช่น ๓/๑๑/๒๕๖๕ (วนั ท่ี ๓ เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕) Ø ใช้ขีดคน่ั ระหว่างคาํ แทนคาํ ว่า หรือ เช่น อําเภอ/เขต อา่ นว่า อําเภอหรอื เขต Ø ใชข้ ดี ค่นั ระหว่างคาํ มคี วามหมายวา่ ตอ่ เช่น ๙๐ กโิ ลเมตร/ช่วั โมง (๙๐ กโิ ลเมตร ตอ่ ช่วั โมง)
๑๔. - ใช้สําหรบั ละข้อความทไี่ ม่จาํ เปน็ หรือไม่ ต้องการกลา่ ว เพ่อื จะชวี้ ่าข้อความทน่ี าํ มากล่าว นั้นตดั ตอนมาเพียงบางสว่ น ใชไ้ ด้ท้งั ตอนขนึ้ ตน้ ตอนกลาง และตอนท้ายขอ้ ความ โดยใช้ละด้วย จดุ ๓ จุด เชน่ “…ภาษาไทยน้ันเปน็ เครื่องมอื อยา่ งหนง่ึ ของชาติ ภาษาทั้งหลายเป็นเครื่องมือของ มนษุ ย์ชนิดหน่งึ …”
การอ่านวัน เดอื น ปี แบบไทย วนั ๑ วนั อาทติ ย์ ๒ วนั จันทร์ ๓ วันองั คาร ๔ วนั พธุ ๕ วันพฤหัสบดี ๖ วันศุกร์ ๗ วันเสาร์ วนั แรกของสปั ดาหค์ อื วันอาทติ ยน์ ะจ๊ะ
เดอื น ตามหลักสากล ๑ ปี มี ๑๒ เดอื น ๑ เดือน มกราคม - ๑๒ เดือน ธันวาคม แต่
เดือน ตามหลักการอา่ นเดอื นแบบไทย เดอื นธันวาคม คอื เดือน ๑ เรยี กวา่ เดอื นอา้ ย เดือนมกราคม คือ เดือน ๒ เรียกวา่ เดอื นยี่ เดอื นกุมภาพนั ธ์ คือ เดอื น ๓ เรียกวา่ เดือน ๓ ………………….. คอื เดือน ๔ เรียกวา่ เดอื น ๔ เดือนพฤศจกิ ายน คือ เดอื น ๑๒ เรยี กว่า เดอื น ๑๒
๑๕ ข้างขึ้น วัน ๕ ฯ ๑ เดอื น ๑๑ ขา้ งแรม
การอ่านวัน เดือน ปี แบบไทย ตัวอยา่ ง ๑๕ ๒ฯ๒ อา่ นว่า วันจันทร์ ข้นึ ๑๕ ค่าํ เดือนย่ี หรอื วันจันทร์ เดอื นยี่ ขน้ึ ๑๕ ค่าํ ขอ้ สอบจะเรียงอยา่ งไรกไ็ มผ่ ดิ นะ เอาอะไรขึ้นกอ่ นกไ็ ด้
ควรจาํ ๑ คือ วนั อาทติ ย…์ …๗ คอื วนั เสาร์ เดอื น ๑ คือ เดือน อา้ ย เดือน ๒ คือ เดอื น ย่ี ออกขอ้ สอบ ตลอด เดอื น ๓…….ถงึ เดอื น ๑๒ ตามชอื่ เดอื น
ลองทาํ ดู ๒ ๑ฯ๕ ๒ อ่านว่า………………………………………
โวหาร โวหาร หมายถึงอะไร โวหาร หมายถึง วิธกี ารเขยี น หรือ รูปแบบการเขยี น ข้อสอบ แบง่ เปน็ ๕ ประเภท คอื ออกทุกปี ๑. บรรยายโวหาร ๒. พรรณนาโวหาร ๓. สาธกโวหาร ๔. เทศนาโวหาร ๕. อุปมาโวหาร
บรรยายโวหาร ๑บรรยายโวหาร คือ โวหารท่ใี ชใ้ นการเล่าเรอื่ ง อธบิ ายเร่อื งราวโดยเขียนตามลําดับเหตุการณ์ ภาษาทใี ช้ มคี วามชัดเจน ตรงไปตรงมา เนน้ สาระสาํ คัญ มกั ใช้ เขียนในการเขยี นทัว่ ๆ ไป เชน่ การเขยี นบทความ การเขียนหนงั สอื หรอื ตาํ ราตา่ ง ๆ การเขยี น เพอ่ื เลา่ เร่อื ง เหตุการณ์ รวมถึงการเขียนขา่ ว ฯ
ม้าก้านกล้วยเป็นการเลน่ ที่เกิด ๑บรรยายโวหาร จากภมู ิปัญญาพืน้ บา้ น ของเหลอื ใช้ จากการใชง้ านกน็ าํ มาประดิษฐ์เป็น ตวั อยา่ ง ของเล่นใหเ้ ดก็ ๆ ได้
พรรณนาโวหาร พรรณนาโวหาร คอื โวหารทีใ่ ช้ภาษา ๒ละเอยี ดลออ ม่งุ ให้ผู้อ่านเกดิ ภาพหรอื จนิ ตนาการ มี การใช้ภาพพจนห์ รอื การเลน่ เสยี ง ดังนัน้ ผู้อา่ นจะเกดิ อารมณ์ซาบซึ้งเพลดิ เพลนิ ไปกบั ขอ้ ความท่ีอ่าน อาจ กลา่ วไดว้ า่ ภาษาในการพรรณนาโวหารแตกตา่ งจาก บรรยายโวหารตรงทม่ี ีความไพเราะและสวยงามกวา่
พรรณนาโวหาร ๒ “พระอาทิตย์สีแดงกลมโตคอ่ ย ๆ โผลพ่ ้นสนั เขาที่ทอดยาวทะมึนใหญผ่ า่ น หมอกสีขาวหม่น ณ เบอื้ งลา่ งมองเหน็ แมน่ า้ํ โขงเป็นประกายวิบวบั เม่อื มีแสงทอง ตวั อยา่ ง มากระทบ กระแสนํ้าพล้ิวเปน็ ระลอกราว กบั มมี ือมาโบกพัดอย่างแผ่วเบา สายลม พดั ระเรื่อยผ่านผวิ กายเย็นฉํ่าช่ืนใจ”
สาธกโวหาร ๓สาธกโวหาร คอื โวหารท่ีมีการยกตัวอย่าง เหตุการณ์ เร่อื งราวหรอื สงิ่ ต่างๆ เช่น นิทาน ตํานาน ประสบการณ์ ขึ้นมาเปรียบเทยี บ เพื่อ สนับสนนุ ข้อเท็จจรงิ หรอื เหตผุ ลต่าง ๆ ใหม้ ี ความนา่ เชื่อถือและหนกั แน่นมากย่ิงข้ึน
สาธกโวหาร ๓เด็กทพ่ี ูดโกหกเป็นเดก็ ที่ไมด่ ี เช่นเดียวกบั เดก็ เลี้ยงแกะที่พูดโกหกคกึ คะนองหลอกชาวบา้ น วา่ หมาป่าจะมากินแกะของตนจนชาวบ้านแตกตืน่ ตวั อยา่ ง มาชว่ ยเหลอื แตก่ พ็ บวา่ ถกู หลอก เมอ่ื มีหมาป่ามา กนิ แกะจริง จงึ ไม่มใี ครช่วยเหลอื เพราะไม่มีใคร เช่อื ถอื คาํ พูดของเด็กเลี้ยงแกะ ทีช่ อบพูดโกหกอีกต่อไป…
เทศนาโวหาร ๔เทศนาโวหาร คือ โวหารที่มี เรือ่ งราวหรอื เน้ือหามุ่งเน้นไปในทางสัง่ สอน ชกั จูงใหผ้ ้อู า่ นคล้อยตาม และนาํ ไป ปฏบิ ัติ มกั ใชอ้ ธบิ ายหลักธรรม คติธรรม หรอื ใช้ในการแนะนาํ สงั่ สอน มักแทรกอยู่ ในโวหารชนิดอน่ื ๆ ด้วย
เทศนาโวหาร ๔ “การคบคนดเี ป็นศรีแกต่ วั แต่ทั้ง ๆ ทพ่ี ูดอย่างนี้ คนทีข่ าดปญั ญาและขาดสติก็ยงั หลงไปคบกบั คนทีเ่ ลว คนที่สงั คมรงั เกยี จ โดยหารู้ไม่ว่านนั่ คือทางหายนะของตน ตวั อยา่ ง คนบางคน ทง้ั ๆ ท่รี ้วู า่ การพนันเปน็ บอ่ เกิด แหง่ ความชว่ั กย็ งั เข้าไปเก่ยี วขอ้ งอยูน่ นั่ เอง”
อุปมาโวหาร ๕อปุ มาโวหาร คือ โวหารที่ใชภ้ าษา เปรยี บเทียบเพื่อใหเ้ กิดความชดั เจน โดยเปรยี บเทียบสง่ิ หนึ่งกบั อกี สิ่งหน่งึ มักปรากฏคําว่า ดงั ดุจ ประดุจ ราว เฉก เช่น เหมอื น เสมือน ปาน เปน็ ต้น
อปุ มาโวหาร ๕อสรุ ผี เี สื้อเหลือจะอด เเคน้ โอรสราวกับไฟไหมม้ งั สา ชา่ งหลอกหลอนผอ่ นผันจาํ นรรจา ตวั อยา่ ง เเมน้ จะวา่ โดยดมี ิเห็นฟัง (พระอภัยมณี ตอน หนนี างผีเสือ้ ของสุนทรภู่)
ขอ้ ๑. บรรยายโวหาร ใชภ้ าษาเรยี บง่าย แตกต่าง บรรยายหรอื เลา่ ตามลาํ ดบั ๒. พรรณนาโวหาร เนน้ ความสวยงามของจุดใดจดุ หน่ึง กล่าวถึงโดยละเอยี ด เนน้ ใหเ้ กิดภาพ อารมณ์ และจนิ ตนาการตาม
บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร อธบิ ายเ ลา่ เร่อื ง บรรยายใหเ้ ห็นภาพ ทาํ ใหเ้ กิดจนิ ตนาการ สาธกโวหาร ควรจํา อปุ มาโวหาร ยกตัวอย่าง เปรยี บเทียบ เทศนาโวหาร สัง่ สอน
Search
Read the Text Version
- 1 - 45
Pages: